48
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการ ทางการเคลื่อนไหว โดย นางสาวสุธิดา สัจจะหฤทัย 49050019

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

  • Upload
    ss

  • View
    1.714

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

โดย นางสาวสุธิดา สัจจะหฤทัย 49050019

Page 2: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

ความเปนมาของโครงการ

ในปจจุบันประเทศไทยมีศูนยฟนฟูเฉพาะทางเกี่ยวกับการพิการทางการเคลื่อนไหวยังไมมีเฉพาะมีแตศูนยเวชศาสตรฟนฟูสวางนิวาส จ.สมุทรปราการ และศูนยสิรินธรเพ่ือการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ จ.นนทบุรีจะเห็นไดวาศูนยฟนฟูยังมีไมเพียงพอตอจํานวนเด็กพิการที่มากขึ้นทุกป

พญ.ดารณี สุวพันธ ผูอํานวยการศูนยสิรินธรฯ กลาววา อุบัติการณของเด็กที่พิการแตกําเนิดมีประมาณ 0.9 คนตอพันของเด็กที่คลอดมีชีพ หรือประมาณ 1,500-2,000 คนตอเด็กไทยที่เกิดใหมในแตละป หากรวมยอดสะสมประมาณเปนแสนราย ทั้งนี้หากรวมถึงกลุมเด็กที่มีอาการพิการทางสมอง ซึ่งทําใหเกิดการพิการทางการเคลื่อนไหวดวย หากรวมทั้ง 2 กลุมนี้คาดวาจะมีประมาณ 4-

5 แสนคน แตทั้งนี้ยังไมเคยมีการเก็บขอมูลดังกลาววามีเด็กที่พิการที่แทจริงจํานวนเทาใด

Page 3: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

ความหมายคน พิการ

คนพิการ คือบุคคล ที ่มี ความผิดปกติ หรือมีความ บกพรองทาง รางกาย ทาง สติปญญาหรือจิตใจ

อยางไรท่ีเรียกวาคนพิการ

บุคคลประเภทหนึ่ง ซึ่งมีความ ผิดปกติหรือความ บกพรองทาง ดานรางกาย ทางสติ ปญญา หรือทาง จิตใจ ทําใหเปน อุปสรรค ในการดํารง ชีวิต การประกอบ อาชีพ และ การไดมีสวนรวมในกิจกรรม ตางๆ ของสังคม ซึ่งเรา เรียกบุคคล เหลานี้ วาคนพิการ

พ.ร.บ.สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 มาตรา 4

Page 4: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

ประเภทและลักษณะของคนพิการ

1.คนพิการทางสายตาหรือการมองเห็น

2.คนพิการทางการไดยินหรือการสื่อความหมาย

3.คนพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว

4.คนพิการทางจิตใจ พฤติกรรม หรือออทีสติก

5.คนพิการทางสติปญญา

6.ความพิการทางการเรียนรู

ตามพระราชบัญญัติ การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2550

Page 5: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

สําหรับ ทางการแพทย มีการจัดประเภทความตองการพิเศษ เพ่ือการบําบัดรักษาตามสภาพความพิการเปนประเภทอยางกวาง ๆ ดังนี้

1. ความพิการทางแขน ขา ลําตัว2. ความพิการทางหู3. ความพิการทางตา4. ความพิการทางสติปญญา5. ความพิการทางอารมณและจิตใจ

Page 6: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

คณะ กรรมการรวมขององคการกองทุนเพ่ือเด็กแหงสหประชาชาติ หรือ ยูนิเซฟ (UNICEF) กับองคการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระหวางประเทศ ไดกําหนดประเภทของเด็กที่มีความตองพิเศษ โดยอาศัยลักษณะของความพิการและปญหาของเด็กเปนเกณฑ คือ

1. ตาบอด2. มองเห็นไดอยางเลือนลาง หรือบางสวน3. มีความบกพรองทางการไดยิน4. ปญญาออน5. พิการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว ซ่ึงเกิดจากความพิการทางสมอง ความพิการทางแขน ขา ลําตัว6. มีความบกพรองทางการพูด หรือ การใชภาษา7. มีปญหาการเรียนรูเฉพาะดาน8. มีปญหาทางพฤติกรรมตาง ๆ9. เรียนหนังสือไดชา

10. มีปญหาความพิการซอน

Page 7: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

คนพิการทางกายหรือการเคล่ือนไหว

คนพิการทางกายหรือการเคล่ือนไหว แบงออกไดเปน 2 ประเภท ไดแก

1. คนที่มีความผิดปกต ิหรือบกพรองทางดานรางกายที่สามารถมอง เห็นไดชัดเจน และไมสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจําวันได

2. คนที่สูญเสียความสามารถในการเคล่ือนไหว มือ แขน ขา หรือลําตัว อันเนื่องมาจากแขน ขาขาด เปนอัมพาตหรือออนแรง เปนโรคขอ หรือ มีอาการ ปวดเรื้อรัง หรือเปนโรคเรื้อรังของระบบการทํางานของรางกาย ที่ทําใหไมสามารถประกอบกิจวัตรประจําวันของตนเองหรือปฏิบัติตน เหมือนคนปกติธรรมอื่น ๆ ได

Page 8: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

1. เหตุแตกําเนิด (Congenital)- ซ่ึงอาจเกิดขณะที่แมตั้งครรภโดยแมไดรับสารพิษ หรือกินยาที่มีผลกระทบตอการตั้งครรภ หรือเปนโรคขณะตั้งครรภ เชน หัดเยอรมัน ทําใหลูกเกิดมามีรางกายแขนขาพิการผิดรูปราง

2. เกิดจากอุบัติเหตุตาง ๆ (Trauma)- อุบัติเหตุจากจราจร การทํางาน ภัยสงคราม ภัยธรรมชาติ ทําใหอวัยวะถูกตัดขาด หรือเกิดจากอุบัติเหตุจากกระดูกสันหลังถูกกระแทก หรือไขสันหลังถูกตัดขาด

3. เกิดจากโรคบางชนิด - โรคทางระบบประสาท กลามเนื้อและกระดูก ที่เรียกวา อัมพาต เปนอาการที่เกิดจากการสูญเสียประสาทสวนกลางและสวนปลาย รวมทั้งระบบเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว และรับความรูสึกตาง ๆ ที่พบบอย ไดแก อัมพาตคร่ึงซีก อัมพาตคร่ึงทอน อัมพาตทั้งตัว และอัมพาตแขนหรือขาขางใดขางหนึ่ง

แบงประเภทตามสาเหตุท่ีทําใหเกิดความพิการ

Page 9: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

- โรคสมองพิการ ที่เรียกวา CP ซ่ึงยอมาจาก Cerebral Palsy เปนสภาพความพิการที่เกิดจากศูนยการควบคุมการเคลื่อนไหวทางสมองถูกทําลาย โดยอาการจะมีมากนอยขึ้นอยูกับระดับความรุนแรงของการถูกทําลายของสมองดังกลาว แตอาการที่มักจะพบตั้งแตเด็ก ซ่ึงมีทั้งประเภทออนปวกเปยก และประเภทที่มีอาการเกร็ง มีแขนขาและลําตัว หงิกงอ

- โรคโปลิโอ เกิดจากการติดเช้ือไวรัสที่เซลลของไขสันหลัง มักเปน กับเด็กภายหลังจากการเปนโรคนี้แลว จะมีความพิการหลงเหลืออยู เชน แขนหรือขาลีบ ออนแรง

- โรคกลามเนื้อสลาย (Muscular Dystrophy) เกิดจากความเสื่อมของกลามเนื้อ โดยกลามเนื้อจะคอย ๆ ออนแรงลง จนในที่สุดจะหยุดการเจริญเติบโต

Page 10: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

การแบงกลุมเด็กจากความพิการทางการเคล่ือนไหว

-พิการครึ่งซีกซายหรือขวา ใชอวัยวะเพียงซีกเดียว

-พิการทอนลาง จากเอว สะโพก ทําใหเดินไมไดแคใชมือ แขนได

-พิการทอนบน จากหลังขึ้นไป นั่งไมได คอและกรามเกร็งหรือออน

กองการศึกษาพิเศษ วารสารเพ่ือคนพิการ ป 2549

Page 11: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

ลักษณะบางอยางของเด็กที่มีความบกพรองทางรางกายและสุขภาพที่พอสังเกตได1. ลักษณะของเด็กบกพรองทางรางกาย1.1 แสดงความผิดปกติทางรางกายเปนที่นาสังเกตอยางเดนชัด

1.2 มีปญหาเกี่ยวกับการทรงตัว 1.3 เทาบิดผิดรูป 1.4 กระดูกสันหลังโคงงอ 1.5 กลไกเคลื่อนไหวมีปญหา 1.6 ทาเดินคลายกรรไกร คือเขาชิดปลายเทาแยกจากกัน 1.7 สวมรองเทาขาเหล็ก หรือเบรส 1.8 สูญเสียการควบคุมกลไกกลามเนื้อ หรือการประสานงานของรางกาย 1.9 อาการเคลื่อนไหวสั่น หรือกระตุก 1.10 การทรงตัวของรางกายทั้งสองขางไมสมดุลกัน 1.11 ความผิดปกตินั้นเกี่ยวกับหนาที่การใชงานตามปกติของระบบกระดูกกลามเนื้อ หรือขอตอ 1.12 เดินขากะเผลก หรืออืดอาดเชื่องชา

Page 12: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

2. ลักษณะของเด็กบกพรองทางสุขภาพ2.1 มีอาการเหนื่อยงาย2.2 มีความผิดปกติจนไมสามารถเขารวมกลุมกับเพ่ือนได หรือถูกหัวเราะเยาะ กลายเปนตัวตลก2.3 มักกระสับกระสาย และอยูไมสุข2.4 ชักชาและขาดความคลองแคลว2.5 มักหายใจขัดหลังการออกกําลังกาย2.6 ไอเสียงแหงบอย 2.7 มักบนเจ็บหนาอกภายหลังการทํางานโดยใชรางกาย2.8 หนาแดงงาย มีสีเขียวจางบนแกม ริมฝปากและ/หรือปลายนิ้ว2.9 อาการไขตํ่าๆเปนหวัดบอยๆ2.10 เกิดการชักอยางกระทันหัน

Page 13: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

2.11 ขาดสมาธิ หรือขาดความต้ังใจแนวแน 2.12 เปนลมงาย 2.13 บนวาเจ็บภายในแขน ขาและ/หรือขอตอ2.14 หิวและกระหายน้ําอยางเกินกวาเหตุ2.15 ทาเดินผิดปกติ 2.16 ศรีษะโคลงไปมา 2.17 กาวขึ้นบันไดดวยความยากลําบาก2.18 ทายืนผิดปกติ 2.19 บนวาปวดหลัง2.20 หกลมบอย ๆ

2. ลักษณะของเด็กบกพรองทางสุขภาพ

Page 14: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

เกาอี้ลอเล่ือนโดยท่ัวไปม ี3ชนิดเกาอี้ลอเล่ือนแบบพิเศษเปนอี้ลอเล่ือนที่ใชกันภายนอกอาคารเปนเกาอี้ลอเล่ือนที่มีคุณสมบัติพิเศษ เชน สามารถปรับที่พิงใหเอนได หรือยึดที่วางเทาออกไปได

คุณลักษณะเฉพาะความกวางขณะกางออก 63 ซม.ความกวางของเบาะนั่ง 41 ซม.เสนผาศูนยกลางของลอหลัง 61 ซม.เสนผาศูนยกลางของลอหนา 20 ซม.ความสูงรวมของพนักพิงศรีษะ 123 ซม.รับน้ําหนักได 100 กก.น้ําหนักรถเข็น 17 กก.

Page 15: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

เกาอี้ลอเล่ือนแบบมาตรฐานเปนอี้ลอเล่ือนธรรมดาที่ใชกันทั่วๆไปขนาดเหมาะสําหรับเด็กและผูใหญราคาถูกกวาแบบพิเศษและตอนนี้ประเทศไทยผลิตไดเองแลวทําใหตนทุนถูกขึ้นอีก

คุณลักษณะเฉพาะความกวางขณะกางออก 67ซม.ความกวางขณะพับเก็บ 28ซม.ความกวางของเบาะนั่ง 46ซม.เสนผาศูนยกลางของลอหลัง 61ซม.เสนผาศูนยกลางของลอหนา 20ซม.รับน้ําหนักได 100กก.น้ําหนักรถเข็น 13กก.

Page 16: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

เกาอี้ลอเล่ือนขนาดเล็กกวามาตรฐาน น้ําหนักเบาและสามารถปรับขนาดไดเพ่ือใชกับเด็กที่กําลังเจริญเติบโตใชไดตั้งแตเด็กเล็ก จนถึงวัยรุน

คุณลักษณะเฉพาะความกวางขณะกางออก 52ซม.ความกวางของเบาะนั่ง 40ซม.เสนผาศูนยกลางของลอหลัง 40ซม.เสนผาศูนยกลางของลอหนา 15ซม.รับน้ําหนักได 100กก.น้ําหนักรถเข็น 18กก.

Page 17: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

ลักษณะของความพิการทางกายหรือการเคลื่อนไหว อาจแบงเปนกลุมตามอาการหรือความสามารถของการเคลื่อนไหว

1. คนพิการที่สามารถใชแขนและมือทั้งสองขางหรือขางใดขางหนึ่งไดปกติ แตมีปญหาในการเคลื่อนไหวขาทั้งสองขางหรือขางใดขางหนึ่ง ทําใหมีความยากลําบากในการเดินหรือเดินไมได จําเปนตองนั่งรถเข็น

2.คนพิการที่สามารถเดินไดโดยใชเคร่ืองชวยเดิน เชน ไมค้ํายันเคร่ืองชวยเดินแบบมีลอหรือกลุมที่ขาขาดตองใชขาเทียม หรือกลุมคนพิการที่เดินไดเองแตทรงตัวไมด ีตองใชอุปกรณชวยพยุงขอเทาหรือขอเขา

Page 18: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

3.คนพิการที่มีอาการออนแรงหรือมีอาการเกร็งของแขนหรือขา มีความยากลําบากในการใชแขนและมือ หรือไมสามารถเคลื่อนไหวขาทั้งสองขางหรือขางใดขางหนึ่งได บางคนอาจมีรางกายออนแรงหรือมีอาการเกร็งของรางกายเพียงคร่ึงซีกหรือเฉพาะคร่ึงทอนลาง และอาจจะตองใชเคร่ืองชวยเดิน บางคนอาจจะตองนั่งรถเข็น หรือบางคนสามารถเดินไดแตมีปญหาการควบคุมการใชแขนและมือทั้งสองขาง เชน ในกลุมเด็กสมองพิการ

Page 19: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

1. ประชากรพิการท่ีมีความลําบากในการดูแลตนเองประชากรพิการอายุต้ังแต 7 ปขึ้นไป ท่ีมีความลําบากในการดูแลตนเอง มีจํานวน 3.9 แสนคนคนกลุมน้ีเกือบทุกคน (รอยละ 92.3) มีความลําบากในการขับถาย รวมท้ังการทําความสะอาดหลังการขับถาย รองลงมาคือ การแตงตัว มีรอยละ 82.5การอาบนํ้า มีรอยละ 82.1 การลางหนาแปรงฟนมีรอยละ 65.8 และมีความลําบากในการกินอาหารนอยท่ีสุดคือ รอยละ 59.0

Page 20: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3
Page 21: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3
Page 22: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

กฎหมาย และแผนงานที่เกี่ยวของกับคนพิการทางกาย การเคลื่อนไหว

พระราชบัญญัติการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 และกฎกระทรวง - กําหนดใหคนพิการที่จดทะเบียนเปนคนพิการ ไดรับสิทธิประโยชนตางๆ

แผนการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการแหงชาติ พ.ศ. 2540 – 2544-แบงงานฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ เปน 4 ดาน คือ ดานการแพทย การศึกษา สังคม และอาชีพ โดยแตละดานไดกําหนด แนวทาง และมาตรการไวชัดเจน

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540- ไดระบุในสวนที่มีความสําคัญเกี่ยวกับคนพิการในหมวดตางๆ 4 มาตรา ไดแกมาตรา 30 43 55 และ80

Page 23: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

“การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ” หมายความวา การเสริมสรางสมรรถภาพหรือความสามารถของคนพิการใหมีสภาพที่ดีขึ้น หรือดํารงสมรรถภาพหรือความสามารถที่มีอยูเดิมไว โดยอาศัยกระบวนการทางการแพทย การศาสนา การศึกษา สังคม อาชีพ หรือกระบวนการอื่นใด เพ่ือใหคนพิการไดมีโอกาสทํางานหรือดํารงชีวิตในสังคมอยางเต็มศักยภาพ“การสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต” หมายความวา การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ การจัดสวัสดิการการสงเสริมและพิทักษสิทธิ การสนับสนุนใหคนพิการสามารถดํารงชีวิตอิสระ มีศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษยและเสมอภาคกับบุคคลทั่วไป มีสวนรวมทางสังคมอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพ ภายใตสภาพแวดลอมที่คนพิการสามารถเขาถึงและใชประโยชนได

พระราชบัญญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐

Page 24: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

มาตรา ๑๙ เพ่ือประโยชนในการไดรับสิทธิตามมาตรา ๒๐ คนพิการอาจย่ืนคําขอมีบัตรประจําตัวคนพิการตอนายทะเบียนกลางหรือนายทะเบียนจังหวัด ณ สํานักงานทะเบียนกลาง สํานักงานทะเบียนจังหวัด หรือสถานที่อื่นตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดในกรณีที่คนพิการเปนผูเยาว คนเสมือนไรความสามารถหรือคนไรความสามารถหรือในกรณีที่คนพิการมีสภาพความพิการถึงขั้นไมสามารถไปย่ืนคําขอดวยตนเองได ผูปกครอง ผูพิทักษ ผูอนุบาลหรือผูดูแลคนพิการ แลวแตกรณี จะย่ืนคําขอแทนก็ได แตตองนําหลักฐานวาเปนคนพิการไปแสดงตอนายทะเบียนกลางหรือนายทะเบียนจังหวัด แลวแตกรณีดวยการย่ืนคําขอมีบัตรประจําตัวคนพิการและการออกบัตร การกําหนดสิทธิหรือการเปล่ียนแปลงสิทธิการขอสละสิทธิของคนพิการ และอายุบัตรประจําตัวคนพิการใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนดในระเบียบ

Page 25: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

มาตรา ๒๐ คนพิการมีสิทธิเขาถึงและใชประโยชนไดจากส่ิงอํานวยความสะดวกอันเปนสาธารณะตลอดจนสวัสดิการและความชวยเหลืออื่นจากรัฐ ดังตอไปนี้(๑) การบริการฟนฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทยและคาใชจายในการรักษาพยาบาลคาอุปกรณ เครื่องชวยความพิการ และส่ือสงเสริมพัฒนาการ เพ่ือปรับสภาพทางรางกาย จิตใจ อารมณ สังคมพฤติกรรม สติปญญา การเรียนรู หรือเสริมสรางสมรรถภาพใหดีขึ้น ตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขประกาศกําหนด

Page 26: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

ถุงหนังบรรจุเม็ดเหล็กกลม (Sand bag)

ใชฝกรวมกับอุปกรณอ่ืนไดโดยมีน้ําหนักต้ังแต 0.5 , 1 , 1.5 , 2 ,2.5 , 3 กิโลกรัม เพ่ือใชถวงน้ําหนักในสวนตางๆของรางกาย ตามที่ตองการเพ่ือเปนการฝกการทรงตัว เพ่ิมความแข็งแรงของกลามเนื้อแขนและขา

อุปกรณชิ้นนี้ใชรวมกับถุงทราย โดยใชเด็กนอนบนเตียงวางขาบนอุปกรณชิ้นนี้ ใหบริเวณขอพับชวงเขาอยูตรงมุมแหลมสวนบนของอุปกรณโดยใชถุงทรายผูกที่ขอเทาแลวเตะขาขึ้นโดยที่เขาวางที่เดิมการเพ่ิมระดับความยาก และเพ่ิมความแข็งแรงของกลามเนื้อ

สามารถทําไดโดยปรับมุมความสูงของกระดาน เพ่ิมขนาดน้ําหนักของถุงทราย หรือเพ่ิมจํานวนคร้ังของการยก

กระดานฝกกลามเนื้อขา

Page 27: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

ลูกบอล(Blowster ball)

ใชฝกกระตุนพัฒนาการตางๆ เชนการกล้ิง การพลิกตะแคงตัว การนั่งการชันคอเพ่ิมความแข็งแรงของกลามเนื้อหลัง ฝกการลงน้ําหนัก ฝกการทรงตัวในทานั่ง กระตุนการรับรูและทิศทาง

ราวฝกเดินใชฝกการทรงตัวซ่ึงมีความม่ันคงมากกวาอุปกรณ

ชนิดอื่น เชนไมค้ํายัน เหมาะสําหรับการเริ่มฝกเดิน ชีวิตประจําวันชีวิตประจําวันเพ่ือกระตุนพัฒนาการ

ทางดานการเคล่ือนไหว ฝกการทรงตัว

Page 28: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

กิจกรรมบําบัด(Occupational Therapy)

นพ.ทวีศักด์ิ สิริรัตนเรขา จิตแพทยเด็กและวัยรุน

กิจกรรมบําบัด (Occupational Therapy) เปนการประยุกตกิจวัตร หรือกิจกรรม มาใชในการตรวจประเมิน วินิจฉัย สงเสริม บําบัดรักษา และฟนฟูสมรรถภาพ ใหสามารถกลับไปดํารงชีวิตในสังคมได ชวยเสริมสรางสมาธิ ทักษะการคิด พัฒนากลามเนื้อมัดเล็ก และการทํางานประสานกันของกลามเนื้อ ผานกิจกรรมการเรียนรูตางๆ

นักกิจกรรมบําบัด (Occupational Therapist) จะเปนผูที่ประยุกตใชกิจกรรมตางๆ มาชวยในการบําบัดเด็ก ตามสภาพปญหาของแตละคน

Page 29: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

“การบําบัดทางเลือก” ในที่นี้หมายถึงศาสตรแขนงของ “การแพทยเสริมและทางเลือก” (complementary and alternative medicine) ซ่ึงมีความหลากหลายมาก จนไมสามารถนิยามไดครอบคลุม นิยามโดยทั่วไป คือ “วิธีการบําบัดรักษาที่ไมไดใชกันเปนประจําในการรักษาแบบแพทยแผนปจจุบัน (conventional medicine) และไมมีการสอนในโรงเรียนแพทย” แตคํานิยามดังกลาวก็อาจมีการเปล่ียนแปลงไปอีก เนื่องจากเริ่มมีการสอนในโรงเรียนแพทยบางแลว

กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก.

Page 30: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

การใชทักษะฝมือ (manual healing) เชน การนวดบําบัด (massage therapy) การฝงเข็ม (acupuncture) ไคโรแพร็กติก (chiropractic) การจัดกระดูก (osteopathic manipulation

การใชเทคนิคทางจิตใจและรางกาย (mind /body techniques) เชน การนั่งสมาธิ (meditation) สวดมนต (prayer) การฝกผอนคลาย (relaxation) การสะกดจิต (hypnosis) ดนตรีบําบัด (music therapy) ศิลปะบําบัด (art therapy) สัตวเลี้ยงบําบัด (pet therapy)

การใชเทคนิคการเคล่ือนไหว (movement techniques) เชน โยคะ (yoga) ไทชิ (tai chi) ชิกง (qigong) การเตนบําบัด (dance therapy)

การใชพฤกษา (botanicals) เชน อโรมาบําบัด (aroma therapy) สมุนไพร (herbal supplementation)

การใหอาหารเสริม (diet, nutrition, supplements) เชน การเสริมวิตะมิน เกลือแร การเติมสารอาหารบางอยางเขามา หรือการสกัดสารอาหารบางอยางออกไป

การแบงประเภทของการแพทยเสริมและทางเลือกมีหลายวิธี ในที่นี้จะขอแบงตามวิธีการหลักที่ใชกันสวนใหญ ดังนี ้

Page 31: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

ดนตรีบําบัด (music therapy) คือ ศาสตรที่วาดวยการนําดนตร ีหรือองคประกอบตางๆ ทางดนตร ีมาประยุกตใชเพ่ือปรับเปล่ียน พัฒนา และคงรักษาไวซ่ึงสุขภาวะของรางกาย จิตใจ สังคม และภูมิปญญา โดยมีนักดนตรีบําบัดเปนผูดําเนินการเพ่ือไปสูเปาหมายที่ตั้งไว ซ่ึงไมใชเปาหมายในทางดนตรีศึกษา ผานกิจกรรมทางดนตรีตางๆ อยางมีรูปแบบโครงสรางที่ชัดเจน มีหลักเกณฑ และระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร ผลของดนตรีตอรางกาย สามารถทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงของอัตราการหายใจ, อัตราการเตนของชีพจร, ความดันโลหิต, การตอบสนองของมานตา, ความตึงตัวของกลามเนื้อ และการไหลเวียนของเลือด ผลของดนตรีตอจิตใจ ทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงของระดับ อารมณ ผอนคลายความตึงเครียด มีสติสัมปชัญญะ เสริมสรางสมาธิ และการรับรูสภาพความเปนจริง

Page 32: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

องคประกอบตาง ๆทางดนตรี ก็สามารถใหประโยชนที่แตกตางกันไป1) จังหวะดนตรี (rhythm) ชวยใหผอนคลาย (relax) และชวยสรางเสริมสมาธิ (concentration) 2) ระดับเสียง (pitch) เสียงในระดับต่ํา และระดับสูงปานกลาง จะชวยใหเกิดความรูสึกสงบ 3) ความดัง (volume/ intensity) พบวาเสียงที่เบานุมจะทําใหเกิดความสงบสุข สบายใจ ในขณะที่เสียงดังทําใหเกิดการเกร็ง กระตุกของกลามเนื้อได ความดังที่เหมาะสมจะชวยสรางระเบียบการควบคุมตนเองไดดี มีความสงบ และเกิดสมาธิ 4) ทํานองเพลง (melody) ชวยในการระบายความรูสึกสวนลึกของจิตใจ ทําใหเกิดความริเริ่มสรางสรรคและลดความวิตกกังวล 5) การประสานเสียง (harmony) ชวยในการวัดระดับอารมณความรูสึกได โดยดูจากปฏิกิริยาที่แสดงออกมาเม่ือฟงเสียงประสานตางๆ จากบทเพลง

Page 33: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

ประโยชนของดนตรีบําบัดมีดังน้ี 1) ปรับสภาพจิตใจใหอยูในสภาวะสมดุล มีความสงบ และมีทัศนคติในเชิงบวกเพ่ิมขึ้น 2) ผอนคลายความตึงเครียด ลดความวิตกกังวล (anxiety/ stress management) 3) กระตุน เสริมสราง และพัฒนาทักษะการเรียนรู และความจํา (cognitive skill) 4) กระตุนการรับรู (perception) 5) เสริมสรางสมาธิ (attention span) 6) เสริมสรางทักษะสังคม (social skill) 7) พัฒนาทักษะการสื่อสารและการใชภาษา (communication and language skill) 8) พัฒนาทักษะการเคลื่อนไหว (motor skill) 9) ลดความตึงตัวของกลามเนื้อ (muscle tension) 10) การจัดการอาการเจ็บปวดจากสาเหตุตางๆ (pain management) 11) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (behavior modification)

Page 34: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

การบําบัดดวยศิลปะ (Art Therapy) หมายถึงการใชกิจกรรมศิลปะหรือผลงานศิลปะเพ่ือวิจัยหาขอบกพรองของบุคคลที ่กลไกการทํางานของรางกายหยอนสมรรถภาพ ซ่ึงมีสาเหตุเนื่องมาจากความผิดปกติบางประการของกระบวนการทางจิต และเพ่ือใหกิจกรรมศิลปะที่เหมาะสมชวยในการรักษาใหมีสภาพดีขึ้น

Page 35: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

การฝงเข็มเปนการใชเข็มแทงผานไปยังบริเวณจุดฝงเข็มเพ่ือปรับสมดุลของรางกาย จุดฝงเข็มจะเปนจุดที่มีอยูบนแนวเสนลมปราณและจุดนอกระบบที่สามารถรักษาอาการตางๆ ไดโดยทั่วไปจะเนนจุดในระบบตามแนวเสนลมปราณเพ่ือปรับสภาพสมดุล เข็มที่ใชจะเปนเข็มขนาดเล็กมากและมีลักษณะตัน คลายเข็มเย็บผา แตเล็กและออนกวา โดยทั่วไปเข็มจะมีความยาวประมาณ 25- 50 มิลลิเมตรเมื่อเข็มแทงเขาไปถึงตําแหนงของจุดฝงเข็ม จะมีอาการปวดต้ือๆ หรือปวดหนวงๆ และปวดราวไปตามทิศทางเดินของเสนลมปราณ ตามทฤษฎีแพทยแผนจีน เชื่อวาการฝงเข็มทําใหระบบลมปราณหมุนเวียนดีขึ้น และชวยปรับสมดุลของรางกายการฝงเข็มโดยทั่วไปจะคาเข็มไวในรางกายประมาณ 15-20 นาท ีแตก็มีบางรายที่ถอนเข็มออกหลังจากการฝงเข็มทันที ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการรักษา

ทวีศักด์ิ สิริรัตนเรขา. การฝงเข็ม ศาสตรที่ย่ังยืน. [Online] 2552; Available from: URL: http://www.happyhomeclinic.com/alt08-

acupuncture.htm

การฝงเข็ม

Page 36: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

องคการอนามัยโลก (World Health Organization - WHO) ใหความสนใจในการจัดประชุมฝงเข็มนานาชาติ และกําหนดรายชื่อโรคตางๆ ที่อาจใชการฝงเข็มเปนการรักษา ซึ่งในปจจุบันมีทั้งหมด 57 โรค มีการกําหนดมาตรฐานความปลอดภัย และแนวทางการฝกอบรม การฝงเข็มไดการรับรองจากองคการอนามัยโลก ในบทบาทการรักษาโรค 5 กลุม ดังนี ้1) รักษาอาการปวดตางๆ เชน ไมเกรน ตึงเครียด ปวดหลัง ปวดหัว เปนตน 2) กลุมโรคเกี่ยวกับเสนประสาท เชน อัมพฤกษ อัมพาต กระดูกทับเสน เปนตน 3) โรคเกี่ยวกับกลามเนื้อและกระดูก เชน ขอเสื่อม ปวดกลามเนื้อเร้ือรัง (Myofascial Pain) 4) โรคเกี่ยวกับภูมิแพ เชน แพอากาศ ลมพิษ หอบหืด ภูมิตานทานไวเกิน (เอสแอลด)ี รูมาตอยด 5) โรคเบ็ดเตล็ดอ่ืนๆ เชน อาการทางรางกายที่เกิดจากจิตใจ ไดแก นอนไมหลับ

Page 37: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

การรมยา คือ การใหความรอน ความอบอุนแกรางกาย ซึ่งจะทําใหหลอดเลือดบริเวณที่ไดรับความรอนขยายตัว ทําใหเลือดมาเลี้ยงบริเวณดังกลาวเพ่ิมขึ้น ซึ่งชวยในการซอมแซมเนื้อเย่ือและขจัดการอักเสบไดดี

ลักษณะเดนของการฝงเข็ม การฝงเข็มเปนการบําบัดรักษาที่นิยมใชกันแพรหลายทั่วโลก เนื่องจากมีการสั่งสมภูมิปญญามานานหลายพันป ไดรับการยืนยันวาไดผลดีในหลายโรค มีผลขางเคียงนอย นอกจากนี้ยังมีความสะดวกในเร่ืองของการใชอุปกรณนอย ไมตองการพ้ืนที่ในการบําบัดรักษามาก สามารถนําเอาไปปฏิบัติไดงาย และราคาประหยัด

กมลทิพย หาญผดุงกิจ. การฝงเข็ม. [Online] 2006; Available from: URL: http://www.si.mahidol.ac.th/department/rehabilitation/home/sara1.htm [Accessed: 2006, Dec 17]

Page 38: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

วัตถุประสงคของโครงการ

1.เพ่ือรักษาและบําบัดฟนฟูความพิการทางรางกายของเด็กตั้งแตอายุ 3-6 ป

2.ใหบริการทางดานวิชาการและเปนศูนยกลางในการรักษา

3. เปนสถานฟนฟูที่เด็กสามารถเดินทางไป-กลับ

Page 39: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

วัตถุประสงคของการศึกษา1.เพ่ือศึกษาถึงลักษณะของเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวใหทราบถึงความตองการเพ่ือตอบสนองตอความตองการและพฤติกรรมมาตรฐานตางๆ เพ่ือนํามาใชแกปญหาที่เกิดขึ้นใหสามารถตอบสนองตอความตองการของผูใช

2.เพ่ือศึกษาถึงโครงการ หนวยงาน สภาพการณและปญหาที่เกี่ยวของกับคนพิการทางการเคลื่อนไหว ในปจจุบันเพ่ือเปนแนวทางการจัดต้ังโครงการ

3.เพ่ือศึกษาทางดานการออกแบบรายละเอียดสําหรับคนพิการทางการเคลื่อนไหวเพ่ือใหเกิดบรรยายการที่ดีในการฟนฟู

4. เพ่ือศึกษาแนวทางการใชประโยชนที่ดินที่มีประสิทธิภาพและรักษาสภาพแวดลอม

Page 40: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

ขอบเขตโครงการ

1.ศึกษาขอมูลพ้ืนฐานทั้งหมดที่เก่ียวของกับการวิเคราะหการออกแบบ1.1 ศึกษาถึงเหตุผลและความเปนไปไดในดานตางๆ1.2 ศึกษาสภาพแวดลอมและปญหาความตองการที่เกี่ยวกับคนพิการทางการเคลื่อนไหว1.3 ศึกษาโครงการที่คลายคลึง เพ่ือนํามาเปนแนวทางในการออกแบบ1.4 ศึกษาระบบโครงการทุกดานรวมถึงมาตราฐานที่เกี่ยวกับการออกแบบ1.5 ศึกษาถึงความเปนไปไดของที่ต้ัง และศึกษาถึงสภาพปญหาของพ้ืนที่เพ่ือในมาประกอบในการออกแบบ1.6 ศึกษาถึงรายละเอียดโครงการ1.7 ศึกษาความตองการทั้งกายภาพและจิตใจของผูพิการทางการเคลื่อนไหว1.8 ศึกษางานสถาปตยกรรมพิเศษที่ตองใชในการออกแบบ

เปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวต้ังแตอายุ 3-6 ขวบ

Page 41: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

2.ศึกษางานวางผังบริเวณขนาดใหญ2.1 ศึกษาการใชที่ดินและการวางตําแหนงของอาคาร2.2 ศึกษาระบบการสัญจร2.3 ศึกษาระบบการระบายน้ํา2.4 ศึกษาระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ

3.ศึกษางานวางผังบริเวณ3.1 สวนบริหารและอํานวยการ3.2 สวนบําบัดฟนฟู3.3สวนนันทนาการ3.4สวนบริการและซอมบํารุง3.5สวนลานจอดรถ

Page 42: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

4.ศึกษางานออกแบบรายละเอียด4.1 ออกแบรายละเอียดองคประกอบทางภูมิสถาปตยกรรม4.2 รายละเอียดของระบบตาง เชน ระบบระบายน้ํา ทางเทา 4.3 ออกแบบการเลือกใชวัสดุกอสราง4.4 ออกแบบรายละเอียดพืชพรรณ

Page 43: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

ข้ันตอนและวิธีดําเนินการศึกษาแบงออกเปน 3 ขั้นตอน คืองานขั้นเก็บรวบรวมขอมูล

1.ศึกษาขอมูลของโครงการ1.สภาพการณ ปญหา และความตองการที่เกี่ยวของกับคนพิการ2.หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของและรับผิดชอบตอคนพิการ3.ลักษณะโครงการที่เหมาะสม4.ศึกษาถึงบุคลากรที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว5.ศึกษาถึงสาเหตุ ประเภท ลักษณะของการพิการทางการเคลื่อนไหว6.ศึกษาพฤติกรรม ความตองการ ลักษณะของการพิการใชชีวิตประจําวัน การใชเวลาวาง การใชพ้ืนที่ภายนอกอาคาร7.มาตรฐานของ Human scale ในสวนของคนพิการที่จะนํามาใชในการออกแบบ8.ศึกษาถึงกีฬาและนันทนาการที่มีสวนในการชวยพัฒนาเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว9.ศึกษาขอมูลทางสถิติตางๆที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว10.ศึกษาโครงการที่เกี่ยวของ

Page 44: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

1.2 ศึกษาถึงความเปนไปไดของโครงการ1.2.1 ศึกษาถึงประโยชนโครงการตอสาธารณชน

1.2.2 ศึกษาถึงนโยบายของรัฐที่สนับสนุนและเกี่ยวของ1.2.3 ศึกษางานดานการบริหารและดําเนินงานในโครงการ

1.3 ศึกษาที่ต้ังของโครงการ1.3.1 วิเคราะหทําเลที่เหมาะสม1.3.2 ที่ต้ังโครงการและสภาพแวดลอม เชน ตําแหนง อาณาเขต ขนาดและรูปรางของ

พ้ืนที ่ฯลฯ1.3.3 สภาพทั่วไปทางภูมิศาสตร เชน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สภาพทั่วไปของดิน การ

ใชที่ดินพืชพันธใน ทองถิ่น ทัศนียภาพ

1.3.4 สภาพทั่วไปทางเศรษฐศาสตร เชน สภาพทางเศรษฐกิจ ที่มาของงบประมาณหรือเงินทุนสนับสนุน

1.3.5 โครงสรางพ้ืนฐาน เชน ระบบคมนาคม ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ระบบกําจัดขยะ ระบบระบายน้ํา กฎหมายและเทศบัญญัติ

Page 45: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

1.4 ศึกษารายละเอียดของโครงการเพ่ือนําขอมูลมาใชในการออกแบบ อันไดแก1.4.1 วัตถุประสงคของโครงการ1.4.2 การจัดรูปแบบของโครงสรางของโครงการ1.4.3 กําหนดฐานะและรูปแบบโครงการ1.4.4 โครงสรางการบริหาร

1.5 งานศึกษาประเภทเดียวกัน หรือคลายคลึงกัน

Page 46: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

องคประกอบหลักของอาคาร•สวนการฟนฟู

• สวน OUTDOOR LEARNING

• สวนกลางการศึกษา• สวนที่ใหบริการการสอนตางๆ• หองคอมพิวเตอร

Page 47: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

• สวนบําบัดรักษา• หองกายภาพ • หองธาราบําบัด • หองจิตบําบัด • หองกายอุปกรณ

• สวนกีฬาและสวนนันทนาการ• สระวายน้ํา• สนามกีฬากลางแจง

Page 48: ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3

• สวนบริการและบํารุง• สวนซักรีด• สวนซอมบํารุง

• สวนบริหารและอํานวยการ• ฝายบริหาร• ฝายธุระการ• ฝายการเงิน• ฝายพัสดุ• ฝายวิชาการ• ฝายทะเบียน• ฝายประสานงานและติดตอ