????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม...

Preview:

Citation preview

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 1

โครงการพัฒนาบุคลากรด้านพลังงานตามกฎหมาย (ค่าว่าจ้างทีป่รึกษาพัฒนาบุคลากรเพื่อยกระดับความสามารถ

และสร้างเครือข่ายผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน)

การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน

อายุ : 48 ปีการศึกษา : ปริญญาตรี : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เครื่องกล) ม.ช.

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย มสธ. ปริญญาโท : เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต ม.ช.

Master of Philosophy in Energy Technology (International Program), The Joint Graduate School of Energy and Environment KMUTT.

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ : สามัญวิศวกรเครื่องกล, ภาคีวิศวกรสิ่งแวดล้อม (สภาวิศวกร)วิศวกรตรวจทดสอบหม้อน้ําหรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนําความร้อน (กรมโรงงานอุตสาหกรรม)ผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ระดับผูช้ํานาญการ (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน)ผู้ตรวจสอบอาคาร (กรมโยธาธิการและผังเมือง)ผู้ควบคุมระบบบาํบัดมลพิษน้ํา และ อากาศ (กรมโรงงานอุตสาหกรรม)

ประสบการณ์ : วิศวกร บริษัท ยางสยามอุตสาหกรรม จํากัด,บริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จํากัด ตั้งแต่ พ.ศ.2536 – 2538, สถานจัดการและอนุรักษ์พลังงาน, สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานฯ ม.ช. ตั้งแต่ พ.ศ.2538 – 2555ปัจจุบัน : กรรมการผู้จัดการ บริษัท พลังงาน ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม จํากัด, www.energysafety1995.comโทร 089-0419956, sakdasittik@gmail.com

แนะนําวิทยากร : ศักดา สิทธิเครือ

www.energysafety1995.com

0890419956, sakdasittik@gmail.comหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4

พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550)

พระราชกฤษฎีกากําหนดโรงงานควบคุม พ.ศ.2540

กฎกระทรวงกําหนดคุณสมบัติหน้าที่และจํานวนของ

ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน พ.ศ. 2552กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการ

พลังงาน ในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552

กฎกระทรวงกําหนดคุณสมบัติของผู้รับใบอนุญาต หลักเกณฑ์ วิธีการ และ

เงื่อนไขการขอรับใบอนุญาต และการอนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัดการ

พลังงาน พ.ศ. 2555

กฎกระทรวงกําหนดเครื่องจักร อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง และวัสดุ

เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2552

กฎกระทรวงกําหนดประเภทหรือขนาดของอาคารและมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการในการออกแบบ

อาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2552

ประกาศกระทรวงและประกาศกรมภายใต้กฎกระทรวงแต่ละฉบับ

มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 2551

มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 ธ.ค. 2538มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 17 ก.ค. 2540

พระราชกฤษฎีกากําหนดอาคารควบคุม พ.ศ.2538

โครงสร้างกฎหมาย

5. กําหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์

พลังงาน รวมทั้งแผนฝึกอบรมและกิจกรรมฯ

6. ดําเนินการตามแผนฯและตรวจสอบวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมาย

และแผนฯ

3. การกําหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานและ

เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

7. ตรวจติดตามประเมินระบบการจัด

การพลังงาน

8. การทบทวน วิเคราะห์

แก้ไขระบบ

2. การประเมินสถานการจัดการเบื้องต้น

4. การประเมินศักยภาพ

การอนุรักษ์พลังงาน

1. การจัดให้มีคณะทํางานด้านการจัดการพลังงาน

วิธีการจัดการพลังงาน ประกอบด้วย 8 ขั้นตอน ดังนี้กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานฯ

Management Review

Internal Energy Management Audit Implement & Follow Up

Energy Audit

การเผยแพร่มีข้อกําหนดให้เผยแพร่ขั้นตอนที่ 1, 3, 5, 7 และ

8

www.energysafety1995.com

หัวใจของการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานนอกจากเรื่องสถิติและข้อมูลการใช้และผลิตพลังงาน

ศักดา สิทธิเครือ 0890419956 sakdasittik@gmail.com

1. ตรวจสุขภาพพนักงานประจําปี -> ตรวจสุขภาพเครื่องจักรประจําปี (เครื่องจักรที่มีนัยสําคัญทางด้านพลังงาน)2. มาตรการอนุรักษ์พลังงาน3. Trainคน + ขอความร่วมมือ

Hardware และ Software

www.energysafety1995.com

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 7

สําหรับดาวน์โหลดhttps://drive.google.com/drive/folders/1EaJ_-Sw0pubfMzCwoajNwI8h7i0FOtto?usp=sharing

http://www.dede.go.th/ewt_news.php?nid=102

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 8

ข้อกําหนดกฎกระทรวง

ข้อกําหนด - กฎกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 9

ข้อ24 (3)

Major

ข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 10

Majorข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 11

Minor

1, 7, 3

ข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 12

Minor

1,3,5,7

2

1

34

78

4566

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 13

ข้อกําหนดประกาศกระทรวง

ข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 14

ข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 15

ข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 16

การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน

1. การประเมินระดับองค์กร2. การประเมินระดับผลิตภัณฑ์/การบริการ3. การประเมินระดับเครื่องจักร/อุปกรณ์

ข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 17

1. ข้อกําหนด2. การประเมินระดับองค์กร

2.1 ข้อมูลหม้อแปลงไฟฟ้า2.2 ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า2.3 ข้อมูลการใช้พลังงานความร้อน2.4 ข้อมูลการใช้พลังงานเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า2.5 ข้อมูลรายการคํานวณสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า2.6 ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า2.7 ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงานความร้อน2.8 ข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงาน2.9 ข้อมูลเปรียบเทียบข้อมูลการใช้พลังงานหรือดัชนีการใช้พลังงานเทียบกับ

ค่าเป้าหมาย

ข้อมูลการจัดทํารายงาน

Input

Output

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 18

3. การประเมินระดับผลิตภัณฑ์ (กรณีโรงงาน)3.1 ข้อมูลกระบวนการผลิต3.2 ข้อมูลผลผลิต3.3 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของหน่วยผลผลิต

4. การประเมินระดับการบริการ (กรณีอาคาร)4.1 ข้อมูลการใช้งานอาคาร4.2 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของหน่วยพื้นที่ใช้สอย4.3 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของจํานวนคนไข้ใน4.4 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของจํานวนห้องที่จําหน่ายได้

ข้อมูลการจัดทํารายงาน

Input

Input

Output

Output

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 19

5. การประเมินระดับเครื่องจักร/อุปกรณ์5.1 การประเมินหาเครื่องจักร/อุปกรณ์ที่มีนัยสําคัญ5.2 แบบบันทึกข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าที่มีนัยสําคัญของเครื่องจักร/อุปกรณ์หลัก5.3 แบบบันทึกข้อมูลการใช้พลังงานความร้อนที่มีนัยสําคัญขอเครื่องจักร/อุปกรณ์หลัก

Input

Output

ข้อมูลการจัดทํารายงาน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 20

การกรอกข้อมูลหม้อแปลงไฟฟ้า1.1 ข้อมูลหมอ้แปลงไฟฟ้า

1. การประเมินระดับองค์กร

ภาคผนวก ก โรงงาน

ภาคผนวก ข อาคาร

อัตราค่าไฟฟ้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิมและค่าไฟฟ้าผันแปร;Ft)เริ่มใช้ พ.ย. 61

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 22

เริ่มใช้ พ.ย. 61

TOD มีเฉพาะประเภทที่ 4

0.6197*1182=732.48 แต่ Max kVAR คือ600 จึงไม่เสียเงินสมมติว่า Max kVAR คือ 800 จะเสียเงิน = 800 - 732.48 = 67.52 ปัดเป็น 68ดังนั้นเสียเงิน = 68 * 56.07 บาทต่อkVAR

OP คือจ.-ศ. 22.00 – 09.00 น.H คือ เสาร์-อาทิตย์

เสียเงินในส่วนที่ Max kVAR > .6197*Max kW(เอาตัวเลขมากสุดไม่สนใจว่าช่วงไหน)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 24

ของค่าสูงสุด = 2219 kW

Peak 18.30-21.30 น.ทุกวัน Partial 08.00-18.30 น.ทุกวัน(ค่าPeak Demand คิดเฉพาะส่วนที่เกินPeak)Off Peak 21.30-08.00 น.ทุกวัน

Partial

TOD

เริ่มใช้ พ.ย. 61

ประเภทที่ 5 มีเฉพาะ TOU

อนุโลมสําหรับ ผู้ที่ยังไม่ติดมิเตอรT์OU

อัตราค่าไฟฟ้า

เสียเงินในส่วนที่ Max kVAR > .6197*Max kW(เอาตัวเลขมากสุดไม่สนใจว่าช่วงไหน)

2 % ทั้งค่าPeak Demand และค่าหน่วย

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 28

ข้อมูลระบบไฟฟ้าPeak 18.30-21.30 น.ทุกวัน Partial 08.00-18.30 น.ทุกวัน(ค่าPeak Demand คิดเฉพาะส่วนที่เกินPeak)Off Peak 21.30-08.00 น.ทุกวัน

TOD

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 29

TOU

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 30

การกรอกข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า1.2 ข้อมูลปริมาณการใชไ้ฟฟ้า ภาคผนวก ค โรงงาน

ภาคผนวก ข อาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 31

ของค่าสูงสุด = 2370 kW

TOD

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 32

วิธีการหาตัวประกอบภาระโหลดTOD

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 33 หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 34

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 35 หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 36

การกรอกข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคผนวก ค โรงงาน

ภาคผนวก ข อาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 37

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบการใช้พลังงานไฟฟ้า (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-1)

กรณีโรงงานกรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 38

การกรอกตารางข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงและพลังงานหมุนเวียนในรอบปี 1.3 ข้อมูลการใชพ้ลังงานความร้อน ภาคผนวก ง โรงงาน

ภาคผนวก ค อาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 3939

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบการใช้พลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิงรายเดือน (ตามฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-2)

กรณีโรงงานกรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4040

การกรอกข้อมูลการใช้เชื้อเพลิง ในการผลิตไฟฟ้า1.4 ข้อมูลการใชเ้ชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ภาคผนวก ง อาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4141

การกรอกข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า

ภาคผนวก จ โรงงาน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4242

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบการใช้พลังงานเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้ารายเดือน (ตามฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-3)

กรณีโรงงานกรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4343

1.5 ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า การกรอกสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกตามระบบ

ภาคผนวก ฉ โรงงาน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 44

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า (ตามฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-4) กรณีโรงงาน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4545

การกรอกสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกตามระบบภาคผนวก จ อาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 46

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า (ตามฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-4)

กรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4747

1.6 ข้อมูลรายการคํานวณสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า การกรอกรายการคํานวณสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกตามระบบ

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 48

ช่อง (11) ระบุ “พลังงานใช้งานจริง (kWh/ปี)” ให้ระบุพลังงานไฟฟ้าใช้งานจริงแต่ละรายการให้สอดคล้องตามช่อง (1) โดยสามารถแยกแต่ละวิธีได้ดังนี้

กรณีที่ 1 ได้มาจากการอ่านค่าจากมิเตอร์ย่อยที่ติดตั้งในแต่ละเครื่องจักร/อุปกรณ์ ตัวอย่าง การกรอกข้อมูล เตาหลอม no.1 เท่ากับ 42,377 kWh/ปี เป็นต้น

กรณีที่ 2 ไม่ทราบค่ากําลังไฟฟ้าที่ใช้งานจริง ต้องใช้การคํานวณหาโดยมีสูตรการคํานวณดังนี้ พลังงานใช้งานจริง = กําลังไฟฟ้าพิกัด (ช่อง 5) x % สัดส่วนพิกัด (ช่อง 7) x % สัดส่วนการทํางาน (ช่อง 8)

x ชั่วโมงทํางานชม./วัน (ช่อง 9) x วันทํางาน วัน/ปี (ช่อง 10) ตัวอย่าง การกรอกข้อมูล Exhaust Fan ของแผนกหลอมพลังงานใช้งานจริง = 5.5 kW x 90% x 100% x 8 ชม./วัน x 246 วัน/ปี

= 9,741.6 kWh/ปี

การกรอกรายการคํานวณสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกตามระบบ

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 49

กรณีที่ 3 ทราบค่ากําลังไฟฟ้าที่ใช้งานจริง ต้องใช้การคํานวณหา โดยมีสูตรการคํานวณดังนี้พลังงานใช้งานจริง = กําลังไฟฟ้าที่ใช้งานจริง (ช่อง 6) x % สัดส่วนพิกัด (ช่อง 7) x %

สัดส่วนการทํางาน (ช่อง 8) x ชั่วโมงทํางาน ชม./วัน (ช่อง 9) x วันทํางาน วัน/ปี(ช่อง 10)

ตัวอย่าง การกรอกข้อมูล ปั๊ม no.1 ของ ฝ่ายซ่อมบํารุงพลังงานใช้งานจริง = 11.7 kW x 100% x 100% x 8 ชม./วัน x 246 วัน/ปี

= 23,026 kWh/ปีหมายเหตุ กรณีที่ 3 % สัดส่วนพิกัด (ช่อง 7) จะต้องกรอกเท่ากับ 100 %

การกรอกรายการคํานวณสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกตามระบบ

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 5050

การกรอกสัดส่วนการใช้พลังงานความร้อน แยกตามระบบ

ภาคผนวก ช โรงงานภาคผนวก ฉ อาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 51

การกรอกสัดส่วนการใช้พลังงานความร้อน แยกตามระบบ

ช่อง (3) ช่องวิธกีาร ให้เลือกจากการประเมินหรือการตรวจวัดตัวอย่างการประเมินการใช้พลังงานความร้อนของเครื่องจักรหนึ่ง สามารถประเมินได้ 2 แนวทางดังนี้

แนวทางที่ 1 กรณีที่สามารถตรวจวัดปริมาณการใช้เชื้อเพลิงได้

ปริมาณการใช้พลังงาน = ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงต่อปี x ค่าความร้อนของเชื้อเพลิงโดย ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงต่อปี = ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงที่บันทึกจากมาตรวัด หรือจากการประเมินค่าความร้อนของเชื้อเพลิง = ค่าความร้อนของเชื้อเพลิงตามภาคผนวก ข้อมูลการใช้เชื้อเพลิง

แนวทางที่ 2 กรณีที่ทราบอัตราการใช้เชื้อเพลิง

ปริมาณการใช้พลังงาน = อัตราการใช้เชื้อเพลิงต่อชั่วโมง x วันทํางานต่อปี x ชั่วโมงใช้งานต่อวัน x สัดส่วนการทํางาน x ค่าความร้อนของเชื้อเพลิง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 5252

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงานความร้อน (ตามฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-5)

กรณีโรงงานกรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 5353

1.8 ข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใชง้าน

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงาน (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4.6)

กรณีโรงงานกรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 5454

กราฟเปรียบเทียบข้อมูลการใช้พลังงานหรือดัชนีการใช้พลังงานเทียบกับค่าเป้าหมาย ภายในอาคาร/โรงงาน หรือเปรียบเทียบข้อมูลการใช้พลังงานกับอาคาร/โรงงานอื่น (ตามฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-7)

กรณีที่ 1 เปรียบเทียบค่าการใช้พลังงานจําเพาะต่อหน่วยผลผลิตกับค่าเป้าหมายภายในโรงงาน

1.9 ข้อมูลเปรียบเทียบการใช้พลังงานหรือดัชนีการใช้พลังงานเทียบกับค่าเป้าหมาย

เปรียบเทียบการใช้พลังงานและดัชนีการใช้พลังงานเทียบกับค่าเป้าหมายภายในโรงงาน

กรณีโรงงาน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 5555

กรณีที่ 2 เปรียบเทียบพลังงานไฟฟ้าทั้งหมด (kWh/ปี) ผู้บริหารอาคาร/โรงงาน กําหนดลดการใช้พลังงานไฟฟ้าเป็น %

กรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 56

ข้อมูลกระบวนการผลิต แสดงแผนผังกระบวนการผลิต และคําอธิบายการผลิตโดยย่อ ถ้าวิเคราะห์ประเมินสัดส่วนการใช้พลังงานได้ควรแสดงในแผนผังกระบวนการผลิตด้วย และควรแยกการแสดงสัดส่วนไฟฟ้าและความร้อน ตัวอย่างเช่น แผนผังกระบวนการผลิตสับปะรดกระป๋อง (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-8

2.1 ข้อมูลกระบวนการผลิต

2. การประเมินระดับผลิตภัณฑ์ (กรณีโรงงาน)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 57

วิธีการกรอกข้อมูล

ประเภทรายการข้อมูลที่ตอ้ง

ใช้ (input)การกรอกข้อมูล

รายการข้อมูลที่ไดร้บั (output)

การแสดงข้อมูล

โรงงานควบคุม

กระบวนการผลิต

คําอธิบายกระบวนการผลิต

สัดส่วนการใช้พลังงาน

ขั้นตอนที่ 4รูปที่ 4 – 8

กระบวนการผลิตที่สามารถอธิบายการใช้และปริมาณพลังงานในแต่ละขั้นตอนในการผลิต

ขั้นตอนที่ 4รูปที่ 4 – 8

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 58

2.2 ข้อมูลผลผลิตการกรอกข้อมูลตารางปริมาณการผลิตจําแนกตามผลิตภัณฑ์

การกรอกตารางข้อมูลการผลิตในรอบปี

ภาคผนวก ข โรงงาน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 59

ตัวอย่างคํานวณกําลังผลิตติดตั้ง เป็นกําลังการผลิตเต็มที่ ซึ่งมักไม่ได้ใช้ในการปฏิบัติงานจริง เพราะเป็นการใช้เครื่องจักรอุปกรณ์เต็มที่โดยไม่คํานึงถึงการหยุดพัก หรือการบํารุงรักษาเลยตัวอย่าง แสดงการคํานวณ ในเดือน พ.ค.

กําลังการผลิต = 8 ตันต่อชั่วโมงจํานวนชั่วโมงการทํางาน = 31 วัน x 24 ชั่วโมง

= 744 ชั่วโมงต่อเดือนดังนั้น กําลังการผลิตติดตั้ง = 8 x 744

= 5,952 ตันต่อเดือน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 60

2.3 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของหน่วยผลผลิต ตัวอย่างปริมาณการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิตของ สับปะรดกระปอ๋ง ในรอบปี 2558 และ

2559 (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ ตารางที่ 4.1)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 61

ช่อง (4) แสดงคํานวณค่าการใช้พลังงานจําเพาะ (Specific Energy Consumption : SEC) ในรอบปีที่ผ่านมา

ตัวอย่างการคํานวณหาค่าการใช้พลังงานจําเพาะ (SEC) เดือนมกราคม 58

= (ปริมาณพลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) x 3.6) +ปริมาณพลังงานความร้อน (เมกะจูล)ปริมาณผลผลิต (หน่วย)

= (1,365,000 kWh X 3.6 MJ/ kWh) + ( 14,650 kg X 50.23 MJ/kg)4,696.51 ตัน

= 1,202.99 MJ/ตัน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 62

ตัวอย่างกราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบค่า SEC ของผลิตภัณฑ์ ปี 2558 และ 2559 (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-8)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 63

3.1 ข้อมูลการใชง้านอาคาร

การกรอกข้อมูลรายละเอียดการใช้งานอาคาร (สําหรับอาคารทุกประเภท) (ตาม แบบฟอร์มรายงานฯ ตารางที่ ก.1 และ ก.2)

ภาคผนวก ก

3. การประเมินระดับผลิตภัณฑ์ (กรณีอาคาร)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 64

การกรอกข้อมูลการใช้ประโยชน์พื้นที่ใช้สอยที่ใช้งานจริงในแต่ละเดือน(ตามแบบฟอร์มรายงานฯ ตารางที่ ก.3 และ ก.4)

ภาคผนวก ก

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 65

ตัวอย่างปริมาณการใช้พลังงานต่อหน่วยพื้นที่ใช้สอยที่ใช้งานจริงในรอบปี 2558 และปี 2559 (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ ตารางที่ 4.1)

3.2 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของหน่วยพื้นทีใ่ช้สอย ภาคผนวก ก

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 66

ตัวอย่าง การคํานวณหาค่าการใช้พลังงานจําเพาะ (SEC) เดือนมกราคม 58 (กรณีทุกอาคาร)

= (ปริมาณพลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) x 3.6) +ปริมาณพลังงานความร้อน (เมกะจูล) พื้นที่ใช้สอยที่ใช้จริงแต่ละเดือน (ตารางเมตร)

= (1,365,000 kWh X 3.6 MJ/ kWh) + ( 14,650 kg X 50.23 MJ/kg)61,533 m2

= 91.82 MJ/m2

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 67

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบ ค่าใช้พลังงานจําเพาะในรอบปี 2558 และปี 2559 (ตามแบบฟอร์มรูปที่ 4-7)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 68

3.3 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของจาํนวนคนไขใ้น ตัวอย่างปริมาณการใช้พลังงานต่อหน่วยจํานวนคนไข้ใน ในรอบปี 2558 และปี 2559 (กรณีโรงพยาบาล) (ตามแบบฟอร์ม ตารางที่ 4.2)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 69

ช่อง (4) แสดงคํานวณค่าการใช้พลังงานจําเพาะ (Specific Energy Consumption : SEC) ในรอบปีที่ผ่านมาตัวอย่าง การคํานวณหาค่าการใช้พลังงานจําเพาะ (SEC) เดือนมกราคม 55 (กรณีโรงพยาบาล)

= (ปริมาณพลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) x 3.6) +ปริมาณพลังงานความร้อน (เมกะจูล) จํานวนคนไข้ในแต่ละเดือน (เตียง-วัน)

= (1,365,000 kWh X 3.6 MJ/ kWh) + ( 14,650 kg X 50.23 MJ/kg)1,944 เตียง-วัน

= 2,906.31 MJ/เตียง-วัน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 70

ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของจํานวนคนไข้ใน ในรอบปี 2558 และปี 2559 (ตามแบบฟอร์มรูปที่ 4.8)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 71

ตัวอย่างปริมาณการใช้พลังงานต่อหน่วยจํานวนห้องที่จําหน่ายได้แต่ละเดือน ในรอบปี 2558 และปี 2559 (กรณีโรงแรม) (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ ตารางที่ 4.3)

3.4 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของจํานวนห้องที่จําหน่ายได้

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 72

ตัวอย่างการคํานวณหาค่าการใช้พลังงานจําเพาะ (SEC) เดือนมกราคม 55 (กรณีโรงแรม)= (ปริมาณพลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) x 3.6) +ปริมาณพลังงานความร้อน (เมกะจูล)

จํานวนห้องที่จําหน่ายได้ในแต่ละเดือน (ห้อง-วัน)= (1,365,000 kWh X 3.6 MJ/ kWh) + (14,650 kg X 50.23 MJ/kg)

11,088.08 ห้อง-วนั = 509.54 MJ/ห้อง-วัน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 73

ตัวอย่างกราฟแสดงการใช้พลังงานจําเพาะของห้องที่จําหน่ายได้ในรอบปี 2558 และปี 2559 (กรณีโรงแรม) (ตามแบบฟอร์มรายงานฯรูปที่ 4.9)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 74

4.1 การประเมินหาเครื่องจักร/อุปกรณ์ทีม่นีัยสําคัญ เกณฑ์การประเมินและการกรอกข้อมูลการประเมิน

ภาคผนวก ซ โรงงานภาคผนวก ช อาคาร

4. การประเมินระดับเครื่องจักร/อุปกรณ์

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 75

ตัวอย่าง เกณฑ์การประเมินขนาดการใช้พลังงานไฟฟ้า

ตัวอย่าง เกณฑ์การประเมินขนาดการใช้พลังงานความร้อน

ขนาดการใช้พลังงาน ไฟฟ้า (kW) คะแนนมากที่สุด

มากปานกลาง

น้อยน้อยมาก

P > 7550 < P < 7520 < P < 505 < P < 20

P < 5

54321

ขนาดการใช้พลังงาน LPG (kg/เดือน) NG (MMBtu/เดือน) คะแนนมากที่สุด

มากปานกลาง

น้อยน้อยมาก

LPG > 5,0001,000 < LPG < 5,000100 < LPG < 1,000

15 < LPG < 100LPG < 15

NG > 2,5001,000 < NG < 5,000100 < NG < 1,000

10 < NG < 100NG < 10

54321

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 76

ตัวอย่าง เกณฑ์การประเมินชั่วโมงการใช้งาน

ชั่วโมงการใช้งาน ชม./วัน คะแนนมากที่สุด

มากปานกลาง

น้อยน้อยมาก

T > 2010 < T < 204 < T < 101 < T < 4

T < 1 หรือ ใช้นาน ๆ ครั้ง เช่น เดือนละ 1-2 ครั้ง เป็นต้น

54321

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 77

ตัวอย่าง เกณฑ์การประเมินศักยภาพการปรับปรุง

ศักยภาพการปรับปรุง เกณฑ์ในการประเมินศักยภาพการปรับปรุง คะแนนมากที่สุด

มากปานกลาง

น้อย

มีศักยภาพมากที่สุดมีศักยภาพมาก

มีศักยภาพปานกลางมีศักยภาพน้อย

4321

ซึ่งการประเมินศักยภาพนั้น สามารถพิจารณาได้การสูญเสียประสิทธิภาพของเครื่องจักรนั้น ๆ ยิ่งมีความสูญเสียมาก ก็ยิ่งมีศักยภาพมาก สามารถแบ่งเป็นปัจจัยย่อยๆ ได้ดังนี้

อายุการใช้งาน การบํารุงรักษาความสามารถในการควบคุม เช่น เครื่องจกัรที่มีระบบควบคุมอัตโนมัติ จะมีศักยภาพในการ

ประหยัดพลังงานน้อยกว่าเครื่องจักรที่ใช้คนควบคุม (มีความสูญเสียน้อยกว่า) เทคโนโลยีของเครื่องจักร/อุปกรณ์

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 78

คะแนนรวม ลําดับความสาํคัญ> 60

40 – 5930 – 3920 – 290 – 19

12345

ตัวอย่าง เกณฑ์จัดลําดับความสําคัญ

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 79

4.2 แบบบันทึกข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าทีม่นีัยสําคัญของเครื่องจักร/อุปกรณ์ ตัวอย่างแบบบันทึกกรอกข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าที่มีนัยสําคัญในเครื่องจักร/อุปกรณ์

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 80

ตัวอย่างแบบบันทึกกรอกข้อมูลการใช้พลังงานความร้อนที่มีนัยสําคัญในเครื่องจักร/อุปกรณ์

Recommended