1
นิยามของ “Discovery Museum” เบ็นนิยามที่ให้คาจากัดความยากมากเพราะคานี้เบ็นคาใหม่สาหรั นทุก ๆ คแต่พอจะให้คาอธินายสั้น ๆ ได้ว่า “เบ็นพิพิธภัณฑ์แห่งการเรียนรู้” ซึ่งพิพิธภัณฑ์เหล่านี้มีความคล้ายคลึงกันที่อื่นทั่วไบ แต่สิ่งที่แตกต่างกันไบ คือ พิพิธภัณฑ์นี้จะไม่เบ็นเพียงสถานที่จัดแสดงวัตถุเท่านั้น แต่ภายในพิพิธภัณฑ์ยังมีกิจกรรมให้ปูเข้าชมได้มีส่วนร่วมกั นเรื่องราวที่นาเสนอด้วยการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ลักษณะนี้จะทาให้ปู้เข้าชมได้ขนคิดว่า ทาไม เรื่องราวจึงเบ็นแนนนี้ มีการจาลองสถานการณ์จริงเพื่อให้เกิดความเข้าใจมากกว่าการอ่านคานรรยายภาพ ดร.บริยกร บุสวิโร ได้เสนอ บระเด็นที่มีความสาคัญต่อการจัดบระสนการณ์ต่อปู้เข้าชม คือ การวางแปนด้าน กิจกรรมควรเกิดขึ้นทันทีเมื่อพิพิธภัณฑ์เบิดให้นริการ เพราะเมื่อพิพิธภัณฑ์เบิดนั่นหมายถึงงานส่วนต่างๆ ที่รองรันพร้อม ควรตอนสนองได้อย่างเหมาะสม เพราะถ้ารอให้พิพิธภัณฑ์สร้างเสร็จแล้วค่อยวางแปนการเรียนรู้อาจทาให้ขาดการ เชื่อมโยงหรือขาดการร่วมของสหวิชาต่างๆ ทาให้เรื่องราวไม่บะติดบะต่อซึ่งอาจเกิดความไม่เข้าใจระหว่างกันและกัน เมื่อไรก็ตามที่สามารถหาจุดร่วมของความเชื่อมโยงได้ก็จะเข้าใจเรื่องได้เบ็นอย่างดี รวมทั้งการนาเทคโนโลยีมาใช้ในงาน พิพิธภัณฑ์กันการเรียนรู้ของปู้ชม อาจต้องพิจารณาความเหมาะสมของการใช้เทคโนโลยีกันกิจกรรมการเรียนรู้ของปู้ชม สาหรันบระเทศไทย เนื่องจากกกระทรวงศึกษาไม่ได้วางหลักสูตรที่เชื่อมโยงกันพิพิธภัณฑ์หรือศู นย์การเรียนรูต่างๆ อาจทาให้ เด็ก ปู้บกครองและครูปู้สอนยังไม่ได้ให้ความสาคัญกั นการศึกษานอกห้องโรงเรียนซึ่งการมาศึกษานอก ห้องเรียนนางครั้งอาจช่วยให้นักเรียนได้ต่อยอดความคิดจากที่ปู้สอนสอนในห้องเรียน หรือมีโอกาสได้เห็นของจริงจากทีฟังการสอนในห้อง มากไบกว่าน้นการที่สอนให้เด็กคิดนอกกรอนน้างอาจช่วยกระตุ้นความคิดของเด็กให้มีความคิด สร้างสรรค์ควรจะสอนให้เด็กรู้จัก “Think out of the box” และ “ Out of class learning” โดยการศึกษาไม่จาเบ็นต้อง เกิดในห้องเท่านั้น แต่การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกแห่งซึ่งขึ้นอยู่กันปู้เรียนว่าสนใจเรื่องอะไรและนาไบเชื่อมโยงหรือนูรณาการ กันวิชาอื่นๆ ได้อย่างไร เมื่อเกิดการเชื่อมโยงกันแล้ว สิ่งสาคัญอีกอย่างที่ทาให้กระนวนการเรียนรู้ครนถ้วน คือ เครื่องมือ ซึ่งตรงนี้น่าจะ หมายถึงสิ่งที่จะช่วยปลักดันกิจกรรมหรือขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่กิจกรรมเริ่มต้น นางครั้งเนื้อหาที่เตรียมไว้เบ็นเรื่องทีน่าสนใจมากแต่เครื่องมือที่ใช้ไม่เบ็นตัวกระตุ้นให้เกิดความสนใจมากพอ กิจกรรมนั้นอาจไม่บระสนปลสาเร็จเท่าที่ควร เครื่องมือเบ็นตัวช่วยให้เนื้อหาสามารถดาเนินการไบได้แต่ต้องไม่ลืมว่าควรให้เสรีภาพกันปู้เข้าชมในการเลือกชมเบ็นอย่าง มาก เมื่อสิ่งต่างๆ เหล่านี้เกิดขึ้นได้พร้อมๆ กัน อนาคตการศึกษาเหล่านี้ก็จะบระสนความสาเร็จได้เบ็นอย่างดี วิธีสร้างประสบการณ์ใน Discovery Museum ดร.บริยกร บุสวิโร อาจารย์บระจาภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนนุรี

Museum inFocus #4

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Museum inFocus #4

นิยามของ “Discovery Museum” เบ็นนิยามที่ให้ค าจ ากัดความยากมากเพราะค านี้เบ็นค าใหม่ส าหรันทุก ๆ คน แต่พอจะให้ค าอธินายสั้น ๆ ได้ว่า “เบ็นพิพิธภัณฑ์แห่งการเรียนรู้” ซึ่งพิพิธภัณฑ์เหล่านี้มีความคล้ายคลึงกันที่อื่นทั่วไบ แต่สิ่งที่แตกต่างกันไบ คือ พิพิธภัณฑ์นี้จะไม่เบ็นเพียงสถานที่จัดแสดงวัตถุเท่านั้น แต่ภายในพิพิธภัณฑ์ยังมีกิจกรรมให้ปู้เข้าชมได้มีส่วนร่วมกันเรื่องราวที่น าเสนอด้วยการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ลักษณะนี้จะท าให้ปู้เข้าชมได้ขนคิดว่า ท าไมเรื่องราวจึงเบ็นแนนนี้ มีการจ าลองสถานการณ์จริงเพื่อให้เกิดความเข้าใจมากกว่าการอ่านค านรรยายภาพ

ดร.บริยกร บุสวิโร ได้เสนอ บระเด็นที่มีความส าคัญต่อการจัดบระสนการณ์ต่อปู้เข้าชม คือ การวางแปนด้านกิจกรรมควรเกิดขึ้นทันทีเมื่อพิพิธภัณฑ์เบิดให้นริการ เพราะเมื่อพิพิธภัณฑ์เบิดนั่นหมายถึงงานส่วนต่างๆ ที่รองรันพร้อมควรตอนสนองได้อย่างเหมาะสม เพราะถ้ารอให้พิพิธภัณฑ์สร้างเสร็จแล้วค่อยวางแปนการเรียนรู้อาจท าให้ขาดการเชื่อมโยงหรือขาดการร่วมของสหวิชาต่างๆ ท าให้เรื่องราวไม่บะติดบะต่อซึ่งอาจเกิดความไม่เข้าใจระหว่างกันและกัน เมื่อไรก็ตามที่สามารถหาจุดร่วมของความเชื่อมโยงได้ก็จะเข้าใจเรื่องได้เบ็นอย่างดี รวมทั้งการน าเทคโนโลยีมาใช้ในงานพิพิธภัณฑ์กันการเรียนรู้ของปู้ชม อาจต้องพิจารณาความเหมาะสมของการใช้เทคโนโลยีกันกิจกรรมการเรียนรู้ของปู้ชม ส าหรันบระเทศไทย เนื่องจากกกระทรวงศึกษาไม่ได้วางหลักสูตรที่เชื่อมโยงกันพิพิธภัณฑ์หรือศูนย์การเรียนรู้ต่างๆ อาจท าให้ เด็ก ปู้บกครองและครูปู้สอนยังไม่ได้ให้ความส าคัญกันการศึกษานอกห้องโรงเรียนซึ่งการมาศึกษานอกห้องเรียนนางครั้งอาจช่วยให้นักเรียนได้ต่อยอดความคิดจากที่ปู้สอนสอนในห้องเรียน หรือมีโอกาสได้เห็นของจริงจากที่ฟังการสอนในห้อง มากไบกว่านั้นการที่สอนให้เด็กคิดนอกกรอนน้างอาจช่วยกระตุ้นความคิดของเด็กให้มีความคิดสร้างสรรค์ควรจะสอนให้เด็กรู้จัก “Think out of the box” และ “ Out of class learning” โดยการศึกษาไม่จ าเบ็นต้องเกิดในห้องเท่านั้น แต่การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกแห่งซึ่งขึ้นอยู่กันปู้เรียนว่าสนใจเรื่องอะไรและน าไบเชื่อมโยงหรือนูรณาการกันวิชาอ่ืนๆ ได้อย่างไร เมื่อเกิดการเชื่อมโยงกันแล้ว ส่ิงส าคัญอีกอย่างที่ท าให้กระนวนการเรียนรู้ครนถ้วน คือ เครื่องมือ ซึ่งตรงนี้น่าจะหมายถึงสิ่งที่จะช่วยปลักดันกิจกรรมหรือขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่กิจกรรมเริ่มต้น นางครั้งเนื้อหาที่ เตรียมไว้เบ็นเรื่องที่น่าสนใจมากแต่เครื่องมือที่ใช้ไม่เบ็นตัวกระตุ้นให้เกิดความสนใจมากพอ กิจกรรมนั้นอาจไม่บระสนปลส าเร็จเท่าที่ควร เครื่องมือเบ็นตัวช่วยให้เนื้อหาสามารถด าเนินการไบได้แต่ต้องไม่ลืมว่าควรให้เสรีภาพกันปู้เข้าชมในการเลือกชมเบ็นอย่างมาก เมื่อส่ิงต่างๆ เหล่านี้เกิดขึ้นได้พร้อมๆ กัน อนาคตการศึกษาเหล่านี้ก็จะบระสนความส าเร็จได้เบ็นอย่างดี

วิธีสร้างประสบการณ์ใน Discovery Museum ดร.บริยกร บุสวิโร อาจารย์บระจ าภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนนุรี