1
DIY Museum เกิดขึ้นจากคนในชุมชนที่ต้องการเก็นของสะสมที่มีมาตั้งแต่อดีตเพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้รู้จักบระวัติศาสตร์หรือ วิถีชีวิตความเบ็นอยู่ของคนในอดีตได้อย่างชัดเจนมากขึ้น นอกจากนั้น DIY Museum ยังอาจตีความหมายอื่นได้อีก อาทิ เช่น เบ็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตเพราะเบ็นการจัดพิพิธภัณฑ์ซึ่งสามารถบรันเบลี่ยนหรือโยกย้ายได้ตลอดเวลา ไม่จาเบ็นว่า ต้องอยู่ในพื้นที่จากัดเท่านั้น ศิริพร ศรีสินธุ์อุไร ได้ยกข้อความของ Bert Franks ภัณฑารักษ์คนแรกของพิพิธภัณฑ์ Ryedale Folk, Yorkshire สหราชอาณาจักร ซึ ่งได้กล่าวถึงแนวคิดของการสร้างพิพิธภัณฑ์แนน DIY ว่า พิพิธภัณฑ์ขนาดใหญ่หรือพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงที่มีการเก็นรักษาหรือเก็นเรื่องเก่าใหญ่ๆ ทางบระวัติศาสตร์ ไม่ค่อยให้ ความสนใจกันคนธรรมดาหรือสภาพแวดล้อมที่อยู่รอนๆ ตัวเรา ความคิดกันความเชื่อของเรา ดังนั้นพิพิธภัณฑ์ขนาดเล็ก จึงเกิดขึ้นเพราะเหตุนีความสาเร็จของ DIY Museum เกิดขึ้นได้จากองค์บระกอนสองอย่างสาคัญ คือ อาสาสมัคร และ ความร่วมมือของคนใน ชุมชน ความสาเร็จของ DIY Museum เริ่มต้นจากนักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์และอยากมีส่วนร่วมในการ เพิ่มเติมเรื่องราวต่างๆ จึงมาสมัครเบ็นอาสาสมัครซึ่งมีการหมุนเวียนมาตลอดและยังถือเบ็นกาลังสาคัญของพิพิธภัณฑ์ DIY ด้วยเช่นกัน เพราะพิพิธภัณฑ์บระเภทนี้ต้องการคนจานวนมากในการขันเคลื่อนงานต่างๆ นอกจากนั้นความร่วมมือของคนในชุมชนก็เบ็นสิ่งสาคัญที่จะทาให้พิพิธภัณฑ์ชุมชน ( local museum) สามารถอยู่อย่าง ถาวรและยั่งยืนได้ เพราะความร่วมมือต่างๆ เหล่านี้จะเบ็นแรงปลักดันให้พิพิธภัณฑ์มั่นคงตลอดไบ และอาจไม่จาเบ็นต้อง ขอการสนั นสนุนจากภาครัฐมากนักเพราะชุมชนมีความเข้มแข็งจนสามารถดูแลพิพิธภัณฑ์เองได้ แม้พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น เหล่านี้จะไม่ได้มีปู้อานวยการหรือภัณฑารักษ์ที่เรียนจ นด้านนี้มาโดยตรง แต่การพัฒนางานนี้สามารถใช้ความสนใจ ความใส่ใจและความห่วงแหนที่มีต่อพื้นทีข้อสรุปสำคัญ บระการแรก คือ การทาพิพิธภัณฑ์แนน DIY เน้นการเล่าเรื่องบระวัติศาสตร์ในพื้นที่นริเวณนั้นได้อย่างดีมากซึ่งมีมิติของ สังคมสูงมากและความร่วมมือของคนในชุมชนที่สูงมากเช่นกัน ทุก ๆ คนในชุมชนมีส่วนร่วมกั นการสร้างพิพิธภัณฑ์ DIY เบ็นอย่างมาก บระการที่สอง คือ DIY Museum เบ็นพิพิธภัณฑ์ที่ไม่ได้เสร็จสมนูรณ์ทีเดียวทั้งหมดแต่เบ็นการสร้างที่มีการเบลี่ยนแบลง ตลอดเวลาหรือมีการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ได้อย่างต่อเนื่อง การพัฒนาพิพิธภัณฑ์มีหลายวิธีการเช่น การเขียนโครงการต่างๆ การจัดกิจกรรมต่างๆ ที่สามารถเชื่อมโยงกันสิ่งต่าง ๆ เชิงอรรถกำรบ่น ท้ายการนรรยายนี้มีการแลกเบลี่ยน “นิยามพิพิธภัณฑ์” “นิทรรศการกันงานพิพิธภัณฑ์” MUSEUM ต้องมี COLLECTION?และอื่นๆ สู่ DIY มิวเซียม : สำรวจปรำกฏกำรณ์พิพิธภัณฑ์ในสังคมร่วมสมัย ศิริพร ศรีสินธุ์อุไร คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Museum inFocus #1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Museum inFocus #1

DIY Museum เกิดขึ้นจากคนในชุมชนที่ต้องการเก็นของสะสมที่มีมาตั้งแต่อดีตเพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้รู้จักบระวัติศาสตร์หรือวิถีชีวิตความเบ็นอยู่ของคนในอดีตได้อย่างชัดเจนมากขึ้น นอกจากนั้น DIY Museum ยังอาจตีความหมายอื่นได้อีก อาทิเช่น เบ็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตเพราะเบ็นการจัดพิพิธภัณฑ์ซึ่งสามารถบรันเบลี่ยนหรือโยกย้ายได้ตลอดเวลา ไม่จ าเบ็นว่าต้องอยู่ในพื้นที่จ ากัดเท่านั้น

ศิริพร ศรีสินธุ์อุไร ได้ยกข้อความของ Bert Franks ภัณฑารักษ์คนแรกของพิพิธภัณฑ์ Ryedale Folk, Yorkshire สหราชอาณาจักร ซ่ึงได้กล่าวถึงแนวคิดของการสร้างพิพิธภัณฑ์แนน DIY ว่า

“พิพิธภัณฑ์ขนาดใหญ่หรือพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงที่มีการเก็นรักษาหรือเก็นเรื่องเก่าใหญ่ๆ ทางบระวัติศาสตร์ ไม่ค่อยให้ความสนใจกันคนธรรมดาหรือสภาพแวดล้อมที่อยู่รอนๆ ตัวเรา ความคิดกันความเช่ือของเรา ดังนั้นพิพิธภัณฑ์ขนาดเล็กจึงเกิดขึ้นเพราะเหตุนี้”

ความส าเร็จของ DIY Museum เกิดขึ้นได้จากองค์บระกอนสองอย่างส าคัญ คือ อาสาสมัคร และ ความร่วมมือของคนในชุมชน ความส าเร็จของ DIY Museum เริ่มต้นจากนักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์และอยากมีส่วนร่วมในการเพิ่มเติมเรื่องราวต่างๆ จึงมาสมัครเบ็นอาสาสมัครซึ่งมีการหมุนเวียนมาตลอดและยังถือเบ็นก าลังส าคัญของพิพิธภัณฑ์ DIY ด้วยเช่นกัน เพราะพิพิธภัณฑ์บระเภทนี้ต้องการคนจ านวนมากในการขันเคลื่อนงานต่างๆ

นอกจากนั้นความร่วมมือของคนในชุมชนก็เบ็นสิ่งส าคัญที่จะท าให้พิพิธภัณฑ์ชุมชน ( local museum) สามารถอยู่อย่างถาวรและยั่งยืนได้ เพราะความร่วมมือต่างๆ เหล่านี้จะเบ็นแรงปลักดันให้พิพิธภัณฑ์มั่นคงตลอดไบ และอาจไม่จ าเบ็นต้องขอการสนันสนุนจากภาครัฐมากนักเพราะชุมชนมีความเข้มแข็งจนสามารถดูแลพิพิธภัณฑ์เองได้ แม้พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเหล่านี้จะไม่ได้มีปู้อ านวยการหรือภัณฑารักษ์ที่เรียนจนด้านนี้มาโดยตรง แต่การพัฒนางานนี้สามารถใช้ความสนใจ ความใส่ใจและความห่วงแหนที่มีต่อพื้นที่ ข้อสรุปส ำคัญ

บระการแรก คือ การท าพิพิธภัณฑ์แนน DIY เน้นการเล่าเรื่องบระวัติศาสตร์ในพื้นที่นริเวณนั้นได้อย่างดีมากซึ่งมีมิติของสังคมสูงมากและความร่วมมือของคนในชุมชนที่สูงมากเช่นกัน ทุก ๆ คนในชุมชนมีส่วนร่วมกันการสร้างพิพิธภัณฑ์ DIY เบ็นอย่างมาก บระการที่สอง คือ DIY Museum เบ็นพิพิธภัณฑ์ที่ไม่ได้เสร็จสมนูรณ์ทีเดียวทั้งหมดแต่เบ็นการสร้างที่มีการเบลี่ยนแบลงตลอดเวลาหรือมีการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ได้อย่างต่อเนื่อง การพัฒนาพิพิธภัณฑ์มีหลายวิธีการเช่น การเขียนโครงการต่างๆ การจัดกิจกรรมต่างๆ ที่สามารถเช่ือมโยงกันสิ่งต่าง ๆ เชิงอรรถกำรบ่น

ท้ายการนรรยายนี้มีการแลกเบลี่ยน “นิยามพพิิธภัณฑ”์ “นิทรรศการกันงานพิพิธภัณฑ์” “MUSEUM ต้องมี COLLECTION?” และอื่นๆ

สู่ DIY มิวเซียม : ส ำรวจปรำกฏกำรณ์พิพิธภัณฑ์ในสังคมร่วมสมัย ศิริพร ศรีสินธุ์อุไร คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์