13
สสสสสสสสส

ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

  • Upload
    6phepho

  • View
    95

  • Download
    2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

สกินเนอร์

Page 2: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

ประวติัสกินเนอร์ประวติั

สกินเนอร์ เกิดท่ีสหรฐัอเมรกิา จบวทิยาปรญิญาโท และเอกท่ี มหาวทิยาลัยฮาวารด์ และ

เป็นอาจารยท์ี่มหาวทิยามเินโซตา แนวคิด การกระทำาใดๆถ้าได้รบัการเสรมิแรง จะมี

แนวโน้มที่จะเกิดขึ้น สว่นการกระทำาที่ไมเ่สรมิแรง มแีนวโน้มที่การกระทำานัน้ๆจะลดลงและค่อยๆหายไป

Page 3: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

การทดลอง

สำาหรบัการทดลองของสกินเนอร์ เขาได้สรา้งกล่อง ทดลองขึ้นซึ่ง กล่องทดลองของสกินเนอร์ (Skinner

Boxes) จะประกอบด้วยที่ใสอ่าหาร คันโยก หลอดไฟ คันโยกและที่ใสอ่าหารเชื่อมติดต่อกัน การทดลองเริม่

โดยการจบัหนูไปใสก่ล่องทดลอง เมื่อหนูหวิจะวิง่วนไป เรื่อย ๆ และไปเหยยีบถกูคันโยก ก็จะมอีาหารตกลงมา

ทำาใหห้นูเกิดการเรยีนรูว้า่การเหยยีบคันโยกจะได้รบัอาหารครัง้ต่อไปเมื่อหนูหวิก็จะตรงไปเหยยีบคันโยก

ทันที ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวถือวา่หนูตัวนี้เกิดการเรยีนรูแ้บบการลงมอืกระทำาเอง

Page 4: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์
Page 5: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

หลักการและแนวคิดท่ีสำาคัญของสกินเนอร์ 1. การเรยีนรูแ้ละการวดั คือการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม การจะ

พจิารณวา่ผู้เรยีนเกิดการเรยีนรูห้รอืไมก็่ดจูากการตอบสนอง 2.การวางเง่ือนไขและการเสรมิแรงต.ย. ในกรณีมกีารทดลองกับหนู เง่ือนไขท่ีกำาหนดไวก็้คือ ถ้าหนูกด

คาน แล้วก็จะได้รบัอาหารเป็นต้น 3. ประเภทของตัวเสรมิแรง ตัวเสรมิแรงนัน้อาจแบง่ออกได้เป็น

2 ลักษณะคือ อาจแบง่เป็นตัวเสรมิแรงบวกกับตัวเสรมิแรงลบหรอือาจแบง่ได้เป็นตัวเสรมิแรงปฐมภมูกัิบตัวเสรมิแรงทติุยภมูิ

-เสรมิแรงทางลบ -เสรมิแรงทางบวก

Page 6: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

3. ประเภทของตัวเสรมิแรง ตัวเสรมิแรงนัน้อาจแบง่ออกได้เป็น 2 ลักษณะคือ อาจแบง่เป็นตัวเสรมิแรงบวกกับตัวเสรมิแรงลบหรอือาจแบง่ได้เป็นตัวเสรมิแรงปฐมภมูกัิบตัวเสรมิแรงทติุยภมูิ

3.1 ตัวเสรมิแรงทางบวก (Positive Reinforcer) หมาย ถึง สิง่เรา้ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อได้รบัหรอืนำาเขา้มาใน

สถานการณ์นัน้แล้วจะมผีลใหเ้กิดความพงึพอใจ และทำาใหอั้ตรา การตอบสนองเปล่ียนแปลงไปในลักษณะเขม้ขน้ขึ้น

3.2 ตัวเสรมิแรงลบ (Negative Reinforcer) หมายถึง สิง่เรา้ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อตัดออกไปจากสถานการณ์นัน้แล้ว

จะมผีลใหอั้ตราการตอบสนองเปล่ียนไปในลักษณะเขม้ขน้ขึ้นเชน่

Page 7: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

3.3 ตัวเสรมิแรงปฐมภมูิ (Primary Reinforcer) เป็นสิง่เรา้ที่จะสนองความต้องการ

ทางอินทรยีโ์ดยตรง ซึ่งเปรยีบได้กับ UCS. ในทฤษฎี ของพาฟลอฟ

3.4 ตัวเสรมิแรงทติุยภมูิ โดยปกติแล้วตัวเสรมิ แรงประเภทนี้เป็นสิง่เรา้ที่เป็นกลาง (Natural

Stimulus) สิง่เรา้ที่เป็นกลางนี้ เมื่อนำาเขา้คู่กับตัว เสรมิแรงปฐมภมูบิอ่ย ๆเขา้สิง่เรา้ซึ่งแต่เดิมเป็นก

ลางก็กลายเป็นตัวเสรมิแรง

Page 8: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

การลงโทษ

Page 9: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

การพกัชัว่คราว

Page 10: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

การหยุดการเสรมิแรง

Page 11: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

ตารางการเสรมิแรงวธิกีารเสรมิแรง ผลของพฤติกรรม

1.การเสรมิแรงทกุครัง้ อัตตราการแสดงพฤติกรรมอยูใ่นระดับสงูและสมำ่าเสมอ

2.แบบกำาหนดจำานวนครัง้ของการตอบสนองท่ีแน่นอน

อัตตราการแสดงพฤติกรรมจะถ่ีและหยุดชัว่ขณะเมื่อได้รบัการเสรมิแรงน้อยลง

3.แบบกำาหนดจำานวนครัง้ของการตอบสนองท่ีไมแ่น่นอน

อัตตราการแสดงพฤติกรรมถ่ีมากและไมห่ยุดลงหลังจากได้รบัการเสรมิแรงด้วย

4.แบบกำาหนดชว่งเวลาท่ีแน่นอน

อัตตราการแสดงพฤติกกรมจะค่อยๆเพิม่ขึ้นและถ่ีมากท่ีสดุ เมื่อใกล้ถึงเวลาท่ีจะรบัการเสรมิแรง

5.แบบการกำาหนดชว่งเวลาท่ีไมแ่น่นอน

อัตตราการแสดงพฤติกกรมสมำ่าเสมอเน่ืองจากไมส่ามารถคาดได้วา่จะได้รบัการเสรมิแรงเมื่อใด

Page 12: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

การนำาไปใช้

ใชใ้นการปลกูฝังพฤติกรรม (Shaping Behavior) หลักสำาคัญของทฤษฎีการวางเง่ือนไขแบบการกระทำา

ของสกินเนอร์ คือ เราสามารถควบคมุการตอบสนองได้ ด้วยวธิกีารเสรมิแรง กล่าวคือ เราจะใหก้ารเสรมิแรง

เฉพาะเมื่อมกีารตอบสนองท่ีต้องการ เพื่อใหก้ลายเป็น นิสยัติดตัวต่อไป อาจนำาไปใชใ้นการปลกูฝังบุคลิกภาพ

ของบุคคลใหม้พีฤติกรรมตามแบบท่ีต้องการได้

Page 13: ทฤษฎีการเรียนรู้ลงมือกระทำสกินเนอร์

สมาชกิในกลุ่ม

1. นางสาว มาเรยีม กาเจ รหสั 405710004 2. นางสาว อาอีซะหิ หะยนีิมะ รหสั 405710005 3. นางสาว อลาวยีา ปาทาน รหสั 405710007 4. นางสาว มาเรยีอูมี แวแซ รหสั 405710021 5. นางสาว เจะ๊นารซีา เจะ๊นุ รหสั 405710027 6. นางสาว นาดียะ๊ แยนา รหสั 405710039