20
หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 1 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านพลังงานตามกฎหมาย (ค่าว่าจ้างที่ปรึกษาพัฒนาบุคลากรเพื่อยกระดับความสามารถ และสร้างเครือข่ายผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน) การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน อายุ : 48 ปี การศึกษา : ปริญญาตรี : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เครื่องกล) .. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย มสธ. ปริญญาโท : เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต .. Master of Philosophy in Energy Technology (International Program), The Joint Graduate School of Energy and Environment KMUTT. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ : สามัญวิศวกรเครื่องกล, ภาคีวิศวกรสิ่งแวดล้อม (สภาวิศวกร) วิศวกรตรวจทดสอบหม้อนําหรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนํา ความร้อน (กรมโรงงานอุตสาหกรรม) ผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ระดับผู้ชํานาญการ (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน) ผู้ตรวจสอบอาคาร (กรมโยธาธิการและผังเมือง) ผู้ควบคุมระบบบําบัดมลพิษนํา และ อากาศ (กรมโรงงาน อุตสาหกรรม) ประสบการณ์ : วิศวกร บริษัท ยางสยามอุตสาหกรรม จํากัด,บริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จํากัด ตั้งแต่ ..2536 – 2538, สถานจัดการและอนุรักษ์พลังงาน, สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานฯ .. ตั้งแต่ ..2538 – 2555 ปัจจุบัน : กรรมการผู้จัดการ บริษัท พลังงาน ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม จํากัด, www.energysafety1995.com โทร 089-0419956, [email protected] แนะนําวิทยากร : ศักดา สิทธิเครือ www.energysafety1995.com 0890419956, [email protected] หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4 ... การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ..2535 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ..2550) พระราชกฤษฎีกา กําหนดโรงงานควบคุม ..2540 กฎกระทรวงกําหนดคุณสมบัติ หน้าที่และจํานวนของ ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน .. 2552 กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์และวิธี การจัดการ พลังงาน ในโรงงานควบคุมและ อาคารควบคุม .. 2552 กฎกระทรวงกําหนดคุณสมบัติของผู้รับ ใบอนุญาต หลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขการขอรับใบอนุญาต และการ อนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัดการ พลังงาน .. 2555 กฎกระทรวงกําหนดเครื่องจักร อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง และวัสดุ เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ..2552 กฎกระทรวงกําหนดประเภทหรือขนาดของอาคาร และมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการในการออกแบบ อาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ..2552 ประกาศกระทรวงและประกาศกรม ภายใต้กฎกระทรวงแต่ละฉบับ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มิ.. 2551 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 .. 2538 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 17 .. 2540 พระราชกฤษฎีกา กําหนดอาคารควบคุม ..2538 โครงสร้างกฎหมาย

????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

  • Upload
    others

  • View
    12

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 1

โครงการพัฒนาบุคลากรด้านพลังงานตามกฎหมาย (ค่าว่าจ้างทีป่รึกษาพัฒนาบุคลากรเพื่อยกระดับความสามารถ

และสร้างเครือข่ายผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน)

การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน

อายุ : 48 ปีการศึกษา : ปริญญาตรี : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เครื่องกล) ม.ช.

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย มสธ. ปริญญาโท : เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต ม.ช.

Master of Philosophy in Energy Technology (International Program), The Joint Graduate School of Energy and Environment KMUTT.

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ : สามัญวิศวกรเครื่องกล, ภาคีวิศวกรสิ่งแวดล้อม (สภาวิศวกร)วิศวกรตรวจทดสอบหม้อน้ําหรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนําความร้อน (กรมโรงงานอุตสาหกรรม)ผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ระดับผูช้ํานาญการ (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน)ผู้ตรวจสอบอาคาร (กรมโยธาธิการและผังเมือง)ผู้ควบคุมระบบบาํบัดมลพิษน้ํา และ อากาศ (กรมโรงงานอุตสาหกรรม)

ประสบการณ์ : วิศวกร บริษัท ยางสยามอุตสาหกรรม จํากัด,บริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จํากัด ตั้งแต่ พ.ศ.2536 – 2538, สถานจัดการและอนุรักษ์พลังงาน, สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานฯ ม.ช. ตั้งแต่ พ.ศ.2538 – 2555ปัจจุบัน : กรรมการผู้จัดการ บริษัท พลังงาน ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม จํากัด, www.energysafety1995.comโทร 089-0419956, [email protected]

แนะนําวิทยากร : ศักดา สิทธิเครือ

www.energysafety1995.com

0890419956, [email protected]หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4

พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550)

พระราชกฤษฎีกากําหนดโรงงานควบคุม พ.ศ.2540

กฎกระทรวงกําหนดคุณสมบัติหน้าที่และจํานวนของ

ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน พ.ศ. 2552กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการ

พลังงาน ในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552

กฎกระทรวงกําหนดคุณสมบัติของผู้รับใบอนุญาต หลักเกณฑ์ วิธีการ และ

เงื่อนไขการขอรับใบอนุญาต และการอนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัดการ

พลังงาน พ.ศ. 2555

กฎกระทรวงกําหนดเครื่องจักร อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง และวัสดุ

เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2552

กฎกระทรวงกําหนดประเภทหรือขนาดของอาคารและมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการในการออกแบบ

อาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2552

ประกาศกระทรวงและประกาศกรมภายใต้กฎกระทรวงแต่ละฉบับ

มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 2551

มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 ธ.ค. 2538มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 17 ก.ค. 2540

พระราชกฤษฎีกากําหนดอาคารควบคุม พ.ศ.2538

โครงสร้างกฎหมาย

Page 2: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

5. กําหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์

พลังงาน รวมทั้งแผนฝึกอบรมและกิจกรรมฯ

6. ดําเนินการตามแผนฯและตรวจสอบวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมาย

และแผนฯ

3. การกําหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานและ

เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

7. ตรวจติดตามประเมินระบบการจัด

การพลังงาน

8. การทบทวน วิเคราะห์

แก้ไขระบบ

2. การประเมินสถานการจัดการเบื้องต้น

4. การประเมินศักยภาพ

การอนุรักษ์พลังงาน

1. การจัดให้มีคณะทํางานด้านการจัดการพลังงาน

วิธีการจัดการพลังงาน ประกอบด้วย 8 ขั้นตอน ดังนี้กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานฯ

Management Review

Internal Energy Management Audit Implement & Follow Up

Energy Audit

การเผยแพร่มีข้อกําหนดให้เผยแพร่ขั้นตอนที่ 1, 3, 5, 7 และ

8

www.energysafety1995.com

หัวใจของการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานนอกจากเรื่องสถิติและข้อมูลการใช้และผลิตพลังงาน

ศักดา สิทธิเครือ 0890419956 [email protected]

1. ตรวจสุขภาพพนักงานประจําปี -> ตรวจสุขภาพเครื่องจักรประจําปี (เครื่องจักรที่มีนัยสําคัญทางด้านพลังงาน)2. มาตรการอนุรักษ์พลังงาน3. Trainคน + ขอความร่วมมือ

Hardware และ Software

www.energysafety1995.com

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 7

สําหรับดาวน์โหลดhttps://drive.google.com/drive/folders/1EaJ_-Sw0pubfMzCwoajNwI8h7i0FOtto?usp=sharing

http://www.dede.go.th/ewt_news.php?nid=102

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 8

ข้อกําหนดกฎกระทรวง

ข้อกําหนด - กฎกระทรวง

Page 3: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 9

ข้อ24 (3)

Major

ข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 10

Majorข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 11

Minor

1, 7, 3

ข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 12

Minor

1,3,5,7

2

1

34

78

4566

Page 4: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 13

ข้อกําหนดประกาศกระทรวง

ข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 14

ข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 15

ข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 16

การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน

1. การประเมินระดับองค์กร2. การประเมินระดับผลิตภัณฑ์/การบริการ3. การประเมินระดับเครื่องจักร/อุปกรณ์

ข้อกําหนด - ประกาศกระทรวง

Page 5: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 17

1. ข้อกําหนด2. การประเมินระดับองค์กร

2.1 ข้อมูลหม้อแปลงไฟฟ้า2.2 ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า2.3 ข้อมูลการใช้พลังงานความร้อน2.4 ข้อมูลการใช้พลังงานเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า2.5 ข้อมูลรายการคํานวณสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า2.6 ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า2.7 ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงานความร้อน2.8 ข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงาน2.9 ข้อมูลเปรียบเทียบข้อมูลการใช้พลังงานหรือดัชนีการใช้พลังงานเทียบกับ

ค่าเป้าหมาย

ข้อมูลการจัดทํารายงาน

Input

Output

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 18

3. การประเมินระดับผลิตภัณฑ์ (กรณีโรงงาน)3.1 ข้อมูลกระบวนการผลิต3.2 ข้อมูลผลผลิต3.3 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของหน่วยผลผลิต

4. การประเมินระดับการบริการ (กรณีอาคาร)4.1 ข้อมูลการใช้งานอาคาร4.2 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของหน่วยพื้นที่ใช้สอย4.3 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของจํานวนคนไข้ใน4.4 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของจํานวนห้องที่จําหน่ายได้

ข้อมูลการจัดทํารายงาน

Input

Input

Output

Output

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 19

5. การประเมินระดับเครื่องจักร/อุปกรณ์5.1 การประเมินหาเครื่องจักร/อุปกรณ์ที่มีนัยสําคัญ5.2 แบบบันทึกข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าที่มีนัยสําคัญของเครื่องจักร/อุปกรณ์หลัก5.3 แบบบันทึกข้อมูลการใช้พลังงานความร้อนที่มีนัยสําคัญขอเครื่องจักร/อุปกรณ์หลัก

Input

Output

ข้อมูลการจัดทํารายงาน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 20

การกรอกข้อมูลหม้อแปลงไฟฟ้า1.1 ข้อมูลหมอ้แปลงไฟฟ้า

1. การประเมินระดับองค์กร

ภาคผนวก ก โรงงาน

ภาคผนวก ข อาคาร

Page 6: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

อัตราค่าไฟฟ้า (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิมและค่าไฟฟ้าผันแปร;Ft)เริ่มใช้ พ.ย. 61

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 22

เริ่มใช้ พ.ย. 61

TOD มีเฉพาะประเภทที่ 4

0.6197*1182=732.48 แต่ Max kVAR คือ600 จึงไม่เสียเงินสมมติว่า Max kVAR คือ 800 จะเสียเงิน = 800 - 732.48 = 67.52 ปัดเป็น 68ดังนั้นเสียเงิน = 68 * 56.07 บาทต่อkVAR

OP คือจ.-ศ. 22.00 – 09.00 น.H คือ เสาร์-อาทิตย์

เสียเงินในส่วนที่ Max kVAR > .6197*Max kW(เอาตัวเลขมากสุดไม่สนใจว่าช่วงไหน)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 24

ของค่าสูงสุด = 2219 kW

Peak 18.30-21.30 น.ทุกวัน Partial 08.00-18.30 น.ทุกวัน(ค่าPeak Demand คิดเฉพาะส่วนที่เกินPeak)Off Peak 21.30-08.00 น.ทุกวัน

Partial

TOD

Page 7: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

เริ่มใช้ พ.ย. 61

ประเภทที่ 5 มีเฉพาะ TOU

อนุโลมสําหรับ ผู้ที่ยังไม่ติดมิเตอรT์OU

อัตราค่าไฟฟ้า

เสียเงินในส่วนที่ Max kVAR > .6197*Max kW(เอาตัวเลขมากสุดไม่สนใจว่าช่วงไหน)

2 % ทั้งค่าPeak Demand และค่าหน่วย

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 28

ข้อมูลระบบไฟฟ้าPeak 18.30-21.30 น.ทุกวัน Partial 08.00-18.30 น.ทุกวัน(ค่าPeak Demand คิดเฉพาะส่วนที่เกินPeak)Off Peak 21.30-08.00 น.ทุกวัน

TOD

Page 8: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 29

TOU

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 30

การกรอกข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า1.2 ข้อมูลปริมาณการใชไ้ฟฟ้า ภาคผนวก ค โรงงาน

ภาคผนวก ข อาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 31

ของค่าสูงสุด = 2370 kW

TOD

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 32

วิธีการหาตัวประกอบภาระโหลดTOD

Page 9: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 33 หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 34

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 35 หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 36

การกรอกข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคผนวก ค โรงงาน

ภาคผนวก ข อาคาร

Page 10: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 37

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบการใช้พลังงานไฟฟ้า (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-1)

กรณีโรงงานกรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 38

การกรอกตารางข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงและพลังงานหมุนเวียนในรอบปี 1.3 ข้อมูลการใชพ้ลังงานความร้อน ภาคผนวก ง โรงงาน

ภาคผนวก ค อาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 3939

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบการใช้พลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิงรายเดือน (ตามฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-2)

กรณีโรงงานกรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4040

การกรอกข้อมูลการใช้เชื้อเพลิง ในการผลิตไฟฟ้า1.4 ข้อมูลการใชเ้ชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ภาคผนวก ง อาคาร

Page 11: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4141

การกรอกข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า

ภาคผนวก จ โรงงาน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4242

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบการใช้พลังงานเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้ารายเดือน (ตามฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-3)

กรณีโรงงานกรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4343

1.5 ข้อมูลสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า การกรอกสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกตามระบบ

ภาคผนวก ฉ โรงงาน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 44

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า (ตามฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-4) กรณีโรงงาน

Page 12: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4545

การกรอกสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกตามระบบภาคผนวก จ อาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 46

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า (ตามฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-4)

กรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 4747

1.6 ข้อมูลรายการคํานวณสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้า การกรอกรายการคํานวณสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกตามระบบ

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 48

ช่อง (11) ระบุ “พลังงานใช้งานจริง (kWh/ปี)” ให้ระบุพลังงานไฟฟ้าใช้งานจริงแต่ละรายการให้สอดคล้องตามช่อง (1) โดยสามารถแยกแต่ละวิธีได้ดังนี้

กรณีที่ 1 ได้มาจากการอ่านค่าจากมิเตอร์ย่อยที่ติดตั้งในแต่ละเครื่องจักร/อุปกรณ์ ตัวอย่าง การกรอกข้อมูล เตาหลอม no.1 เท่ากับ 42,377 kWh/ปี เป็นต้น

กรณีที่ 2 ไม่ทราบค่ากําลังไฟฟ้าที่ใช้งานจริง ต้องใช้การคํานวณหาโดยมีสูตรการคํานวณดังนี้ พลังงานใช้งานจริง = กําลังไฟฟ้าพิกัด (ช่อง 5) x % สัดส่วนพิกัด (ช่อง 7) x % สัดส่วนการทํางาน (ช่อง 8)

x ชั่วโมงทํางานชม./วัน (ช่อง 9) x วันทํางาน วัน/ปี (ช่อง 10) ตัวอย่าง การกรอกข้อมูล Exhaust Fan ของแผนกหลอมพลังงานใช้งานจริง = 5.5 kW x 90% x 100% x 8 ชม./วัน x 246 วัน/ปี

= 9,741.6 kWh/ปี

การกรอกรายการคํานวณสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกตามระบบ

Page 13: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 49

กรณีที่ 3 ทราบค่ากําลังไฟฟ้าที่ใช้งานจริง ต้องใช้การคํานวณหา โดยมีสูตรการคํานวณดังนี้พลังงานใช้งานจริง = กําลังไฟฟ้าที่ใช้งานจริง (ช่อง 6) x % สัดส่วนพิกัด (ช่อง 7) x %

สัดส่วนการทํางาน (ช่อง 8) x ชั่วโมงทํางาน ชม./วัน (ช่อง 9) x วันทํางาน วัน/ปี(ช่อง 10)

ตัวอย่าง การกรอกข้อมูล ปั๊ม no.1 ของ ฝ่ายซ่อมบํารุงพลังงานใช้งานจริง = 11.7 kW x 100% x 100% x 8 ชม./วัน x 246 วัน/ปี

= 23,026 kWh/ปีหมายเหตุ กรณีที่ 3 % สัดส่วนพิกัด (ช่อง 7) จะต้องกรอกเท่ากับ 100 %

การกรอกรายการคํานวณสัดส่วนการใช้พลังงานไฟฟ้าแยกตามระบบ

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 5050

การกรอกสัดส่วนการใช้พลังงานความร้อน แยกตามระบบ

ภาคผนวก ช โรงงานภาคผนวก ฉ อาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 51

การกรอกสัดส่วนการใช้พลังงานความร้อน แยกตามระบบ

ช่อง (3) ช่องวิธกีาร ให้เลือกจากการประเมินหรือการตรวจวัดตัวอย่างการประเมินการใช้พลังงานความร้อนของเครื่องจักรหนึ่ง สามารถประเมินได้ 2 แนวทางดังนี้

แนวทางที่ 1 กรณีที่สามารถตรวจวัดปริมาณการใช้เชื้อเพลิงได้

ปริมาณการใช้พลังงาน = ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงต่อปี x ค่าความร้อนของเชื้อเพลิงโดย ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงต่อปี = ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงที่บันทึกจากมาตรวัด หรือจากการประเมินค่าความร้อนของเชื้อเพลิง = ค่าความร้อนของเชื้อเพลิงตามภาคผนวก ข้อมูลการใช้เชื้อเพลิง

แนวทางที่ 2 กรณีที่ทราบอัตราการใช้เชื้อเพลิง

ปริมาณการใช้พลังงาน = อัตราการใช้เชื้อเพลิงต่อชั่วโมง x วันทํางานต่อปี x ชั่วโมงใช้งานต่อวัน x สัดส่วนการทํางาน x ค่าความร้อนของเชื้อเพลิง

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 5252

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงานความร้อน (ตามฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-5)

กรณีโรงงานกรณีอาคาร

Page 14: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 5353

1.8 ข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใชง้าน

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนการใช้พลังงาน (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4.6)

กรณีโรงงานกรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 5454

กราฟเปรียบเทียบข้อมูลการใช้พลังงานหรือดัชนีการใช้พลังงานเทียบกับค่าเป้าหมาย ภายในอาคาร/โรงงาน หรือเปรียบเทียบข้อมูลการใช้พลังงานกับอาคาร/โรงงานอื่น (ตามฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-7)

กรณีที่ 1 เปรียบเทียบค่าการใช้พลังงานจําเพาะต่อหน่วยผลผลิตกับค่าเป้าหมายภายในโรงงาน

1.9 ข้อมูลเปรียบเทียบการใช้พลังงานหรือดัชนีการใช้พลังงานเทียบกับค่าเป้าหมาย

เปรียบเทียบการใช้พลังงานและดัชนีการใช้พลังงานเทียบกับค่าเป้าหมายภายในโรงงาน

กรณีโรงงาน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 5555

กรณีที่ 2 เปรียบเทียบพลังงานไฟฟ้าทั้งหมด (kWh/ปี) ผู้บริหารอาคาร/โรงงาน กําหนดลดการใช้พลังงานไฟฟ้าเป็น %

กรณีอาคาร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 56

ข้อมูลกระบวนการผลิต แสดงแผนผังกระบวนการผลิต และคําอธิบายการผลิตโดยย่อ ถ้าวิเคราะห์ประเมินสัดส่วนการใช้พลังงานได้ควรแสดงในแผนผังกระบวนการผลิตด้วย และควรแยกการแสดงสัดส่วนไฟฟ้าและความร้อน ตัวอย่างเช่น แผนผังกระบวนการผลิตสับปะรดกระป๋อง (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-8

2.1 ข้อมูลกระบวนการผลิต

2. การประเมินระดับผลิตภัณฑ์ (กรณีโรงงาน)

Page 15: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 57

วิธีการกรอกข้อมูล

ประเภทรายการข้อมูลที่ตอ้ง

ใช้ (input)การกรอกข้อมูล

รายการข้อมูลที่ไดร้บั (output)

การแสดงข้อมูล

โรงงานควบคุม

กระบวนการผลิต

คําอธิบายกระบวนการผลิต

สัดส่วนการใช้พลังงาน

ขั้นตอนที่ 4รูปที่ 4 – 8

กระบวนการผลิตที่สามารถอธิบายการใช้และปริมาณพลังงานในแต่ละขั้นตอนในการผลิต

ขั้นตอนที่ 4รูปที่ 4 – 8

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 58

2.2 ข้อมูลผลผลิตการกรอกข้อมูลตารางปริมาณการผลิตจําแนกตามผลิตภัณฑ์

การกรอกตารางข้อมูลการผลิตในรอบปี

ภาคผนวก ข โรงงาน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 59

ตัวอย่างคํานวณกําลังผลิตติดตั้ง เป็นกําลังการผลิตเต็มที่ ซึ่งมักไม่ได้ใช้ในการปฏิบัติงานจริง เพราะเป็นการใช้เครื่องจักรอุปกรณ์เต็มที่โดยไม่คํานึงถึงการหยุดพัก หรือการบํารุงรักษาเลยตัวอย่าง แสดงการคํานวณ ในเดือน พ.ค.

กําลังการผลิต = 8 ตันต่อชั่วโมงจํานวนชั่วโมงการทํางาน = 31 วัน x 24 ชั่วโมง

= 744 ชั่วโมงต่อเดือนดังนั้น กําลังการผลิตติดตั้ง = 8 x 744

= 5,952 ตันต่อเดือน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 60

2.3 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของหน่วยผลผลิต ตัวอย่างปริมาณการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิตของ สับปะรดกระปอ๋ง ในรอบปี 2558 และ

2559 (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ ตารางที่ 4.1)

Page 16: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 61

ช่อง (4) แสดงคํานวณค่าการใช้พลังงานจําเพาะ (Specific Energy Consumption : SEC) ในรอบปีที่ผ่านมา

ตัวอย่างการคํานวณหาค่าการใช้พลังงานจําเพาะ (SEC) เดือนมกราคม 58

= (ปริมาณพลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) x 3.6) +ปริมาณพลังงานความร้อน (เมกะจูล)ปริมาณผลผลิต (หน่วย)

= (1,365,000 kWh X 3.6 MJ/ kWh) + ( 14,650 kg X 50.23 MJ/kg)4,696.51 ตัน

= 1,202.99 MJ/ตัน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 62

ตัวอย่างกราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบค่า SEC ของผลิตภัณฑ์ ปี 2558 และ 2559 (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ รูปที่ 4-8)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 63

3.1 ข้อมูลการใชง้านอาคาร

การกรอกข้อมูลรายละเอียดการใช้งานอาคาร (สําหรับอาคารทุกประเภท) (ตาม แบบฟอร์มรายงานฯ ตารางที่ ก.1 และ ก.2)

ภาคผนวก ก

3. การประเมินระดับผลิตภัณฑ์ (กรณีอาคาร)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 64

การกรอกข้อมูลการใช้ประโยชน์พื้นที่ใช้สอยที่ใช้งานจริงในแต่ละเดือน(ตามแบบฟอร์มรายงานฯ ตารางที่ ก.3 และ ก.4)

ภาคผนวก ก

Page 17: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 65

ตัวอย่างปริมาณการใช้พลังงานต่อหน่วยพื้นที่ใช้สอยที่ใช้งานจริงในรอบปี 2558 และปี 2559 (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ ตารางที่ 4.1)

3.2 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของหน่วยพื้นทีใ่ช้สอย ภาคผนวก ก

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 66

ตัวอย่าง การคํานวณหาค่าการใช้พลังงานจําเพาะ (SEC) เดือนมกราคม 58 (กรณีทุกอาคาร)

= (ปริมาณพลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) x 3.6) +ปริมาณพลังงานความร้อน (เมกะจูล) พื้นที่ใช้สอยที่ใช้จริงแต่ละเดือน (ตารางเมตร)

= (1,365,000 kWh X 3.6 MJ/ kWh) + ( 14,650 kg X 50.23 MJ/kg)61,533 m2

= 91.82 MJ/m2

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 67

กราฟแสดงข้อมูลเปรียบเทียบ ค่าใช้พลังงานจําเพาะในรอบปี 2558 และปี 2559 (ตามแบบฟอร์มรูปที่ 4-7)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 68

3.3 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของจาํนวนคนไขใ้น ตัวอย่างปริมาณการใช้พลังงานต่อหน่วยจํานวนคนไข้ใน ในรอบปี 2558 และปี 2559 (กรณีโรงพยาบาล) (ตามแบบฟอร์ม ตารางที่ 4.2)

Page 18: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 69

ช่อง (4) แสดงคํานวณค่าการใช้พลังงานจําเพาะ (Specific Energy Consumption : SEC) ในรอบปีที่ผ่านมาตัวอย่าง การคํานวณหาค่าการใช้พลังงานจําเพาะ (SEC) เดือนมกราคม 55 (กรณีโรงพยาบาล)

= (ปริมาณพลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) x 3.6) +ปริมาณพลังงานความร้อน (เมกะจูล) จํานวนคนไข้ในแต่ละเดือน (เตียง-วัน)

= (1,365,000 kWh X 3.6 MJ/ kWh) + ( 14,650 kg X 50.23 MJ/kg)1,944 เตียง-วัน

= 2,906.31 MJ/เตียง-วัน

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 70

ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของจํานวนคนไข้ใน ในรอบปี 2558 และปี 2559 (ตามแบบฟอร์มรูปที่ 4.8)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 71

ตัวอย่างปริมาณการใช้พลังงานต่อหน่วยจํานวนห้องที่จําหน่ายได้แต่ละเดือน ในรอบปี 2558 และปี 2559 (กรณีโรงแรม) (ตามแบบฟอร์มรายงานฯ ตารางที่ 4.3)

3.4 ค่าการใช้พลังงานจําเพาะของจํานวนห้องที่จําหน่ายได้

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 72

ตัวอย่างการคํานวณหาค่าการใช้พลังงานจําเพาะ (SEC) เดือนมกราคม 55 (กรณีโรงแรม)= (ปริมาณพลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) x 3.6) +ปริมาณพลังงานความร้อน (เมกะจูล)

จํานวนห้องที่จําหน่ายได้ในแต่ละเดือน (ห้อง-วัน)= (1,365,000 kWh X 3.6 MJ/ kWh) + (14,650 kg X 50.23 MJ/kg)

11,088.08 ห้อง-วนั = 509.54 MJ/ห้อง-วัน

Page 19: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 73

ตัวอย่างกราฟแสดงการใช้พลังงานจําเพาะของห้องที่จําหน่ายได้ในรอบปี 2558 และปี 2559 (กรณีโรงแรม) (ตามแบบฟอร์มรายงานฯรูปที่ 4.9)

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 74

4.1 การประเมินหาเครื่องจักร/อุปกรณ์ทีม่นีัยสําคัญ เกณฑ์การประเมินและการกรอกข้อมูลการประเมิน

ภาคผนวก ซ โรงงานภาคผนวก ช อาคาร

4. การประเมินระดับเครื่องจักร/อุปกรณ์

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 75

ตัวอย่าง เกณฑ์การประเมินขนาดการใช้พลังงานไฟฟ้า

ตัวอย่าง เกณฑ์การประเมินขนาดการใช้พลังงานความร้อน

ขนาดการใช้พลังงาน ไฟฟ้า (kW) คะแนนมากที่สุด

มากปานกลาง

น้อยน้อยมาก

P > 7550 < P < 7520 < P < 505 < P < 20

P < 5

54321

ขนาดการใช้พลังงาน LPG (kg/เดือน) NG (MMBtu/เดือน) คะแนนมากที่สุด

มากปานกลาง

น้อยน้อยมาก

LPG > 5,0001,000 < LPG < 5,000100 < LPG < 1,000

15 < LPG < 100LPG < 15

NG > 2,5001,000 < NG < 5,000100 < NG < 1,000

10 < NG < 100NG < 10

54321

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 76

ตัวอย่าง เกณฑ์การประเมินชั่วโมงการใช้งาน

ชั่วโมงการใช้งาน ชม./วัน คะแนนมากที่สุด

มากปานกลาง

น้อยน้อยมาก

T > 2010 < T < 204 < T < 101 < T < 4

T < 1 หรือ ใช้นาน ๆ ครั้ง เช่น เดือนละ 1-2 ครั้ง เป็นต้น

54321

Page 20: ????? 5-1 ????????????????? ???? 4อ ตราค าไฟฟ า (ย งไม รวมภาษ ม ลค าเพ มและค าไฟฟ าผ นแปร;Ft) เร

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 77

ตัวอย่าง เกณฑ์การประเมินศักยภาพการปรับปรุง

ศักยภาพการปรับปรุง เกณฑ์ในการประเมินศักยภาพการปรับปรุง คะแนนมากที่สุด

มากปานกลาง

น้อย

มีศักยภาพมากที่สุดมีศักยภาพมาก

มีศักยภาพปานกลางมีศักยภาพน้อย

4321

ซึ่งการประเมินศักยภาพนั้น สามารถพิจารณาได้การสูญเสียประสิทธิภาพของเครื่องจักรนั้น ๆ ยิ่งมีความสูญเสียมาก ก็ยิ่งมีศักยภาพมาก สามารถแบ่งเป็นปัจจัยย่อยๆ ได้ดังนี้

อายุการใช้งาน การบํารุงรักษาความสามารถในการควบคุม เช่น เครื่องจกัรที่มีระบบควบคุมอัตโนมัติ จะมีศักยภาพในการ

ประหยัดพลังงานน้อยกว่าเครื่องจักรที่ใช้คนควบคุม (มีความสูญเสียน้อยกว่า) เทคโนโลยีของเครื่องจักร/อุปกรณ์

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 78

คะแนนรวม ลําดับความสาํคัญ> 60

40 – 5930 – 3920 – 290 – 19

12345

ตัวอย่าง เกณฑ์จัดลําดับความสําคัญ

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 79

4.2 แบบบันทึกข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าทีม่นีัยสําคัญของเครื่องจักร/อุปกรณ์ ตัวอย่างแบบบันทึกกรอกข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าที่มีนัยสําคัญในเครื่องจักร/อุปกรณ์

หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฏหมาย บทที่ 5 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 80

ตัวอย่างแบบบันทึกกรอกข้อมูลการใช้พลังงานความร้อนที่มีนัยสําคัญในเครื่องจักร/อุปกรณ์