5
Page | 1 Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments: Theoretical and Implementation Perspectives 1. วัตถุประสงค)ของการวจัย เพ ่อศกษารูปแบบและผลกระทบของการใชเคร ่องมอทางปญญาท ่หลากหลายในสภาพแวดลอม การเรยนรูลักษณะส ่อหลายมต (Hypermedia) ในรายวชาดานกายวภาคและสรรวทยา 2. วธการดําเนนการวจัย ในงานวจัยไดทําการศกษานักเรยนจาก 7 สถาบันโดยกําหนดช;วงอายุระหว;าง 19-50 B ลงทะเบยนเรยนในวชาพยาบาลศาสตรC หรอ วชาผูช;วยนักกายภาพบําบัด ของสถาบันการศกษา แห;งหน ่งท เมองเอเธนสC รัฐจอรCเจย สหรัฐอเมรกา โดยใช่อประเภทไฮเปอรCมเดย ในรูปแบบของซดรอมท ่มเน อหา เก ่ยวกับร;างกายของมนุษยC ท ่มส ่อประเภท ภาพกราฟJก เสยง วด โอ ขอความ ่ออกแบบตามแนวคดทฤษฏ คอนสตรัคตวสตC โดยมเคร ่องมอทางปญญาจํานวน 16 ช น ตดตังอยู;ภายในส ่อ ซ ่งในงานวจัยน จะมขันตอน กจกรรมอยู; 9 ขันตอน ประกอบดวย 1) การพัฒนาและทดสอบวธการวจัย 2) การทดสอบก;อนเรยน 3) การปฐมนเทศนักเรยนใหรูจักระบบการทํางานของส ่อท ่ช ่อ Da Vinci’s Book 4) ใหทํากจกรรมการคดออกเสยง 5) ใหผูเรยนใชระบบ Da Vinci’s Book ;วมกับเคร ่องมอทางปญญา 6) การนําเสนอปากเปล;าโดยผู เรยน 7) การทวนทวนบทเรยน 8) การตอบแบบสอบถาม 9) ทําการสัมภาษณC บทเรยนจะมอยู;ทังหมด 5 ชุด ่งในแต;ละชุดจะถูกจัดใหเรยนตามวันท ่แตกต;างกันออกไป ซ ่งการเรยนจะ เร ่มจากง;ายไปหายากตามลําดับการเรยนรูท ่กาวหนและในการวจัยยังตองใชเคร ่องมอต;าง ๆ อาท วธการสอบ ก;อนเรยนแบบปรนัย เคร ่องมอท ่วัดการรับรู โดยใชแบบสอบถาม และแบบสอบถามตามก จกรรมการเรยนรู และ

Cognitive tools for open Learning Environment

Embed Size (px)

DESCRIPTION

research for cognitive tools

Citation preview

Page 1: Cognitive tools for open Learning  Environment

P a g e | 1

Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments: Theoretical and

Implementation Perspectives

1. วัตถุประสงค)ของการวิจัย

เพื่อศึกษารูปแบบและผลกระทบของการใช�เคร่ืองมือทางป�ญญาท่ีหลากหลายในสภาพแวดล�อม

การเรียนรู�ลักษณะสื่อหลายมิติ (Hypermedia) ในรายวิชาด�านกายวิภาคและสรีรวิทยา

2. วิธีการดําเนินการวิจัย

ในงานวิจัยได�ทําการศึกษานักเรียนจาก 7 สถาบันโดยกาํหนดช;วงอายุระหว;าง 19-50 ปB ท่ี

ลงทะเบียนเรียนในวิชาพยาบาลศาสตรC หรือ วิชาผู�ช;วยนักกายภาพบําบัด ของสถาบันการศึกษา แห;งหน่ึงท่ี

เมืองเอเธนสC รัฐจอรCเจีย สหรัฐอเมริกา โดยใช�สื่อประเภทไฮเปอรCมีเดีย ในรูปแบบของซีดีรอมท่ีมีเนื้อหา

เกี่ยวกับร;างกายของมนุษยC ท่ีมีสื่อประเภท ภาพกราฟJก เสียง วิดโีอ ข�อความ ท่ีออกแบบตามแนวคิดทฤษฏี

คอนสตรัคติวิสตC โดยมีเคร่ืองมือทางป�ญญาจํานวน 16 ช้ิน ติดต้ังอยู;ภายในสื่อ ซึ่งในงานวิจยัน้ีจะมีขั้นตอน

กิจกรรมอยู; 9 ขั้นตอน ประกอบด�วย

1) การพัฒนาและทดสอบวิธีการวิจัย

2) การทดสอบก;อนเรียน

3) การปฐมนิเทศนักเรียนให�รู�จักระบบการทํางานของสื่อท่ีชื่อ Da Vinci’s Book

4) ให�ทํากิจกรรมการคิดออกเสียง

5) ให�ผู�เรียนใช�ระบบ Da Vinci’s Book ร;วมกับเคร่ืองมือทางป�ญญา

6) การนําเสนอปากเปล;าโดยผู�เรียน

7) การทวนทวนบทเรียน

8) การตอบแบบสอบถาม

9) ทําการสัมภาษณC

บทเรียนจะมีอยู;ท้ังหมด 5 ชุด ซึ่งในแต;ละชุดจะถูกจัดให�เรียนตามวันท่ีแตกต;างกันออกไป ซึ่งการเรียนจะเร่ิมจากง;ายไปหายากตามลําดับการเรียนรู�ท่ีก�าวหน�า และในการวิจัยยังต�องใช�เคร่ืองมือต;าง ๆ อาทิ วิธีการสอบก;อนเรียนแบบปรนัย เคร่ืองมือท่ีวัดการรับรู�โดยใช�แบบสอบถาม และแบบสอบถามตามกจิกรรมการเรียนรู� และ

Page 2: Cognitive tools for open Learning  Environment

P a g e | 2

นอกจากยังใช�เทคนิคอีก 5 อย;าง อาทิ เทคนิคการแสดงออก เทคนิคการคิดออกเสียง เทคนิคการทวนสอบ เทคนิคการสัมภาษณC และ เทคนิคการวิเคราะหCผลิตภัณฑC

3. ผลการวิจัย

ผลของการวิจัยพบว;าการทํางานของเคร่ืองมือสามารถสนับสนุนกระบวนการทางป�ญญาได�เป̂น

อย;างดี โดยมกีารรายงานจากผู�เรียนว;าผลของการใช�สื่อทําให�การรับรู�ของผู�เรียนดีขึ้น

4. การนําผลการวิจัยไปประยุกต)ใช?

จากผลการวิจัยท่ีเกิดการการนําเคร่ืองมือทางป�ญญาไปใช�ร;วมกับสื่อท่ีเรียกว;า Da Vinci’s Boo

พบว;าเคร่ืองมือแต;ละประเภทสามารถช;วยผู�เรียนให�เกิดการเรียนรู� โดยอาศัยคุณสมบัติของแต;ละประเภท

เช;น เคร่ืองมือสําหรับการสืบค�นข�อมูล เคร่ืองมือนําเสนอข�อมูล เคร่ืองมือท่ีใช�สร�างความรู� เป̂นต�น ซึ่ง

คาดว;าถ�ามกีารนําหลักการ หรือเคร่ืองมือทางป�ญญาเหล;าน้ี ไปใช�ร;วมกับสื่อในสาขาวิชาอื่น ๆ จะสามารถ

เสริมศักยภาพการเรียนรู�ของผู�เรียนได�ดีย่ิงขึ้น เช;น สื่อในสาขาวิชาทางด�านกฎหมาย ท่ีมีความซับซ�อน

ต�องอาศัยการจดจําเนื้อหา คดิวิเคราะหCไตร;ตรอง ซึ่งคาดว;าจะสามารถนําหลักการท่ีได�จากงานวิจัยพร�อม

เคร่ืองมือทางป�ญญาไปสนับสนุนให�ผู�เรียน ประสบความสําเร็จในการเรียนรู�ได�เป̂นอย;างดี

5. ข?อค?นพบที่เก่ียวข?องกับ Educational Emerging Technology

จากงานวจิัยดังกล;าว เป̂นการศึกษาท่ีเน�นการใช�เคร่ืองมือท่ีสนับสนุนการเรียนรู�เฉพาะตัวบุคคล

ไม;ได�เน�นท่ีกลุ;มบุคคล ซึ่งผู�วจิัยได�เล็งเห็นถึงเทคโนโลยีท่ีเกิดใหม; อาทิ เทคโนโลยีเว็บ หรือ โซเชียล

เน็ตเวิรCค เทคโนโลยี ท่ีจะมาต;อยอดงานวิจัยในลักษณะการศึกษาเคร่ืองมือทางป�ญญาในระดับสังคม (Social

Cognitive) ซึ่งจะสามารถขยายขอบข;ายของงานได�กว�างขวางย่ิงขึ้น

Page 3: Cognitive tools for open Learning  Environment

P a g e | 3

Functional Tool

Classifications

Roles of Tools Principles of Design and

Use

Example Tools

1. Information Seeking Tools

• Support learners as they attempt to identify and locate relevant information

• Support learners to retrieve new and existing knowledge

• Provide multiple perspectives via varied information seeking strategies (Cognitive Flexibility Theory)

• Support learners in monitoring their information seeking activities (Meta cognitive Theory)

Alphabetical Index Bookmark General Index Hyper picture Hypertext Health &Diseases Keyword Search Map & Guide Mechanism Path Tracker Reviewer Structure Map Text Memo Visual History Voice Memo Google Search

2. Information Presentation Tools

• Support learners as they attempt to present the information they encounter

• Assist in clarifying the relationship among the information

• Provide multi-modal representations (Cognitive Flexibility Theory)

• Reduce demands on working memory(Cognitive Load Theory)

Bookmark Presentation Maker Mechanism Path Tracker Reviewer Structure Map Text Memo Visual History Voice Memo Dreamweaver Power point Pro show producer

Page 4: Cognitive tools for open Learning  Environment

P a g e | 4

Functional Tool

Classifications

Roles of Tools Principles of Design and

Use

Example Tools

3. Knowledge Organization Tools

• Support learners as they attempt to establish conceptual relationships in to-be-learned information

• Help learners to interpret, connect, and organize the represented information meaningfully

• Avoid over simplifications of complex conceptual schemata( Cognitive Flexibility Theory)

• Help learners to simplify unnecessarily complex cognitive tasks

(Cognitive Load Theory)

• Facilitate self-regulated organization (Meta cognition Theory)

Bookmark Hyper picture Hypertext Map & Guide Mechanism Structure Map Text Memo Voice Memo My Mapping tool Blog

4. Knowledge Integration Tools

• Support learners in connecting new with existing knowledge

• Facilitate the processing of content at deeper levels in order to construct personally meaningful knowledge

• Facilitate the sophistication of conceptual understanding (Mental model theory)

• Help learners to monitor knowledge construction process as well as their knowledge status (Meta cognition Theory)

Presentation Maker Text Memo Voice Memo Wikipedia

5. Knowledge Generation Tools

• Support the manipulation and generation of knowledge

• Help learners to represent their newly generated knowledge flexibly and meaningfully

• Encourage multiple perspective and multi-modal knowledge generation(Cognitive Flexibility Theory)

• Allow learners to select varied cognitive strategies(Meta cognition Theory)

Presentation Maker Text Memo Voice Memo LOGO computer language

Page 5: Cognitive tools for open Learning  Environment

P a g e | 5

ผู�ร;วมงาน ประกอบด�วย

1. นางกนกพิชญC อนุพันธC รหัสประจําตัว 575050178-6

2. นายโฆษิต จํารัสลาภ รหัสประจําตัว 575050179-4

3. นายรณฤทธ์ิ ธรรมาธิกร รหัสประจําตัว 575050188-3

4. นางสาวอิสยาหC ถือสยม รหัสประจําตัว 575050200-9

นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีการศึกษา ระดับปริญญาโท (โครงการพิเศษ)