114
เอกสารประกอบ เวที 21 ธันวาคม 2553

รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

  • Upload
    -

  • View
    134

  • Download
    1

Embed Size (px)

DESCRIPTION

รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี สึนามิ จาก ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต้

Citation preview

Page 1: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

0

เอกสารประกอบ

เวที

21 ธันวาคม 2553

Page 2: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

1

สารบัญ

ลําดับ พ้ืนที่ เรื่อง หนา ประสบการณจากน้ําคลื่น

1 พังงา กระบวนการฟนฟูวิถีชีวิตโดยผูประสบภัยเปนแกนหลัก กรณี : พ้ืนที่ประสบภัยสึนามิ ชายฝงอันดามัน ประเทศไทย

2

2 พังงา การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยชุมชนเปนฐานจากภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาชุมชนบานน้ําเค็ม ต.บางมวง อ.ตะกั่วปา จ.พังงา

11

ประสบการณสูนํ้าทวม 3 นครราชสีมา นํ้าคลื่นเจอน้ําทวม ประสบการณจากน้ําเค็มสูกระเบื้องใหญ 21 4 ลพบุรี

บทเรียนจาก นํ้า นํ้า ประสบการณสํารวจพื้นที่นํ้าทวม อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี 20-25 ตุลาคม 2553

28

5 ปทุมธาน ี กระบวนการ “สรางสายใยเครือขาย ทามกลางสายน้ํา...ทวม” กรณี : เครือขายสิ่งแวดลอมชุมชนจังหวัดปทุมธานี 39

6 สงขลา ประสบการณการรับมือภัยพิบัติ นํ้าทวมใหญ 2010 และพายุดีเปรสชั่น บทเรียนจากภาคสาธารณสุข 44

7 สงขลา เครือขายอาสาสมัครจัดการภัยพิบัติจังหวดัสงขลา 62 8 ปตตาน ี หลังพายุใหญพาดผาน "อาวปตตานี" 70 9 กรุงเทพ สรุปบทเรยีน ศอบ (ศูนยอาสาประชาชนฟนฟูภัยพิบัต)ิ 76 10 ภาคอีสาน (ราง) ขอเสนอเบื้องตนแผนงานปฏิรูปการจัดการน้ําอีสาน

คณะอนุกรรมการปฏิรูปที่ดิน ทรัพยากร สิ่งแวดลอม และน้ํา 105

Page 3: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

2

กระบวนการฟนฟูวิถีชีวิตโดยผูประสบภัยเปนแกนหลัก กรณี : พื้นที่ประสบภัยสึนามิ ชายฝงอันดามัน ประเทศไทย

Page 4: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

3

กระบวนการฟนฟูวิถีชีวิตโดยผูประสบภัยเปนแกนหลัก กรณี : พื้นที่ประสบภัยสึนามิ ชายฝงอันดามัน ประเทศไทย

โดย นายไมตรี จงไกรจักร เครือขายผูประสบภัยสึนามิ

นายจํานงค จิตรนิรัตร อาสาสมัครสึนามิ นางปรีดา คงแปน มูลนิธิชุมชนไท

ความเปนมาและการเริ่มกระบวนการ หลังจากเหตุการณคลื่นยักษสึนามิถลม 6 จังหวัด ชายฝงทะเลอันดามัน ที่สงผลใหเกิด

ความสูญเสียชีวิตคนในครอบครัว ทรัพยสิน เครื่องมือประกอบอาชีพ การทํามาหากิน ฯลฯ จากปญหาวิกฤตความเดือนรอนเฉพาะหนาในชวงแรก ไดนํามาสูปญหาที่ยิ่งใหญขึ้น ชาวบานบางชุมชนไมสามารถกลับไปปลูกบานในที่เดิมได เน่ืองจากปญหาที่ดิน ซ่ึงเปนปญหาพื้นฐานเดิม แตการเกิดคลื่นยักษถลมทําใหเปดภาพปญหาเรื่องที่ดินของชาวบานที่อาศัยอยูชายฝงทะเลมายาวนานมีความชัดเจนและรุนแรงขึ้น นอกจากนี้สึนามิทําใหพบวากลุมคนชาวเล กลุมคนไทยพลัดถิ่น และกลุมประมงพื้นบาน ที่มีวัฒธรรมและวิถีชีวิตเรียบงายกับธรรมชาติ และเปนเจาของทะเลที่แทจริง กําลังถูกรุกรานจากขางนอกอยางรุนแรง จากหมูบานที่ประสบภัยธรณีพิบัติ 407 หมูบาน จํานวนผูเดือดรอน 12,480 ครอบครัว บานพักอาศัยเสียหาย 6,824 หลัง มีชุมชนผูประสบภัยรายแรง 47 หมูบาน ประมาณ 5,448 ครอบครัว ซ่ึงมีผูเสียชีวิตประมาณ 8,000 คน เหตุการณภัยพิบัติแตละครั้งที่เกิดขึ้น ประชาชนจํานวนมากเดือดรอนสิ้นเนื้อประดาตัว อกสั่นขวัญหาย คนที่รอดชีวิต มีทั้งหวงการคนหาศพของญาติพ่ีนองที่ตายหรือสูญหาย และตองกังวลกับการหาอาหาร นํ้า ยาและที่พักที่ปลอดภัย

ทามกลางการทํางาน พวกเราหลอรวมประสบการณ รวมพลังทั้งหมดที่มีอยู ชวยกันทํางาน แบงงานกันทําโดยอัตโนมัติ มีเปาหมายเดียวกัน คือแกปญหาผูประสบภัยทั้งเฉพาะหนาและระยะยาว เปนประสบการณที่อยูในความทรงจําของทุกคน .... ทั้งชาวบานที่ประสบภัยสึนามิ......และนักพัฒนาก็เรียนรูการแกปญหาไปกับกระแสสึนามิ เชนกัน . ในภาวะฉุกเฉิน ผูที่เดือดรอนจะรอรับบริการอยางเดียวไมได เพราะจะมีผูเดือดรอนจํานวนมาก ปญหาที่เกิดขึ้นแตละครอบครัวมีมากตามมาดวย ประกอบกับระบบของหนวยงานราชการตางๆ ไมคลองตัว ไมไดมีแผนเพื่อการรับมือกับปญหาวิกฤติ หนทางที่ดีที่สุดคือ ทําใหผูประสบภัย ลุกขึ้นมาแกปญหาดวยตัวของเขาเอง การสนับสนุนให ผูเดือดรอนชวยเหลือกันเอง และสรางการมีสวนรวม หลักๆคือ การรวมคนเดือดรอน รวมเสบียง รวมดูแลคนออนแอ รวมหาที่อยูอาศัย ทําใหการฟนฟูทุกดานจะเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว และมีพัฒนาการตอเน่ืองระยะยาวบทเรียนกรณีภัยพิบัติสึนามิ มีขั้นตอนที่สําคัญ ดังน้ี

Page 5: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

4

๑. การกูวิกฤติ ในชวง ๗ วันแรกของการเกิดภัยพิบัติ กรณีสึนามิในประเทศไทย ไมมีแผนการเตรียมความพรอมลวงหนา แตเม่ือเกิดเหตุ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ออกมาชวยเหลือเองโดยอัตโนมัติ แบงเปน ๓ สวน หลักๆ คือ ๑.) การชวยแหลือผูบาดเจ็บและคนหาศพ ที่ประกอบดวยทั้งภาครัฐและเอกชน ตางคนตางลงพื้นที่อยางอิสระของแตละองคกร แตเปนความรวมมือที่ดี เม่ือขอมูลมารวมที่โรงพยาบาล วัด และศาลากลางจังหวัด ๒.) การระดมของชวยเหลือ ซ่ึงจะมีการสื่อสารทุกรูปแบบทั้ง โทรศัพท วิทยุและโทรทัศน การบริจาคชวยเหลือจึงมาจากทั่วประเทศอยางรวดเร็ว ๓.) การสํารวจแบบเร็วๆวาคนที่รอดตายและเดือดรอนจะอยูตอไปอยางไร เพราะอยูในภาวะสับสนวุนวาย วัดหรือโรงเรียนอยูอาศัยไดหรือไม หองนํ้าควรมีการจัดหาเพิ่มเติม การทําศูนยพักชั่วคราว ควรมีการสํารวจพื้นที่โดยสอบถามกับผูประสบภัย ใหไดพ้ืนที่ที่ผูประสบภัยเชื่อวาปลอดภัย เชน กรณีเกิดภัยสึนามิ ตองเปนพ้ืนที่ไกลทะเล

๒. จัดหาเตนสและที่พักชั่วคราว เพื่อเปนที่รวมคน สรางขวัญกําลังใจผูประสบภัย

และบรรเทาทุกขเฉพาะหนา เหตุผลที่ตองหาเตนสที่พักชั่วครา เพราะการสรางบานพักชั่วคราวตองใชเวลานานนับเดือน ควรมีการวางแผน ทําผังการกางเตนส และมีกําลังคนที่มากพอ คืนแรกผูประสบภัยเขามาพักอาจจะไมมาก แตคืนที่สองคืนที่สาม จะมีคนเขามาเพิ่มอีก หลายเทาตัว นักจัดระบบชุมชนตองมีทีมในการจัดการ ควรมีทีมทําขอมูล และ มีการจัดสํานักงานฯเพื่อเปนศูนยกลางในการประสานงาน

๓. เริ่มจัดระบบชุมชนในที่พักชั่วคราวทันที โดยแบงเปนกลุมยอย หรือโซน ตามกลุมผูเดือดรอน อาจใชแถวเตนเปนตัวแบง หรือตามสภาพ กลุมหน่ึงไมควรเกิน ๒๐ ครอบครัว แตละกลุมเลือกตัวแทน ๓-๕ คน มาเปนคณะประสานงาน ๔. จัดประชุมตัวแทนกลุม หรือ คณะประสานงาน เพ่ือ สรางแกนนําใหม ทามกลางวิกฤต ในชวงแรกควรมีการประชุมหารือรวมกันทุกคืน รวมทั้งจัดประชุมชี้แจงแกผูเดือดรอน กระตุนใหมาแกปญหารวมกัน ไมรอใหคนอ่ืนชวยเพราะผูเดือดรอนมีจํานวนมาก แตคนชวยมีนอย ผูประสบภัยตองเร่ิมเองกอน แลวบอกความตองการที่ชัดเจนตอผูที่จะมาชวยเหลือ และใชที่ประชุมใหญตั้งกติกาการอยูรวมกันในที่พักชั่วคราว

๕ใการแกปญหาเฉพาะหนารวมกัน แตละคนจะเอาเรื่องที่เดือดรอนมาหารือกัน มีการวางกติกาการอยูรวมกัน...เชน ไมด่ืมเหลา การดูแลความปลอดภัย การรับของบริจาค การจัดการขยะ การดูแลเด็ก ฯลฯ ๖ใการประชุมปรึกษาหารืออยางเขมขน.....และนําผลที่ไดไปปฎิบัติ มีการติดตามผลรวมกันเปนการเรียนรูทามกลางการทํา ทําใหแกนนําเริ่มเขาใจการรวมคิดรวมทํา ในการจัดการศูนยพักชั่วคราวรวมกัน อยางคอยเปนคอยไป

Page 6: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

5

๗ .รวบรวมขอมูลของสมาชิก เชน ชื่อ สกุล สมาชิกครอบครัว ผูพิการ คนทอง เด็ก คนแก คนปวย คนตาย ที่อยูอาศัยด้ังเดิม ความตองการเรงดวน ระยะยาว ควรแบงงานใหตัวแทนกลุมทําหนาที่ในการสํารวจ และมาสรุปรวมกัน จะเปนกระบวนการที่ทําใหตัวแทนกลุมรูจักสมาชิกในกลุมของตนเองมายิ่งขึ้น ควรมีนักแผนที่ สถาปนิก สนับสนุน มีการประสานสื่อมวลชน มีกลองถายรูป วีดีทัศน เก็บบรรยากาศตางๆไว ๘. ประสานงานกับหนวยงาน หรือ องคกรตางๆในการเขามาชวยเหลือ เชน จัดสรางโรงเรือนอาคารที่จําเปน เพ่ือ พยาบาล อาหารเสบียง ศูนยเด็ก หรือสวม นํ้าดื่มนํ้าใช การดูแลความปลอดภัย-จัดทําแผนระยะตางๆเสนอตอฝายเกี่ยวของ

การประสานความรวมมือหลายองคกรทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ทามกลางภาวะความไรระเบียบ เพ่ือใหการจัดระบบการชวยเหลือประสบภัยบรรลุเปาหมาย ใชการประชุมหารือรวมกันเปนหลัก กรณีที่พักชั่คราวอบต.บางมวง เตนสที่พักจํานวนกวา 800 หลัง เปนที่ดึงดูดใหผูสนับสนุนทั้งหลายหลั่งไหลเขามาไมขาดสาย มีกลุมองคกรตางๆมากวา 50 แหงที่มารวมสนับสนุน เปนพลังภาคประชาชนที่นาสนใจ

๙. การจัดระบบรับบริจาคเขากองกลาง เพ่ือแกวิกฤตความวุนวาย สลายความขัดแยง และเปนแบบฝกหัดของการสรางความเอื้ออาทรตอกัน ซ่ึงกรณีประเทศไทยสงผลใหเกิดกองทุนหมุนเวียนยั่งยืนจนถึงปจจุบัน

หลังจากที่มีการตั้งเตนสชั่วคราวนับพันหลัง การหลั่งไหลของผูบริจาคมีเขามาอยางมากมาย ผูบริจาคสวนใหญ ตองการแจกของใหถึงมือผูประสบภัย มีการเขาแถวรับของกันวันละนับสิบครั้ง บางรายนําของมานอยบางคนไดบางคนไมได เกิดความขัดแยงกันขึ้น ประกอบกับที่พักเล็กมากจนไมมีที่เก็บของ......

ควรมีการประชุมหารือเร่ืองการรับบริจาคของและเงินเขากองกลาง และมีการตั้งคณะทํางาน ฯ เพ่ือทําหนาที่อธิบายใหผูบริจาคเขาใจ การติดปายประชาสัมพันธแจกเอกสารเปนภาษาอังกฤษ การเปดบัญชีธนาคารรวมกัน ของเขาโกดังตองมีการจัดระบบการเบิกจายของใชที่จําเปนอยางเปนธรรม ๑๐. ทีมหลักในการจัดการบริหารศูนยพักชั่วคราวควรเปนนักพัฒนาที่มีประสบการณื มีความยืดหยุนคลองตัว สวนราชการเปนหนวยสนับสนุน ทีมงานควร พักอาศัยในแคมป เพ่ือประเมินสถานการณเปนระยะ ๑๑ . สรางศูนยกลางขยายการชวยเหลือไปสูพ้ืนที่อ่ืนตอไป เม่ือจัดระบบแคมปแรกลงตัวแลว ที่สําคัญสนับสนุนใหทีมตัวแทนชาวบาน ไดเปนผูขยายการชวยเหลือเพ่ือนผูเดือดรอนดวยตัวเอง เพ่ือสนับสนุนใหเกิดการผูกใจ สรางความสัมพันธที่ดี และเปนเพ่ือนกันระยะยาว แคมปแรกเกิดระบบการดูแลระดับหน่ึง กอนขยายไปสูที่อ่ืน เชน มีเสบียงอาหาร หมอ ตัวแทนกลุมการประชุม ขอมูล ระบบองคกรหนวยงาน การดูแลผูออนแอ สถานที่ศาสนพิธี ๑๒. สรางกิจกรรมหลากหลายตามความจําเปน และเปนการเตรียมความพรอมชาวบาน เชน ศูนยเด็กและเยาวชน กลุมอาชีพ (อาจหวังผลทางเศรษฐกิจหรือทางจิตใจ)

Page 7: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

6

ฟนฟูวัฒนธรรม อาสาสมัครชุมชน การจัดการกองทุน การออมทรัพยหรือธนาคารชุมชน สํารวจศักยภาพ ( หมอยา กอสราง ตอเรือ งานฝมือตางๆ) การออกแบบ วางผัง นาไร ที่อยูอาศัย การสนับสนุนใหมีการเรียนรูทามกลางการทํา ทําใหเกิดคณะทํางานศูนยประสานงานบานน้ําเค็มและเกิดกองทุนของชุมชนจนถึงวันน้ี

การฟนฟูจิตใจแกผูประสบภัยหลายวิธี การรวมคน การสรางที่พักชั่วคราว การประชุมพูดคุย การแบงงานกันไปทํา เปนสวนหนึ่งของการฟนฟูและหลอหลอมจิตใจ นอกจากนี้ยังมีหมอจากหลายองคกร มีผูนําศาสนาเกือบทุกศาสนาที่เขามารวม ๑๓. นักพัฒนาสังเกตและศึกษาแกนนําแตละคนอยางละเอียด ทํางานทางความคิด กุมสภาพใหได อาจใชวิธีคุยบุคคล แตใหใชการประชุมทีมเปนหลัก ทุกครั้งมีการบันทึก รายงานตอวงใหญ. ..... ความคิด ทาทีการใหมีสวนรวม ...... ความมีคุณธรรม ทุกดาน ...... การประสานงานกับคนอื่น ระดมความรวมมือได ...... ขยัน ทั้งการคิด และการทํา ...... มีแนวคิดทํางานเปนทีม

๑๔. กรณีเกิดปญหาที่ดิน ภัยพิบัติทุกแหงในประเทศไทย เกิดปญหาการไลที่ จากทั้งภาครัฐและเอกชน เน่ืองจากเปนปญหาที่มีมาเดิม เพื่อไมใหเปนการซ้ําเติมผูประสบภัย ควรสนับสนุนใหสรางบานในที่ดินเดิม ปญหาเรื่องเอกสารสิทธิที่ดินพิจารณาทีหลัง อาจมีการใชคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ตั้งอนุกรรมการแกไขปญหาที่ดินหลังภัยพิบัติ หรือฟองศาล แลวแตกรณี ควรมีนักกฎหมายเขามาชวยเหลือ และ สนับสนุนการจัดทําขอมูลประวัติศาสตรชุมชน ทําแผนที่ ใชภาพถายทางอากาศยืนยัน

๑๕. การสรางบานและวางผังชุมชน แบบมีสวนรวม ควรหารือกับชาวบานหากชุมชนใดตองการกลับไปสูที่เดิมได ควรสนับสนุนงบประมาณในการสรางบานใหมอยางรวดเร็ว โดย มีสถาปนิกมาชวยออกแบบผังชุมชนและแบบบาน โดยใชกระบวนการมีสวนรวมของชาวบาน ใหเปนแบบบานที่มาจากความตองการของชาวบาน .......สอดคลองกับวัฒธรรมวิถีชีวิตชุมชนและทองถิ่น ในชวงสรางบาน ใหใชการสราวบานเปนเง่ือนไขในการสรางคน สรางความภูมิใจของชุมชน โดยทุกคนทั้งผูชาย ผูหญิง เด็ก มารวมกันสรางบาน ใหมีการแบงงานกันทํา เชน มีฝายกอสราง ฝายการเงิน ฝายอาหารและน้ํา ฝายประสานงานกับอาสาสมัคร เปนตน ซ่ึงกรณีเมืองไทย มี ๒ ลักษณะ คือ (๑). ชุมชนที่ผูสนับสนุนมีเง่ือนไขใหผูอยูอาศัยสรางบานกันเอง ( มีการระดมอาสาสมัครทั้งในและตางประเทศมารวมกันสราง ) เปนกระบวนการสรางการมีสวนรวมของชุมชน ทําใหคนในชุมชนรักและหวงแหนชุมชน เกิดการเรียนรูนิสัยใจคอ ความเอื้ออาทร ความสามรถที่แทจริงระหวางกันชัดเจน เปนประโยชนกับ

Page 8: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

7

การจัดตั้งคณะกรรมการในการบริหารจัดการเรื่องตางๆของชุมชนในระยะตอไป (๒) .ชุมชนที่หนวยงานราชการ (ทหาร ) สรางบานใหแลวเสร็จ ผูอยูอาศัยเขาไปอยูอยางเดียว ขาดการมีสวนรวม ชุมชนเหลานี้ มีปญหาในการจัดการทุกดาน เพราะรอใหราชการมาจัดการให อีกทั้งแบบบานที่สรางไมเหมาะสมกับการใชงานในวิถีประจําวัน เชน ไมมีพ้ืนที่วางเครืองมือประมง เปนตน และในกรณีเมืองไทย บานน็อคดาวนสําเร็จรูปจากตางประเทศไมสอดคลองกับสภาพอากาศทําใหรอนอบอาว

๑๖. การชวยเหลือคนชายขอบ เชน ชาวเล คนไรสัญชาติ หรือแรงงานตางดาว เม่ือเกืดภัยพิบัติคนเหลานี้จะไมไดรับการชวยเหลือ เพราะไมมีบัตรประชาชน ไมมีสิทธิใด จึงควรมีการสนใจเปนพิเศษ คนเหลานี้จะมีปญหาความไมม่ันคงในการอยุอาศัยตามมา

๑๗. การฟนฟูวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรม ศาสนา การละเลนพ้ืนบาน ภูมิปญญา ภาษาของชาวบาน รวมทั้งการสนับสนุนใหเกิดลานวัฒธรรม พิพิธภัณฑทองถิ่น สิ่งเหลานี้ เปนกระบวนการรวมคน สรางขวัญกําลังใจ บําบัดความโศกเศราเสียใจ สรางความม่ันใจและเพ่ิมพลังชีวิต โดยเฉพาะกลุมคนชายขอบ หรือคนกลุมนอย มีโอกาสแสดงออกในลักษณะตางๆ กรณีประเทศไทยสามารถฟนฟูกลุมศิลปนอันดามันที่มีการแสดง เชน ร็องแง็ง ลิเกปา มโนราห รํามะนา ฯลฯ ไดถึง ๓๐ กลุม

๑๘. การเรงสรางชุมชนใหมที่เขมแข็งในที่ดินเดิม การยายออกจากที่พักชั่วคราวกลับสูชุมชนเดิม ควรมีการวางแผนรวมระหวางผูประสบภัย และมีสิ่งอํานวยความสะดวกพ้ืนฐาน เชน นํ้า ไฟ ที่ทําการชุมชน คณะกรรมการชุมชนที่ผานการหารือกัน ศูนยดูแลเด็ก คนปวย กองทุนการประกอบอาชีพ หรือพ้ืนที่สาธารณะอื่นๆ คารมีกิจกรรมตอเน่ืองในชุมชน รวมทั้ง การทําบุญ ทําพิธีกรรม เพ่ือสรางขวัญกําลังใจกอนการเขาบานใหมเปนเรื่องสําคัญ อีกประการหนึ่ง

๑๙. การเกิดเครือขายผูประสบภันสึนามิ ในกรณีประเทศไทยมีการประกาศตั้งเครือขายผูประสบภัยสึนามิ ตั้งแต ๓ เดือนแรกของการประสบภัย โดยสนับสนุนใหแกนนํา ของผูประสบภัยแตละพ้ืนที่ ไดพบปะแลกเปลี่ยนกัน ซ่ึงในเบื้องตนมีสมาชิกประมาณ ๓๐ ชุมชน และจะมีผูประสบภัยที่เพ่ิมขึ้นเปน ๑๓๐ ชุมชนในระยะตอมา ใหใชปญหารวมเปนเง่ือนไขในการเชื่อมโยงกันเปนเครือขาย ฯ กรณีเมืองไทยมีปญหาที่ดิน ปญหาไมมีบัตรไมมีสิทธิไดรีบการชวยเหลือ เครือขาย ฯ จึงทําหนาที่ในการรวบรวมปญหาเสนอตอรัฐบาล โดยการเผยแพรทางสื่อสาธารณะ การเสนอผานหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ และการเจรจากับรัฐบาลเปนระยะ สงผลใหรัฐบาลตั้งคณะอนุกรรมการแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ธรณีพิบัติ อยางเรงดวน

๒๐. การสนับสนุนใหชุมชนทําแผนแมบทในการแกปญหาและพัฒนาชุมชนระยะยาว การยายกลับเขาสูชุมชนเดิม เรื่องอาชีพ รายได การอยูการกิน การเรียนหนังสือของเด็ก เปนเรื่องสําคัญที่จะตองสนับสนุน และการสนับสนุนควรเนนความยั่งยืน ใหผูประสบภัยสามารถ

Page 9: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

8

พ่ึงตนเองไดในระยะยาว ควรมีการจัดทําแผนรวมกันทั้งในระดับชุมชนวาจะทําอะไรกอนหลัง และแผนการพัฒนาความเขมแข็งของเครือขาย กรณี บานน้ําเค็ม จังหวัดพังงา นอกจากมีแผนการพัฒนาชุมชนแลว มีการทําแผนเตรียมความพรอมรับมือกรณีเกิดภัยพิบัติ โดยมีทีมอาสาสมัครชาวบาน มีการซอมหนีภัย วิทยุสื่อสาร การเฝาระวังคลื่น กรณีจังหวัดภูเก็ตเครือขายชุมชนพัฒนาเมืองภูเก็ต รวมลงนามความรวมมือกับองคกรที่เกี่ยวของ ในการปลูกปาชายเลน ๑ ลานตน การพัฒนาแกนนํา และการสนับสนุนใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูดูงาน การประชุมสรุปบทเรียน ใหผูประสบภัยรวมกันระดมความเห็นและตรวจสอบจุดออน จุดแข็งของตนเอง เปนระยะ และนักพัฒนาควรใชทั้งความสําเร็จและความลมเหลว เปนบทเรียนในการทําใหแกนนําชุมชนไดเขาใจ และวิเคราะหได

ข้ันตอนการสนับสนุนใหกลุมผูประสบภัยเชื่อมโยงกันเปนเครอืขาย

กระบวนการ “สึนามิ”

การแกปญหาเฉพาะหนา ที่พัก / อาหาร ฯลฯสนับสนุนการรวมกลุม / การมีสวนรวม / คณะทํางานรับบริจาคของ / คณะทํางานบานพัก

สรางบานถาวร / ออกแบบบาน / ชุมชนสรางบานเองการฟนฟูวิถีชีวิต / วัฒนธรรม / ประเพณ ี/ ศิลปน

กองทุนฟนฟูชุมชน / เรือ / กลุมอาชีพ

การพัฒนาแกนนํา / ขยายคณะทํางาน

การแกไขปญหาที่ดิน / สํารวจขอมูล / เช่ือมโยงในระดับพื้นที่และเครือขาย

การเช่ือมประสานระหวาเครือขาย “เครือขายผูประสบภัย 6 จังหวัด”

การเสนอผลการฟนฟูโดยชุมชน ครบรอบ 1 ป

การเสนอแกปญหาเชิงนโยบาย

อนุกรรมการแกไขปญหาท่ีดินสนึามิ

ปญหาท่ีดิน / กรณีพิพาทเอกชน /ท่ีดินรัฐการคืนสัญชาติ

รัฐบาลผลกระทบเชิงนโย

บาย

อพท. / โฉนดน้ํา

การพัฒนา ฯลฯ

๑๔. การบริจาคเปนดาบ ๒ คม ขอควรระวัง คือ การบริจาคทําใหผูประสบภัยหวัง

พ่ึงพิงคนอื่นมากขึ้นจนแกไขยาก กรณีเมืองไทย คือ( ๑.) ผูบริจาคที่ใจบุญไมเขาใจการสรางเง่ือนไขใหเกิดความเขมแข็งในชุมชน บริจาคโดยไมเขาใจ ไมรูจักสภาพของชุมชน ทําใหผูนําบางคนยักยอกเงินขาดความเชื่อถือจากสมาชิกเปนการใหที่ทําลายโดยไมเจตนา ( ๒.) ผูบริจาคที่สรางเง่ือนไขในการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนของชุมชน ซ่ึงตองมีกลไกในการบริหาร

Page 10: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

9

จัดการกองทุนรวมกัน มีการตรวจสอบ มีการแบงงานกันทํา เปนตน แตควรมีการติดตามจากผูสนับสนุนอยางตอเน่ือง เพราะยังมีปญหาเกิดขึ้นอีกหลายประการ ๒๓. สนับสนุนใหสรุปปญหาและ ผลการทํางานฟนฟูชุมชนของเครือขายชุมชนผูประสบภัย เพื่อเสนอตอสาธารณะ เปนการสรางความภาคภูมิใจ ความมั่นใจในการรวมกันคิก รวมกันทํา และรวมกันผลักดันการแกปญหาอื่นๆในระยะยาว กรณีประเทศไทย ผลการทํางานของเครือขาย มีดังน้ี

• สรางบานผูประสบภัย ๑,๐๓๐ หลังใน ๑๙ ชุมชน • สรางและซอมเรือประมง ๑,๗๐๐ ลํา • จัดตั้งกลุมอาชีพ ๔๙ กลุม มีสมาชิก ๑,๕๐๐ คน • จัดตั้งกองทุนเรือ กองทุนอาชีพ และกลุมออมทรัพย ๗๒ กลุม • จัดตั้ง กลุมเยาวชน กลุมอนุรักษปาชายเลน ๑๒ กลุม • แกปญหาที่ดินได ๑๓ กรณี จํานวน ๑,๑๕๖ ครัวเรือน

ขอเสนอใหรัฐแกไขปญหาเพื่อที่ชุมชนผูประสบภัยจะทํางานฟนฟูชุมชนอยางยั่งยืน ๑.) ออกระเบียบรับรองชุมชนผูประสบภัยในที่ดินรัฐ เปน “สิทธิรวมของชุมชน ” ๒.) เพิกถอนเอกสารสิทธิ์ที่เอกชนออกโดยมิชอบ และทับซอนชุมชน ๓.) จัดหาไฟฟาและน้ําประปาใหชุมชนผูประสบภัย ๔.) แกไข ระเบียบ ขอบังที่เปนอุปสรรคในสรางบาน ๔.) เรงสํารวจแกปญหาคนไรสัญชาติ ๕.) จัดสรรงบประมาณเปนกองทุนหมุนเวียนใหชุมชนผูประสบภัย ๖.) ใหเด็กที่ประสบภัยทุกคน มีสิทธิพิเศษในการเรียนและรักษาสุขภาพ ๗.)บรรจุหลักสูตรสึนามิและภูมิปญญาทองถิ่นเกี่ยวกับการเตือนภัยในโรงเรียนริมทะเล ๘.)ใหชุมชนจัดระบบเตือนภัยของตนเองเสริมระบบเตือนภัย เชน วิทยุชุมชน วิทยุสื่อสาร ๙.) ชุมชนผูประสบภัยมีสวนรวมทุกขั้นตอนในการจัดผังที่ดินใหม ๑๐). ยกเลิกโครงการพัฒนาขนาดใหญที่กระทบตอวิถีชีวิตชุมชน

Page 11: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

10

บทสรุป กรณีประเทศไทย การเกิดภัยพิบัติ ทําใหสังคมไดรับรุวา ยังมีชุมชนตาง ๆ ที่ไมไดรับการปกปองคุมครอง และการไมได รับสวัสดิการพื้นฐาน เชน บัตรประจําตัวประชาชน การศึกษา ยารักษาโรค เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย มีคุณภาพชีวิตต่ํากวาเกณฑปกติของคนชายขอบ เชน ชาวเลและคนไทยพลัดถิ่น มีความไมม่ันคงในที่ดินและที่อยูอาศัย แมจะมีประวัติศาสตรชุมชนมายาวนานกวา 100 ปก็ตาม มีนโยบายและแผนพัฒนาของรัฐที่มีผลกระทบ ตอวิถีชีวิตชาวเล ชาวประมง และวิธีการทํามาหากินโดยรวมและเกิดความขัดแยงในการแยงชิงทรัพยากร ชาวเลไมมีโอกาสอยูริมหาดที่เคยอยูจอดเรือ ไมมีอิสระในการหาปลาเพราะทะเลมีเจาของ ทําอาชีพบริการไมได เพราะมีแผนการสัมปทาน

ทาเรือนําลึกของตางชาติ หรือกิจการการลงทุน ตาง ๆ ไมยอมรับกติกาการอนุรักษทรัพยากรของชุมชนตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ เปนตน

สึนามิเปนภัยพิบัติจากธรรมชาติ แตเปดใหเห็นถึงสิ่งที่มนุษยกระทําตอมนุษย จะเห็นไดวาในที่สุดแลวกลับกลายเปนปญหาความไมเปนธรรมในการพัฒนา ทีไปละเมิดสิทธิของชุมชน ที่อยู กอนสึนามิมานับรอยป คุณภาพชีวิตของคนชายฝงอันดามันจึงทุกขยาก ตกต่ําลงทุกวันในขณะที่ทรัพยากรที่อุดมสมบูรณกลับตกอยูในมือของนักธุรกิจทั้งไทยและตางประเทศ ที่ดินชายหาด ทั้งบนฝงและพื้นที่เกาะ แมกระทั่งปาชายเลน ก็ตกไปเปนทรัพยากรสวนบุคคลแทบทั้งหมด ซ่ึงในการแกไขปญหานี้ ตองเปนการแกไขในระดับนโยบายที่เปดโอกาสใหชุมชน ประชาชนคนเล็กๆ ทุกชาติพันธุ มีสวนรวมเปนตัวหลักในการพัฒนาทองถิ่นและประเทศ

กรณีสึนามิประเทศไทย ไดพิสุจนใหเห็นแลววา กระบวนการพัฒนาสามารถเปลี่ยนวิกฤตเปนโอกาสได สามารถทําใหคนที่ตางคนตางอยู รวมกันเปนเครือขายชวยเหลือกัน สามารถทําใหเกิดเครือขายชุมชนที่เขมแข็ง มีคุณภาพ เขารวมการพัฒนาเรื่องอ่ืนๆ ของสังคมไดอยางยั่งยืน

ดังน้ัน การเปลี่ยนภัยพิบัติเปนกระบวนการพัฒนาควรเปนยุทธศาสตรสําคัญ ที่หนวยงานที่เกี่ยวของในระดับนานาชาติ ทั้ง ยูเอ็น อาเซ่ียน ธนาคารโลก กาชาดสากล ฯลฯ ใหการสนับสนุนฟนฟูวิถีชีวิตชุมชนผูประสบภัยพิบัติทุกประเภท ที่กําลังเกิดขึ้นและที่จะเกิดขึ้นอีกในอนาคต

Page 12: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

11

การศึกษาแนวทางการพฒันาการจัดการความเสีย่งจากภัยพบิัติโดยชุมชนเปนฐาน จากภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาชุมชนบานนํ้าเค็ม ต.บางมวง อ.ตะกัว่ปา จ.พังงา

Page 13: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

12

1 นักศึกษาโปรแกรมทักษะการจัดการทรัพยากรฐานชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 2 สายสังคมศาสตรและมนุยศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 3 สถาบันการบริหารและจิตวิทยา

การศึกษาแนวทางการพฒันาการจัดการความเสีย่งจากภัยพบิัติโดยชุมชนเปนฐาน จากภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาชุมชนบานนํ้าเค็ม ต.บางมวง อ.ตะกัว่ปา จ.พังงา

ศิรินันต สวุรรณโมลี1 สุรพงษ ชูเดช2 และ มิชิตา จําปาเทศ รอดสุทธิ3

บทคัดยอ บทความนี้เปนนําเสนอผลการศึกษาเชิงคุณภาพเกี่ยวกับการศึกษาปญหา อุปสรรค และแนวทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐานจากภาคประชาสังคม จากบทเรียนของชุมชนบานน้ําเค็ม ตามแนวความคิดการดํารงชีวิตอยางยั่งยืน (sustainable livelihoods) โดยใชเทคนิคเดลฟาย (Delphi) ในการรวบรวมขอคิดเห็นจากผูปฏิบัติงานภาคประชาสังคม ไดแก ชุมชน องคกรพัฒนาเอกชนและภาครัฐที่รวมดําเนินงานกัน จํานวน 10 คน ผลการศึกษาพบวา 1) ในการดําเนินงาน พบปญหาดานการมีสวนรวม ดานงบประมาณ ดานความรูความเขาใจในสิทธิหนาที่ในการดําเนินงานและดานการประสานงานระหวางองคกร 2) แนวทางในการพัฒนาการดําเนินงานคือ ภาคชุมชนควรมีการรวมกลุมและการจัดการองคกรชุมชน (Organization Building) ซ่ึงเปนหัวใจของกระบวนการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน ตั้งแตชวงตนของการฟนฟูชุมชน สวนภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชน ควรประสานการดําเนินงานรวมกัน โดยดานการมีสวนรวมน้ัน องคกรพัฒนาเอกชนสามารถชวยทํางานเชิงลึกวางรากฐานการจัดการตนเองใหกับชุมชนได ดานงบประมาณและอุปกรณ ในชวงตนนั้นองคกรพัฒนาเอกชนสามารถจัดหามาใหกับชุมชนไดคลองตัวกวาภาครัฐ สวนภาครัฐสนับสนุนการสานตอการดําเนินงานใหกับในระยะยาวควบคูไปกับใหความรูและสรางความเขาใจในสิทธิหนาที่ในการดําเนินงานที่ถูกตองแกชุมชน

คําสําคัญ : ภัยพิบัติ, การจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน, การดํารงชีวิตอยางยั่งยืน

บทนํา เหตุการณสึนามิซัดชายฝงอันดามัน ในวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ไดสรางจุดเปลี่ยนใหประเทศไทยไดตระหนักถึงวิกฤตที่เกิดขึ้นจากความเสียหายจากภัยพิบัติ และไดทําใหคนไทยไดรวมตัว รวมใจเปนหน่ึงเดียวกัน จนเกิดความเปนประชาสังคม (Civil Society) จากผูที่มีจิตอาสาทั้งประชาชนทั่วไป ภาครัฐ และภาคเอกชนที่อยูนอกพื้นที่ประสบภัยโยงความชวยเหลือกันอยางไรพรมแดน โดยมีทุนทางสังคมของความไววางใจมาชวยลดชองวางระหวางบุคคลหรือองคกร ทําใหทุกภาคสวนรวมกันทํางานไดในฉับพลัน ดังกรณีของชุมชนบานน้ําเค็ม ต.บางมวง อ.ตะกั่วปา จ.พังงา ที่ไดรับความชวยเหลือจากภาคประชาสังคม ตั้งแตการบริจาคตามความตองการขั้นพ้ื น ฐ านไปจนถึ ง ก า รส ร า ง วิ ธี คิ ดที่ ชี้ ใ ห ชุ มชน เ ห็นคว ามสํ า คัญ ใน จัดกา รตน เอ ง

Page 14: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

13

(Self-organization) เริ่มจากแกปญหาและเรียนรูจากปญหาควบคูกันไป โดยไมรอคอยแตความชวยเหลือจากภายนอกชุมชน(สุริชัย, 2550) กระทั่งหาแนวทางในการสรางความมั่นคงใหกับการใชชีวิตในชุมชนโดยเลือกใชเทคนิคการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน(Community-based Disaster Risk Management: CBDRM) มากําหนดมาตรการลดความเสี่ยงในการวางแผนการ บริหารทรัพยากร ปองกันและแกไขปญหาทุกขั้นตอน โดยอาศัยความเขาใจดานสภาพแวดลอมและบริบทของคนในชุมชนเปนหลัก (นิลุบล, 2006) เม่ือพิจารณาปรากฏการณในขางตนแลวจะเห็นวา ความเปนประชาสังคมจากผูสนับสนุนภายนอกและการจัดการตนเองจากภายในชุมชนเปนปจจัยที่โยงใหการฟนฟูและเตรียมพรอมรับมือกับภัยพิบัติเกิดขึ้นไดอยางครบวงจร การศึกษาในครั้งนี้จึงสนใจกระบวนการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติของชุมชนบานนํ้าเค็ม ตําบลบางมวง อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา ซ่ึงมีบทเรียนที่สามารถนําไปขยายผล สูแนวทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐานจากภาคประชาสังคม โดยลดชองวางและเชื่อมโยงการดําเนินงานจากทั้ง 3 ภาคสวนไดแก ภาคชุมชน องคกรพัฒนาเอกชน และภาครัฐได

วัตถุประสงค 1. เพ่ือศึกษาปญหา อุปสรรค พรอมทั้งแนวทางการแกไขในการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐานของชุมชนบานน้ําเค็มจากภาคประชาสังคม

2. เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐานจากบทเรียนความรวมมือกันในภาคประชาสังคมของชุมชนบานน้ําเค็ม

วิธีดําเนินการวิจัย ในการวิจัยครั้งน้ีผูวิจัยนําเอาเทคนิคเดลฟาย (Delphi) มาใชในการรวบรวมขอคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาและสนับสนุนการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน โดยเลือกผูเชี่ยวชาญแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และใชวิธีบอกตอ (Snowball Sampling) จากผูปฏิบัติงาน ผูเชี่ยวชาญจากชุมชน องคกรพัฒนาเอกชนและภาครัฐ จํานวน10 คน ผลการวิจัย 1. การศึกษาบทบาทของแตละภาคสวนในกระบวนการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน โดยทั่วไปกระบวนการ CBDRM จะประกอบดวยขั้นตอนการดําเนินงานทั้งหมด 7 ขั้นตอน (นิลุบล, 2006) ดังภาพที่ 1 ซ่ึงหากแบงชวงเวลาในการดําเนินงานตามแนวคิดการจัดการตนเอง (Seixas และคณะ, 2008) แลวจะพบวาการดําเนินงานมีอยู 2 ชวงใหญๆ คือ ชวงเริ่มตนการจัดการ ไดแก กระบวนการ CBDRM ขั้นที่ 1-5 และชวงสานตอการจัดการ ไดแก กระบวนการ CBDRM ขั้นที่ 6-7

Page 15: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

14

ขั้นตอนที่

7 • การติดตามการทํางาน การรายงานผลและการปรับปรุงแกไข

6 • การเสริมสรางขีดความสามารถใหแกชุมชน

5 • การประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยการมีสวนรวมของชุมชน

4 • การจัดทําแผนการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยการมีสวนรวมของชุมชน

3 • การจัดองคกรชุมชนในการจัดการภัยพิบัติ

2 • การทํามวลชนสัมพันธ และการสรางความเขาใจกับชุมชน

1 • การเลือกชุมชนและพื้นที่ดําเนินงาน

ภาพที่ 1 ขั้นตอนของการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน

1.1 ชวงเริ่มตนการจัดการ กอนที่ศูนยเตรียมความพรอมปองกันภัยพิบัติแหงเอเชีย (ADPC) จะจัดการอบรม CBDRM ในป พ.ศ.2547 ชาวบานไดรับการสนับสนุนขององคกรพัฒนาเอกชนในการจัดระบบการรวมกลุมและสรางการเรียนรูผานการลงมือปฏิบัติตั้งแตพักอยูที่ศูนยพักชั่วคราวบางมวง ในการแกปญหาความเปนอยูจากผลกระทบของสึนามิ เชน การฟนฟูและจัดตั้งกลุมอาชีพ การแกปญหากรรมสิทธิ์ที่ดิน การฟนฟูวัฒนธรรมซึ่งเปนกระบวนการรวมคน บําบัดความโศกเศราเสียใจ สรางความม่ันใจและเพิ่มพลังชีวิต การสนับสนุนใหชุมชนทําแผนแมบทในการแกปญหาและพัฒนาชุมชนระยะยาวเพื่อการพึ่งพาตนเอง การสานเครือขายผูประสบภัยสําหรับแลกเปลี่ยน รับฟงปญหาระหวางผูประสบภัยและยื่นขอเสนอในการจัดการปญหาตอภาครัฐ ซ่ึงเปนกิจกรรมที่วางรากฐานในการจัดการตนเองใหกับชาวบาน จนเม่ือชาวบานยายจากศูนยพักชั่วคราวบางมวง กลับมายังชุมชนบานน้ําเค็มซ่ึงเปนที่พักอาศัยเดิม การสรางทีมที่จะเตรียมพรอมตอความเสี่ยงจากคลื่นสึนามิซ่ึงเคยสรางความสูญเสียใหกับชุมชนก็เริ่มขึ้นโดยมีชาวบานเปนตัวหลักในการตั้งคณะกรรมการ จัดการคนในชุมชนใหทําหนาที่ตางๆ โดยมีศูนยในการบริหารการจัดการ คือ ศูนยประสานงานชุมชนบานน้ําเค็มซ่ึงทําหนาที่ประสานกับองคกรที่เขามาชวยทั้งภาครัฐ องคกรพัฒนาเอกชน อาสาสมัครและคนทั่วไป และศูนยอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) บานน้ําเค็ม เปนแกนหลักในการเฝาระวังและเตรียมพรอมตอภัยจากคลื่นสึนามิ โดยมีองคกรบริหารสวนตําบลบางมวงสนับสนุนงบประมาณในการอบรมและจัดซื้ออุปกรณที่จําเปนตอการกูภัย การซอมอพยพ สวนองคกรพัฒนาเอกชนเปนพ่ีเลี้ยงที่ใหคําปรึกษาในการทําแผนจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติซ่ึงตองใชเวลาถึง 1 ปเต็ม

Page 16: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

15

1.2 ชวงสานตอการจัดการ หลังจากที่เกิดแผนเตรียมความพรอมรับมือกับภัยพิบัติจนชุมชนตั้งทีมและสามารถดําเนินงานจนเปนระบบของตนเองแลว องคกรพัฒนาเอกชนที่อยูในพ้ืนที่ก็คอยๆ ลดบทบาทของตนเองลง จากพี่เลี้ยงที่อยูใกลชิด มาเปนผูชวยที่คอยสังเกตการณ ใหคําปรึกษาเมื่อชุมชนตองการความชวยเหลือและใหการสนับสนุนการพัฒนาความสามารถตอยอดที่จําเปนตอการพัฒนาตนเองของชุมชน สวนภาครัฐหลังจากสนับสนุนกระบวนการ CBDRM และทีมอปพร.ของบานน้ําเค็มแลว ยังมีการพัฒนาความสามารถของอาสาสมัครตอเน่ืองดวยการฝกอบรมทักษะในการกูชีพกูภัยในโครงการ หน่ึงตําบล หน่ึงทีมกูภัย (OTOS) และนําชุมชนเขารวมโครงการชุมชนเขมแข็งเตรียมพรอมปองกันภัยเปนชุมชนนํารองในป พ.ศ.2551 ซ่ึงใชถึงเวลา 1 ปเต็มในการพัฒนาระบบขอมูลและการจัดการความรูดานภัยพิบัติของชุมชน พัฒนาแผนการจัดการความเสี่ยงภัย ตอยอดจาก CBDRM เดิมที่ไดรับการอบรมไวแลวใหเขมแข็งใหครอบคลุมภัยอ่ืนๆ ตลอดจนสามารถพึ่งพาตนเองในการบริหารจัดการภัยพิบัติ โดยกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ในกระทรวงมหาดไทยเปนผูรับรองใหบานน้ําเค็มไดเปนชุมชนนํารองในโครงการชุมชนเขมแข็ง เตรียมพรอมปองกันภัย 2. การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน ในศึกษาครั้งน้ีใชแนวคิดการดํารงชีวิตอยางยั่งยืน (DFID, 2000) ศึกษาความสัมพันธขององคประกอบที่มีผลตอวิธีการดํารงชีวิต 5 ประการ นํามาอธิบายแนวทางในการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติแกชุมชนโดยใชความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญดานปญหาและแนวทางแกไขที่พบในการดําเนินงานตามกรอบการดําเนินงานการดํารงชีวิตอยางยั่งยืน

ตนทุนในการดํารงชีวิต

วิธีการดําเนินชีวิต

H = ทุนมนุษย (human capital)N = ทุนธรรมชาติ (natural capital)F = ทุนทางการเงิน (financial capital)P = ทุนกายภาพ (physical capital)S = ทุนทางสังคม (social capital)

H

S N

P F

ความเสี่ยงและความเปราะบาง

-ความเสียหาย-แนวโนม-ฤดูกาล

องคกรและกระบวนการที่กอใหเกิดการเปล่ียนแปลง

โครงสราง-ภาครัฐ-ภาคเอกชน

กระบวนการ-กฎหมาย -นโยบาย

-วัฒนธรรม - สถาบัน

ผลที่ชุมชนไดรับ

- รายไดท่ีเพิ่มข้ึน- ความเปนอยูที่ดขีึ้น- ความเปราะบางลดลง- มีความยัง่ยนืในการใชทรพัยากรธรรมชาติมากขึ้น

ภาพที่2 กรอบการดําเนินงานในการดํารงชีวิตอยางยั่งยืน (Sustainable livelihoods framework)

องคประกอบในการดํารงชีวิตอยางยั่งยืนทั้ง 5 ประการ ดังภาพที่ 2 น้ัน มีความสัมพันธกัน คือ

Page 17: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

16

- บริบทของความเสี่ยงและความเปราะบาง (vulnerability context) ใชอธิบายความเสี่ยงของชุมชนที่อาจเกิดความเสียหายอยางฉับพลัน เชน ภัยธรรมชาติ การขาดเงินใชจาย ปญหาความขัดแยง การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล เชน การทําอาชีพในชวงฤดูตางๆ แนวโนมของปจจัยตางๆ ที่มีผลกระทบตอวิถีการดํารงชีพ เช น แนวโนมประชากร ทรัพยากร เศรษฐกิจ รัฐบาล นโยบาย และเทคโนโลยี เปนตน

- ตนทุนในการดํารงชีวิต (livelihood assets) ใชอธิบายถึงตนทุนชุมชนนํามาใชในการดําเนินงาน ไดแก

H = ทุนมนุษย (human capital) เชน ความรู ขีดความสามารถในการทํางาน ภาวะผูนํา สุขภาพ N = ทุนธรรมชาติ (natural capital) เชน พ้ืนที่ทํากิน การชลประทาน ทรัพยากรชายฝง F = ทุนทางการเงิน (financial capital) เชน เงินเดือน กองทุนในชุมชน เครื่องมือทํากิน บาน P = ทุนกายภาพ (physical capital) เชน ถนน ไฟฟา ประปา และสาธารณูปโภคตางๆ S = ทุนทางสังคม (social capital) เชน การรวมกลุม ภาคีเครือขาย ประชาสังคมที่สนับสนุน - องคกรและกระบวนการที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง (transforming structures &

processes) ใชอธิบายปจจัยสนับสนุนจากอิทธิพลของทรัพยากร ที่ในขณะเดียวกันก็ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของภาครัฐและชุมชน ที่นําไปสูการปรับปรุงการดําเนินงานเพื่อสรางความมั่นคงในการดําเนินชีวิต ซ่ึงการวิจัยในครั้งน้ีมีกระบวนการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐานเปนกระบวนการที่สรางการเปลี่ยนแปลง

- ยุทธวิธีในการดําเนินชีวิต (livelihood strategies)ใชอธิบายแนวทางในการปรับปรุงวิธีดําเนินชีวิตใหมีความมั่นคงมากขึ้น

- ผลที่ชุมชนไดรับ (livelihood outcomes) เปนผลไดที่เกิดจากการเลือกวิถีการดําเนินชีวิต ซ่ึงการศึกษาในครั้งน้ีจะใหความสําคัญกับการลดความเปราะบางในการดํารงชีวิตเปนหลัก

3. ภาพรวมของปญหาและแนวทางแกไขในการดําเนินงาน ในการตั้งทีมเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัติชวงแรกๆพบวา ชาวบานขาดความเชื่อถือในการดําเนินงานกันเอง ปญหาอคติและความขัดแยงภายในชุมชน ซ่ึงแกไขไดโดยสรางความรูความเขาใจในการดําเนินงานและสรางความรวมมือกันในการแกปญหาและลดความขัดแยงที่เกิดขึ้น จนเขาสูชวงสานตอการจัดการ ก็พบปญหาดานการสรางการมีสวนรวมในระยะยาวและปญหาการขาดงบประมาณในระยะยาว ซ่ึงสามารถแกไขไดโดยดวยการผสานกลุมตางๆในชุมชน ใหเกิดการสื่อสารกันอยางตอเน่ือง ซ่ึงนําไปสูการพึ่งพาตนเองในการสรางรายไดมาสํารองหรือหมุนเวียนการดําเนินงานตอไป สวนปญหาที่มาจากภายนอกชุมชน โดยมากจะมาจากขอจํากัดของภาครัฐ การแกปญหา คือ ผูปฏิบัติงานจากทุกภาคสวนปรับเปลี่ยนทัศนคติใหเปนการทํางาน ทุกองคกรตองทํางานเปนทีมเดียวกัน ตองใหความสําคัญกับการดําเนินงานโดยชุมชนเปนฐาน กลาวคือ ตองทํางานโดยใหชุมชนเปนศูนยกลาง ทุกสวนตองเห็นประโยชนของชุมชนเปนหลัก ใหอํานาจการตัดสินใจอยูที่ชุมชน

Page 18: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

17

4. แนวทางการพัฒนาและขยายผลการดําเนินงาน 4.1 แนวทางในการพัฒนาการดําเนินงาน จากการสัมภาษณถึงปญหาและแนวทางในการแกไขจากการดําเนินงานในขางตน ผูวิจัยไดสรางแนวทางในการพัฒนากระบวนการ CBDRM ทั้ง 7 ขั้น ออกมาเปนแผนภาพที่ 3 ไดดังน้ี

ภาพที่ 3 แนวทางแกปญหาที่พบในกระบวนการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน

การจัดองคกรชุมชนในการจัดการภัยพบัิติ 3 ขั้นแรกตองคนหาแกนนําที่เปนตัวจริงมาเปนอาสาสมัครรวมกันทํางาน จากนั้นกระตุนใหภายในชุมชนไดเชื่อมโยงการเรียนรูเขาดวยกัน

องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองมีสวนรวมในการประเมินความเสี่ยง ทําแผนลดความเส่ียงของชุมชน และเผยแพรแผนที่เกิดขึ้นสูชาวบานทั่วไปดวย

การประเมนิความเสีย่งจากภัยพิบัติโดยการมีสวนรวมของชุมชน 4

การจัดทาํแผนการจัดการความเสีย่งจากภัยพิบัติโดยการมีสวนรวม 5 ทําแผนโดยใหอํานาจในการตัดสินใจ (Empowerment) โดยการมีสวนรวม จากภายในชุมชนเปนหลัก ตามความรูความเขาใจและการยอมรับรวมกัน

การเสริมสรางขีดความสามารถใหแกชุมชน 6

ควรสนับสนุนทํางานภาคชุมชนใหเขมแข็ง ควบคูกับสอนวธิใีชอาํนาจหนาที่และ แนวทางดําเนินงานภาคปฏิบัตใินเชิงรุก แกผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวย

การติดตามการทาํงาน การรายงานผลและการปรับปรุงแกไข 7

สรางเครือขาย ผสานคณะทํางานดานการจัดการภัยเขากับกลุมตางๆ ในชมุชนและขยายไปสูนอกชุมชน เพื่อเพิ่มโอกาสในการแลกเปลี่ยนบทเรียน

ควรตรวจสอบการรวมกลุมของคณะทํางานเปนประจําทุกป วาฝอหรือสลายตัวไปหรือยัง เพื่อที่จะไดสนับสนุนใหมีการสรรหาผูที่มาดําเนินงานแทนผูที่หายไป

ทุกภาคสวนรวมกัน ส่ือสารเรื่องสิทธิ หนาที่ และความรูพื้นฐานดานภัยพบิัติอยางชัดเจน เพื่อสรางความตระหนักในการจัดการตนเองแกชุมชน

การทํามวลชนสัมพันธ และการสรางความเขาใจกับชุมชน 2

เลือกชุมชนทีม่ีความพรอมและความตั้งใจตอการจัดการตนเองกอน การเลือกชมุชนและพืน้ที่ดําเนนิงาน

1

ขั้นตอนที ่

Page 19: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

18

4.2 โมเดลการสําหรับการขยายผลการดําเนินงาน จากการสรุปขอมูลในการสัมภาษณ ผูวิจัยไดนําบทเรียนและปญหาที่พบในการดําเนินของชุมชนบานน้ําเค็มสามารถสรางโมเดลการเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัติดวยกระบวนการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน ดังโมเดลในภาพที่ 4 โดยนําผลบทเรียนจากการจัดตั้งทีมประสานงานของบานน้ําเค็มที่สามารถนําไปใชในการขยายผลสูชุมชนอ่ืนๆ ไดเปนขั้นตอนการดําเนินงานดังน้ี

เตรียมพรอมชวยเหลือกนัและกนัในอนาคต

ชวงเริ่

มตนก

ารจัดก

ารชว

งสานตอ

การจัด

การ

รวมกลุม

แลกเปล่ียนความคิดเห็น

สรางความตระหนกั

หาแกนนาํและสรางทีม

แบงหนาท่ีรับผิดชอบ

สรางทีมปฏิบัติงาน

สรางแผนเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัติ

วางรากฐานการจัดการตนเอง

หาแกนนาํตวัจริงท่ีจะรับผิดชอบการดาํเนินงาน

ทุนมนุษย

ทุนทางสังคม

ทุนทางการเงิน ทุน

ส่ิงแวดลอม

ทุนทางกายภาพทรัพยากร

ผสานเขากับกลุมตางๆในชุมชน

สรางเครือขายกับชุมชนขางเคียงและองคกรท่ีเก่ียวของ

พัฒนาขีดความสามารถเพ่ิมเติม

โยงการดาํเนินงานและการรวมกลุมสรางการดาํเนินงานในระยะยาว

พัฒนาทกัษะการจดัการภยัพิบติั(สรางทุนมนุษย)

ภาครัฐเอ้ืออาํนาจดวยการรับรองการดาํเนินงานระดมความคิด ประเมินความเส่ียงรวมกบัชาวบาน

ตอยอดทกัษะในการจดัการภยัท่ีจาํเป็นเพ่ิมเติม

ดาํเนินงานลดความเส่ียงทางกายภาพแก ชุมชน

จัดหาเคร่ืองมือและอุปกรณท่ีจาํเป็นในการจดัการ

แลกเปล่ียนเรียนรู สะทอนบทเรียนระหวางชุมชน

ตองมีพ่ีเล้ียงท่ีใหคาํปรึกษาในการดาํเนินงาน

ส่ือสารเร่ืองความรับผิดชอบและเจาภาพท่ีชดัเจน

ภาพที่ 4 โมเดลการเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัตขิองชุมชนบานน้ําเคม็

Page 20: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

19

4.3 ภาพรวมของแนวทางในการพัฒนาการดําเนินงาน การจัดการที่ยั่งยืนน้ันไมสามารถทําแยกสวนเพียงประเด็นใดประเด็นเดียวได การสรางรากฐานใหชุมชนจัดการตนเองไดอยางแทจริงนั้นตองแกปญหาตางๆไปพรอมๆกัน โดยการเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัติน้ัน ควรเริ่มผูปฏิบัติงานควรเริ่มจากศึกษาทุนทั้ง 5 ประการ ที่มีอยูในชุมชนไดแก ทุนมนุษย ทุนทางสังคม ทุนสิ่งแวดลอม ทุนกายภาพ และทุนทางการเงิน โดยใหความสําคัญกับการใชทุนทางสังคมและการสรางทุนมนุษย มาสรางกระบวนการที่จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่จะพัฒนาชุมชน ซ่ึงในการสนับสนุนในชุมชนเกิดการจัดการตนเองน้ัน ภาครัฐควรพัฒนานโยบายใหเจาหนาที่กับชุมชนปฏิบัติงานดวยการมีสวนรวมกันเพ่ิมมากขึ้น ขณะเดียวกันก็ควรจะสงเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู ทั้งระหวางชุมชนและระหวางภาคสวน ขับเคลื่อนใหเกิดเครือขายที่พรอมจะชวยกันแกปญหา

บทสรุป ในการศึกษาปญหาที่พบในการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐานของชุมชนบานน้ําเค็มจากภาคประชาสังคมนั้น พบวา ในการแกปญหานั้นทุนมนุษยและทุนทางสังคมเปนปจจัยหลักในการขับเคลื่อนชุมชน กลาวคือ ความรูที่มีอยูในทุนมนุษยและความรวมมือจากทุกภาคสวนทั้งภายในชุมชนและภายนอกชุมชนจากทุนทางสังคม เปนสิ่งที่ชวยคลี่คลายปญหาดานการมีสวนรวม ปญหาดานงบประมาณ ปญหาดานความรูความเขาใจในสิทธิหนาที่ในการดําเนินงาน ปญหาดานสภาพแวดลอมและปญหาดานการประสานงานระหวางองคกร ในขณะที่ทุนทางการเงินและทุนทางกายภาพยังเปนขอจํากัดในการดําเนินงาน ปญหาและแนวทางการในการแกไขที่กลาวมาในขางตน ไดสะทอนใหเห็นวา แนวทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนฐาน จะตองใหความสําคัญกับการวางรากฐานใหคนในชุมชนพึ่งพาตนเองเปนหลักตั้งแตตน โดยสนับสนุนใหชาวบานรวมกลุมกัน ระดมความคิดมาวางแผนจัดการปญหา ซ่ึงถัดมาก็ตองตอยอดทางความรู ทั้งจากการสะทอนประสบการณจากดําเนินงานมาเปนบทเรียนและการแลกเปลี่ยนเรียนรูจากชุมชนอ่ืนมาปรับใชกับการดําเนินงานของตนเอง รวมกับเขารับการอบรมทักษะดานตางๆที่จะสรางเสริมการพัฒนาศักยภาพของสมาชิกหรือคณะกรรมการของชุมชน เพ่ือพัฒนาการดําเนินงานของชุมชนตอไป

อภิปรายผล ในการศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติตามแนวคิดการดํารงชีวิตอยางยั่งยืน นอกจากความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญแลว ควรมีการวิจัยเชิงปริมาณเพื่อสํารวจความคิดเห็นที่มีตอความเสี่ยงและความเปราะบาง ตนทุนในการดํารงชีวิตของชุมชน และการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในชุมชนที่ผานมา รวมไปถึงความตองการของคนในชุมชนที่มีตอการพัฒนาการดําเนินงานตอไป

Page 21: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

20

เอกสารอางอิง นิลุบล สูพานิช, 2006, คูมือแนวทางการปฏิบัติงานสําหรับผูปฏิบัติงานภาคสนาม ในการ

จัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเปนฐานในประเทศไทย, กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย, 2549.

สุริชัย หวันแกว และคณะ, 2549, สังคมวิทยา สึนามิ: การรับมือภัยพิบัติ, นโยบายการรับมือ ภัยสึนามิ, สถาบันวิจัยสังคม และศูนยการศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, พิมพครั้งที่ 1 พฤศจิกายน 2550,: กรุงเทพมหานคร. Seixas et al., Self-organization in integrated conservation and development

Initiatives, International Journal of the Commons, Vol.2, no 1 January 2008, pp. 99-125. DFID. 2000, Sustainable Livelihoods Guidance Sheets. Department for International Development. (Available at www.livelihood.org/info_guidancesheets.htm.).

Page 22: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

21

นํ้าคลื่นเจอน้ําทวม ประสบการณจากนํ้าเค็มสูกระเบื้องใหญ

Page 23: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

22

นํ้าคลื่นเจอน้ําทวม ประสบการณจากนํ้าเค็มสูกระเบื้องใหญ

เลาเรื่องโดย ไมตรี จงไกรจักร

กลับจากกรุงเทพฯ วันที่ 18 ตค. 53 เวทีปฏิรูปประเทศไทย มาถึงบานยังไมทันไดพักกันเลยทีมงานก็ยกโขยงมาที่ศูนยประสานงาน ไม ชาวเลซอยองคการ บอก “ผมรับไมไดกับขาวที่เห็นพ่ีนองเราลอยคอในน้ํามาหลายวัน บางพื้นที่ยังไมไดรับความชวยเหลืออะไรเลยเหมือนตอนที่พวกเราถูกสึนามิ อยางไรผมคิดวาพี่นองเราที่กําลังประสบภัยนํ้าทวมอยูตองไดขาวกิน” แลวทีมงานจึงตั้งวงคุยกันเปนเรื่องราววาจะเอาอยางไร เราทําอะไรไดบางไดคุยเร่ืองการเตรียมการของผูประสบภัยสึนามิ จ.พังงา ไดมีการโทรศัพทพูดคุยและประสานงานกับพ่ีนอง จ.ภูเก็ต ระนอง ประจวบคีรีขันธ เพ่ือระดมของบริจาคและเตรียมอุปกรณเกี่ยวกับการทําอาหาร เพ่ือไดนํามาใหพ่ีนองผูประสบภัยนํ้าทวม 2 วัน เชาวันที่ 20 ต.ค. 53 ขาวเรื่องจะไปชวยชุมชนนํ้าทวมที่นครราชสีมา กระจายสูชุมชน คนทะยอยกันมาบางคนถือขาวสาร บางคนถือไข บางคนขนน้ํามันพืชมา เร่ิมมากขึ้นเรื่อยๆ จึงลงชื่อกันเปนอยางระบบ ยายเอ้ือน อายุ 78 ป ลวงเงินออกจากกระเปาอยางกระหยิ่มยิ้มยอง 300 บาท และเอย “ลูกหลานฉันมีมากกวา 50 คนที่เคยถูกสึนามิ และคนจากทั่วประเทศเคยเอาขาวมาใหกินและชวยเหลือพวกเราจนสามารถชวยเหลือตัวเองอยางยั่งยืนจนถึงทุกวันนี้ฉันไมเคยลืม ฉันทําไดแคน้ีนะ”

เราเตรียมของขึ้นรถตั้งแตเชา ไม ชาวเลซอยองคการ ห้ิวกระเปามากอนใคร คอยจัดของทุกอยางดวยความดีใจที่ตัวเองจะไดไปภาคอีสานครั้งแรก และทีมงานทยอยกันมาเกินจํานวนที่นัดหมายกันไว 15 คน เพ่ิมเปน 18 คน การเดินทางไกลของเราเริ่มจากจังหวัดพังงา เวลา 16.00 น. ของวันที่ 21 ตุลาคม 2553 โดยพี่นอง จ.ภูเก็ต ระนองมารวมสบทบ หลังจากนั้น เวลาประมาณ 23.00 น. เดินทางถึงดานสิงขร จ.ประจวบฯ พ่ีนองเครือขายคนไทยผลัดถิ่น/คนไรสัญชาติ เขารวมสบทบอีก 30 คน เวลาประมาณ 03.00 น. ของวันที่ 22 ตุลาคม 2553 ถึงจังหวัดอยุธยา อ.นครหลวง และไดแลกเปลี่ยนประสบการณกับพ่ีนองชุมชนที่ประสบภัยนํ้าทวม หมูบานศรีจําปา ถึงแผนปองกันภัยพิบัติ และมอบเงินชวยเหลือแกกรรมการชุมชน จํานวน 10,000 บาท พ่ียูรเอย “ ผมไมสามารถทําอะไรไดมากกวานี้เพราะพวกเราตั้งใจมาทําอาหาร โดยทีมงานเตรียมยกครัวเคลื่อนที่ และแมครัวอยางครบแลว เปาหมายอยากทําครัว” หลังจากนั้นไดมีการประสานงานกับเพ่ือนๆ เครือขายที่โคราช ไดขอมูลวา อ.พิมายไดรับความเดือดรอนหนัก ทีมงานจึงมุงหนามาโคราชทันที่ ในการเดินทางครั้งน้ีไดมีการ

บทที่ 1 ธารน้ําใจผูประสบภัยสินามิสูผูประสบภัยน้ําทวม

Page 24: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

23

ประสานงานกับพ่ีนองเครือขาวชาวอาวตัว ก.และเครือขายตลาดรอยปสามชุก วา ใหทีมเครือขายผูประสบภัยสึนามิ และเครือขายไทยผลัดถิ่นเดินทางไปกอน หากขาดเหลืออะไรพ่ีนองเครือขายอาวตัว ก และเครือขายสามชุกจะใหความชวยเหลือทันที

ในที่สุดกระบวนเครือขายผูประสบสึนามิและเครือขายคนไทยผลัดถิ่น จํานวน 50 คน เดินทางดวยรถกะบะบรรทุกขาวปลาอาหารมาถึง อบต.กระเบื้องใหญ อ.พิมาย จ.นครราชสีมา การเดินทางทามกลางเสนทางที่ลัดเลาะและออมพ้ืนที่นํ้าทวม กวาจะถึงจุดหมายก็ใชเวลายาวนานและยังไมมีใครไดนอนเลยยาวนานกวา 24 ชั่วโมง

อ. บัณทร ออนดํา กลาววา “ผมไมเคยเห็นทีมงานชุมชนเครือขายที่มีระบบการจัดการชวยเหลือขององคกรชุมชนกันเองในยามคับคันเชนนี้กันมากอน ผมเชื่อวากระบวนการเชนนี้สามารถเปนรูปแบบของการชวยเหลือดูแลกันเองอยางเปนระบบ เปรียบเสมือนการปฏิรูปสังคมการเมืองจากฐาน” ตลอดเสนทางการเดินทางที่ผานมา มีหลายหมูบานที่นํ้าทวมสูงกวา 2 เมตร และทําใหตองอพยพมาอยูบนถนน สวนขาวในนาที่กําลังออกรวงใกลที่จะเก็บเกี่ยวไดแลว และคาดวานาขาวจะเกิดความเสียหายทั้งหมด เม่ือมาถึงไดรับการตอนรับจากกํานัน นายก อบต. รองนายก อบต. ประธานสภา ปลัดและเจาหนาที่ อบต.กระเบื้องใหญ ดวยสีหนาที่ยิ้มแยมแจมใสหลังจากที่มีการทักทายเปนที่เรียบรอยแลว และมีการปรึกษาหารือถึงขอมูลความเดือดรอนของพี่นองชาวตําบลกระเบื้องใหญ ทีมงานไดรับขอมูลวามีพ่ีนองที่เดือดรอน 11 หมูบาน กวา 2,000 หลังคาเรือน ทีมงานจึงตัดสินใจตั้งครัวเพ่ือทําขาวปลาอาหารที่ อบต.กระเบื้องใหญทันที เจาหนาที่ อบต.กระเบื้องใหญ เลาถึงความเดือดรอนของพี่นองผูประสบภัยนํ้าทวมวา ผูที่อยูขางในน้ําทวมมา 2-3 วันแลว ตอนน้ีเร่ิมมีปญหาเรื่องอาหารการกิน เม่ือเห็นพ่ีนองผูประสบภัยสึนามิ เขามาชวยเหลือก็รูสึกดีใจ หลังจากที่ทีมงานถึงก็ไดหาที่ทําครัว และก็เจียวไข แกงไตปลา เริ่มทําขาวหอกวา 500 หอ เพ่ือนําไปแจกจายพี่นองผูประสบภัยในหมูบาน พรอมทั้งทีมเตรียมความพรอมปองกันภัยพิบัติของเครือขายผูประสบภัยสึนามิ ประกอบเรือยางกูภัย 2 ลํา และเดินทางไปสํารวจสภาพในหมูบานพรอมทั้งนําขาวหอไปแจกจายทันที ในเวลา 17.00 น.ทันที คืนนี้ทีมงานกวา 40 ชีวิต คางแรมที่ อบต.กระเบื้องใหญ พรอมทั้งพรุงน้ีออกเดินทางไปสํารวจใจหมูบานใกลเคียงอีกครั้งหน่ึง หลายพื้นที่ไดรับขาวสารเรื่องน้ีโทรตามและแจงขาววามีหลายพื้นที่ที่ยังไมมีขาวกิน อยากใหทีมเครือขายเขาไปชวยสนับสนุนอาหาร พวกเราจึงแจงมายังชุมชนประสบภัยทุกที่หากพวกเรามีกําลังพอ เราอยากไปชวยทุกที่ แตครั้งนี้เราตองขอโทษพี่นองหลายชุมชนที่เราพยายามจะไปแตไมไดไป หากมีโอกาสเราจะมาเยี่ยมเยือนตอไป

Page 25: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

24

โดย นักจัดระบบชุมชน*

ตําบลกระเบื้องใหญก็เปนอีกหนึ่งพ้ืนที่ที่ไดรับผลกระทบจากภัยนํ้าทวม ซ่ึงปจจัยหลักทางธรรมชาติแลวมนุษยยังเปนสวนหน่ึงที่เปนผูทําลายเสียเอง ประสบการณนํ้าทวมคร้ังน้ีมีหลายอยางไดเกิดขึ้น ความสูญเสียตางๆ จากบานเรือนที่ทํากิน รวมถึงดานอาชีพ สิ่งเหลานี้อาจจะทําใหเรามีความรูสึกเศราใจอยูบาง แตการลุกขึ้นมาแกปญหาของตนเองนาจะเปนหนทางนําไปสูการจัดการกับปญหาไดถูกจุดมากกวา การ “พลิกวิกฤตเปนโอกาส” จากการสูญเสีย จึงนับเปนสิ่งที่เราควรคํานึงถึง เชนในการเหตุการณคลื่นยักษสึนามิ ถลมในพ้ืนที่อันดามัน ทําใหผูประสบภัยสึนามิกลุมหน่ึง ลุกขึ้นมาแกปญหาของตนเอง ซ่ึงการจัดการความเสี่ยงโดยชุมชนเอง เปนทางเลือกในการเติมชองวางในกระบวนการฟนฟูภัยพิบัติโดยชุมชนเปนหลัก จึงมีความจําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองเรงดําเนินการไปควบคูการบรรเทาภัยในชวงวิกฤติ และการฟนฟูวิถีชีวิตของชุมชนในเบื้องตน ถึงเวลาแลวที่เราตองพูดคุยหารือกันเพ่ือสรางจุดเริ่มตนที่จะสามารถนําไปสูการแกปญหาไดในอนาคต 1.สาเหตุของนํ้าทวมในครั้งน้ี ดานภูมิศาสตรน้ัน ตําบลกระเบื้องใหญ เปนพ้ืนที่รับนํ้าทั้งหมด 5 สาย ตอใหมีแกมลิงก็ชวยไมได เราตองมองจากตนน้ํามากอน เชน การสรางถนน ตึกแถว มีจุดใหญคือลําตะคอง ลําแคละ ชุมชนนี้เปนชุมชนที่สูงที่สุด ปกธงชัยเด๋ียวนี้เปนคลองสงนํ้า อําเภอพิมายที่นํ้าทวมเพราะการสงนํ้าของชลประทานไมไดเต็มรอย ที่เราจะแกปญหาการเดินทางน้ําไมกักขังนํ้า มาเร็วไปเร็ว ซ่ึงเม่ือระดมความคิดวิเคราะหสาเหตุที่เกิดน้ําทวมแลวมองใหลึกที่สุดเทาที่มองเห็นได พบวา ปจจัยภายในของปญหาในครั้งนี้ คือ พ้ืนที่กระเบื้องใหญมีลักษณะเปนแอง เม่ือเจอฝนตกมากกวาปกติ ประกอบกับมีการตัดไมทําลายปา มีการทําถนนกีดขวางน้ําและสรางถนนมากโดยไมมีทางระบายน้ําเพียงพอ อีกทั้งเสนทางของหมูบานตันน้ําไมสามารถระบายได และไมทีที่กักเก็บนํ้าขนาดใหญ ตนไมก็ไมมี จึงไมมีแหลงซับนํ้า ประกอบกับชาวบานไมไดเชื่อคําเตือนของรัฐจึงไมไดเตรียมตัวรับมือ สวนปจจัยภายนอก เน่ืองจากปน้ีหนาแลง แลงจัด แลงนาน เขื่อนจึงไมปลอยนํ้ากักน้ําไวเต็มที่ พอฝนตกลงมาก็เลยไมมีที่รับนํ้าเพิ่ม จึงตองปลอยนํ้าลงมา ในขณะที่โรงงานอุตสาหกรรมก็สรางถนน วางทอระบายน้ําขนาดเล็กเกินกวาที่จะรองรับนํ้าในปริมาณมากขนาดน้ีได นอกจากนั้นยังมีปญหาเรื่องโรงงานเกลือ ที่ปดกั้นเสนทางน้ํา และปลอยคราบน้ํามันออกมาทุกป จนชาวบานทําประมงไมได และยังมีปญหาน้ําจากขางบนเปลี่ยนทิศ เพราะการผันน้ําไปใชทางอื่น ทําใหมีความขัดแยงในการจัดการน้ํา

บทที่ 2 แลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อฟนฟูหลังน้ําลด

Page 26: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

25

ซ่ึงเม่ือนํ้าทวมแลวปญหาที่ตามมาก็คือ บานเรือนและทรัพยสินเสียหาย มีขยะเขาบานเรือน, พืชทางการเกษตรเสียหาย, ถนนถูกตัดขาด การจราจรไมสะดวก การแจกของอาจจะติดขัดในตอนแรก, นํ้า ไฟฟา ถูกตัด ไมมีนํ้าใช ขาดน้ําดื่ม ชาวบานเจ็บปวย เกิดโรคน้ํากัดเทา สุขภาพจิตแย ไมสามารถทําอะไร เน่ืองจากบานเรือนเสียหาย ประกอบอาชีพไมได ไมมีรายไดมาเลี้ยงครอบครัว ที่นา ที่สวน และเปนหนี้กับ ธกส. หนําซ้ําชวงที่นํ้าทวมสินคายงัราคาแพงขึ้น

2.การแกไขปญหา ในสถานการณฉุกเฉิน การลงมือตอบโตกับนํ้าที่หลากมา คือ ขนยายสิ่งของใหพนน้ํา ขอความชวยเหลือกันในหมูบาน รวมแรงรวมใจในการแกไขปญหาเรื่องน้ําทวม ขอ อบต. – ทหาร มาชวยขนของขึ้นที่สูง จัดทีมงานดูเร่ืองไฟฟา และทีมงานที่นํ้าไมทวมมาชวยแพ็คของที่สํานักงาน สวนการฟนฟูถัดมา จะตองมีการฟนฟูและการบูรณาการเกษตรกร เพ่ือการฟนฟูอาชีพในระยะสั้น โดยตองควรมีการสนับสนุนเมล็ดผัก (ผักสวนครัว) ในการทําเกษตร เชน ผักกาด ผักชี คะนา กวางตุง ผักบุง พรอมดวยเครื่องมือในการทําเกษตรฯ ถัดมาจึงสนับสนุนพันธุขาวนาปรัง พันธุขาวนาป สนับสนุนการประมง เชน พันธุปลา บอและลําคลองสาธารณะ ไปจนถึงการสรางธนาคารขาว วางแผนการระบายน้ําและการชลประทานตอไป

Page 27: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

26

ในอนาคตการเตรียมพรอมและปองกันประวัติศาสตรซํ้ารอยอีกครั้ง ชาวบานเห็นวาจะตองสรางทางระบายน้ํา และการสรางแกมลิง หรือการทําฝาย เชน การขุดลอกคลอง จุดขวางทางน้ํา พรอมกับจัดการสิ่งแวดลอมที่จะสงผลกระทบ เชน คราบน้ํามัน ขยะ โรงงาน และการทําชลประทานเขาถึงหมูบาน โดยควรจัดทําแผนระบบและอุปกรณปองกันภัย คือ

1. เตรียมทรัพยสิน ขนยายไวในที่ปลอดภัย นํ้าดื่ม นํ้าใช 2. เรือและอุปกรณ เสื้อชูชีพ เชือก ยารักษาโรคตางๆ 3. เสาวัดระดับนํ้า ที่จุดที่จะทราบตามจํานวนหลังคาเรือน SML 4. อาสาสมัครในชุมชน 5. เครือขายวิทยุชุมชน และตําบลใกลเคียงประสานงานรวมกัน 6. ความเชื่อของขาวสารตองเช่ือม่ันหนวยงานราชการและประชาชนตองรวมกันตัดสินใจ

และแกปญหา 7. การกอสรางโครงสรางพื้นฐานระบบน้ําในอนาคตไมวาน้ําทวม หนาแลง และรวมกันทํา

ประชาคมของแตละหมูบาน 8. มีการอบรม ซักซอมอาสาและประชาชนอยางนอยปละ 2 ครั้ง เพ่ือเตรียมความพรอมใน

อนาคตและรับมือกับสถานการณขางหนา 9. จัดทําแผนที่และโครงสรางตางๆ ในหมูบานพรอมทั้งระบุชัดเจนระดับความสูง–ต่ํา ขอ

งบพ้ืนที่แตละชุมชนนั้นๆ

Page 28: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

27

สวนการขับเคลื่อนในระยะยาว ชุมชนจะตองมีแผนการจัดการภัยนํ้าทวมอยางมีประสิทธิภาพ ซ่ึงตองเรงมือทําในระยะเรงดวน ระยะปานกลางและระยะยาวในระดับนโยบาย คือ ระยะเรงดวน 1. ตองจัดตั้งคณะทํางานที่มีทักษะในการเตรียมพรอมปองกันภัย จากภาคีภาคสวนตางๆใน

ระดับตําบล ใหเชื่อมโยงกับระดับอําเภอ และเชื่อมโยงกับระดับจังหวัด ทั้งแผนที่ภูมิศาสตรและแผนชุมชน รวบรวมและทําขอมูลรอบดานตั้งแตระดับหมูบานทุกหมูบานดวย

2. ตองจัดระบบฐานขอมูล ที่สามารถสงตอขอมูลออนไลนถึงอําเภอ และจังหวัดไดอยางมีประสิทธิภาพ และฐานขอมูลน้ีจะตองปรับปรุงทุกป ใหสามารถชวยเหลือเยียวยาชาวบานในหมูบานตางๆ ไดตรงจุดและทันทวงที

3. วางผังเมืองและวางผังความรวมมือในการรับนํ้า รับภัย เก็บรายละเอียด ซักซอม สรางความรวมมือและความชวยเหลือตางๆทั้งภาครัฐ เอกชนตั้งแตระดับจังหวัด มายังอําเภอ ตําบล จนถึงหมูบานใหผานทางชองนี้จะทําใหเกิดเอกภาพและมีประสิทธิภาพที่สุด

ระยะปานกลาง 1. สรางแผนทุกชุมชนใหจัดทาํแกมลิงทุกตาํบลและแหลงกักเก็บนํ้าขนาดเล็กทุกหมูบานบน

เสนทางลุมนํ้า 2. ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ควรเพิ่มการขุดลอกคูคลองเชื่อมระหวางตําบล ใชเรือเปนพาหนะใน

ชีวิตประจําวันมากขึ้น ใหชาวบานหวนกลับมาสรางความคุนเคยกับวิถีทางน้ํา เฉพาะในพ้ืนที่ราบลุมทํานาซึ่งมีหลายตําบล

3. สรางสะพาน ลดพื้นที่ถนน แมกระทั่งในเขตเมืองตองเปลี่ยนจากถนนเปนลําคลองบาง การแกปญหาน้ี หากหมูบานไหนทําไดก็สามารถทําไปไดเลย หากหมูบานไหนไมทําก็ตามหมูบานอ่ืนไมทัน แตในระยะยาวแผนนี้ควรจะเกิดขึ้นเปนแผนประจําตําบล ที่ทุกตําบลควรเตรียมไว ควบคูกับการแกไขแบบถาวรที่รัฐบาลตองลงมาชวย โดยเฉพาะการชลประทานที่ตองลงรวมมือกันแกไข อยางถาวรจริงในเสนทางน้ําสายหลักคือ นํ้ามูล ลํากระแท ที่ตองแกไขเรื่องความตื้นเขินเดินน้ําไมสะดวก ที่ผานมาการแกไขมันสายไป หากมีการแกไขแบบถาวรก็ไมตองมาเสียงบประมาณ จายคาชดเชย เชนน้ี และถาชาวบานไดรับความรูดานภัยพิบัติ ใหเตรียมตัว เฝาระวังคอยชวยเหลือซ่ึงกันและกัน พรอมจะเจอเหตุการณก็คงจะไมสายเกินไป _______________________________________________________________________ *นักจัดระบบชุมชน

นายจํานงค จิตรนิรัตน นักพัฒนาอาวุโส ที่ปรึกษาเครือขายสึนามิ นส.มณฑา อัจฉริยกุล มูลนิธิชุมชนไท /นักจัดระบบชุมชน นางปรีดา คงแปน มูลนิธิชุมชนไท /นักจัดระบบชุมชน นายไมตรี จงไกรจักร ผูประสานงานเครือขายสึนามิ นายประธาน ลายลักษณ ทีมรับมือภัยพิบัติเครือขายสึนามิ นส.หทัย คํากําจร มูลนิธิชุมชนไท / ปฏิบัติงานในพื้นที่กระเบื้องใหญ

Page 29: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

28

ประสบการณสํารวจพืน้ที่นํ้าทวม อ.บานหมี่ จ.ลพบรีุ

20-25 ตุลาคม 2553

บทเรียนจาก

โดย

ศิรินันต สุวรรณโมล ี

Page 30: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

29

บทเรียนจากน้าํ นํ้า : ตอนที่ 1 ขาวสารกับความตองการของผูประสบภัย จัดยังไงใหพอ

"ขาวหนึ่งกิโล กินได 2 วันกวาๆ" "ขาว 5 กิโล กินไดไมถึงสัปดาห" น่ี เปนสิ่งที่เรยีนรูจากการพูดคุยกับครูเกง บานแหลม เพชรบุรี ลกูสาวผูใหญบาน อาสาสมัครน้ําทวมบานหมี่เราพบความรูดานความตองการ วา คน 3 คน ใชขาว 1 กิโล กินได 3 ม้ือ เทียบอัตราบริโภคได 5 ม้ือ ใชขาว 2 กิโล (2 วัน) 10 ม้ือ ใชขาว 4 กิโล (3 วันกวาๆ) 12 ม้ือ ใชขาว 5 กิโล (4 วัน) ดังน้ันการประทังชีพสําหรับชาวบานในชมุชน WaterWorld ซ่ึงไมสามารถออกไปหาซื้อขาวของ เพราะไมมีเรือ และ โดนน้ําขังไวหมด (หนําซ้ํารานคาขาวก็ทวมเองซะดวย)ถาน้ําทวมแลวลดลงภายใน 3 วันทันที คงไมมีปญหา แตนํ้าจากคลองชัยนาท-ปาสักจะยังคงไหลมาเดิมอีกหลายรอบ เพ่ือระบายน้ําที่เต็มจากชวงบนลงมาซึ่งนอกจากจะทําใหนํ้าในคลองไมมีที่ไปแลว นํ้าในชุมชนจะยังคงขังตอไปอีกมากกวา 1 เดือน

การบริจาคขาวจึงควรจะจัดใหขาวถุงละ 5 กิโล เปนอยางต่ําสุด เพื่อใหคน 2 คน อยูรอดได 1 อาทิตย

ชาวบานในชมุชนที่นํ้าลดแลวก็จัดการตนเองในการทํากับขาวไดระดับหน่ึง แตเงินที่จะซื้อขาวก็แทบจะไมมีแลว เพราะขาวที่จะเกี่ยวก็จมน้ําไปหมดแลว สิ่งที่ทําไดกค็ือ ชวยตวัเอง แลวชวีิตคงจะดีขึ้น ถามีคนเอาสิ่งที่ตองการเขามาชวย และมีการปรับปรุงนโยบายในการจัดการน้ํา ที่แบงรับแบงสูกันมากขึ้น

Page 31: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

30

เม่ือ เราเหนื่อย เรายังหนีออกมากินหมูกระทะ แลวนอนตากแอรได เพราะเราโชคดี ที่ที่มีที่แหงใหเราหนีไปนอนนอกชุมชน แตสําหรับชาวบาน เขายังตองอยูที่น่ัน บานที่นํ้าลอยคอนั่นคือบานของเขา ที่มีเรือ่งในชุมชนทีต่องแกปญหา มีอีกหลายปากทองอีกหลายคนที่ตองเลีย้ง เราขอยืนยันวา เรายังเหนื่อยเพียงเสี้ยวทีช่าวบานไดรับ เราขอนับถือหัวใจของชาวบานทุกคนที่สูอยางสุด มือ แลวเราจะรีบกลับไป เพ่ือแบงปนโชคดีของเรา

บทเรียนจากน้าํ นํ้า : ตอนที่ 2 การจัดถุงยังชีพ เร่ืองของน้ําใจท่ีตองใชสมองเยอะ

เรื่องของจําเปนและไมจําเปนในถุง เน่ีย ประสบการณที่ผานมาพบวา ถุงของบางองคกรมีตนทนุถึง 500 บาท และในถุงน้ันมีของที่ไมไดใชในภาวะฉุกเฉินจากนั้นทวม คือ มี แปรงสีฟน ยาสีฟน สบู ขนัน้ํา รองเทาแตะชางดาว ฯลฯ ก็ไมใชวามันจะใชไมไดคือการใหมันก็ดี เพ่ิงแต ถาเอามูลคาของของที่วานี่มารวมกัน(เอาแบบของธรรมดาราคาถูกแบบปกติแลว นะ)จะพบวา แปรงสีฟน 20 บาท ยาสีฟน 40 บาท สบู 20 บาท ขันน้ํา 20 บาท รองเทาแตะชางดาว 60 บาท ทั้งหมดรวมเปนเงิน 160 บาท เงิน 160 บาท สําหรับภาวะปกติ ก็ถือวาไมมาก แตถามาลองคิดดูวา เงิน 160 เน่ีย ซ้ือขาวสารถุงละ 5 กิโล ซ่ึงมันถุงละ 80 ไดตั้ง 2 ถุง ก็ผูประสบภัยเองก็ซาบซึ้งใจในความหวังดี เพียงแตถา 160 บาทนี้จะซือ้ขาวสารไปใหบานที่ยังไมมีใครเขาไปถงึ เพียงแตถาเงนิ 160 บาท จะไปซื้อโทนาฟ สัก 3 หลอด ซ้ือพาราสัก 3 แผง เงินนั้นจะมีคุณคามากๆ คนใหก็เต็มใจให คนรับก็เตม็ใจรับนะ ไมปฏิเสธเลย เพียงแตในใจแอบคิดวา เอารองเทาแตะกับยาสีฟนอะ ไปแลกผาอนามัยไดปะ หรือเอาเกิบแตะเนี่ยไปแลกมามาไดม้ัย สัก 4 หอก็ยังดี เออจะวาไปในถุงยังชีพเนีย่ ใสโจกซองแบบเทน้ํารอน ปนแทนมามามาก็ได เพราะลูกเล็กเนี่ย กินโจกได

Page 32: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

31

(สวนตวัผูเขียนแคอยากจะบอกเล็กๆ วา เพราะงานนี้มันเปนน้ําทวม ไมใชสึนามิที่นํ้าซัดไปทั้งหมดไง สบู ยาสีฟน รองเทามันยังอยู หนวยงานที่จัดใหตองมีการปรับตวั เรื่องการจัดการความรู อยายึดติดการประสบการณที่เคยมี จนมองไมเห็นความจําเปนที่แทจริงในหนางาน เพราะวาชาวบานตองการกินขาว ไมไดตองการกินยาสีฟน ชวยเอาเงินที่เคาชวยกันบริจาค ดวยความศรทัธาและความเชื่อม่ันวา คณุจะชวยชาวบานไดมีประสิทธิภาพที่สุด ไปใชใหเกิดประสิทธิภาพที่สุดดวยเถิด)

บทเรียนจากน้าํ นํ้า : ตอนที่ 3 : อยากบริจาคอะไปไหนดี นอกจากปญหาการเดินทางที่ขาดเรือ และ เดินทางดวยเรือไดทางเดียวเทานั้น เรายังเจอปญหาเรื่องการจัดการของบริจาควา ถาไมมีแกนนํา อาสาสมัครหรือ ผูนําชุมชนออกมารับของ "คนในหมูบาน ก็จะไมไดรับของบริจาค" ก็อยางที่บอก เพราะวาไมมีคนมาขนไปนัน่แหละ และเนื่องจากชุมชนจะอยูลกึเขาไปจากถนนคันคลองเสนหลัก ที่ตองขามสะพานมาอีกที การจะเขาออกมันก็ยาก

หนาเขานูนยังมีอีกหมูบานนึง เลยสะพานนี่ไปนูนนนน ลิบๆ กย็ังมีอีกหมูบานนึง และอยางที่รูเวลาของบริจาคมาลงในชุมชน ของมันมาพอครบจํานวนกับคนทั้งตาํบลในครั้งเดียวซะเม่ือไร ทีน้ีผูใหญบานไหนไมอยูตอนของมาลงก็ขามไป ผูใหญบานไหนอยูตรงศูนยรับน่ันก็ไดไป

Page 33: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

32

และที่เห็นแคหอประปานี่ยังเรียกวาชุมชนที่อยูใกลถนนนะ

ที่จริงมันก็ไมใชความผิดของผูใหญที่อยู หรือ คนที่ไมอยูรอรับของ เพราะในขณะนั้น ใครจะยอมใหลูกตวั ลูกบานตวัอดโซ ชีวติ มันตองเจอปญหาทั้งในบานและหนาบาน ไหนน้ําจะทวมของ ไหนจะกลัวของหาย ไหนจะตอนวัวขึ้นที่สงู ไหนจะคอยคุมเด็กที่บานไมใหเลนนํ้าเนากันจนเปอย แลวจะแยกรางที่ไหนมารับงานทั้งสองหนางานได แคคิดก็เหน่ือยแทน สิ่งเหลาน้ี ปญหายังกอใหเกิดความขดัแยงระหวางหมูบาน การไดของไมเทากัน มันมีทั้งไดไมครบทุกบาน และถึงไดครบทุกบาน พอบานอ่ืนมาเห็นอีกหมูบาน ไดถุงยังชีพทีมี่ตนทุนสูงกวา อีกบานก็เคืองกันอีก ผูใหญแกบางทานดวยการตัดปญหา (ตดัใจ) ปลอยไป ไมเขาไปวุนวายหัวใจ จายของตอไปตามทะเบียนบานใหครบ วาไป.. แลวเราจะชวยใหเขาลดปญหาพวกนีไ้ดยังไง อืม ไมควรไปแจกตรง? ผูบริจาคควรเอาของไวที่กองกลาง (เตนทตรงตีนสะพานหรือทางเขาหมูบานนั่นแหละ) เพ่ือใหแกนนําหรือตัวแทน รับไปจัดการจายของใหเทาเทียมกนั (จงเชื่อใจและไวใจ แมวาจะไมคอยเขาใจก็ตาม)

Page 34: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

33

คือ ถาทีมคุณมีของมากพอสําหรับหนึ่งหมูบาน (300 ชุด ขึ้นไป) ก็วากันแตถาคุณมีไมถึง แลวคุณแจกบานนี้ๆ บานโนน บานนั่น แลว อาว บานตอไปหมดพอดีเปนบานเรา เราก็นอยใจนะวา ไมวะ ทําไม ไมถึงบานเรา ฝนตกไมทัว่ฟาอีกแลวจะโทษเทวดาองคไหนดี ที่จริง หลังจากนี้เราวา เราควรจะสรางวฒันธรรมการบริจาคใหมีแบบแผน คือ สะทอนบทเรียนใหผูบริจาคเขาใจปญหาที่มันตามมาอะนะ ในขณะเดียวกัน ชุมชนเองก็ตองมีระบบกองกลางที่ซ่ือตรง ทําหนาที่รับมือสําหรับคนที่ไมรูจะไปบริจาคปลายทางที่ไหน ทีจ่ะรับเอาของมาลงที่สวนกลาง แลวก็ชวยกันคัดแยก จัดการของบริจาคของตัวเองใหเทาเทียมกันตอไป ชวยคํานวนให (อีกละ) ถา จะบริจาคลงพื้นที่เลยตองคิดวาจะใหในระดับใด เพ่ือที่จะใหกระจายไปไดถวนทั่วและถึงเรว็ เพราะผูใหญบานจะตองแจกของใหชาวบานไดเทากันและไดพรอมกัน ดังน้ันคํานวณใหฟง หน่ึงหมูบาน (ขนาดกลาง) จะมีจํานวนครอบครัว ประมาณ 300- 400 ครัวเรือน น่ีแปลวา ของประมาณ 400 ชุด จะใหคนไดประมาณ 1 หมูบาน เพ่ือลดความปวดกบาลของแกนนําชุมชน และลดการจัดการ เราควรจะจัดของเปนชุดใหเรียบรอย (ขาวสาร มามา ปลากระปอง ใสถุงมัดจัดใหเสร็จสําหรับหน่ึงครอบครัวใหพอ ) แลวนําไปบริจาคที่ผุใหญบานหรือแกนนําทีละหมูไปเลย หรือถามีสายปานใหญกวานั้นกบ็ริจาคใหระดับตําบลไปเลย หน่ึง ตําบลจะมีประมาณ 7-12 หมูบาน ประชากรก็ 2,000 คน โดยประมาณออ แตเช็คกอนก็ดีกวา ตําบลน้ีโดนน้ําทวมกี่หมู เด๋ียวจะระดมไปเกอ เอ แตถาเกอก็ไมเปนไร ขนไปใหตําบลอื่นตอไปก็ได ถามีรถบรรทกุก็ขนมาลงทีเ่ต็นทประจําตาํบลแลวแจงกาํนัน ผุใหญ หรือแกนนําชุมชนใหประกาศเสยีงตามสายเรียกลูกบานมารับไดเลย ...จัดไป......................

แทบทุกหมูบานที่บานหมี่ จะมีเตนท (ยืมวัดมา)

มาตั้งเพื่อประสานความชวยเหลือ และรับของบรจิาคแบบนี้แหละ

Page 35: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

34

บทเรียนจากน้าํ นํ้า ตอนที่ 4 : ก็อยากทํากับขาวเองเหมือนกัน แตครัวมันอยูใตนํ้า เลยตองทําโรงครัวหมูบาน

สมตํา ขาวเหนียว ไขเจียวภาพน้ี ขโมยมาจากอัลบั้มใน Facebook ของเอก กระจกเงา ตองขอขอบคุณไว ณ ที่น้ี แมสมตําจานนี้จะไมไดกินในหองหรู แตขอบอกวา อรอยนํ้าใจ ของแมบานผูประสบภัยที่ตําใหกินอยางเหลือประมาณ (ขนาดปกติไมกินปลารา ยังกินอยางอรอย) นํ้าทวมงวดนี้ แนนอนวา ไมใชเรื่องที่ภาครัฐจะจัดการแตเพียงฝายเดยีว แตก็ไมใชวาจะโทษเทวดาแตฝายเดียวก็ตองรับมือดวยกันทุกฝาย ทั้งชาวบาน พ่ีมารค และเทวดา เม่ือคืนกอน เพ่ือนถามวา "การที่เราเขาไปใหของหรือชวยทําโรงครวัชุมชนแบบทีท่ํามานี่ มันถือเปนการแทรกแซงรึเปลา" เราตอบวา"ทีจ่ริงแลว ระบบหรือแบบแผนที่มีเน่ียมันก็ถูกของมันนะ แตเม่ือสภาพความเปนจริงมันเกินคาด เราวา เราก็จําเปนจะตองเขาไปทําในสวนที่มันนอกเหนือจากที่คาดไวคะ " ขอเลาภาพการจัดการของที่บานใหฟงวา ที่อําเภอจะมีศูนยรับบริจาค ที่ทางอําเภอและกิ่งกาชาดประจําอําเภอ เปนผูบริหารจัดการ พอของบริจาคมา ของก็จะมาลงที่น่ี พอขาวกลองเสรจ็ คนก็จะมาเอาจากที่น่ีโดยจะจายของไปเม่ือผูนําชุมชน ไดแก อบต. หรือ กํานัน หรือ ผูใหญบานแจงความตองการของบริจาคและความชวยเหลือมารับเอาไป

Page 36: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

35

แนนอนวา ของนะพอ แตการจัดการไมมีวันพอ เพราะปญหามันไมมีวันหยุด เสาร - อาทิตย เหมือนคนทํางาน ก็เหตุการณมันใหญและกวางเกินที่มือของคนใหญที่อยูขางนอกจะไปควาไวถึง ดังน้ันใครที่อยูใกลมือ หรือ อยูในชุมชนเองพวกเขานัน่แหละที่จะตองจัดการ ชวยตัวเองกอนและการที่เราไปสนับสนุนใหเขาชวยตัวเองได มันก็เปนการหนุนเสริมที่ถูกตอง ไมเห็นจะผิดตรงไหน หรือถาจะเรียกวา เปนการแทรกแซง ก็เปนการแทรกแซงที่บริสุทธิใ์จ เพ่ือมนุษยธรรมอยางศูนยขาวกลอง หรือ โรงครัวชุมชน ที่เราไปชวยชาวบานตัง้เนี่ย มีคําถามวาเปนการแทรกแซงชุมชน หรือ แทรกแซงการจัดการของภาครัฐม้ัย เราก็ตองมองยอนปญหากลับที่ดู วา ชาวบานเองอยากทํากับขาวเองเหมือนกัน แตครวัมันอยูใตนํ้า แลวจะใหทําไงเตาก็อยูใตนํ้า แกสก็จม ถานก็เปยก ทางออกที่ทําไดคือ ไปใชครัวทีว่ัด เพราะที่วัดมีหมอพรอม มีเตาพรอม มีถานพรอม มีจานพรอม ชอนพรอม พอที่จะรองรับคนจํานวนมากกกกกก ไดอยูแลว ยอดเลย ที่น่ีแหละทําโรงครัวหมูบานไดเลย เพราะความจําเปนแรกในชีวติกค็ือ การมีขาวกินนี่แหละ มีขาวกิน มีเพ่ือนที่มารวมตวักัน ชวยกันคดิหาทางที่จะลงแรง แกปญหากันตอไปน่ีแหละเราพบวา มันเปนการตอบโจทยย้ํา วาความตองการขอความชวยเหลืออันดับแรกๆ ตองเปนเรื่องอะไร

Page 37: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

36

เรื่องเลาทิ้งทาย นํ้าทวมงวดนี้จะสปอยลจนหนูเสียนิสัย หรือ จะสอนใหหนูลงมือเอง

เรื่องที่จะเลาตอไปน้ี ถาไมทิ้งชวงเวลาไวสกัพัก ก็คงจะนึกไมออก มองไมเห็นวาที่จริงมันก็เปนปญหา มันเริ่มมาจากตั้งแต 15- 18 ตุลาคมที่ผานมา บานที่ อ.บานหมี่ จ.ลพบุรี เจอฝนตกหนักตอกัน 3 วันตดิ ฟามันปดซะจนเรานึกวาจานดาวเทียมเสยี พอก็บนวา เถามันเทศของแมแก มันไปพันจานแดงของพอ (ในขณะที่จานเหลืองของแมไมยักกะมีปญหาสักเทาไร) เราดูภาพถายดาวเทียมก็เห็นแลวแหละ วาเมฆมันหนาซะขนาดนั้นสัญญาณมันจะผานลงมาหาจานแกไดยังไง แลวฉันก็หนีกลับไปกรุงเทพ พรอมกับขาวทีว่ิ่งตามมาวา นํ้าทวมที่จังหวัดซึ่งอยูตนนํ้าและทวมอําเภอเราเกิดดวย ปน้ีแลงนาน แตพอฝนมา ฝนก็ลงซะแรงเลย ชาวบานไมมีใครคิดวาเมฆกอนนั้น มันจะทําให บานเราแบงเปนฝงแหงและฝง waterworld ครึ่งๆกันไดขนาดนี้ ฉันกลับบานอีกครั้งใน 2 วันถัดมา ซ่ึงเปนวันที่นํ้าเขาสูงสุดจนถนนถูกปด เพราะน้ําเชี่ยวเซาะเอาคอสะพานทรุด ทีมเพ่ือน 2 ทีม ที่มาดวย ไดทําใหฉันเกิดจุดเปลีย่นทางความคิด ทีมแรกซึ่งเปนทีม survey และกูวิกฤตชีวติในชวง 1-3 วันแรก อันน้ีขอขามไปกอน ทีมที่ทําใหฉันตองเขียนบทความนี้ คือ ทีมทีส่องซึ่งเปนทีมกูวิกฤตอาหาร (Food crisis) ในชวง 3-7 วันถัดมา การกลับบานในมุมมองใหมครั้งน้ี ทําใหฉันไดเห็นทั้งเรื่องดีและเรื่องที่เปนดาบสองคมในบานของฉันเอง มีหมูบานสองหมูบานที่ฉันและทีมเพ่ือนเอาถุงยังชีพไปลงในชุมชน ทั้งสองหมูบานเหมือนกันตรงที่มีอาชีพหลัก คือ ทํานา และอยูไกลถนนใหญ หมูบานแรก ฉันกาวเขาไปผานสายสัมพันธของนาซึ่งเปนพ่ีเลี้ยงสมยัเด็กๆ หมูบานที่สอง ฉันและเพื่อนกาวเขาไปผานขอความรองขอความชวยเหลือ จากนองคนหน่ึงซ่ึงก็ไมรูจักกันมากอนได Facebook และโทรศัพททีร่องขอใหมา (แลวก็ไดรูตอนตัววา นองเคาเปนรุนนองที่จบมัธยมโรงเรียนเดียวกบัเรา)

Page 38: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

37

เม่ือกาวลงไปถึงก็พบวา หมูบานที่สองมีทีมแมบานที่ตัง้โรงครัวชุมชนตั้งแตวันแรก มีทีมพอบานที่จัดระบบของบริจาคและระดมแจกจายไดเพียงพอตอสมาชิกในชุมชน วางายๆคือ มีการจัดการตนเองไดอยางดี ในขณะที่หมูบานแรก พอขึ้นไปบนศาลาวัดก็เห็นน้ําบริจาควางอยู 6 แพค และกวาจะเริม่ตั้งโรงครัวชมุชนได กวาจะมีระบบจัดการของบริจาค ทั้งหมูบานก็โดนน้ําขังปาเขาไป 5 วันแลว สิ่งที่ทําให 2 หมูบานตางกันออกไปก็คือ ผูนําที่มีอยูในชุมชน สาเหตุที่หมูบานแรก มีนํ้าบริจาควางอยูแค 6 แพค น่ันเพราะ ผูใหญบานของเขาไมไดอาศัยอยูในชุมชน จึงไมสะดวกที่จะเขามาทาํงานใหกับชมุชน และตวัลูกบานเองก็มีแตผูหญิงกับเด็กทีมี่ภาระในบาน เลยขยบัอะไรไมไดมากนัก สวนอีกหมูบานนั้นไมรูวาเชงิลึกนั้นผูใหญบานเขามีบทบาทมากนอยแคไหน แตเทาทีเ่ห็น ลูกบานที่น่ีเขาฟตกันทั้งทีม ทํางานเขาขากันเปนอยางดี ในภาวะที่การคมนาคมทางกายภาพถูกตดัขาด พวกเขาใชชองทางใดสื่อสารใหโลกภายนอกไดยินเสียงรองขอความชวยเหลือ หมูบานแรก นาใช Social Capital (ทุนทางสังคม) ดึงสัมพันธระหวางคนรูจัก ที่อยูในอําเภอเดียวกันฝงทีแ่หง มาชวยฝงที่เปยก หมูบานที่สอง มี gen Y ที่ใช Social Network เรียกคนที่ไมเคยรูจัก ใหเขามารูจักและมาชวยหมูบานของตัวเอง ตอนนี้หมูบานที่เปนหวงไมใชหมูบานแรก ฉันกลับเปนหวงหมูบานทีส่องมากกวา แมวาทั้งพอบานและแมบานที่น่ีจะเขาฟตและทํางานเขาขากันเปนอยางดี แตไมรูวา gen Y รุนถัดมา จะสปอยลไปแคไหนแลวไมรู เพราะ พฤติกรรมบน Social Network กับนํ้าทวมในครั้งน้ี มันมีจุดที่นาสังเกตอยูวา คนที่ตะโกนดังสุด คนที่ TWIT ถ่ีสุด คนที่ Tag เคาเยอะสุด คนโพส Facebook แรงสดุ คนน้ันจะไดความชวยเหลือเขาไปเยอะสุด มันนาตกใจตรงที่วา "เฮย น่ีเรากําลังโหวต AF หรือชวยน้ําทวมกันวะเนี่ย" เอา แลวหมูบานที่โดนตัดไฟ โทรศัพทหาย ไมมีอินเตอรเนท ไมมี BB ใชน่ีจะทําไงกันเนี่ย แลวคิดยังไง ถึงไดเรียกคนที่ไมรูจักเขามาในบานกันเต็มไปหมดเลย

Page 39: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

38

ทําไมตอง Twit กันไปขอขาวจากกรุงเทพ ทั้งๆที่รุนพ่ีของเราในสมาคมศิษยเกากมี็ทั้งเจาของโรงสีและสมาชิกหอการคาสารพัด ทั้งๆที่ เรามีเพ่ือน มีพ่ีนอง มีญาติบานใกลในฝงที่ไมโดนน้ําทวมกันอยูตั้งมากตั้งมาย เรากลับลืมที่จะใชทุนทางสังคมเหลานี ้ ในขณะเดียวกัน เราวา ผูทีมี่ทุนทางสังคมเหลานี้ก็อาจจะถูกสปอยลไปแลวดวยไมตางกัน ก็เพราะมีเรื่องน้ําทวมขึ้นมา ขาวของทั้งของหลวงและของราษฏร นานาคันรถ ก็ตางขนกันเขามาเสียจนเถาแกกงสีที่อีกบานแทบไมตองปนอะไรไป จนเด๋ียวนี้ เวลามีชาวบานมาบอกวา โดนน้ําทวมอยูตรงไหน ขาดอะไร คนแถวบานเราซึ่งไมเปยกก็บอกวา "แลวจะบอกตอๆไปใหนะ" เราก็ เอา เฮย ไมใชตองชวยลงแรง เอาขาวไปสง ไปลงของใหหรอกเหรอ ทั้งหมดนี้ไมไดจะบอกวา การใหของจากกรุงเทพมันไมดีนะ การแบงปนโชคดีของเราจากฝงที่นํ้าไมทวม ไปให เพ่ือน พอ แม พ่ี นอง ที่แบงรับแบงสูกันอยูขางหนามันดีอยูแลว เพียงแตอยากเรียกรองบางอะไรบางวา อยาสปอยหนู และที่เลามานี่ เราแคกําลังเตอืนคนรุนเราวา อยาลืมวานอกจากเราตองดูแลตัวเราเองแลว คนที่มีสัมพันธในสังคมใกลบานเราก็ยังมีอยูนะ เขาเองมีกําลังที่จะชวยเราไมตางกนั และคนใกลบานก็ตองไมลืมนะ วาบานนั้นกับเราก็อยูใกลกันแคน้ีเอง ความชวยเหลอืจากเรามันไมไกล ไปไดไวและยังไดใจวาเราชวยกัน

Page 40: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

39

กระบวนการ “ สรางสายใยเครือขาย ทามกลางสายน้ํา...ทวม ” กรณี : เครือขายสิ่งแวดลอมชุมชนจังหวัดปทุมธานี

Page 41: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

40

กระบวนการ “ สรางสายใยเครือขาย ทามกลางสายน้ํา...ทวม ” กรณี : เครือขายสิ่งแวดลอมชุมชนจังหวัดปทุมธานี

เครือขายสิ่งแวดลอมชุมชน จังหวัดปทุมธานี เครือขาย ฯ เกิดจากการรวมตัวของ

ชุมชนหลายๆ ชุมชนที่อาศัยริมคูคลองจังหวัดปทุมธานี ตั้งแตป 2547 ที่ผานมามีการทํากิจกรรมรวมกลุมในหลายๆเรื่อง เชน การออมทรัพย การฟนฟูวิถีชีวิตวัฒนธรรมมอญ การรณรงคใหทําถังบําบัดน้ําเสียราคาถูกในแตครัวเรือน การทําน้ําหมักชีวภาพเพื่อฟนฟูสภาพแมนํ้าลําคลอง จน “ ชุมชนคลองปรอก” ไดรับรางวัลจากกองทุนสิ่งแวดลอมโลก เปนพ้ืนที่แลกเปลี่ยนเรียนรูของชุมชนตางๆ ในประเทศ และอยูระหวางความพยายามในการขยายออกสูชุมชนอ่ืนๆ ใน 8 สายคลอง เขตจังหวัดปทุมธานี จํานวน 45 ชุมชน โดย แกนนําเครือขาย ซ่ึงเปนตัวแทนจากชุมชนตางๆทําหนาที่ในการดําเนินงาน มีนักจัดระบบชุมชน ( Oganizer ) จาก มูลนิธิชุมชนไท เขาไปสนับสนุนกระบวนการทํางานแบบมีสวนรวมของชุมชน และ มีการประสานความรวมมือกับสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (พอช.) เพ่ือสนับสนุนการแกปญหาที่อยูอาศัย รวมทั้งเครือขาย ฯ เปนสมาชิกสมัชชาสุขภาพจังหวัดปทุมธานี

หลังจากระดับนํ้าในแมนํ้าเจาพระยาขึ้นสูงและทะลักเขาบานเรือน แกนนําเครือขาย ฯ

ไดมีการโทรนัดประชุมดวน และสรุปขอมูลวา มี 14 ชุมชนที่เดือดรอน จึงจัดตั้งศูนยประสานงานและชวยเหลือสมาชิกที่ไดรับผลกระทบจากน้ําทวม ขึ้น โดยใช ศูนยประสานงานและชวยเหลือผูประสบภัยนํ้าทวม เครือขายสิ่งแวดลอมชุมชนจังหวัดปทุมธานี ตั้งอยูตรงขามชุมชนวัดหงส อ.เมือง จ.ปทุมธานี

ศูนย ฯ เริ่มดําเนินการเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2553 โดยแกนนําแตละชุมชนลงไปสํารวจความเดือดรอนและความตองการเรงดวนของสมาชิก หลังจากนั้น ไดสงขอมูลความตองการทางอีเมล ใหแกกลุมเพ่ือนๆที่อาสาระดมของชวยเหลือนํ้าทวม การชวยเหลือเบื้องตน เปนไปอยางดี มีการทําขอมูลทั้งการรับบริจาค การแจกจายที่เขาถึงผูประสบภัย เพราะทีมแกนนําแตละชุมชนมาเปนแกนหลักในการแจกจาย ในขณะที่แกนนําจากชุมชนอ่ืนๆ ก็ตามไปหนุนชวยกัน ทําใหเกิดความสัมพันธที่ดีระหวางแกนนําในชุมชนกับสมาชิก และเกิด

Page 42: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

41

การทํางานรวมกันระหวางชุมชนทั้ง 14 ชุมชน ถึงแมจะมีของจํานวนจํากัด แตตรงกับความตองการอยางแทจริง เชน ขาวสาร อาหารกลอง เรือทองแบน ไมทําสะพาน ยาน้ํากัดเทา สวมชั่วคราว เปนตน

ชุมชน ที่ไดรับความเดือดรอนจากผลกระทบน้ําทวมจํานวน 14 พ้ืนที่ จํานวน 1,241

หลังคาเรือน ประมาณ 4,900 คน แบงเปน อําเภอเมือง 8 พื้นที่ 1)ชุมชนเมือง 7 ชุมชน 318 หลังคาเรือน 2)ตําบลหลักหก หมู 2 หมูบาน จํานวน 150 หลังคาเรือน อําเภอสามโคก 4 พื้นที่ 1)ชุมชนตําบลกระแชง 3 หมูบาน 280 หลังคาเรือน 2)ชุมชนบางโพธิ์เหนือ อ.สามโคก 1 ชุมชน 75 หลังคาเรือน 3)บานปทุม หมู 2 หมูบาน 240 หลังคาเรือน 4)ชุมชนวัดราษฎรรังสรร 80 หลังคาเรือน อําเภอลําลูกกา 1 พื้นที่ 1) ชุมชนคูคตพัฒนา 38 หลังคาเรือน อําเภอธัญบุรี 1 พื้นที่ 1) ชุมชนริมคลองรังสิต คลองหนึ่ง คลองสอง 60 หลังคาเรือน

Page 43: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

42

แผนท่ีแสดงพ้ืนท่ีบริเวณชุมชนนํ้าทวมปทุมธานี

ศูนยประสานงานนํ้าทวมภาคประชาชน จังหวัดปทุมธานี

บานปทุม ม.1- ม.3 สามโคก 240 หลังชุมชนวัดราษฎรรังสรร 60 หลัง

อบต.กระแชง 280 หลัง

ชุมชนบางโพธ์ิเหนือ 75 หลังชุมชนบางโพธ์ิใน 89 หลงัชุมชนคลองพกิุล 45 หลงัชุมชนวัดหงส 40 หลงั

ชุมชนบางปรอก 20 หลัง

ชุมชนริมคลองรังสิต

80 หลงั

ชุมชนวัดโคก 30 หลังชุมชนโสภาราม 74 หลงัชุมชนเทพพัฒนา 20 หลัง ม.4 ,ม.5 ตําบลหลกัหก 150 หลัง

ชุมชนคูคตพัฒนา 38

หลัง

สรุปลักษณะปญหา 1. นํ้าทวมขังสูง ตองใชเรือ เขาออก จํานวน 513 หลัง 2. นํ้าทวมบางสวน ( ลุยนําเล็กนอย นํ้าทวมบริเวณบานบางสวน ) จํานวน 650 หลัง 3. ไดรับผลกระทบพื้นที่ตอเน่ือง เชน นํ้าทวมถนน ทางเดิน ทางเขาบาน 78 หลัง

ลักษณะบานที่ไดรับผลกระทบจากน้ําทวม

1. บานมีเลขที่ จํานวน 1,087 หลัง 2. บานไมมีเลขที่บาน จํานวน 80 หลัง 3. บานเชา จํานวน 74 หลัง

เวทีสรุปประสบการณทํางาน หลังจากระดับนํ้าทรงตัว ยังคงมีทีมเฝาระวังระดับนํ้า ศูนย ฯ ยุติการทําอาหารเพื่อเลี้ยงคนที่มาชวยทํากระสอบทราย มีการจัดพูดคุยเพ่ือสรุปการดําเนินงาน ที่ผานมา ดังน้ี - อาสาสมัครประจําศูนยเปนผูนําชุมชนตาง ๆ โดยเฉพาะชุมชนที่ไดรับผลกระทบโดยตรง

จํานวน 20 คน หมุนเวียน - อาสาสมัครประสานงาน ชวยเหลือ จากพื้นที่นํ้าทวม 14 พ้ืนที่ ๆ ละ 3 – 5 คน - การจัดตั้งศูนยเชิงรุก พรอมตั้งรับ มีขอมูล มีระบบการบริหารจัดการ โดยชุมชนเองเห็นวาดี

มีประโยชนมาก และสามารถเขาถึงผูที่เดือนรอนจริง ๆ โดยไมตองแยงกัน - สนับสนุนตรงตามความตองการ และเรื่องที่ไมมีใครสนับสนุน เชน จัดหาอาหารผูที่มาเปน

อาสาสมัครชวยทํากระสอบทราย ปองกันน้ําทวม หองน้ําเคลื่อนที่ เรือทองแบน ยาน้ํากัดเทา ( มากกวาขาวสารอาหารแหง )

Page 44: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

43

- เห็นศักยภาพของเครือขายชุมชนที่มีการรวมกลุมและทํากิจกรรมมาอยางตอเน่ือง พบภาวะวิกฤติ สามารถรวมตัวและชวยเหลือไดทันทวงที และไดรับการยอมรับจากชุมชน และภาคีฯ

- ชาวบานที่ไมเดือดรอนมาก ก็มารวมบริจาคของดวย (ไมไชมารับแตเพียงอยางเดียว) - เห็นควรวานาจะมีการพัฒนาจากศูนยประสานงานและชวยเหลือ เปน ศูนย

ประสานงานและปองกันภัยพิบัติภาคประชาชน ในการฟนฟูและปองกันในโอกาสตอไป

ปญหาอุปสรรค การประสานงานหนวยงานราชการ เปนไปไดนอย

มาก และ ขาดงบประมาณในการบริหารจัดการขับเคลื่อนกิจกรรม ที่เปนคาใชจาย เชน คานํามันรถ คามอเตอรไซด คาถุงในการใสขอแจก เพราะผูบริจาคเปนสิ่งของ หรือเงิน ระบุของที่จะตองซื้อ เปนตน

สรุปการชวยเหลือและขอบคุณผูสนับสนุน

รายการ จํานวน ผูสนับสนุน

น้ําดื่ม 10,800 ขวด การประปานครหลวง และสสส. ยาสามัญประจําบาน 200 ชุด การประปานครหลวง ขาวสาร 1,590 กก. ธนาคารกรุงไทย (22,500 ) อ่ืนๆ เรือทองแบน 5 ลํา ธนาคารกรุงไทย ซีเลคทูนากระปอง 120 กระปอง ทูนาน้ําเกลือ 1,920 กระปอง ลงพื้นท่ีชวยชาวบาน

- ทีมมูลนิธิ 1500 ไมล - ทีมมูลนิธิชุมชนไท - ขาวทีวีไท ขาวเที่ยง สกูปขาว - เครือขายส่ิงแวดลอมกรุงเทพฯ/ปริมณฑล - อาสาชวยน้ําทวม อ่ืนๆ

ขนมปงแซนวิช 100 ชิ้น บะหมี่สําเร็จรูป 260 ซอง ไขเค็ม 100 ฟอง ไมกระดาน 35 แผน สุขาเคลื่อนที่(SCG) 50 ชุด น้ําแกว (เอ้ืองธัญญ) 5 ลัง กาแฟ แกว 3 ชุด อาหารสด 20,000 บาท มูลนิธิชุมชนไท

นายอํานาจ จันทรชวง มูลนิธิชุมชนไท รายงาน

Page 45: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

44

ประสบการณการรับมือภัยพิบัติ นํ้าทวมใหญ 2010 และพายุดีเปรสชั่น บทเรียนจากภาคสาธารณสุข

Page 46: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

45

ประสบการณการรับมือภัยพิบัติ น้ําทวมใหญ 2010 และพายุดีเปรสชั่น บทเรียนจากภาคสาธารณสุข

นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ คศน.001 เรียบเรียง

ป 2553 บทพิสูจนที่ชัดเจนวา โลกและประเทศไทยไดรับผลกระทบอยางชัดเจนจากภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลกแลว น้ําทวมใหญป 2553 ที่เกิดขึ้นไลมาตั้งแตภาคเหนือตอนลาง มาภาคกลาง ภาคอีสานและภาคใต ไดสรางความสูญเสียอยางมาก โรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัยในหลายพื้นที่ก็ไดรับผลกระทบอยางมาก ประสบการณการรับมือภัยพิบัติ น้ําทวมใหญ 2010 ของ 3 โรงพยาบาลในจังหวัดสงขลาคือโรงพยาบาลหาดใหญ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อําเภอนาทวี และโรงพยาบาลจนะ รวมถึงประสบการณการเผชิญหนากับพายุดีเปรสชั่นของโรงพยาบาลสทิงพระ ที่โรงพยาบาลเหลานั้นไดเขียนมาเลาสูกันฟง เปนบทเรียนที่เห็นภาพของความโกลาหลและการจัดการที่เปนความรูฝงลึก ( tacit knowledge ) ที่นาสนใจยิ่ง ภาค 1 : เมื่อนํ้าทวมโรงพยาบาลนาทวี บทเรียนทีค่วรแบงปน อําเภอนาทวี เปนอําเภอเศรษฐกิจดีอีกอําเภอของจังหวัดสงขลา เต็มไปดวยสวนยางและสวนผลไม มีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อําเภอนาทวี ขนาด 120 เตียงตั้งอยู เปนโรงพยาบาลระดับ 2.2 ของกระทรวงสาธารณสุข คือมีแพทยเฉพาะทาง ในชวงที่ประสบเหตุน้ําทวมในวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2553 นี้ คุณหมอสุวัฒน วิริยพงษสกิจ ผูอํานวยการโรงพยาบาลนาทวี ไดถายทอดประสบการณไวอยางนาสนใจ มุงสูนาทว ี

ตอนประมาณตี 4 ของวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 หนุมนอยชื่อ “ชาย” แฟนของนองเจาพนักงานเภสัชกรรมไดโทรมาปลุกผม แจงวาน้ําขึ้นสูงมาก กําลังทะลักเขาโรงพยาบาลนาทวี ผมรับโทรศัพททีแรกยังไมเชื่อ เพราะสักเที่ยงคืน เพ่ิงคุยกับทีมงานที่ดูแลเครื่องสูบน้ําของชลประทาน ซึ่งไดมาติดตั้งในโรงพยาบาลและเริ่มสูบน้ําไดต้ังแตชวงเย็นแลว ปกติถาเปนแบบน้ีก็จะอุนใจ เพราะเครื่องพญานาคทั้งสองตัวขนาด 12 นิ้ว ฝนตกหนักๆมาสักชั่วโมง อีก 2 ชั่วโมงก็แหง แตปรากฏวาฝนดันตกตลอด ผมคิดไดแตเพียงวา ใหกั้นกระสอบทรายที่พอมีใหสูงไวกอน สวนตัวเองจัดแจงหยิบเส้ือผาติดมือไปสองสามชุดกอน

ระหวางทางฝนยังคงตกหนักตลอด ที่ปดน้ําฝนเรงเต็มสตีมแลวก็ยังตองคอยๆขับรถไปไดอยางชาๆ สายฝนที่เย็นฉํ่า แตใจมันรอนรุม ความเร็วสัก 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง ดูมันชางชักชาเหมือนเตาคลานเลยทีเดียว ผมเพิ่งทราบขอมูลเมื่อมาทบทวนเหตุการณวา “ฟารั่ว” ในชวง 2 วันนี้เปนอยางไร เชนที่อําเภอนาทวี ปกติฝนจะตกเฉลี่ยทั้งปที่ 1200-1500 มิลลิเมตร มาปนี้ แค 2 วัน 31ต.ค-1พ.ย. ตกไป 504 มิลลิเมตร เรียกวาเปน 1/3 ของฝนทั้งป

ระหวางทางผมผานอําเภอจะนะกอน ดูปริมาณน้ําสองขางทางแลวมีลุนวา น้ําไมมากกระมัง หารูไมวา จะนะเปนสวนปลายน้ํา น้ํายังเดินทางมาไมถึง เวลาผานไปสัก 1 ชั่วโมง พอเริ่มเขาเขตอําเภอนาทวี ตองเปล่ียนใจครับ เริ่มเห็นชาวบานยาย วัว ควาย และขาวของมายังทองถนน ฝนเริ่มซาเม็ดลง เหยียบคันเรงเร็วขึ้นหนอย ใจเตลิดคิดไปถึงเรื่องอื่น คิดถึงการซอมแผนอุทกภัยที่เตรียมซอมกันในวันรุงขึ้นคือวันที่ 2 พ.ย. หรือเราจะไดเจอของจริงเลย

Page 47: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

46

พอเขาเขตตลาดนาทวี ลงจากสะพานขามคลองนาทวี มองลงไป สามแยกวังโตยาวไปสุดลูกตา ตลอดทางไปอําเภอเทพา ผมไมเห็นพ้ืนผิวถนนแลว เห็นมีรถกระบะวิ่งสวนมาได แสดงวารถยังพอฝากระแสน้ําได เล้ียวขวาที่สามแยกวังโต มุงหนาสู รพ.ระยะทางราว 1 กิโลเมตรถึงหนาสนามกีฬาเทศบาล สองขางทาง มีรถจอดซอนกัน 3 แถว ตรงน้ีเปนเนินสูงหนอย ผูคนตางนํายานพาหนะจอดหนีน้ํากัน ผมขับรถ Volvo คูใจเกือบถึงหนา รพ. ลําบากเสียแลวละ น้ํามากจริงๆ ตองหันหัวรถกลับมาจอดหนาสนามกีฬาเหมือนคนอื่นๆบาง ผมเดินเทาสัก 200 เมตร จนถึงแนวรั้วรพ.

หนารั้วโรงพยาบาลเห็นสมาชิกชาวโรงพยาบาลสัก 5-6คน รวมตัวกันอยูหลังแนวเขื่อนกระสอบทรายหนารพ. ถนนทางเขารพ.กระแสน้ําเชี่ยวมาก เจาหนาที่ตองใชรถกระบะคันหนึ่งจอดบนถนนใหญ ใชเชือกผูกกับรถยึดโยงกับเสาภายในรพ. เพ่ือไวเกาะเดินเขาไปได แตก็ตองใชความระมัดระวังเปนอยางมากผมตัดสินใจเดินเกาะเชือกฝากระแสน้ําโดยมีพนักงานขับรถคอยเดินขนาบเขาไปได

ส่ิงแรกผมที่ทําคือ ขี่จักรยานตระเวนดูรอบรพ. น้ําขึ้นเร็วมากจริงๆครับ รอบรพ.เรามีเขื่อนกั้นน้ําสูงประมาณ 2 เมตร จุดต่ําสุดของเขื่อนอยูบริเวณฝงที่ติดกับสํานักงานขนสงจังหวัด เราประชาสัมพันธเสียงตามสายระดมคนที่มีอยูในบานพักทั้งชายหญิงและญาติผูปวย ชวยกันบรรจุทรายใสกระสอบ ผมอาจจะใชคําผิดครับ ใสถุงดํามากกวา เพราะกระสอบตามแผนเดิม จะเอาเขามาเตรียมในชวงสายของวันนี้ เพ่ือจะซอมแผนในวันรุงขึ้น นองรปภ.ประยุกตโดยใชถุงดําซอนกัน 3 ชั้นเพ่ือปองกันการแตก ก็พอบรรเทาไปไดบาง เราชวยกันลําเลียงขนกระสอบถุงดําไปเสริมแนวเขื่อนฝงขนสง แตดูแลวยังไมเพียงพอแน ผมรองขอกระสอบไปยังทานนายอําเภอและพ่ีๆที่สสจ.สงขลา เผื่อวาจะยื้อกันลองดูสักตั้ง ปฏิบัติการยายผูปวยกอนนํ้าเขาโรงพยาบาล

ประมาณ 10 โมงเชาทานนายอําเภอฝากระแสน้ําดวยรถขับเคลื่อนส่ีลอทรงสูง ผานมาทางประตูสํารองของรพ.มาได ผมวานใหทานชวยตรวจสอบปริมาณน้ําจากตนน้ํา ทั้งจากตําบลประกอบ ตําบลสะทอน และท่ีสําคัญคืออุทยานแหงชาติเขาน้ําคาง ทานบอกผมวา “น้ํายังมีอีกมากครับคุณหมอ”

ผมตัดสินใจใชแผนขั้นสุดทายคือยายคนไขออกจากโรงพยาบาลทั้งหมด ถึงแมในขณะนั้นภายในโรงพยาบาลยังแหง แตภายนอกโรงพยาบาลเราถูกรายลอมดวยน้ําหมดแลว อยูไดเพราะเขื่อนกั้นน้ําและเครื่องสูบน้ําทํางานอยูตลอดเวลา ผมส่ังการใหหัวหนาพยาบาลและหัวหนาตึกเตรียมเคลื่อนยายผูปวย โดย set priority case เปนประเภทตามความเรงดวนไว

ประมาณ 11 โมง ของวันที่ 1 พฤศจิกายน รถยีเอ็มซี 3 คันจากคายทหาร ร5 พัน3 โดยการประสานงานของทานนายอําเภอ พรอมกําลังเกือบ 20 นาย เริ่มมาลําเลียงยายผูปวย คนแรกที่ผมคิดถึงคือกัลยาณมิตรคนสําคัญ คุณหมอสุภัทร ฮาสุวรรณกิจ ที่โรงพยาบาลจะนะ ซึ่งหางออกไป 20 กิโลเมตร จัดการรับคนไขที่จําเปนตองนอนโรงพยาบาลตอ 35 คน ที่เหลือ ไป โรงพยาบาลสงขลานครินทร โรงพยาบาลหาดใหญ โรงพยาบาลนาหมอม รวมสงผูปวยไปทั้งหมด 44 คน

ชุดแรกที่สงตอคือกลุมเด็กที่ตองใช incubator โชคดีมากครับ ที่เพ่ิงซื้อตัวใหมมา 2 ตัว ราคาตัวละ 5 แสน รูเลยครับวาคุมกับการรักษาชีวิตเด็กตัวนอยๆไดอีก 2 คน การขนยายผูปวยเปนไปอยางตอเนื่องและทุลักทุเล เพราะไมใชยายแตผูปวย แตหมายถึงญาติและขาวของเครื่องใชของผูปวยดวย

ผูปวยเที่ยวสุดทายถูกสงตอไปประมาณ 6 โมงเย็น พลทหารขับรถบอกผมขากลับเที่ยวสุดทายวา ขับไปก็นั่งภาวนาสวดมนตไป ใหปลอดภัยทุกๆคน ชื่นชมนองพยาบาลมาก เขาใหกําลังใจพลขับ พรอมดูแลคนไขระหวางทางไปดวย ทานที่นึกภาพไมออก ลองคิดดูวา ระยะทาง 50 กิโลเมตร ใชเวลาเดินทาง 4 ชั่วโมงเปนอยางไร

Page 48: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

47

ปฏิบัติการสูสักตั้ง สักบายโมงสิ่งที่เราหนักใจท่ีสุดคือเขื่อนบริเวณฝงสถานีขนสงนั้นทานความแรงของน้ําไมไหวแลว

น้ําทะลายเขื่อนเขามาจนพังพินาศ เสียงน้ําตกไหลเขาโรงพยาบาลจนทีมงานสูบน้ําประสานมาวาขอหยุดสูบเพราะสูไมไหวแลว ผมส่ังการทางวิทยุใหสูบน้ําตอ เพ่ือย้ือกับเวลาท่ีเราตองยายคนไขและยายขาวของใหไดมากที่สุด ระหวางนี้การเคล่ือนยายทามกลางกระแสน้ําที่ขึ้น เชี่ยวและแรง เราใชเวลากวา 6 ชั่วโมง แบงกําลังกันยายขาวของสวนหนึ่ง ยายผูปวยอีกสวนหนึ่งที่ยังหลงเหลือ

อุปกรณสวนที่ยายไมไดเปนอุปกรณตัวใหญ เชน ยูนิตฟน เครื่องนึ่ง เครื่องอบผา เครื่องซักผา ก็พยายามถอดมอเตอรออก พนักงานชางมือส่ันพลางถอดอุปกรณพลาง

พอสัก 4 โมงเย็น น้ําสูงมากจนพนแนวเข่ือนรอบโรงพยาบาล ถึงแมเราจะเรงบรรจุกระสอบทรายกลางสายฝน อุดรูรั่ว เสริมคันดินใหสูงขึ้น ย้ือเวลา เพราะคาดวามันไมนาจะสูงกวานี้ แตผิดคาด น้ํามามากทั้งเร็วและแรง คราวนี้เครื่องสูบน้ําทั้ง 2 เครื่องเอาไมอยู จนตองยอมแพ น้ําจึงเขาทวมโรงพยาบาลอยางรวดเร็ว ระดับน้ําบริเวณตึกอุบัติเหตุ ราว 1 เมตร บานพัก 1.5-2 เมตรตองอพยพอยูตึกใหมทั้งหมด

ในวันนั้นไฟดับทั้งอําเภอ ทีมงานยังชวยกันสรางเขื่อนปองกันโรงไฟฟาสํารองซึ่งเปนจุดสําคัญที่สุดตอไป ชวยกันวิดน้ํา สูบน้ํา ผลัดเวรเฝากันทุกชั่วโมง จนถึงรุงเชา เพราะถาไมมีไฟ คนที่บนตึกในโรงพยาบาล 80 ชีวิตก็คงลําบาก ในจํานวนนี้มีคนไขที่แพทยอนุญาตใหกลับบานได แตเขากลับไมได เพราะน้ําทวมเมืองไปหมดแลว

หลังจากนั้นเราก็ลุนกันวา น้ําจะเขาตึกใหม 2 ชั้นที่เรากําลังอยูหรือไม โลงใจเอาตอนเที่ยงคืน น้ําเริ่มทรงตัว อีกแคคืบหนา เราอาจตองอพยพขึ้นชั้น 2 คืนนี้ชาวโรงพยาบาลนอนกันบนตึกใหมกันอยางอบอุน แตทุกคนก็หลับๆตื่นๆ พะวงกับสถานการณที่คาดเดาไมได เนื่องจากการสื่อสารถูกตัดขาดหมด นํ้าลดกับภารกิจที่ยังรอคอย

เชาวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 น้ําเริ่มลดระดับชาๆ พอระดับน้ําภายนอกเริ่มลดต่ํากวาภายในโรงพยาบาล สมาชิกชวยกันกั้นกระสอบทรายใหม เริ่มระดมสูบน้ําออกอีกครั้ง แตมีโจทยใหญตามมาคือ น้ํามันสํารองใกลหมด ทั้งใชกับเครื่องปนไฟ และเครื่องสูบน้ํา หัวจายน้ํามันในปมน้ํามันไมทํางานเพราะยังไมมีไฟฟาใช กัดฟนวัดดวงเราใชเวลา 24 ชั่วโมง ก็สามารถทําใหน้ําภายในไมทวมในอาคาร แลวรีบลางโคลน ไมง้ันจะลางยากมาก จึงใชไดโวสูบน้ําที่กําลังลดนี่แหละฉีดลางเบื้องตน ไดผลดีมาก เรียกวาเอาเกลือจิ้มเกลือ

สําหรับการบริการ ทีมงานโรงพยาบาลปรับแผนโดยแบงกําลังไปออกหนวยตั้งโรงพยาบาลสนาม โดยขอรถทหารลุยเขามารับคุณหมอกัมปนาท จันทนะ และคณะไปออกหนวยใหบริการชาวบานบริเวณชั้นสองธนาคารการเกษตรและสหกรณซึ่งอยูในเขตชุมชน อีกสวนหนึ่งเริ่มมีคนไขอาศัยรถยีเอ็มซีทหารเขามารับบริการที่โรงพยาบาล เราปรับรูปแบบที่ตึกใหม ใหเปนทั้ง ER LR และOPD หองยาแบบยอสวน เปน 2 จุดใหญที่ใหบริการประชาชน

ชวงบายเจาหนาที่เริ่มลงไปสํารวจความเสียหายที่บานพักกัน โดนกันไปเต็มๆทุกบาน ทั้งรถยนต เครื่องใชไฟฟา ที่นอน โซฟา จมน้ําจมโคลนกันเห็นๆ วันนี้ระบบส่ือสารบางสวนเริ่มฟน ส่ือหนังสือพิมพบางฉบับ ทีวี วิทยุหลายชองมาสัมภาษณ ถึงแมขาวจะไมคอยออก เพราะความสนใจไปอยูที่หาดใหญเปนหลัก แตพวกเราก็มีความสุขที่ฝาวิกฤติมาได คืนนี้นอนกันบนตึกใหมอีกเชนเคย

เชาวันที่ 3 พฤศจิกายน เปนวันแหงการขัดลางโรงพยาบาล ระดมคนลงลางตามจุดสําคัญ โชคดีวาระบบประปาของโรงพยาบาลชางเราซอมไดแลว เริ่มมีน้ําใชบาง เจาหนาที่โรงพยาบาลที่ติดน้ําอยู

Page 49: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

48

ภายนอกเริ่มทยอยเขามาชวยขัดลาง โชคดีที่สองคือ ไดน้ํามันสํารองมาจากสงขลา โดยการประสานจากสสจ. รถทหารบรรทุกมาใหอุนใจไปอีกมาก

ชวงเย็นนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดสงขลามาเยี่ยมใหกําลังใจ หลังจากนั้นเราสรุปงานประจําวัน เราตั้งเปาวาพรุงนี้ตองเปดบริการในสวนหนา คือ OPD และ ER ใหได

ในวันนั้นแมโรงพยาบาลจะยังไมเปด แตเราไมไดปดโรงพยาบาล คนไขที่หาทางมาจนได สวนใหญจําเปนตองนอนโรงพยาบาลเกือบทั้งนั้น ในชวงวิกฤตินี้มีคนไขในสะสมเพิ่มขึ้นจนเกือบ 20 คน ถึงแมระบบออกซิเจนไมทํางาน X’ray ยังจมน้ํา หอง lab ก็จม แตทีมเจาหนาที่ก็สามารถดูแลไดตามสมควร

4 พฤศจิกายน สามารถเปด OPD ได 3 หอง ชวงสายๆทีม IT จัดการระบบใหใชงานไดบางสวน ทหารจาก ร.5 พัน 3 ทีมเทศบาล เจาหนาที่โรงพยาบาลลางโรงพยาบาลรอบที่ 3 ซึ่งยังมีโคลนติดอยูโดยรอบอีกครั้ง ตองขอรถน้ําและรถดับเพลิงจากเทศบาลระดมมาชวยกัน อีกสวนก็เปดบริการไปดวย ถึงแมระบบยังไมพรอม เลยตองมาใชระบบมือ (manaul) ทั้งหมด

ทีมจากศูนยชางคือศูนยวิศวกรรมจากสงขลาไดเขามากินอยูพักคางคืนตั้งแตเมื่อวาน มาดูเครื่องซักผา อบผาให ชวงเย็นสามารถงานอยางละ 1 เครื่อง ทางทีมซักฟอกจัดเวรเปนกะทํางานกัน 24 ชั่วโมง ทยอยซักผาที่จมน้ํากองเปนภูเขานอยๆ คาดวาใชเวลาสัก 3 วัน นาจะบรรเทาไปไดบาง

ทีม IT ก็ทํางานกันโตรุง ระบบบริการ HOSxp เริ่มใชการไดบริเวณ OPD หองยา ER จนใชไดสัก 60 %

สวนระบบบริการเมื่อวาน ER เริ่มเปดเวรบาย WARD เปดไดทั้งหมด 60 เตียง ทยอยรับผูปวยจาก รพ.อ่ืนๆมาแลว LAB เริ่ม CBC UA ได วันนี้เราจัดการเรื่องขยะเปนหลัก ทีมเทศบาลมาชวยเก็บ เริ่มทยอยเก็บในสวนงานสนับสนุน ลางบริเวณคลังพัสดุ

วันที่ 5 ทุกอยางเริ่มเขาที่ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อําเภอนาทวี ไดผานวิกฤตและเปดบริการเต็มรูปแบบแลว ภาค 2 : ประสบการณวุนๆของโรงพยาบาลจะนะทีนํ้่าเกือบทวม

เหตุการณน้ําทวมใหญจังหวัดสงขลาจากพายุดีเปรสชั่นที่ขึ้นฝงที่จังหวัดสงขลาในวันที่ 1-3 พฤศจิกายน 2553 ที่ผานมา ลุมน้ํานาทวี เปนอีกลุมน้ําหนึ่งที่มีเรื่องราวน้ําทวมใหญมาเลาสูกันฟง อําเภอนาทวีอยูบนเชิงเขา มีทางน้ําและคลองที่ไหลลงสูอําเภอจะนะ ดังนั้นหากน้ําทวมอําเภอนาทวี น้ําก็จะทวมจะนะในอีกไมนาน ความวุนวายกอนนํ้าเขาเมือง

ที่โรงพยาบาลจะนะน้ําเขามาที่สุดในประวัติศาสตรการตั้ง รพ.นับตั้งแตป 2516 ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 เมื่อน้ําปาไหลบาเขาตัวอําเภอนาทวี โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนา ณ อําเภอนาทวี ซึ่งเปนโรงพยาบาลขนาด 90 เตียงถูกน้ําทวม น้ําเขาตึกผูปวย ไฟฟาดับ ทําใหตองมีการทยอยขนคนไขกับรถทหารมารักษาตอที่โรงพยาบาลจะนะรวม 35 คน กวาจะเสร็จก็ตกเย็น ทีมของโรงพยาบาลจะนะฝากขาวกลองกลับไปกับรถทหารใหเจาหนาที่นาทวี 100 กลองเปนอาหารเย็นที่กินตอนค่ํา ยอดวันนั้นคนไขอยูที่ประมาณ 80 เตียง

โชคดีที่จะนะน้ําขึ้นตอนค่ํา และสวนใหญรูตัวลวงหนาวาน้ําจากนาทวีซึ่งหางออกไป 20 กิโลเมตรมาแลว คนไขสวนหนึ่งก็รีบสมัครใจกลับบาน ไมมีใครอยากทิ้งบานในสถานการณวิกฤต คนไขคนเฝาคง

Page 50: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

49

อยากกลับไปขนของหนีน้ํากัน ก็ถือวาโรงพยาบาลขนาด 60 เตียงมีคนไขไมแนนเกินไป ตอนนั้นหมอเภสัชพยาบาลจะนะก็ปนปวนกับคนไขที่ทะลักเขามาเหมือนน้ําปา พอตกค่ําเรื่องคนไขก็เขาที่เขาทาง

ชวงเชาวันนั้น เมื่อคาดเดาไดวาน้ําทวมใหญแน ทางโรงพยาบาลก็มีการประสานรถเติมออกซิเจนเหลวใหเขามาเติมออกซิเจนเหลวใหเต็มเปนกรณีพิเศษโดยที่ยังไมถึงระดับที่ตองเติม ซึ่งบริษัทเขาอยูที่หาดใหญก็ยินดีมาเติมให ชวงบายเจาหนาที่โรงพยาบาลไปตลาดตุนอาหารสดเพิ่มขึ้นอีก เผื่อวาจะทวมหลายวัน ตุนน้ํามันสําหรับรถทุกคันใหเต็มถัง ส่ังกาซหุงตมถังใหญมาเพิ่มอีก 2 ถัง น้ํามันสําหรับเครื่องปนไฟพรอมแลว ขาวสารอาหารแหงพรอมนานแลว เงินสดในมือก็พรอมมีเงินอยูเกือบ 50,000 บาท เพราะชวงน้ําทวมไฟดับ ธนาคารปด ATM ไมทํางาน เงินสดเทานั้นที่จะจับจายได

ขาวน้ําจะทวมจะนะ ในบายวันนั้น ญาติคนไขก็พาคนไขขาประจํา 3-4 คน เชนคนไขถุงลมโปงพอง คนไขสูงอายุที่บานชั้นเดียว พามาฝากนอนที่โรงพยาบาล แบบนี้เรียกวา ชาวบานเขาทีการเตรียมตัว

ตอนเย็นเลิกงาน เปนชวงวัดใจ น้ํากําลังเขาจะนะ ใครจะกลับบานเพราะหวงบานก็คงเดาไดวา คงกลับมาไมไดแลวในวันพรุงนี้ แตถาไมรีบกลับก็คงไมไดกลับ ผมเองก็ตัดสินใจแลววา ปนี้ดูทาน้ําสูงกวาทุกครั้ง หมอท่ีอยูเวรก็เปนนองๆใชทุน ภรรยากลับบานแลว คงไปขนของที่รานขายยา ขออยูเปนกําลังใจและอํานวยการตามหนาที่ใหโรงพยาบาลแลวกัน ก็เลยนอนที่โรงพยาบาล

โกลาหลเมื่อนํ้าเริ่มเขาโรงพยาบาล ตกค่ําน้ําขึ้นเรื่อยๆ ขึ้นอยางนากลัว ในตลาดทวมหมดแลว แตตัวโรงพยาบาลตั้งในที่ที่สูงที่สุดของ

ตลาด มองไปเห็นโรงพัก ที่วาการอําเภอ ทวมแลว น้ําเขาโรงพยาบาลเริ่มทวมโรงซักฟอก เครื่องซักผาเริ่มจมไปสัก 1 ฟุต ก็ยังพอไหว สัก 3 ทุม ผูคนในโรงพยาบาลแตกตื่น เพราะกลัววาน้ําที่ทวมถนนในโรงพยาบาล ซึ่งสูงกวาถนนภายนอกเปนฟุต แตน้ําที่สูงขึ้นจนนากลัววาจะทวมรถ จึงตองมีการจัดระเบียบการจอดรถกับอยางโกลาหล ทั้งรถสวนตัวและรถโรงพยาบาล เอาขึ้นจอดตรงทางเชื่อมบาง ขึ้นที่สูงสักนิดบาง จนเรียกวามีรถจอดเต็มทางลาดที่เอาผูปวยเขาตึกบริการ หากมีคนไขมาตองกางรมแลวหามมาขึ้นทางบันได เพราะรถจอดเต็มหมดแลว แตคืนนั้นคนไขนอยมาก สวนใหญคงโกลาหลกับการขนของหนีน้ํา และถนนเสนหลักน้ําทวมจนยากที่จะเดินทางแลว

ตกค่ํานั้นเองไฟฟาก็ดับลงทั้งอําเภอ เครื่องปนไฟของโรงพยาบาลดังกระหึ่มในทามกลางความเงียบสงัด แสงไฟทั้งอําเภอมีแตโรงพยาบาลเทานั้นที่สวาง มองไปจากชั้น 4 ของอาคารผูปวยในเห็นแตโรงแยกกาซจะนะ และโรงไฟฟาจะนะ ที่มีทองฟาสีสวาง ซึ่งแปลวาทั้งอําเภอนาจะมีเพียง 3 แหงที่มีไฟฟา เรียกวา โคตรนาอิจฉาที่สุดในอําเภอ สวนโรงพักและที่วาอําเภอที่ควรเปนศูนยอํานวยการชวยเหลือประชาชนนั้นมืดสนิท

การส่ือสารถูกตัดขาดหลังไฟฟาดับไมนาน เขาใจวาเสารับสงสัญญาณมือถือคงแบตตารี่หมด โทรศัพทพ้ืนฐานใชไมได เปนคืนที่เงียบสงบ ดึกน้ําทรงตัว ไมทวมสูงจนเขารถที่จอดไว ทาทางจะไมวิกฤตกวานี้แลว

มื้อเชาทุกคนไปกินขาวตมไกไดที่โรงครัว โรงครัวเล้ียงอาหารทุกมื้อกับทุกคนในโรงพยาบาลทั้งคนไข ญาติและเจาหนาที่ ถนนไมมีรถวิ่ง มีแตคนเดินลุยน้ําระดับเอวเดินชมเมืองในอีกบบรรยากาศ หมอในโรงพยาบาลวันนี้มีต้ัง 4 คน ชวยกันไป round ward 2 คน อีก 2 คนก็อยูเฝาหองฉุกเฉิน เปนวันที่มีคนไขมาโรงพยาบาลนอยที่สุด คือประมาณ 30 คน และไมนาเชื่อวายังมีคนเดินลุยน้ํามาโรงพยาบาลตั้ง 30 คน เกือบครึ่งหนึ่งคือคนไขกลุมสําคัญที่โรงพยาบาลจะนะใหบริการเขามายาวนาน คือคนไขกลุมที่ติดเฮโรอีน แลวมารับยาเมธาโดนทดแทนทุกวันไมเวนเสารอาทิตย ไมนาเชื่อคนกลุมนี้แมน้ําจะทวม แตเขาก็บากบ่ันลุยน้ํามากินยา แสดงวาโรคสมองติดยานี้ทรมานจริงๆ น้ําทวมหากพอมาไดก็ยังมาดีกวาขาดยา

Page 51: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

50

ฟอรมาลีนกับเรื่องราวที่นึกไมถึง ตอนเชานั้นเอง พยาบาลไดแจงวาคนไขบนตึกอาการหนัก เปนผูปวยชายสูงอายุที่มาจากนาทวี

เปนโรคเสนเลือดในสมองแตก สงไปรักษาที่โรงพยาบาลสงขลานครินทรแลว กลับมานอนรักษาตอที่นาทวีได 1 วันก็ตองยายหนีน้ํามาที่โรงพยาบาลจะนะ นายแพทยสุภัทร ฮาสุวรรรกิจ เลาวา

ผูปวยอาการแยลง ซึม หายใจติดๆ คุยกับญาติวาคงไมไหว ญาติเขาใจลงความเห็นรวมกับหมอวาไมสงตอ สภาพของผูปวยชัดเจนแลววาไมนานคงสิ้นลมแน ผมเลยถามหาฟอรมาลีนจากหองยา ปรากฏวาไมมี ไมไดเตรียมไว ไปไดจากหอง lab ที่เขาไวดองชิ้นเนื้อมาแค 400 ซีซี ก็ยังดี โรงพยาบาลชุมชนไมมีตูเย็นเก็บศพ หากเสียชีวิตอีกวันเดียวก็เนาเหม็นแลว พอเที่ยงผูปวยก็จากโลกนี้ไปอยางสงบ พยาบาลก็เริ่มหยดฟอรมาลีนทางน้ําเกลือ เพ่ือรักษาศพไว ไมรูเมื่อไรจะกลับบานไดในสภาวะที่น้ําทวมสูงเชนนี ้

ชวงบาย 3 โมง รถทหารคันใหญมาสงยาน้ําทวม แลวเขาจะไปสงยาตอที่โรงพยาบาลนาทวีตอพอดี มีคนไขและญาติขอติดรถเสี่ยงไปลงกลางทางหลายคน ผมเลยขอฝากศพนี้ไปกับญาติฝากไปใหถึงตลาดนาทวีดวย ปรากฏวาคนอื่นที่จะพลอยไปกลับรถขอลงหมดทั้งคัน ไมมีใครยอมไปดวยเลย โวยวายกันบาง ผมก็บอกวา คนเปนไมเนารอได คนตายรอไมได กลับไปท่ีตึกคนไขไปพักและหาขาวกินกอนแลวกัน แลวรถทหารที่ขนยาและศพก็ออกไปจากโรงพยาบาล

คุณหมอที่อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลาก็มีคนไขเสียชีวิตในโรงพยาบาลตอนน้ําทวมอําเภอเชนกัน แตโรงพยาบาลรัตภูมิแกปญหาดวยการใหคนลุยน้ําไปยืมโลงเย็นมาจากวัดมาเสียบไฟฟาที่โรงพยาบาล รอจนน้ําลดจึงสงมอบศพใหญาติไปทําพิธีกรรมตอไป

นํ้าเริ่มลด ชวีิตแหงความวุนวายกเ็ร่ิมตน ในวันที่ 2 โรงพยาบาลตึกหนาไมมีน้ําใช เพราะเคร่ืองสูบน้ําบาดาลขึ้นหอถังสูงจมนํ้าเมื่อคืนที่ผาน

มา ซึ่งเราไมเคยนึกถึง มอเตอรเครื่องสูบน้ําจมน้ํา แตตึกผูปวยในยังมีน้ําใชเพราะเปนคนละระบบกัน ความเดือดรอนจึงไมมาก เครื่องปนไฟยังทํางาน 24 ชั่วโมง น้ํามันที่มีพอใชอีก 2 วัน โรงพยาบาลกลายเปนที่รับบริการชารจแบตตารีมือถือประจําอําเภอ

คืนที่ 2 น้ําเริ่มลดลงในชวงค่ํา ฝนไมตกเพิ่ม น้ําทวมลดลงคนไขก็เพ่ิมขึ้นทันที น้ําลดแลว การสงตอผูปวยก็เริ่มขึ้น แตการสื่อสารยังแยมาก ทําใหการตรวจสอบเสนทางการสงตอยากลําบาก วาเสนทางไหนไปไดไปไมได หลักๆก็สงตอไปโรงพยาบาลสงขลา เพราะหาดใหญยังจมน้ําอยู ตกดึกการไฟฟาเริ่มปลอยกระแสไฟฟา แตการสื่อสารยังยากลําบาก

ภาพรวมโรงพยาบาลก็มีอาคารซักฟอกจายกลาง อาคารกายภาพบําบัด ศาลาละหมาด ซึ่งเปนอาคารแนวเดียวกันที่ต้ังในที่ลุมที่สุดของโรงพยาบาลทวมระดับเกือบหัวเขา ความเสียหายมีเล็กนอยคือ เครื่องซักผาเสีย เครื่องสูบน้ํา และเครื่อง compressor เปาลมของยูนิตทําฟน แตทั้งหมดนี้ซอมได

วันที่ 3 น้ําในโรงพยาบาลแหงสนิทแลว ถนนเสนหลักเดินทางได มีแตบานที่อยูในที่ลุมที่ยังมีน้ําทวม คนไขเริ่มมาโรงพยาบาลมากกวาปกติ โดยเฉพาะคนไขเรื้อรังเบาหวานความดันที่ยาลอยไปกับสายน้ําแลว หมอที่ติดน้ําอยูหาดใหญก็มาโรงพยาบาลไดแลว เจาหนาที่เพ่ิมจํานวนขึ้นพอรับมือกับผูปวยไหว คนที่อยูเวรสลับกันเฝาโรงพยาบาลมาตลอด 2 วันก็ไปพัก คนใหมมาทําหนาที่ทดแทน

เพราะหมอในโรงพยาบาลจะนะมีนอย และชาวบานตองการยาพื้นฐานมากกวาตองการหมอ ทางโรงพยาบาลและสาธารณสุขอําเภอเลยจัดหนวยพยาบาลออกไปกับรถพยาบาลฉุกเฉินไปแจกจายยา ออกไปเปน 3 สาย แวะเปนจุดจุดละสัก 1 ชั่วโมง แลวก็ไปตอจุดอื่น บางสวนก็ฝากยาสามัญประจําบานไวที่บาน อส

Page 52: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

51

ม.ใหเปนจุดกระจายยา จัดบริการแบบนี้สัก 3 วันก็หยุดลงเพราะน้ําลด ชาวบานสวนใหญพ่ึงตนเองและเดินทางสะดวกแลว

สภาพหลังน้ําทวม พบแตขยะทั้งอําเภอ บานชาวบานกวาครึ่งเปนบานชั้นเดียว น้ําทวมครั้งนี้สูงกวาทุกครั้ง ทําใหบานชั้นเดียวนั้นน้ําทวมสูงจนขาวของเสียหายหมด โดยเฉพาะรถเครื่องและเครื่องใชไฟฟาจมน้ําหมด เส้ือผาที่นอนหมอนฟูกเปยกน้ําจนแทบจะใชไมได ซึ่งชาวบานกลุมนี้มีความนาเปนหวงดานสุขภาพจิตมากเปนพิเศษ แตแตละชีวิตก็ตองดิ้นรนกันตอไป คุณหมอสุภัทรบอกวา “ผมคิดเอาเองวา ชาวบานเขาเผชิญความทุกขยากมาทั้งชีวิต ความคิดฆาตัวตายหรือเครียดจัดจนตองมาหาหมอจึงไมมากเหมือนคนเมือง”

สุดทายตองขอบคุณบรรพบุรุษที่เลือกทําเลในการตั้งโรงพยาบาลจะนะไดเหมาะสมแลว

ภาค 3 : นํ้าทวมหาดใหญ กับบริการปฐมภูมิกูภัยพิบัติแหงทศวรรษ อําเภอหาดใหญเปนอําเภอเศรษฐกิจของภาคใต น้ําทวมครั้งรุนแรงครั้งสุดทายคือป 2543 หรือ 10 ปกอนหนานี้ ในครั้งนี้ฝนที่ตกหนักตลอดลุมน้ําคลองอูตะเภา ซึ่งเปนคลองสายหลักที่ไหลผาเมืองเหมือนแมน้ําเจาพระยาแหงกรุงเทพมหานคร ไดลนตล่ิงทวมเมืองอยางรวดเร็วในค่ําคืนของวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553

อุทกภัยในหาดใหญครั้งนี้น้ําทวมสูงอยางรวดเร็วมาก โรงพยาบาลหาดใหญต้ังอยูในทําเลที่คอยขางลุม ระดับน้ําสูงจนเขาอาคารผูปวนอก อาคารสนับสนุนตางๆหลายอาคารของโรงพยาบาลหาดใหญ บริเวณถนนน้ําเชี่ยวมาก ไฟฟาดับตอนกลางคืน สัญญาณโทรศัพทถูกตัดขาด เจาหนาที่ไมสามารถเดินทางเขาออกจากตัวอาคารได โรงพยาบาลปดโดยปริยาย โรงปนไฟถูกน้ําทวม จนตองมีการขนยายผูปวยหนักไปนอนรักษาตอที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร แตถึงกระนั้นในโรงพยาบาลหาดใหญที่ถูกน้ําทวม ก็ยังมีผูปวยและญาตินอนรักษาตัวอยูหลายรอยชีวิต

บันทึกจากหอผูปวยใน นํ้าทวมเมืองกับคนไขในที่ยังตองดูแล ณ มุมหนึ่งของโรงพยาบาลหาดใหญ ที่อยูทามกลางความมืดปราศจากแสงสวางจากไฟฟา ซึ่งใหความสะดวกในการทํางานมาตลอดหลายป แตปจจุบันนี้แสงสวางดังกลาวไมมีแลว มีเพียงแสงเทียนและและแสงจากไฟฉายกระบอกนอยที่ใหความสวางอยูในหอผูปวย ทามกลางความมืดรอบดาน ความกังวลและความกลัว ยอมเกิดขึ้นในใจของผูปฏิบัติงานในฐานะผูใหการดูแลผูปวยที่ไมมีแมเครื่องอํานวยความสะดวกและอุปกรณที่ทันสมัยใหใชในเวลานี้ แมมีเพียงแสงเทียนและไฟฉายที่ใหแสงสวางบุคลากรทางสาธารณสุข ไมวาจะเปนแพทย พยาบาล เภสัชกร และเจาหนาที่ทุกฝาย แทนที่จะทําใหทอแทหมดกําลังในการปฏิบัติหนาที่ แตกลับเปนแรงเสริมใหทุกคนมีความเห็นอกเห็นใจ ชวยเหลือซึ่งกันและกันเพ่ิมขึ้น พยาบาลยังคงใหการดูแลผูปวยที่นอนพักรักษาตัวอยูที่หอผูปวย ซึ่งยังมีผูปวยเปนจํานวนมาก สวนที่มีการขนยายผูปวยไปนั้น สวนใหญก็เปนกลุมผูปวยหนักที่ตองดูแลอยางซับซอน ตองใชเครื่องมือที่พ่ึงพากระแสไฟฟา แตผูปวยสวนใหญหลายรอยชีวิตของโรงพยาบาลยังไมไดเคล่ือนยายไปไหน ยังรับการดูแลรักษาทามกลางสายฝนและความมืดที่โรพยาบาลหาดใหญ

แนนอนวา พยาบาลและเจาหนาที่ทุกฝายจะมีความกังวลใจและยากลําบากในการใหการปฏิบัติการเปนอยางมาก เพราะไมมีแสงสวางที่เพียงพอในการดูแลผูปวย ไฟฉายจึงเปนอุปกรณที่ใหแสงสวางคูกายที่พยาบาลจะตองนําติดตัวไปดวยทุกที่ ซึ่งพยาบาลหนึ่งคนจะมีไฟฉายคนละหนึ่งกระบอก เพ่ือใหแสงสวาง

Page 53: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

52

ในขณะใหการพยาบาล ในการฉีดยาผูปวย มือหนึ่งถือไฟฉายอีกมือหนึ่งถืออุปกรณสําหรับฉีดยาหรือใหสารน้ํา ซึ่งเมื่อพยาบาลเดินไปถึงเตียงของผูปวย ญาติจะเปนผูชวยในการสองไฟฉายใหพยาบาลไดฉีดยาหรือเปดเสนเพ่ือใหสารน้ํา

ในสวนลึกของจิตใจพยาบาลมีความกังวลอยูมาก กลัวจะเปดเสนใหน้ําเกลือไมได ทําใหยอนนึกไปถึงตะเกียงที่ชาวสวนยางนําไปกรีดยาง ซึ่งจะตองสวมศีรษะไวและสามารถใชมือทั้ง 2 ขาง กรีดยางได โดยที่ไมตองถือตะเกียงไว แตในเวลานี้มีเพียงกระบอกไฟฉายและแสงเทียนไขเทานั้น ซึ่งก็เพียงพอแลวหากมีความมุงมั่นที่จะปฏิบัติหนาที่ใหดีที่สุด สําหรับผูปวยทีอยูในภาวะวิกฤตหรือใสทอชวยหายใจ ซึ่งมีความจําเปนจะตองมีการสังเกตอาการอยางใกลชิด ก็ยังคงมีตกคางอยูที่โรงพยาบาลหาดใหญอีกจํานวนหน่ึง ผูปวยที่ใสทอชวยหายใจน้ัน เครื่องชวยหายใจยังสามารถใชได เพราะมีกระแสไฟฟาจากเครื่องปนไฟบางเครื่องที่ยังไมจมน้ํายังทํางานได แตการดูดเสมหะมีความยุงยากมากเพราะระบบการดูแลเสมหะแบบ pipeline นั้น ไมทํางานเนื่องจากระบบดูดสุญญากาศเสียหายจากน้ําทวม ทั้งหอผูปวยมีเพียงเครื่องดูดเสมหะแบบโบราณที่เสียบปล๊ักไฟฟาไดเพียงเครื่องเดียว ในขณะเดียวกันมีผูปวยที่ใชเครื่องชวยหายใจประมาณ 10 คน ซึ่งไมเพียงพอตอความตองการในการใชแตละครั้งจะตองรอดูดเสมหะเปนราย ๆ ตองหมุนเวียนกันใช

นวัตกรรมใหมๆแบบโบราณจึงเกิดขึ้น เมื่อมีความจําเปนที่จะตองดูดเสมหะพรอม ๆ กัน ทําใหพยาบาลตองคิดวิธีการใหม ๆ ขึ้นมาใชทันที โดยการขอยืมลูกสูบยางแดงมาตอเขากับสายดูดเสมหะของผูปวยแลวดูดเสมหะออก วิธีนี้ก็สามารถชวยเหลือผูปวยไดเชนกัน เพียงแตตองเสียเวลาในการลางลูกสูบยางแดง ซึ่งตองใชเวลานานพอประมาณในการลางใหสะอาด แตก็นับเปนนวัตกรรมแปลกใหมแตสามารถใชไดจริง ๆ นาจะนําไปจดสิทธิบัตรไวใชในยามฉุกเฉิน หากผูปวยมีอาการกําเริบหรือมีอาการรุนแรงขึ้น จําเปนที่จะตองรายงานแพทยทราบนั้น ในสถานการณปกติ แคยกหูโทรศัพทขึ้นก็สามารถรายงานอาการแกแพทยไดทันที แต ณ ปจจุบันนี้สถานการณน้ําทวมทําใหการรายงานอาการมีความยุงยากมากและตองใชเวลาในการเดินไปตามแพทยที่หองพักแพทยทามกลางความมืด มีเพียงแสงสวางจากไฟฉายเทานั้น จินตนาการตาง ๆ ก็ผุดขึ้นมาในหัวสมอง ทําใหเกิดความกลัวขึ้นมา แตเมื่อเดินมาถึงหองพักแพทย เคาะประตูเรียกแพทยเพ่ือไปดูอาการผูปวย ความกลัวนั้นก็จางหายไป เมื่อนึกถึงหนาที่ที่จะตองปฏิบัติและจะตองใหการดูแลผูปวย ทามกลางความมืดกิจกรรมตาง ๆ ดําเนินไปอยางเงียบ ๆ แตมีแนบแผนที่จะตองปฏิบัติ ยังคงมีการประเมินสัญญาณชีพผูปวยทั้งผูปวยที่วิกฤตและไมวิกฤต การบันทึกทางการพยาบาล การอาบน้ํา การทําแผล การใหอาหารทางสายยาง และกิจกรรมอื่นอีกมากมายที่จะตองปฏิบัติเพ่ือใหผูปวยปลอดภัย และใหกําลังใจญาติที่เฝาผูปวยเพ่ือไมใหเกิดความเครียดและใหผานพนเหตุการณนี้ไปได ภายใตสถานการณที่อยูในความมืดหนึ่งวันหนึ่งคืนนั้น แมบรรยากาศภายนอกจะมืดมิด แตก็มีความสวางในใจเกิดขึ้นแกทุกคนที่ประสบเหตุ แตทุกคนสามารถอยูรวมกันได และสามารถปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ไดอยางเปนปกติ หากทุกคนมีความเมตตา เอ้ือเฟอเผื่อแผ การเห็นอกเห็นใจ ชวยเหลือกันและกัน เหตุเกิดทีเ่วชกรรม ในวันที่นํ้าเขาโรงพยาบาลหาดใหญ ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 คุณหมอพณพัฒน โตเจริญวานิชย หัวหนากลุมงานไดรวบรวมสมาชิกแพทย พยาบาลกลุมงานเวชกรรมสังคม ที่ติดน้ําทวมอยูบนตึกเวชปฎิบัติครอบครัว ประกอบดวย หมออีก 3 คนและพยาบาล 2 คน นําชุดยาสามัญประจําบานจํานวน 240 ชุด ฝากไปกับเรือเร็วที่แลนเขามาสงผูปวยที่โรงพยาบาลนําไปแจกจายใหผูประสบภัยในพ้ืนที่เทศบาลนครหาดใหญ “เรือมีอยูไมกี่ลํา แลนมาท่ี

Page 54: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

53

โรงพยาบาลแลวจะกลับมาอีกทีก็ตอนที่มีคนเจ็บนะหมอ น้ํามันเชี่ยวมาก วันนี้มีคนเรือโดนไฟชอตไปแลวดวย ไมคอยปลอดภัยครับหมอ” เสียงคนเรือตอบ นั่นหมายความวาถานั่งไปกับเรือจะไดกลับมาโรงพยาบาลเมื่อไหรก็ไมรู เมื่อคิดไดเชนนี้แลว ทุกคนจึงตัดสินใจกันวาเราควรจะรอตั้งหลักกันกอนดีกวา ออกไปคงเปนภาระมากกวาจะไดประโยชนกับชาวบาน จึงตัดสินใจฝากยาไปกับเรือ ที่บังเอิญผานไปมาชาวบานก็จะตะโกนเรียกขอรับยาเปนจุดๆไป พุธที่ 3 พฤศจิกายน 2553 บริเวณดานหนาโรงพยาบาลหาดใหญ ระดับน้ําสูงถึงหนาอก น้ําประปาไมไหล ไฟฟาดับ สัญญานโทรศัพทยังถูกตัดขาด คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวยังปดใหบริการ แตไดจัดเตรียมชุดยาสามัญประจําบานตอไป เพ่ือสนับสนุนหนวยบริการในอําเภอหาดใหญ หมอสองคนขยับไปชวยตรวจผูปวยนอกดานหนาตึกใหญของโรงพยาบาลที่ผูปวยสามารถเดินทางมารับบริการได อีกสวนเตรียมเสบียงยาสามัญประจําบาน ทีมแพทยนําโดยคุณหมอหทัยทิพย ธรรมวิริยะกุล จากเวชกรรมสังคมพรอมแพทยอาสาจากกลุมงานสูติฯหนึ่งทาน คือ นพ.จิตติ ลาวัลยตระกูล ลงเรือเคล่ือนที่เร็วรวมกับมูลนิธิสวางแผไพศาลซึ่งอาสาเดินทางมารวมกูภัยน้ําทวมจากจังหวัดประจวบคีรีขันธ ออกเดินทางไปยังหมูบานจุฑาทิพย ชุมชนคลองแหฝงตรงขามหางสรรพสินคา Big C ซึ่งขณะนั้นไดรับแจงจากทีมกูภัยวาวิกฤตมากเพราะน้ําทวมเกินระดับศรีษะ ชาวบานเริ่มขาดน้ํา อาหารและรองขอยา ขณะเดินทางโดยทางเรือไมเพียงแตตองระมัดระวังกระแสน้ําเชี่ยวกราด แตยังตองระวังส่ิงของ หรือรถที่จอดจมอยูใตน้ําดวย บางครั้งลูกเรือก็ตองลงจากเรือไปถือหางเรือหรือลากไปวายน้ําไปเรือที่ใชจึงตองเปนเรือทองแบนและตองมีเครื่องยนตจึงจะสามารถเดินทางได ส่ิงที่ควรเตรียมตัวเสมอเมื่อตองนั่งเรือไปชวยน้ําทวมคือ ชูชีพ โทรโขง รองเทาบูทสําหรับลุยน้ําและถุงยาที่กันน้ําเขาได ที่สําคัญที่สุดคืออยาลืมพกน้ําดื่มและอาหารของตัวเองไปดวยเพราะนาทีนั้นคงไปหวังพ่ึงใหใครหาอาหารและน้ําใหเราไมได เวลาหนึ่งวันผานไปอยางรวดเร็ว เวลาเลิกงานสําหรับการออกหนวยไมใชส่ีโมงเย็นแตเปนเวลาพลบค่ําที่คาดเดาไมไดจริงๆ สําหรับชาวบานจะตองเตรียมหมาน้ํา (อุปกรณตักน้ําผูกเชือก) เอาไวหอยลงมาจากหลังคาเพื่อรับของเสบียงหรือยาน้ําทวมไวดวย ไปแจกยาอาจจะตองฝกปรือฝมือในการโยนรับเหมือนเลนแชรบอลไปกอนดวยเพราะชาวบานลงมาหาเราไมไดเราก็ไมสามารถปนจากเรือไปบนหลังคาบานคนไขได รวมภารกิจในวันนั้นไดแจกยาชุดผูใหญไป 300 ชุด ยาชุดเด็ก 200ชุด ชวงเย็นไดสํารวจพื้นที่ประสบภัยบริเวณเขต 8 และจันทรวิโรจน เนื่องจากในขณะที่ไปแจกยานั้นชาวบานหลายคนมักถามเปนประโยคแรกวามีน้ํามาดวยมั้ย ทีมหนวยเคล่ือนที่ในวันนั้นจึงไดขอสรุปวาถาจะไปแจกยาชาวบานขอใหเตรียมน้ําไปดวย ดื่มน้ําจะไดกินยาไปดวยนั่นเอง ตกเย็น ตะวันโพลเพล ทีมกูภัยลงทุนควักกระเปา หนึ่งพันบาทไปซื้อน้ํากลับเขาไปแจกที่หมูบานเพราะชาวบานคงรอคอยขามคืนไมไหว กลับไปในหมูบานรอบที่สองจึงไดเห็นวาชาวบานบางคนพยายามเปนตัวแทนลุยน้ําออกมาเพื่อมารับถุงยังชีพที่ต้ังจุดแจกจายอยูบนพ้ืนดินปากทางเขาหมูบาน คุณลุงคนหนึ่งรับถุงแจกแลวก็หอบหิ้วทั้งลากทั้งอุมถุงจนขาดของหลนไปตามทางน้ํา ทีมกูภัยทนไมไดตองจอดเรือเอาถุงในเรือลงไปเปล่ียนให คนแก และหนุมสาววัยกลางคน ไมวาชายหรือหญิง คอยๆเดินลุยน้ํา บางก็นั่งบนที่นอนที่ลอยน้ําออกมาพรอมเตียง เด็กๆเกาะกะละมังลอยตามน้ําไมใหจม เพ่ือความหวังขางหนาวาอาจจะมีน้ําแจก มีอาหารหรือเสบียงกลับไปใหคนในครอบครัว แมจะทั้งเหน่ือยทั้งเพลียแตหมอสองคนก็ยังวางแผนตอวาพรุงนี้คงตองออกมาลุยอีกวัน คุณหมอจิตติอาจารยอาวุโสกลุมงานสูตินรีเวชซ่ึงบานพักในโรงพยาบาลก็น้ําทวมไมนอยไปกวานอกโรงพยาบาลนัดหมายเปนเสียงแข็งวา “พรุงนี้ผมจะออกมาชวยอีก บานผมยังไงก็ยังไมมีน้ําลางบาน เก็บไวกอน เอาไวทีหลังละกัน ชาวบานลําบากกวามาก” ใครไดฟงก็จะรูสึกทึ่งไมรูลืม

Page 55: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

54

ภารกิจหลังนํ้าลด แจกยาดวยใจ พฤหัสบดีที่ 4 พฤศจิกายน 2553 โรงพยาบาลหาดใหญน้ําลดลงไมทวมขัง แตยังไมสามารถเปด

บริการไดเนื่องจากบุคลากรขาดแคลน สวนหนึ่งประสบอุทกภัยหนักไมแพกัน จึงยังไมสามารถจัดระบบบริการในคลินิกได ขณะนั่งเตรียมจัดชุดยาสามัญประจําบานซึ่งมีคุณพยาบาลจิราภรณ จิตรากุล หรือ ภรณ เปนผูควบคุมการผลิตยาชุดสามัญประจําบานสําหรับน้ําทวมมือหนึ่งของเวชกรรมสังคมหาดใหญอยูนั้น คุณหมอหทัยทิพยกระหืดกระหอบกลับจากประชุม war room ของโรงพยาบาลหาดใหญมาขออาสาเจาหนาที่เวชกรรมสังคมที่พอมีอยูรวมออกหนวยแพทยเคล่ือนที่ ทันทีที่ถามทุกคนยกมือขึ้นอยางไมลังเล วันนี้จึงมีหลายคนเขารวมใหบริการออกหนวยเคล่ือนที่เร็ว แพทย 3 คนรวมทั้งคุณหมอจิตติซึ่งไดต้ังใจไวอยางมุงมั่นวาจะไมนั่งรอผูปวยที่โรงพยาบาลหาดใหญอีกแลวแตจะออกไปชวยชาวบานถึงในพ้ืนที่ดีกวา และแพทยประจําบานสาขาเวชศาสตรครอบครัวอีก 2 ทานเขารวมดวยพรอมทีมพยาบาล โดยมีพยาบาล 2 คนอยูประจําสํานักงานเปนผูประสานงานและเฝากองบัญชาการ

นับเปนความโชคดีของคนโรงพยาบาลหาดใหญ ที่ถึงแมรถของโรงพยาบาลหาดใหญจะโดนน้ําทวมไปจํานวนกวาครึ่งหนึ่งของรถที่มีอยู รวมทั้งคลังยาน้ําทวมที่กลับโดนน้ําทวมไปดวย แตเราก็ไดรับการสนับสนุนความชวยเหลือในระดับปฐมภูมิจากโรงพยาบาลตางๆอยางไมขาดสายและทันทวงที เชนโรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลาและแพทยจากโรงพยาบาลชุมชนตางๆรอบๆหาดใหญ ในวันนี้การออกหนวยเคล่ือนที่จึงใชรถจากโรงพยาบาลราชวิถีรวมกับทีมสุขภาพและเวชภัณทที่นําติดมากับรถจากโรงพยาบาลราชวิถี นําทีมโดยนายแพทยไพโรจน เครือกาญจนา หัวหนาทีมกูชีพโรงพยาบาลราชวิถีพรอมทีมแพทยพยาบาล ออกบริการตรวจรักษาผูปวย ทําแผลและฉีดยา 2แหง คือ มัสยิสยิดบานเหนือ จํานวน 147 ราย และ รัตนอุทิศ 3 จํานวน 174 ราย พบสวนใหญเปนผูปวยกลุมอาการคลายไขหวัดใหญ ปวดกลามเนื้อ มีบาดแผลและน้ํากัดเทา ในชวงเย็นไดจัดทีมพรอมรถฉุกเฉินลงแจกยาสามัญประจําบานใน ชุมชนบางแฟบนําโดยคุณหมอธาดา ทัศนกุล รวมทั้งวันแจกยาชุดไปจํานวน 760 ชุด

ปฐมภูมิเชิงรกุ บุกถึงประตูบาน

ศุกรที่ 5 พฤศจิกายน 2553 แบงทีมสนับสนุนจัดเตรียมเวชภัณท1ทีม อีกทีมใหบริการในคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัว เพ่ือบริการประชาชนในพื้นที่ใกลโรงพยาบาลที่สามารถเดินทางมารับบริการไดเพราะน้ําลดแลว นอกจากนี้ยังจัดบุคลากรเปดใหบริการใน CMU ของโรงพยาบาลหาดใหญไดแก CMU 3 ตําบล และ CMU ควนลัง และอีกทีมของเวชกรรมโรงพยาบาลหาดใหญรวมกับทีมโรงพยาบาลราชวิถีออกหนวยแพทยเคล่ือนที่ โดยรถของโรงพยาบาลราชวิถี ตรวจรักษาโรคที่ตลาดพอพรหม

ทีมใชเวลารวมชั่วโมงในการเปล่ียนสภาพสกปรกของตลาดหลังอุทกภัย ใหกลายมาเปนแคมปบริการผูปวยที่สมบูรณแบบ ทีมกูชีพดัดแปลงพื้นที่นําหินและเศษไมในตลาดมาเปนบันไดและราวเกาะใหผูปวยที่บาดเจ็บที่ขา มีรถเข็นใหผูปวยที่เดินไมไหวเพราะมีบาดแผลที่หัวเขาทําใหขอเขาอักเสบ ผูปวยสวนใหญมีบาดแผลที่เทาจากของมีคมบาดหรือกระแทกของแข็ง รักษาจนยา Dicloxacilllin หมด ตองจาย Pen V แทน และมีผูปวยโรคเรื้อรังหลายราย เชน ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หอบหืด มาขอรับยาเพราะยาหายไปกับน้ําที่ทวมบานสูงถึง1-2 เมตร วันนี้มีผูปวยรับบริการทั้งส้ิน 230 ราย ฉีดวัคซีนปองกันบาดทะยัก(TT) 50 ราย สงไปเย็บแผลที่โรงพยาบาลหาดใหญ 1 ราย

การออกหนวยแพทยเคล่ือนที่นั้นมีทั้งการตรวจรักษาในที่ต้ังหนวย และการออกแจกยาไปตามตรอกซอกซอยในเขตชุมชนทาเคียนดวย คุณหมอธาดาใชโทรโขงเชิญชวนพ่ีนองใหมารับยา ทีมงานอีก 4-5

Page 56: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

55

คนรับหนาที่แจกยาอยูดานหลังรถอยางแข็งขัน ชุดยาฯผูใหญจํานวน 450 ชุด เด็กจํานวน 100 ชุด หมดภายในหนึ่งชั่วโมง ชาวบานทั้งไหวทั้งน้ําตาคลอที่มีหมอมาแจกยาถึงบาน เดินมารับยาที่รถพรอมอวยพรหมอกับทีมจนเราตื้นตันใจและหายเหนื่อยไปตามๆกัน

นอกจากใหบริการยาชุดสามัญประจําบานแลว กอนพลบค่ํา หนวยแพทยเคล่ือนที่ไดเคล่ือนที่ฝากองขยะเขาไปฉีด TT ใหผูปวยที่นัดไวเมื่อวานบริเวณเดิมในชุมชนรัตนอุทิศ (ซอย3) หนวยฉีดวัคซีนบาดทะยักเปดประตูรถตู ต้ังเปนจุดฉีดยาสําหรับผูมีบาดแผลและยังไมไดรับวัคซีนกระตุนบาดทะยัก แพทยคนที่หนึ่งมีหนาที่คัดกรองและตรวจดูแผล อีกคนมือถือโทรโขงประกาศใหผูที่กําลังลางซากปรักหักพังมารับบริการ แพทยอีกทานใหบริการยาสามัญประจําบาน พยาบาลเตรียมอุปกรณพรอมฉีด งานนี้ใชแพทยเปลืองหนอย แตในเวลานั้นทุกคนตองทําหนาที่ใหไดทุกอยาง เพราะเรามีกันอยูเพียงแคนั้นจริงๆ เพียงครึ่งชั่วโมง TT 40 doses เทาที่มีถูกใชหมด ผูปวยดีใจมากที่ไมตองเดินทางไปฉีดที่โรงพยาบาลเพราะภาระหนาที่ที่ตองไปหาน้ําดื่มหรือหาน้ําอาบ หาขาวกลองที่ขาดแคลนใหคนที่บานก็วุนวายมากจนไมมีเวลาไปโรงพยาบาล สงไมผลัด จากทีมไกลสูกองกําลังนักศึกษาแพทย

การออกหนวยในวันหลังๆเวชภัณฑทุกอยางเริ่มขาดแคลนเพราะหองยาของโรงพยาบาลหาดใหญยังลมเพราะอุทกภัย ยาจึงมีไมเพียงพอ แตเหมือนมีโชคดีเปนครั้งที่สองที่ทีมกูชีพจากราชวิถี ไดประสานงานกับทานผูอํานวยการโรงพยาบาลเด็กและ War Room ของกระทรวงสาธารณสุข ที่กรุงเทพทําใหไดรับการสนับสนุนยาน้ําเด็ก ซึ่งเปนยาที่ขาดมากตั้งแตวันแรกที่น้ําทวมคลังยา จนไดรับยามาทางเครื่องบินอยางรวดเร็วในวันตอมา หลังเสร็จภารกิจ โรงพยาบาลราชวิถีแจงวาจะถอนกําลังกลับกทม.เพราะสถาณการณเริ่มคล่ีคลายแลว ทีมหาดใหญเริ่มใจหายแตก็ตองทําใจใหเขมแข็งเพราะเขาก็รวมทุกขรวมสุขกันมาหลายวัน

กลับจากออกหนวยคืนนั้นทีมเวชกรรมสังคมจึงตองประชุมวางแผนรับมือการทํางานเพื่อชวยเหลือประชาชนในวันเสารอาทิตยที่ 6-7 พฤศจิกายนกันใหมวาจะหายานพาหนะและบุคลากรที่ไหนมาชวยออกหนวย ทีมที่ออกหนวยกันมาแตแรกก็เริ่มเหนื่อยลา โชคดีครั้งที่สามเกิดขึ้นขณะที่ในชวงเวลาดังกลาวมีนักศึกษาแพทยชั้นปที่ 4 ขึ้นเรียนวิชาเวชศาสตรครอบครัวและชุมชนพอดี จึงเปนโอกาสดีของนักศึกษาที่จะไดมาเรียนรู การดูแลชุมชนในสถานการณที่มีภัยพิบัติ จริงๆแลวนองๆนักศึกษาแพทยชั้นปที่ 4 ทุกคนไดมารวมกันเตรียมเสบียงยาจนค่ํามืดอยูทุกวัน แตวันพรุงนี้พวกเขากําลังจะไดออกไปปฏิบัติงานในพื้นที่จริงหลายคนถึงกับแทบอดใจรอไมไหว

วันเสารที่ 6 พฤศจิกายน 2553 สถานการณทั่วไปที่เวชกรรมสังคม ยังมีขยะบริเวณหนาอาคาร วันนี้มีนักศึกษาแพทยชั้นป4จํานวน10 กวาคนมารวมทีมกับแพทยชุดเดิม เวลา 9.00น.เริ่มใหบริการหนวยแพทยเคล่ือนที่ไปยังชุมชนจันทรวิโรจน แตไดรับแจงจากเจาหนาที่ฝายปกครองทองถ่ินทานหนึ่งวา มีหนวยแพทยเคล่ือนที่จากร.พ.สงขลานครินทรมาใหบริการแลวในวันกอนหนานี้ วันนี้อาจมีชุมชนที่ลําบากกวา ทีมจึงยายหนวยแพทยมาที่ชุมชนสําราญสุข ในพ้ืนที่เทศบาลคลองแห เนื่องจากการจราจรติดขัดมากกวาจะมาถึงพ้ืนที่ออกหนวยตองใชเวลากวา 2 ชั่วโมงทั้งที่เวลาปกติเมื่อยังไมเกิดอุทกภัยใชเวลาเพียงประมาณ 15 นาที จนเริ่มมีฝนตกหนักหนวยแพทยฯตองตั้งอยูในเพิงหมาแหงนริมทาง เพราะพ้ืนที่มีแตซากบานเรือนที่ประสบภัยแมวาการใหบริการทําไดลําบาก แตสามารถใหบริการดานการตรวจรักษาและทําแผล ชาวบานไดถึง100 ราย ชวงบาย หมอธาดานํานักเรียนแพทยขึ้นรถออกแจกชุดยาสามัญประจําบาน ตามซอยใกลๆจนถึงเวลา 16.00 น.จึงเดินทางกลับสํานักงาน

Page 57: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

56

นักศึกษาแพทยชั้นปที่ 4 เริ่มเรียนรูวาชีวิตจริงไมไดงายนักเหมือนในภาพยนตแตแทจริงแลวทั้งเหนื่อยและลําบากปนกับความสุขใจที่ไดชวยเหลือชาวบาน นองๆหลายคนพูดเปนเสียงเดียวกันวาถาไมไดไปเห็นกับตาคงไปรูวาชาวบานลําบากกันขนาดนั้น

วันอาทิตยที่ 7 พฤศจิกายน 2553 วันนี้นอกจากนศพ.ป 4 แลว ยังมีนักศึกษาแพทยป 5 ขอรวมออกหนวยฯดวย ทีมเวชกรรมสังคมลงพ้ืนที่ใหบริการ 2ชุมชน คือชวงเชาที่ชุมชนทุงเสา ใหบริการจนพักเที่ยงเสร็จ ก็ยายไปบริการที่ชุมชนคลองเตย แตดูเหมือนชาวบานยังเครียดกับการทําความสะอาดบานจึงมารับบริการนอยกวาที่คาดการณไว หมอธาดาจึงขับรถคันเล็กประจําศูนยบริการสาธารณสุขคลองเตยพานักเรียนแพทย 6 คน ไปแจกยาชุดสามัญประจําบานตามตรอกซอกซอยในชุมชน สรางความครื้นเครงใหกับนักศึกษาแพทยเปนอยางมากจนเวชภัณฑจากสสจ.ทั้ง 200 ชุดหมด ไดรับการตอบสนองเปนอยางดีจากชาวบาน

ทีมออกหนวยจึงไดประจักษวาถาไมประกาศใหไดรับขาวสารเปนรูปธรรม ชาวบานก็จะไมทราบวามีการตั้งจุดบริการหรือมีบริการดานสุขภาพดวย เพราะภาระงานดานปจจัย สามอยางคือ อาหาร เครื่องนุงหม บาน ยังไมเรียบรอย ยารักษาโรคจึงตามมาทีหลัง ประโยชนที่เหนือความคาดหมายที่สุดในวันนี้คือนักศึกษาแพทยตางไดรับประสบการณจากการปฏิบัติในพ้ืนที่ภัยพิบัติจริงจนเกิดความเขาใจมากขึ้นมีมุมมองที่ดีตอการเสียสละ การเขาถึงชุมชนในอีกระดับหนึ่งและไดตระหนักจากการไดเห็นภาพจริงจากอาจารยวา Primary care doctor มีความสําคัญอยางไรตอชุมชน

น้ําไดลดระดับลงไปแลว ยังคงไวแตรองรอยคราบดินโคลนและขยะเนาเหม็นที่ทําใหเมืองหาดใหญทั้งเมืองซึ่งเคยสวยงามนาเที่ยวชมกลายเปนเมืองลางซอมบ้ีมีแตซากปรักหักพัง สัตวเล้ียงจมน้ําอืดไปทั่วเมือง อีกไมกี่วันนับจากน้ําลดหนอนแมลงวันก็จะเติบโตขึ้น หนอนแมลงหว่ีจะกลายเปนตัวเต็มวัย ยุงลายที่ชอบน้ําขังจะเริ่มแพรพันธุ ทําใหเกิดปญหาโรคติดเชื้อและโรคระบาดตามมาได เวชกรรมสังคมหาดใหญจึงไดประสานกับกรมอนามัยส่ิงแวดลอม งานสุขาภิบาลและปองกันโรค กรมสุขภาพจิต ออกควบคุมโรคและเยียวยาเมืองหาดใหญ ตระเวนพนยาฆาหนอนแมลงวัน กําจัดสัตวนําโรค และพนหมอกควัน รวมทั้งเติมคลอรีนในบอน้ําใช

น้ําทวมหาดใหญครั้งนี้ทําใหคนหาดใหญไดรับมากไมแพกันกับน้ําที่ทวมคือน้ําใจ ที่ไดรับจากการชวยเหลือของทีมตางๆทั้งจากในและนอกระบบสาธารณสุขอยางไมขาดสายรวมทั้งความอดทน มีน้ําใจ เอ้ือเฟอตอกันของเจาหนาที่ในโรงพยาบาลในขณะที่เกิดอุทกภัยหนักมีมาก บทเรียนที่ไดจากเหตุอุทกภัยในครั้งนี้สมควรนําไปเปนสวนหนึ่งในการสรางการเตรียมพรอมตอการรับสถาณการณอุทกภัยหรือภัยพิบัติที่อาจเกินขึ้นไดอีกในวันขางหนา ภาค 4 : เพื่อพายุดีเปรสชัน่กระหน่ําสทิงพระ อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ภูมิประเทศติดทะเลทั้งสองดาน ทิศตะวันออกติดฝงอาวไทย และทิศตะวันตกติดทะเลสาบสงขลา ปจจุบันสทิงพระเปนเมืองแหงหลังคาหลากสี หากคุณผานอําเภอสทิงพระ วันนี้คุณจะเห็นภาพหลังคาที่ไมมีเหมือนเมืองใดในโลกนี้ หลังคาบานของประชาชน สถานที่ราชการ บานพัก โรงพยาบาลหรือสถานีอนามัย ก็มีหลังคาหลากสี สีแดงบาง สีเขียว สีแดงสลับขาว กระเบ้ืองดินสลับกับสังกะสี ตนไมลมระเนระนาด เสาไฟฟาโคนลม เกิดอะไรขึ้นกับเมืองนี้ 1 พฤศจิกายน 2553 เปนวันที่ชาวอําเภอสทิงพระไมเคยลืมคงจะเปนเรื่องเลาขานถึงอานุภาพแหงพายุดีเปรสชั่นใหกับลูกหลานอยางไมมีวันลืม

Page 58: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

57

คืนแหงความหฤโหดเริ่มขึ้นเมื่อ กรมอุตุนิยมวิทยา แจงเตือนวาจะเกิด พายุดีเปรสชั่นบริเวณภาคใตตอนลาง ขาวออกมาเปนระยะวาจะเกิดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช แตอนิจจา.....ครึ่งชั่วโมงกอนเกิด ถึงไดรับรูวาพายุไดเปล่ียนทิศทาง ใจกลางพายุหมุนดวยความแรง 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง มาเขาที่อําเภอสทิงพระ ชาวบานที่ไดรับฟงขาวสารทางวิทยุ อบต./เทศบาล แจงเตือนประชาชนออกเสียงตามสายบางแหงที่ไดรับขาวสาร วาประชาชนที่อาศัยอยูใกลริมทะเลใหอพยพมาอยูที่บริเวณหนาที่วาการอําเภอสทิงพระ ผลปรากฎวา ชาวบานเชื่อนอยมากก็ยังอาศัยอยูในบานดังเดิมความรูสึกวาพายุ มันก็เกิดบอยที่สทิงพระ ก็ไมเห็นเปนอะไร เวลา 23.40น. ชาวสทิงพระตองตื่นตระหนกสุดขีด.....เสียงอะไรดังหวี๊ดๆๆๆๆๆๆๆเสียงสูงมากปนดวยเสียงวูๆๆๆๆๆๆๆๆ...ตามดวยลมกรรโชกอยางรุนแรง ฝนตกอยางหนักหนวง มองไปบนทองฟามีแสงสีแดง พายุหมุนเปนเกลียว เปนจุดๆ เสียงพายุเหมือนมัจจุราชรายที่โกรธใครมา หอบเอาหลังคาชาวบานที่อยูริมทะเลทั้ง 2ขาง ออกไปทิ้งนอกบาน

ชาวบานที่คูขุดบอกวาพายุหอบหลังคาเขาไปบนทองฟา เปดบานเขาออกมา ตามดวยน้ําจากทะเลสาบสงขลาที่พายุหอบเอามาฝากสูงประมาณ 5 เมตร ผสมดวย โคลนสีดําจากทองทะเลลึก.. ปลา กุง นกกระยาง ถาโถมใสตัวบาน บานที่ยกพ้ืนสูง พังครืนลงมา เขากับแมลอยคอ กระเด็นออกจากบาน ลอยไปติดอยูกับ กอตนลําพู น้ําไหลเชี่ยว ทั้งหนาวเหน็บตามตัว มีแผล เปนรอยขีดขวน เลือดไหลออกมาจนหยุดไหลเอง ตัวซีดเย็น สงสารแมเหลือเกิน พายุสงบจึง พาแมมาขออาศัยอยูที่วัด เส้ือผาเปล่ียนก็ไมมี ทุกอยางหายไปกับพายุหมดแลว ตองใชจีวรพระหมตัว นายขนบอายุ 35ป คือผูปวย Home ward ที่ใสสายสวนปสสาวะคาไว ทีมพยาบาลลงไปดูแลที่บาน ขนบเลาใหเราฟงวา เมื่อพายุเกิด มันไดพัดบานของเขาที่มุงดวยจาก หลังคาเปดออกไป ฝนเทกระหน่ําลงมาบนตัวเขา บานเอนลง เอนลง หลังคาหลุดออกไปทีละอัน สองอัน เขานอนอยูคนเดียว อัมพาต ทอนลางหนีไปไหนก็ไมได ทั้งกลัวทั้งตกใจ..พอตั้งสติไดเขา ไดโทรศัพทไปบอกพี่ชายใหมาชวย แต อนิจจาพอพ่ีชายมาถึง บานและหลังคา ก็พังมาทับตัวเขากับพ่ีชาย ไปไหนไมได ตะโกนใหใครชวยก็ไมมี ฟาก็คําราม ฟาผาตลอดเวลา ฝนตกหนัก ลมพัดแรง ไฟดับ โทรศัพทก็เปยกน้ําสัญญาณก็ถูกตัด ใครเลาจะไดยิน ในเมื่อทุกคนตองประสบชะตากรรมแหงความโหดรายดวยกัน ทั้งเขาและพ่ีชายก็มีแผลเลือดก็ไหลอยูตลอด ตะเกียกตะกายลากถูกันออกจากบานที่พัง ไปอาศัยที่โรงเคี่ยวน้ําตาล พอประทังชีวิตไปไดอยางทรมาน ทุกคนประสบชตากรรมเหมือนกัน เจาหนาที่ของเรา โรงพยาบาลเองก็ไมแตกตางจากชาวบาน เจาหนาที่ของเราหลายคน บานพังทั้งหลัง หลังคาถูกยกไปทิ้งไวไกลจากบานเปน 10 เมตร หมอหุงขาว เครื่องซักผาก็พังหมด ถูกพายุหมุนเขาบาน เส้ือผาก็ไมมีใส เชนพ่ีสิริพงศ ลูกจางโรงพยาบาลทําหนาที่ซักฟอก ออกมาขอความชวยเหลือในตอนเชาที่โรงพยาบาลวาไปชวยแมของเขาที บานเขาพังหมดแลว หลังคาพังหมด น้ําฝนเทลงมาจากชั้นบนที่ไมมีหลังคา ลงมาบนเตียงแม มิหนําซ้ําน้ําก็ยังทวมมาจากดานลางจนถึงเตียงนอนแมที่พิการอายุ 85 ป ชวยเอารถไปรับแมมาขออาศัยที่โรงพยาบาล สภาพที่ไปถึง คุณยายตัวเปยกชุมหนาวสั่น ญาติตองเอารมนั่งกางอยูทั้งคืน มันชางโหดรายอะไรเชนนี้ โรงพยาบาลสทิงพระก็พังเชนกัน บานพักก็พัง แรงพายุหมุนไดหอบเอาหลังคา ลานเอนกประสงคหลังโรงพยาบาล หอบไปท้ิงไวที่บนหลังคาหองฉุกเฉิน สนามหญา และถนนใหญหนาโรงพยาบาล เปนผลดีที่ทําใหหลังคาหองฉุกเฉิน ไมถูกลมพัดพังไปดวย หลังคา OPD เพดานพังลงมา อุปกรณขาวของใชถูกพายุหมุนกระจัดกระจาย เหมือเศษขยะ

Page 59: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

58

น้ําเจิ่งนองโรงพยาบาล เจาหนาที่ชวยกันทําความสะอาด พวกเราที่อยูเวรเปนหวงชาวบาน พอแมพ่ีนองที่อยูขางนอก รวมถึงญาติๆ เปนอยางไรกันบาง คนที่มาผลัดเวรดึกก็มาไมได เจาหนาที่และพยาบาลก็ตองอยูเวรบายตอเวรดึกโดยไมไดพัก

พายุเกิดเวลาประมาณ 23.40 น. หมุนทําลายทุกอยางที่ขวางหนาอยูประมาณ 1 ชั่วโมงเสียงพายุหมุนเหมือนเสียงกรีดรอง...ฝนตกหนักอยางบาคลั่ง เสียงลม แรงพายุหมุนแรงมาก ถอนตนไมที่อายุเปนรอยๆ ป ขนาดใหญแคไหนก็ลม บานหลายพันหลังพังเสียหายเกือบหมดทั้งอําเภอ เสาไฟฟาลมลงตั้งแตใกลโรงพยาบาลไปถึงหนาอําเภอ ประมาณ30 ตน ตนไมโคน ลม ขวางทางหลัก ไฟฟาดับทั้งหมด หลังพายุผานไป เงียบ เงียบจริงๆ เงียบจนนากลัว เหมือนไมมีอะไรเกิดขึ้น***** ประมาณตี 2 เศษ โรงพยาบาลของเราก็ตองทําภารกิจหนักอีกครั้ง ผูปวยหลายสิบรายเริ่มทยอยเขามา ทุกคนมาในสภาพที่เปยกโชก เลือดไหล มีบาดแผลรอยขีดขวน แผลถูกของมีคมบาด กระเบื้องตกใส หลังคาทับ ตนไมตกใส รถชนตนไม พวกเราทีมสาธารณสุขมาชวยกันเย็บแผลใหการดูแลรักษาประชาชนจนถึงเชาโดยไมไดเปล่ียนเวร ผูปวยที่อุบัติเหตุรถชนตนไม อาการหนัก ตองชวยชีวิต ใส ET tube มีอาการทางสมองตองสงไป รพ.สงขลา หรือรพ.มอ. ก็ไปไมได ในเมื่อหาดใหญก็น้ําทวมเหมือนกัน ชวยกันดูแลผูปวยจนถึงเชาถึงจะRefer ไปโรงพยาบาลที่จังหวัดสุราษธานีได รุงเชาขาพเจาขับรถออกจากโรงพยาบาลเพื่อไปดูความเสีย ก็ไดพบกับคุณหมอนครินทร ฉิมตระกูลประดับ ผูอํานวยการโรงพยาบาลสทิงพระ ที่ขับรถออกไปดูสถานที่ต้ังแต 6โมงเชา ผอ.บอกวา ไปไดไมไกลตนไมเสาไฟฟาขวางทางอยู ใจกลางพายุนาจะอยูที่ตําบลกระดังงา เพราะตนไมไมลมแตถูกบิดขาดออกไปจากแรงหมุนเปนวงกลม มองออกไปพบชาวบานชวยกันตัดตนไมบริเวณถนนสายหลักพ่ือใหรถสามารถผานได แตในตรอก/ซอยเขาไปไมได บนถนนมีแตเศษกระเบื้อง กิ่งไม

ผอ.กลับไปบานพักเพ่ือเปล่ียนเส้ือผาชุดใหม กางเกงขาสั้น เส้ือยืดสีขาว มานําทีมเจาหนาทีที่มาทํางานได เพียงฝายละไมกี่คน เริ่มจาก ทําความสะอาดจุดบริการผูปวย บริเวณหนา OPD ตัดตนไมที่ขวางถนนโรงพยาบาล หลังจากไปหากระเบื้องมามุงหลังคาบานพัก ใหเจาหนาที่นอนได มีเส้ือผาใสทํางาน แตพอไปถึงรานกระเบื้องก็พบกับชาวบานที่ไปรอซื้อกระเบื้อง คิวยาวมากๆ ชาวบานรอคิวซื้อกระเบ้ืองอยูประมาณ 300 คนรถจอดเต็มยาว 2 ขางถนน จะไปแยงกับชาวบานก็กระไรอยู ก็เลยใหคนขับรถไปซ้ือที่อําเภอระโนด ไดกระเบ้ืองมาชวยกันซอมบานพักและโรงพยาบาล แตก็ทําเองไมได พ่ีทีมชางขึ้นไปซอมแตดวยไมใชผูชํานาญดานหลังคา เลยพลักตกจากหลังคา แตบุญยังชวย พ่ีชางควาไมคานหลังคาหอยตองแตง ทุกคนตกใจมาก หากตกลงมาไมตายก็พิการแนๆ ผอ.เลยบอกหยุดกอนรอตามชางในหมูบานมาซอม แตคิวชางก็ยาวมาก บานชางก็พังเหมือนกัน ผอ.เรียกทีมกรรมการบริหารโรงพยาบาลประชุมทีมนํา เพ่ือวางแผนการใหความชวยเหลือประชาชนที่มารับบริการที่โรงพยาบาลไมได ผูปวยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ก็ไมไดมารับยาตามกําหนดนัด ผูปวยของเราเปนอยางไรกันบาง ตําบลไหนลําบากมากที่สุด ติตตอเจาหนาที่ตางๆก็ไมได น้ํามันที่ใสเครื่องปนไฟสํารองก็ใชไปเกือบหมดแลว การประชุมวางแผนงานก็เริ่มขึ้น

สาธารณสุขอําเภอเขามาชวยหาน้ํามันสํารองเพราะหากโรงพยาบาลไมมีไฟฟาทุกอยางก็สะดุดหมด ผูปวยมาคลอดผูปวยหนัก ระบบออกซิเจนก็ใชการไมได น้ํามันไมมีเลยในอําเภอสทิงพระ เพาระปมก็ตองใชไฟฟาในการดูดจาย พอไมมีไฟฟาก็ไมสามารถเติมน้ํามันได ปมน้ํามันก็เสียหายแตยังโชคดี ที่ไดไปซื้อที่ปมน้ํามันหลอดของชาวบาน การไฟฟาก็เขามาบอกวาจะรีบตอไฟฟาใหโรงพยาบาลแตเสาไฟฟาลมกอนถึงโรงพยาบาล 30 ตน ก็คงตองรอ

Page 60: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

59

เชาวันที่ 3 พฤศจิกายน 2553 หลังจากทีเราซอมโรงพยาบาลไปมากแลว พรอมใหบริการประชุมทีมตามแผนการชวยเหลือ รวมกับทีมสถานีอนามัย ชาวบานสะทอนใหฟงวาไมเห็นมีใครมาชวยเราเลย ไมมีใครรูเลยวาชาวสทิงพระลําบากแคไหน ก็โทรศัพทไมมีสัญญาณ ไฟฟาไมมี พวกเรานอนอยูในความมืดมา 3 คืนแลว ขาวปลาอาหารก็แบงกัน เส้ือผาก็แบงกัน แตหลังคาก็ไมมี กระเบ้ืองก็ไมมีที่ซื้อ หมอมีผายางที่เปนปายไวนิลเหลืออยูบางไหม เอามาคลุมหลังคาใหบานลุงที ขาพเจาเสนอแนะกับผูนําชุมชนวาคงตองสะทอนใหโลกรับรูบางวาเราลําบากกันแคไหน หลังจากนั้นผูนําชุมชุมชนขับรถไปโทรศัพทในเมือง โทรหาส่ือวิทยุจึงไดมีเสียงสะทอนออกมาวาชาวสทิงพระประสบกับวาตภัยอยางรายแรง ตองไปอาศัยอยูที่วัด ชาวสทิงพรขอขอบคุณนักขาวทุกทานที่ชวยกระจายขาว วาชาวสทิงพระตองการกระเบื้องกับหลังคาแคไหน โดยเฉพาะนักขาวคุณสรยุทธ สุทัศนะจินดา จากสถานีโทรทัศนชอง3ที่ลงมาทําขาวถึงสทิงพระมาดูความลําบากของพี่นองชาวสทิงพระดวยตัวเอง หลังส่ือกระจายเผยแพรออกไป ความชวยเหลือหลายๆหนวยงานก็เขามาชวยเหลือประชาชน กระเบื้องหลังคาก็หล่ังไหลมายังสทิงพระ โรงพยาบาลตางๆก็เขามาชวยเหลือ โรงพยาบาลและทีมงานสาธารณสุขของเราชวยชาวบานเต็มท่ี แผนการดําเนินการของทีม นอกจาการการบําบัดรักษาผูบาดเจ็บและผูเจ็บปวยในสถานบริการ ก็ไดออกหนวยบริการหนวยเคล่ือนที่ ออกตรวจสุขภาพในพ้ืนที่ครอบคลุมทุกตําบล ต้ังแตวันที่ 4 – 16 พ.ย. 53 รวม 18 ครั้ง มีผูมารับบริการจํานวน 1,803 ราย

ยังมีการเยี่ยมผูสูงอายุ ผูพิการ หญิงตั้งครรภ ผูปวยเรื้อรัง ทุกรายโดยพยาบาลประจําบานและเจาหนาที่สถานีอนามัย เย่ียมผูที่บานพังทั้งหลังทุกคนพรอมประเมินสุขภาพจิต พบเครียดมาสงตอใหกับทีมงานสุขภาพจิต จัดทําทะเบียนผูที่ตองการชวยเหลือ จากการประเมินภาวะสุขถาพจิตและภาวะเครียด พบผูปวยวิตกกังวลสูงจํานวน 40 คน มีผูปวยภาวะซึมเศราที่ตองดูแลตอเนื่อง จํานวน 2 ราย

นอกจากนี้ โรงพยาบาลยังมีการชวยเหลือดานอื่นๆ เชน บริการชารตแบตเตอร่ีโทรศัพท ไฟฉาย,โคมไฟ,กลองถายรูป ต้ังแตวันที่ 3 – 5 พ.ย. 53 จํานวน 369 ราย เพราะไฟฟาดับทั่วทั้งอําเภอ ( ต้ังแตวันที่ 2 – 10 พ.ย. 53 : บางหมูบานไฟฟาดับถึง 10 วัน) ทําใหไมสามารถใชอุปกรณส่ือสาร / อุปกรณอิเลกโทรนิคที่จําเปนได

โรงพยาบาลยังเปนศูนยรับบริจาคเสื้อผาจากผูมีจิตศรัทธาจํานวน 12 ราย นํามาแจกจายตอใหแกประชาชนผูมารับบริการที่โรงพยาบาลสทิงพระ รวมถึงไดนําไปแจกจายแกประชาชนในหมูบานเปนจํานวนมาก มีเครือขายสนับสนุนเงินมาชวยชาวบานดวยจํานวน 12,000 บาท

เจาหนาที่ตางชวยกันคนละมือ มีการใหความรูเสียงตามสายในรพ.เรื่อง การปองกันโรคที่มากับน้ําทวม การนจัดบอรดใหความรูเรื่องการปองกันโรคที่มากับน้ําทวม การแจกเอกสาร/คูมือ “สาธารณสุขหวงใยอยากใหคนไทยปลอดภัยในชวงน้ําทวม” ซึ่งไดรับจากกระทรวงสาธารณสุข การจัดรายการเสียงตามสายรวมกับพยาบาลที่รับผิดชอบดานสุขภาพจิต

บทเรียนจาก Depreession ที่เกิดที่สทิงพระครั้งนี้สงผลใหเกิดความเสียหาย ตอรางกาย ทรัพยสิน ที่อยูอาศัย หลังคาบานของเรามีสีสันที่หลากหลาย สีเขียว สีแดงสีขาว กระเบื้องดินสลับกับสังกะสี ฯลฯ ขอใหมีหลังคากันแดดกันฝน...... ชาวบานหลายคนที่หมดหวังกับชีวิต หวาดกลัว เพียงแคเห็นลมพัดหรือฝนตกก็มีอาการกลัว นอนไมหลับ คงตองใชเวลาอีกหลายปถึงจะกลับมาเหมือนเดิม

Page 61: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

60

กาวสูการจัดการพิบัติภัยในอนาคต ถึงวันนี้คงไมมีใครไววางใจสถานการณภัยพิบัติทางธรรมชาติไดอีกตอไป รวมทั้งอุบัติภัยหรือสาธารณภัยในเมืองไทยดวย ความไมแนนอนคือส่ิงที่ตองยอมรับและเรียนรู เพ่ือเตรียมมาตรการรับมือในอนาคต

การมีชองทางกระจายขอมูลขาวสาร ที่ตองพัฒนาจนสามารถวิเคราะหขอมูล สรางเปนสัญญาณเตือนภัยเรงดวนแกประชาชนได ทุกหนวยบริการตองมีแผนรับสถานการณอุทกภัยและอุบัติภัยอื่นๆ ควรมีการจัดทําแผน, คูมือ, การสื่อสารกับเจาหนาที่ และสาธารณะ การซอมแผนรวมกับหนวยงานอื่นๆ การเตรียมความพรอมอื่นๆ เชน การจัดหาเครื่องมือ, ยานพาหนะ ฯลฯ โรงพยาบาลชุมชนควรมีเรือทองแบนที่ปลอดภัย เส้ือชูชีพ เพ่ือใชในการปฏิบัติการชวยเหลือประชาชน ซึ่งสามารถใชเงินบํารุงจัดหาได เจาหนาที่สาธารณสุขตองเรียนรูเรื่อง “การตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข” (Public Health Emergency Response)

แผนการสงตอในสถานการณวิกฤตก็ควรปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ อีกทั้งยังตองประสานแนวราบกับสถานีอนามัย องคกรปกครองสวนทองถ่ิน เพ่ือชวยเหลือผูปวย คนชรา คนพิการ ออกจากจุดน้ําทวม ตองพ่ึงพาอาศัยรถและกําลังคนของหนวยทหาร หรือเรือกูภัยและยานพาหนะของหนวยงานอื่น

หากจะตองสรางสถานบริการสาธารณสุขใหม ควรเลือกสถานที่ที่ปลอดภัย ควรตั้งอยูในที่ดอน ไมควรใกลแหลงน้ําขนาดใหญ เชน แมน้ําลําคลอง มีระบบระบายน้ําเปนอยางดี มีระบบสํารองไฟฟาและประปาที่เพียงพอ โรงไฟฟาสํารองตองยกใหสูงเพียงพอ ตองมีระบบการสื่อสารหลายชองทาง ทั้งวิทยุ โทรศัพท โทรศัพทไรสาย เปนตน

ยังอีกมากมายการจัดการภัยพิบัติที่ตองลงมือทํา บทเรียนวันนี้ไมควรสูญเปลาใหประวัติศาสตรซ้ํารอย

@@@@@@@@@@@@@@@

Page 62: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

61

ขอขอบคุณ นักเขียนผูเขียนจากประสบการณจริง ที่เขียนเรื่องมาปะติดปะตอจนเปนบทความชิ้นนี้

- นายแพทยสุวัฒน วิริยพงษสุกิจ ผูอํานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินาถ ณ อําเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

- นายแพทยธาดา ทัศนกุล กุมารแพทย แพทยเวชศาสตรครอบครัว โรงพยาบาลหาดใหญ จังหวัดสงขลา

- แพทยหญิงหทัยทิพย ธรรมวิริยะกุล แพทยเวชศาสตรครอบครัว โรงพยาบาลหาดใหญ จังหวัดสงขลา

- นายแพทยวชิระ บถพิบูลย ผูอํานวยการโรงพยาบาลชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา - คุณสุรีย พีพะระพรรณ พยาบาลหอผูปวยใน โรงพยาบาลหาดใหญ จังหวัดสงขลา - ศิริลักษณ ชวงมี พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสิงพระ อ.สทิงพระ จ.สงขลา - นายแพทยสุภัทร ฮาสุวรรณกิจ ผูอํานวยการโรงพยาบาลจะนะ จังหวัดสงขลา

Page 63: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

62

เครือขายอาสาสมัครจัดการภัยพิบัติจังหวัดสงขลา

Page 64: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

63

เครือขายอาสาสมัครจัดการภัยพิบัติจังหวัดสงขลา โดย ชาคริต โภชะเรือง ผูจัดการมูลนิธิชุมชนสงขลา

สืบเนื่องมาจากการเกิดภัยพิบัติในพ้ืนที่จังหวัดสงขลา ซ่ึงมีสาเหตุของความรุนแรงเกิดจากภาวะฝนตกหนักมากอนหนานี้ทําใหมีปริมาณน้ํามากและเมื่อวันที่ ๑ พ.ย ๒๕๕๓ เกิดพายุดีเปรสชันบริเวณอาวไทยตอนลาง มีศูนยกลางหางประมาณ ๓๕๐ กิโลเมตร ทางตะวันออกเฉียงใตของจังหวัดสงขลา เคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ผานบริเวณภาคใตตอนลาง โดยขึ้นฝงในพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระและอําเภอเมืองในบางสวน ความรุนแรงของทั้งกระแสลมและสายน้ํา สงผลใหเกิดความเสียหายเพิ่มขึ้นเปนทวีคูณ จังหวัดสงขลามีสถานการณนํ้าทวมขังในพื้นที่ ๕ อําเภอ ๔๒ ตําบล ๓๐๙ หมูบาน ราษฎรไดรับความเดือดรอน ๔๗,๓๒๐ ครัวเรือน ๑๔๔,๘๔๑ คน บานเรือนราษฎรเสียหายทั้งหลัง ๖๒๓ หลัง เสียหายบางสวน ๔๓,๓๓๑ หลัง อาคารพาณิชย ๑๕๕ หอง โรงงาน ๒๐ แหง โรงแรม ๑ แหง ยานยนต ๒๙,๘๙๖ คัน เรือประมงไดรับความเสียหาย ๕๐๓ ลํา ปศุสัตว ๙,๑๖๕ ตัว สัตวปก ๑๘๔,๒๐๗ ตัว บอปลา ๖,๔๘๒ บอ พ้ืนที่การเกษตร ๒๐๒,๔๙๙ ไร สิ่งสาธารณประโยชนไดรับความเสียหาย ถนน ๑,๓๑๓ สาย สะพาน/คอสะพาน ๒๔๘ แหง ทํานบ/พนังกั้นน้ํา ๔๗ แหง เหมือง ๒๑ แหง วัด/มัสยิด ๑๘๑ แหง โรงเรียน ๒๓๐ แหง สถานที่ราชการ ๑๐๔ แหง บอนํ้า ๑,๓๖๗ แหง แนวกันคลื่น ๕ แหง ทอระบายน้ํา ๒๒๐ แหง มีผูเสียชีวิต ๓๕ ราย (อ.เมือง ๓ ราย อ.สิงหนคร ๖ ราย อ.หาดใหญ ๑๗ ราย อ.จะนะ ๕ ราย อ.บางกล่ํา ๑ ราย อ.คลองหอยโขง ๑ ราย อ.นาทวี ๑ ราย อ.กระแสสินธุ ๑ ราย) โรงบุญรวมใจชวยผูประสบภัย

ขณะเกิดเหตุอุบัติภัยดังกลาว มีความชวยเหลือทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชนเพื่อชวยบรรเทาความรุนแรงที่เกิด มีตัวอยางอาสาสมัครที่เกิดขึ้นจากความคิดริเร่ิมของภาคประชาชนที่นาสนใจ ดังเชน กรณีโรงบุญรวมใจชวยผูประสบภัย ซึ่งดําเนินการโดย อ.ภาณุ พิทักษเผาและทีมงานสมาคมเกษตรอินทรียวิถีไทสงขลา ใชหลักคิดทางศาสนาในเรื่องของการแบงปน ชวยเหลือเกื้อกูลกันและกัน ทําใหคนรูสึกวามีที่พ่ึง และเปนการสรางความสัมพันธในฐานะที่เกิดมาเปนเพ่ือนพ่ีนองรวมชะตากรรม ไดเขามารวมชวยเหลือผูทุกขยาก ดวยการเปดโรงบุญเพ่ือใหทานแกประชาชนที่ยังไมสามารถหาวัตถุดิบและไฟฟามาปรุงอาหาร ไดรับประทานอาหารเจสดใหม นํ้าสะอาด โดยการชวยเหลือคนทุกชนชั้นไมวายากดีมีจนทั้ง ๓ ม้ือตอวัน เริ่มตั้งแตเวลา ๗ โมงเชาจนถึง ๑ ทุมของทุกวันเปนเวลา ๗ วันติดตอกัน จํานวนคนที่มาใชบริการไมต่ํากวาพันคนตอวัน

Page 65: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

64

ในการดําเนินการดังกลาวไดรับความรวมมือจากโรงเรียนหาดใหญสมบูรณกุลกันยาไดใหใชสถานที่ บริษัทหาดทิพยอนุเคราะหเตนท สถานีวิทยุ ม.อ.ชวยสื่อสารความตองการ เทศบาลนครหาดใหญ ใหรถสุขาและไฟฟา สาธารณสุขจังหวัด(สสจ.)ตั้งเต็นทนําเจาหนาที่จากโรงพยาบาลจากอําเภอตางๆหมุนเวียนมาตรวจรักษาพยาบาล เจาของบอนํ้าบาดาลชวยสนับสนุนเรื่องน้ํา แลวก็มีอาสาสมัครจากในพื้นที่และทั่วประเทศเขามาชวยเหลือแบงเบาความทุกข บางคนมาชวยรองเพลง สรางสีสันคลายความทดทอในชีวิต

ทุกคนที่มาทานอาหารที่โรงบุญ จะไดทานอาหารที่ยังรอน ไมบูดเนา ทีมงานจัดซื้อวัตถุดิบอยางประณีต และจัดปรุงอยางถูกสุขลักษณะ ตองใชเงินซ้ือวัตถุดิบวันละ ๑-๒ หม่ืนบาท

จากการทํางานดวยจิตแหงการใหเชนนี้ โรงบุญแหงน้ีจึงมียอดบริจาคสูงถึง ๘ หม่ืนกวาบาท ไมนับรวมการบริจาคที่เปนวัตถุดิบอีกรวมแสนบาท(ขาวสาร พืชผักผลไม) ซ่ึงเงินจํานวนดังกลาวก็ไดนําไปใชในการจับจายซื้อของ และนําไปชวยเหลือผูประสบเหตุที่จําเปนเรงดวน และในปจจุบันไดพัฒนาการตั้งเปน กองบุญฟนฟูชีวิตผูประสบภัยสงขลา มีเงินตั้งตนกวา ๑๘๐,๐๐๐ บาท

นอกจากนั้นแลวสงขลายังมีวิทยุเครื่องแดงโดยการจัดตั้งของกองทัพภาคที่ ๔ รวมกันแลวไมต่ํากวา ๑ หม่ืนเครื่อง ในชวงเวลาปกติ ไดทําหนาที่เฝาระวังในดานความมั่นคง แตในภาวะอุบัติภัยเชนนี้ก็ มีบทบาทสําคัญรวมกับ ศูนยวิทยุอินทรี ซ่ึงในภาวะปกติก็มีการลาดตระเวนเมืองหาดใหญทุกศุกร-เสารรวมกับกองทัพ แลวก็ชวยเหลือประชาชนในทุกเรื่อง ไมวาจะรถกุญแจหาย ยางแบนฯลฯ ตามแนวทาง “เราพรอมรับใชสังคมดวยจิตอาสา”

คุณอนุชา อรรถธรรม ผูประสานงานเลาใหฟงวา น่ีคือเครื่องมือสื่อสารของภาคประชาชนที่ทรงอานุภาพ “ประชาชนทุกคนมีสิทธิ์ใชวิทยุเครื่องแดง เพียงแคไปจดทะเบียนขออนุญาตใชและพกพาเทานั้น ที่กสช. เราก็สามารถพกติดตัวมาใชประโยชนได”

นํ้าทวมคราวนี้คุณอนุชาเอง ติดอยูในบาน อาศัยวิทยุเครื่องแดงนี่แหละที่ไดสื่อสาร และมีบทบาทใหความชวยเหลือคนอ่ืนๆ

วิทยุกระแสหลักของมอ. FM.88.00 MHz เปนอีกองคกรหนึ่งที่ชวยประสานความชวยเหลือสงตอความตองการไปยังผูที่ประสบเหตุและผูที่พรอมจะใหความชวยเหลือ หรือเปนกระบอกเสียงประชาสัมพันธ เฝาระวัง ติดตามขาวสารเพื่อการเตือนภัย ทั้งยังทําหนาที่สมกับความเปนสื่อ ในยามเกิดเหตุคับขัน กลายเปนชองทางหลัก เปนที่พ่ึงใหกับคนสงขลาจํานวนมาก ไดรับฟงขาวสาร

คุณบัญชร วิเชียรศรี คุณอรุณรัตน แสงละออง ทําหนาที่จัดรายการ เปนสื่อกลางกระจายความชวยเหลือไปใหผูที่เดือดรอน บางชวงเวลาที่คับขัน สถานีวิทยุแหงนี้ทํางานตลอด ๒๔ ชั่วโมง หลายเหตุการณที่เขาดายเขาเข็ม หรือระหวางความเปนความตาย การสื่อสารผานสถานีก็เปนอีกตัวชวยทําใหสถานการณคลี่คลายไปได

Page 66: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

65

ศูนยประสานงานชวยเหลือผูประสบภัยภาคประชาชนคาบสมุทรสทิงพระ ในพ้ืนที่ของคาบสมุทรสทิงพระ ซ่ึงประกอบดวย ๔ อําเภอในจังหวัดสงขลา ไดแก

อําเภอสิงหนคร อําเภอสทิงพระ อําเภอกระแสสินธุ และอําเภอระโนด ซ่ึงเปนพ้ืนที่ตกสํารวจก็วาได ที่น่ีกําลังมีเรื่องที่นาชื่นชมเกิดขึ้นไมนอย

ชวงแรกของการเกิดอุทกภัยและวาตภัยในวันที่ ๑ พฤศจิกายน แทบไมมีใครลวงรูความเคลื่อนไหวหรือผลกระทบที่เกิดอยางกระจางชัดตอสายตาของผูคนละแวกนี้ เน่ืองจากขาวสารถูกตัดขาด ทุกกระแสความสนใจมุงสูเมืองหาดใหญ จนกระทั่งหาดใหญนํ้าลด ขาวคราวจากคาบสมุทรสทิงพระจึงเริ่มปรากฏตอสาธารณะ

และนั่นนํามาสูความตื่นตัวของผูที่เกี่ยวของ เม่ือหาดใหญเร่ิมคลี่คลาย เราเองไดชักชวนเพ่ือนๆพ่ีๆนองๆในพ้ืนที่รวมกันจัดตั้ง "ศูนยประสานงานชวยเหลือผูประสบภัยภาคประชาชนคาบสมุทรสทิงพระ" โดยรวมกับศูนยเรียนรูภูมิปญญาชาวบก(หมายถึงคาบสมุทรสทิงพระ) ของครูฑูรย (ไพฑูรย ศิริรักษ) ใชศูนยแหงน้ีซ่ึงก็โดนแรงลมกระชากหลังคา ประตูฉีดขาด เสียหาย ภายหลังซอมแซมครูฑูรย ตั้งใจจะใชเปนจุดรวมการชวยเหลือประชาชนในหมู ๗ ของตําบลสทิงพระ แตเราไปขอใชเปนศูนยประสานงานหลักระดับโซน รวมกับอีกหลายองคกรที่เคยทํางานดวยกัน เชน เครือขายสภาองคกรชุมชน เครือขายชุมชนเพ่ือการฟนฟูลุมนํ้าทะเลสาบโซนคาบสมุทรสทิงพระ

การตั้งศูนยแหงน้ีเกิดขึ้นบนความตั้งใจไมใชวาจะแยกสวนจาก องคกรภาครัฐหรือทองถิ่น เราตัง้ศูนยแหงน้ีเพ่ือเสริมเติมอุดชองวางการทํางานที่มีอยู...ผนวกกับความกังวลหวงใยและความมั่นใจวาเรามีศักยภาพพอที่จะชวยเหลือชุมชนดวยกัน

ศูนยประสานงานชวยเหลือผูประสบภัยฯ

ผูมารอรับกระเบื้อง ทีมงานกําลังอลวนกับขอมูล ประสานงาน

Page 67: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

66

มีวิทยุชุมชนของเครือขายมาจัดรายการสด

ความเสียหายของบานเรือน

ความเสียหายจากวาตภัย หลายคนบอกเปนเสียงเดียวกันวาเปนปรากฏการณแรกในชีวิตที่ไดพบเจอ กระแสลม

พายุงวงชางหมุนตัวเปนเกลียวพัดหวนถอนรากถอนโคนตนไมใหญลมทับหลังคาบาน ยกบานลอยทั้งหลังไปหลนหางออกไปเปนเมตร ผูเฒาบางคนตกใจจนถึงขั้นนอนปวยลุกไมขึ้น

เหนือไปกวานั้นสายลมหอบเอาสายน้ําลอย ขามถนนมาทวมอีกฝงฟาก ทามกลางเสียงคํารามกูเกรี้ยวอันนาสะพรึงกลัว หางพายุกระชากสายน้ํา หอบเอาสาหรายใตทะเลสาบไปมวนพันกับเสาบาน กระเบื้องดินเผา กระเบื้องมุงหลังคาปลิววอน ตกรวงเกลื่อนพ้ืนดิน ดานหนึ่งของคาบสมุทรติดกับทะเลสาบสงขลา นํ้าจากหาดใหญ จากพัทลุงไหลมากองอยูที่น่ี ทวมทนเขาสูหมูบาน แลวไฟก็ดับ

กวา ๒ หม่ืนครัวเรือนโดยประมาณไดรับผลกระทบ หลายตําบลมีบานทั้งหลังพังพินาศ ชนิดแทบไมเหลือซาก เชน ตําบลกระดังงา มีกวา ๒๐ หลัง ตําบลครองรี มี ๒๕ หลังคาเรือน ตําบลกระแสสินธุ มีไมต่ํากวา ๑๐ หลัง ชาวบานไรที่อยู บางครัวตองอพยพไปอยูรวมกับญาติพ่ีนอง คนรูจัก หลายคนอพยพไปกินนอนบนถนน ทั้งเฝาวัว สัตวเลี้ยง ลูกเล็กเด็กแดงกินนอนรวมกันเปนที่นาเวทนา

Page 68: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

67

มูลนิธิชุมชนสงขลา ผมเองในฐานะที่ทํางานกับมูลนิธิชุมชนสงขลา ในชวงเกิดอุทกภัยมีโอกาสไดไปรวมกับ

สถานีวิทยุ FM ๘๘.๐๐ MHz รวมจัดรายการกับพ่ีๆนองๆในเครือขาย เปดสายรับขาวสาร รวมไปถึงความตองการในการชวยเหลือผูประสบภัย ทําใหเห็นอิทธิพลของสื่อที่สามารถใชใหเปนประโยชนกับสาธารณไดมาก

วาตภัยคราวนี้ก็เชนกัน ผมพยายามใชสื่อที่มีทุกชองทางใหเปนประโยชนเพ่ือสื่อสารความคิด มูลนิธิชุมชนสงขลาของเรา ไมอยากทํางานแคเพียงหาเงินแลวก็นําไปบริจาค หรือระดมหาวัสดุอุปกรณไปแจก ถายภาพแลวก็กลับ มูลนิธิฯตั้งใจที่จะเปนสื่อกลางประสานความรวมมือใหผูใหและผูรับไดพบ กัน ขณะเดียวกันก็พยายามสรางแนวคิด...สงเสริมการใหที่มีคุณคาและรับอยางมีศักด์ิศรี กระตุนใหชุมชนที่เปนผูรับ ไดมีสวนรวม ไดใชเง่ือนไขความเดือดรอนเปนฐานสรางพลังรวม เชื่อมประสานทุกสวนในชุมชน จับมือกับภาคีหนวยงานภายนอก ชวยกันฟนฟูชุมชุมชนอยางมีศักดิ์ศรีเทาเทียมกับผูให ที่วาจะมาจากไหน หรือมาจากองคกระดับใด

มูลนิธิชุมชนสงขลา ไดรวมกับอีกหลายองคกรในพื้นที่ ทําหนาที่ประสานงาน ระดมความชวยเหลือ พรอมทั้งจัดระบบใหกับอาสาสมัคร ชี้เปาใหกับองคกรหนวยงานตางๆที่ลงมาชวยเหลือพ้ืนที่ ขณะเดียวกัน ก็ทําหนาที่ระดมทุน นําความชวยเหลือทั้งงบประมาณ วัสดุอุปกรณ แรงงาน ลงไปใหกับพ้ืนที่ เพ่ือรวมกันฟนฟูชุมชนใหกลืบสูสภาพปกติ

โดยเฉพาะเราไดรวมกับกองทุนรักษคลองอูตะเภา นํานักศึกษาจากมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร เขามาชวยเหลือคนสงขลา

อาสาสมัครหัวใจแกรงจากมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร มหาวิทยาลัยแหงน้ีเกิดขึ้นเม่ือป ๔๘รวมเอาสถาบันการศึกษาในพื้นที่ ไดแก วิทยาลัย

พยาบาล วิทยาลัยเกษตร วิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยอาชีพตากใบ มายกระดับเปนมหาวิทยาลัย เนนการเรียนรูในสายวิทยาศาสตรสุขภาพและวิทยาศาสตรเทคโนโลยี ในครั้งนี้ไดชวยเหลือชุมชน จัดตั้งศูนยรับบริจาคในมหาวิทยาลัย นําสิ่งของไปบริจาคและลงมาตั้งศูนยใหความชวยเหลือ

Page 69: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

68

“นักศึกษาเหลานี้จะไดใชความรูที่รํ่าเรียนมาไดใชประโยชนใหเพ่ือนมนุษย ผศ.ประทีป รองอธิการบดีกลาว

วันที่ ๙ พฤศจิกายน เราไดนํานักศึกษาจํานวน ๘๐ คนเขาไปชวยเหลือชุมชนบานดอนคัน ตําบลคูขุด ซ่ึงเราไดประสานแกนนําในพื้นที่คือครูปราณี มณีดุลย บอกวายังไมมีความชวยเหลือเขาไป หลังจากประสานกับพ้ืนที่ใหมีการเตรียมคน เตรียมวัสดุ โดยมีขอตกลงรวมกันวา ทางแกนนําคือผูใหญบาน อบต.และชุมชนจะตองลําดับความสําคัญ จัดระบบการชวยเหลือประชาชนกันเอง ทางมูลนิธิชุมชนสงขลามีผูบริจาคเงินใหนําไปซ้ือกระเบื้องมุงหลังคา เราไดนําไปจัดซื้อแลวสงตอใหกับชุมชน สมทบกับกระเบื้องจากอบต. โดยชุมชนจะเปนผูออกในสวนของขอเกี่ยวและตาปู

ชวงเชาฝนตกหนัก แตก็เวนชวงใหไดพอหายใจ แลวก็ตกหนักลงมาอีก ไมมีวี่แวววาจะหยุด รถของมหาวิทยาลัยวิ่งฝายสายน้ําที่สูงระดับหนาแขงเขาสูหมูบาน เห็นไดชัดวาชุมชนโดนกระหน่ําซ้ําทั้งจากน้ําทวมและลมพายุจนสะบักสะบอม เม่ือพบกันแกนนําชุมชน การชวยเหลือจึงเริ่มตนขึ้นอยางรวดเร็วทามกลางสายฝนกระหน่ําหนัก แตก็ไมมีใครยั่น แววตานักศึกษาทุกคนกลับมุงม่ัน สนุกสนานกับภารกิจ ทั้งผูบริหารและคณะอาจารยที่นําทีมมาจัดระบบการทํางานอยางยอดเยี่ยม นักศึกษามีอุปกรณปองกัน มีรถเดินทางพรอมอุปกรณกอสราง มีอาหารเตรียมพรอมสําหรับนักศึกษามุสลิม รวมไปถึงที่พัก

เริ่มงานกลางฝนหนัก ซอมหลังคากลางสาย

ฝน

สภาพบานกลางน้ํา ตําบลคูขุด แหลงกําเนิด เทง...ตัวตลกหนังตะลุงชื่อ

Page 70: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

69

ดัง

ลุยงานกลางฝน

เราตกลงกันวาจะลุยเก็บงานไปทีละหมูบาน จนกระทั่งแลวเสร็จทางมหาวิทยาลัยใหเวลาไมต่ํากวาสัปดาหที่จะชวยเหลือชุมชน...

ชุดประจําที่ หมูบานดอนคัน และ ๒ชุด ประจําอยูที่บานดอนเค็ด ทั้งหมดตางรวมกันระดมชวยเหลือผูประสบภัย โดยจัดตั้งหนวยซอมแซมเครื่องใชไฟฟาที่เกิดความเสียหาย อาทิ เครื่องวิทยุ โทรทัศน เตารีด ฯลฯ เปนบรรยากาศที่คึกคักมาก รวมจํานวนผูขอความชวยเหลือ จํานวน ๒๙ ครัวเรือน นอกจากการซอมแซมแลว ทางศูนย ไดนําสิ่งของจําเปน และนํ้าดื่มมอบใหกับบานเรือนที่เดือดรอนจากเหตุการณอุทกภัยในครั้งน้ีอีกดวย

น่ีคือนํ้าใจจากพื้นที่ซ่ึงไดรับผลกระทบจากเหตุไฟใต เปนสวนหนึ่งของตัวอยางความพยายามชวยเหลือตนเอง ชวยเหลือกันเองของประชาชนในพื้นที่ ชวยกันบรรเทาความทุกขหนักในขณะที่ความชวยเหลือจากภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของยังไปไมถึง.

ภาพถายครัวเรือนที่ไดรับกระเบ้ืองมุงหลังคาและไดรับการชวยเหลือจากนักศึกษาในการซอมแซมหลังคา

Page 71: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

70

ปตตานี – หลังพายุ – สูการฟนฟู

Page 72: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

71

หลังพายุใหญพาดผาน "อาวปตตานี" วันที่ 05 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ปที่ 33 ฉบับที่ 11957 มติชนรายวัน โดย ภาสกร จําลองราช [email protected]

เสียงดังโหวกเหวกดวยภาษามลายูทองถิ่นดังไมขาดสาย ทําใหบรรยากาศดูอบอุนมาตั้งแตเชา เน่ืองจากผูมีนํ้าใจมากหนาหลายตาตางมารวมกันลงแรงสรางบานหลังใหมให กับชาวบานที่กําลังตกอยูในสถานการณยากลําบาก

ผานไป 1 เดือนเศษแลวที่คนในหมูบานปาตา อําเภอยะหริ่ง จังหวัดปตตานี ตองประสบภัยพิบัติจากพายุและคลื่นทะเล จนทําใหบานเรือนและทรัพยสินเสียหายสิ้นบานปาตาเปนหมูบานเล็กๆ ริมอาวปตตานี ชาวบานสวนใหญมีอาชีพประมง เชนเดียวกับอีก 26 ชุมชนรอบอาว ซ่ึงพายุใหญที่เกิดขึ้นเม่ือ วันที่ 1 พฤศจิกายน ทําใหหมูบานนับสิบชุมชนตางๆ ประสบความเสียหายกันถวนหนา โดยมีบานเรือนที่พังยับและที่พังบางสวน รวมพันหลัง

นอกจากนี้ เครื่องมือทํามาหากินตองสูญหายไปจํานวนมาก เชนเดียวกับเกลือที่กองรอขายมูลคานับสิบลานบาทที่ตองละลายไปกับนํ้า จนเจาของนาตองสิ้นเนื้อประดาตัว ชุมชนปาตาแยกออกมาจากชุมชนตันหยง ลูโละ ซ่ึงเปนหมูบานเกาแกและมีตํานานเลาวา เจาแมลิ้มกอเหนี่ยวมาสิ้นชีวิตที่น่ี และในอดีตชาวบานตันหยงลูโละก็อาศัยใชนํ้าจากบอบานกรือเซะที่อยูหางออก ไป 2 กิโลเมตร เพราะดินที่น่ีเปร้ียวทําใหไมสามารถนําน้ํามาบริโภคได ชุมชนปาตามบีานไดรับความเสียหาย 11 หลัง แตเน่ืองจากที่ดินที่ชาวบานอาศยัอยูเปนที่ดินสาธารณะ ซ่ึงผูอาวุโสบานตันหยงลูโละเห็นวา ชาวบานจํานวนหนึ่งไมมีที่อยู จึงสนับสนุนใหยายมาอยูที่น่ี แตเม่ือเกิดภัยพิบัต ิทําใหสวนราชการกระอักกระอวนใจที่จะเขามาสรางบานใหมใหเพราะระเบียบของ ทางการที่เอ้ือประโยชนเฉพาะที่ดินที่มีเอกสารสิทธ ิ

ชาวบานตางถิ่นชวยกันสรางบานใหชาวปาตา

Page 73: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

72

ในที่สุด ชาวบานทั้งมุสลิมและพุทธตางรวมแรงรวมใจกันยกบานหลังใหมขึ้นมา ทําใหเจาของบานพอที่จะยิ้มออกได ขณะที่ทหารที่รับผิดชอบพื้นที่ก็ไดรับมอบหมายใหสรางบานบางสวนดวยเชน กัน แตความคึกคักดูเหมือนจะเทไปที่บาน "ชาวบานชวยชาวบาน" มากกวา เสียงเลาถึงเหตุการณในค่ําคืนน้ันดังไมขาดสาย ภัยธรรมชาติอันรุนแรงกลายเปนฝนรายที่ชาวบานตางจดจําและเลาขานไปอีกนาน

"นํ้า มาหลายระลอก ตอนแรกสูงแคเอว แลวก็ลงไป ครั้งสุดทายสูงมาก ทําใหบานพังหมด แตผมพาครอบครัวหนีไปอยูที่บานใหญแลว" แวอาลี มะรอแม ยังคงมีนํ้าเสียงตื่นเตนทุกครั้ง เม่ือถายทอดประสบการณหมาดๆ ใหเพ่ือนๆ ตางถิ่นฟง "ตั้งแตเกิดมาไมเคยพบเหตุการณรุนแรงแบบน้ีเลย เคยเจอพายุหมุนครั้งหน่ึงตอนยังเด็ก แตก็ไมมีนํ้าทวมมากเหมือนครั้งน้ี"

บานของแวอาลีสรางดวยอิฐบล็อค แตความรุนแรงของคลื่นลมทําใหผนังอิฐทะลุและพังราบคาบ ในชีวิตเขาไมเคยคิดวา อาวปตตานีที่เคยคุมกายชุมชนมายาวนาน จะตองเผชิญชะตากรรมเชนนี้

หรืออาวปตตานีกําลังเปลี่ยนไป

อาวปตตานีมีพ้ืนที่ 75 ตารางกิโลเมตร โดยมีแหลมยื่นไปในทะเลที่เรียกกันวาแหลมโพธิ์มีความยาว 22 กิโลเมตร ทุกตะกอนที่ไหลมาตามแมนํ้าปตตานีและคลองยะหริ่ง สูอาวปตตานีทําใหเกิดนิเวศวัฒนธรรมที่สั่งสมเปนแหลงอารยธรรมเกาแก และสําคัญแหงหน่ึงในแหลมมลายู หลายปมาแลวที่มะรอนิง ตานอ ชาวบานบูดีกัมปง ชุมชนปลายสุดของแหลมโพธิ์ ไดเขาไปมีสวนรวมในการพิทักษและดูแลทรัพยากรธรรมชาติในอาวปตตานี

ในอดีตเขามีอาชีพหาปลาในอาวปตตาน ีซ่ึงมีรายไดเลี้ยงดูลูก 9 คน อยางไมเดือดรอน ในยามขัดสนก็ยังจับหอยที่มีอยูมากมาย ทั้งหอยแครง หอยขาว หอยตาควาย ขึ้นมาขายเปนรายไดเสริม แตในชวงกวา 10 ปที่ผานมา ระบบนิเวศในอาวปตตานีเปลี่ยนไปมาก ทําใหทรัพยากรเสื่อมโทรมอยางรวดเร็ว

"นาย ทุนเขามาจับจองพ้ืนที่ในอาวทําเปนที่เลี้ยงหอยแครงเยอะมาก พวกเราพยายามคัดคานเพราะในอาวควรเปนพ้ืนที่สาธารณะ พวกเขาไมยอมเขาไปหากิน เขาคราดหอยทีก็ทําลายระบบ

สาวนอยเพลิดเพลินอยูบนกองผาที่ถูกนํามากองไวตั้งแตเกิดภัยพิบัติ

Page 74: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

73

นิเวศหมด" มะรอนิงสะทอนปญหาที่เกิดขึ้น ซ่ึงเปนหนึ่งในหลากหลายรูปแบบที่รุกรานวิถีชีวิตของชุมชน ในขณะที่ ปากอาวปตตานีกําลังแคบลงเรื่อยๆ เพราะแนวกันคลื่นที่ทําใหกระแสน้ําเปลี่ยนทิศทาง พ้ืนที่หญาทะเลซึ่งเปนแหลงอาหารและอนุบาลสัตวนํ้าที่สําคัญไดหดแคบลงมาก เชนเดียวกับการขุดลอกรองนํ้าและโครงการถมทะเลเพื่อพัฒนาทาเรือ ซ่ึงไมมีการศึกษาและทําความเขาใจในระบบนิเวศ ทําใหกลายเปนตัวเรงความเสื่อมโทรมเพิ่มขึ้น รอบๆ อาวยังมีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นมากมาย หลายแหงประกอบกิจการอยางมักงายโดยปลอยนํ้าเสียที่ไมไดบําบัดลงทองอาว "ทุก วันนี้หาปลาในอาวอยางเดียวไมพอกินหรอก เด็กๆ รุนใหมตางก็หนีไปหางานทําในมาเลยกันหมด ไปที่นูนรายไดดีกวาทํางานอยูแถวบานเยอะ" มะรอนิงเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ที่ชัดเจนคือในหมูบานโดยรอบอาวแทบไมมีกําลังแรงงานในวัยหนุมเหลืออยู เลยเพราะพากันไปทํางานรานตมยํากุงในมาเลเซียกันหมด เม่ือหลายปกอน เขาและชุมชนรวมตัวกันสรางเขตอนุรักษหอยเพ่ือใหชาวบานไดมีโอกาสใช ทรัพยากรในน้ํากันอยางทั่วถึง เชนเดียวกับชาวบานอีกหลายชุมชนที่พยายามลุกขึ้นมาปกปองทรัพยากรของตัวเอง ชุมชนรอบอาวปตตานีไดถักทอกันเปนเครือขายเพื่อรักษาและฟนฟู สภาพแวดลอมใหอยูยั่งยืนขึ้นทามกลางสถานการณความรุนแรงของไฟใตที่ยัง ลุกโชน "เม่ือ 2-3 ปกอน พวกเราพยายามจัดตั้งสภาอาวปตตานีขึ้นมา เพ่ือใหพูดอะไร จะไดมีนํ้าหนักขึ้น" เขาบอกถึงกลไกที่ชุมชนตางๆ รวมกันสรางขึ้น แมยังไมเปนรูปเปนรางมากนัก แตภัยพิบัติที่เกิดขึ้นครั้งนี้ ทําใหชาวบานพยายามแปรวิกฤตใหเปนโอกาสโดยระดมความคิดเห็นและยกระดับการรวม ตัวของชุมชนใหแนบแนนมากกวาเดิม กลไกที่ชาวบานสรางขึ้น ไมวาจะเปนในนามเครือขายอนุรักษหรือสภาอาว ไมเคยสรางปญหาหรือเกิดความขัดแยงกับฝายใด ไมวาจะเปนใตดินหรือบนดิน นอกเสียจากพวกนักฉกฉวยผลประโยชนโดยมิชอบ "ผมอยากใหหอย ใหปลา กลับมาอยูในอาวอยางอุดมสมบูรณเหมือนเดิม" มะรอนิงสวดขอพรพระเจาอยูเปนประจํา สภาอาวปตตานีไดรับเสียงตอบรับจากเครือขายชุมชนตางๆ นักวิชาการใน มอ.ปตตานี และอีกหลายภาคสวนอยางคึกคัก ภาพความรวมแรงรวมใจกันสรางบานใหผูประสบภัย ตลอดจนการระดมสมองของชาวบาน ทําใหเกิดบรรยากาศอันอบอุนขึ้นมาในชุมชนอาวปตตานี หลังพายุใหญ ทองฟามักแจมใส และธรรมชาติก็ยังใหโอกาสมนุษยอยูเสมอแตที่นาหนักใจคือภัยจากฝมือมนุษยดวยกันเอง เพราะยิ่งเลวรายมืดดําขึ้นทุกที และยังไมมีทีทาวาจะมีแสงใหพอมองเห็นอุนใจเหมือนฟาหลังฝนไดบางเลยบางทีชุมชนอาจตองเปลงประกายขับไลความมืดกันเอง

///////////////////////////////////////////

Page 75: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

74

ขอเสนอแนะในการฟนฟูชุมชน จากการประชุมระหวางนักวิชาการ NGOs

และตวัแทนชาวบานจากชุมชนที่ประสบภัยพิบัติรอบอาวปตตานี วันเสารที่ 13 พฤศจิกายน 2553

ณ หองมะปราง ชั้น 2 คณะมนุษยศาสตรและสงัคมศาสตร มหาวิทยาลยัสงขลานครนิทร วิทยาเขตปตตาน ี

พ้ืนที่ประสบภยั 4 กลุมยอยที่ไดรับผลกระทบจากดีเปรสชั่นครั้งน้ีประกอบดวย

- ดาโตะ/บูดีกัมปง/ตะโละอาโหร - บางเขา (บานสายหมอ) /บางตาวา - แหลมนก/ตันหยงลูโละ - บางรพา/ทากําชํา

ในการประชุมพบวาแนวทางการแกไขจะตองมีองคประกอบในการจัดการ คือ 1. ตองตั้งระบบชุมชน มองที่การตั้งกรรมการและการแบงงาน การรับผิดชอบ รวมกันแกปญหาน้ําทวมมาเปนจุดรวมในการรวมคน โดย NGOs เปนพ่ีเลี้ยง รวมเรียนรู ชวยเหลือตามภารกิจ โดยชาวบานนํารวมหมู แบงงานกันรับผิดชอบ สังเกต คัดเลือกและพัฒนาผูนํารุนใหม สําหรับชุมชนที่รวมตัวกันไมได น่ันเปนโจทย ไมใชเปนคําตอบ ชุมชนที่รวมตัวกันไมไดควรหาวิธีวาจะทําอยางไร ที่จะชวยเขาได เชน ดูความพรอม อยางชุมชนทากําชํา บางรพา สายหมอ บางตาวา มีการจัดระบบกันกอนหนานี้แลวตั้งแตเรื่องถุงยังชีพ ชุมชนตะโละอาโหร รวมตัวไดดี ลาสุดมีโครงการไทยเขมแข็งลงไปก็จัดระบบแจกจายไดทั่วถึง ชุมชนดาโตะ ตันหยงลูโละ เปนแบบอยางที่นาจะไดเรียนรู วันแรก ๆ วุนวายมากแตจัดระบบไดคอนขางเร็ว แตก็ยังตองการความชวยเหลือในการจัดระบบอยู ตองแบงกันตามไปดูวาพื้นที่ไหนที่ตั้งคณะทํางาน หรือศูนยประสานงานที่ชัดเจน ถาที่ไหนพรอมก็ใหไปเปดบัญชี เราก็มีเง่ือนไขวาเงินกอนแรกจะมีเทาไร และเงินกอนถัดไปควรจะมีเง่ือนไขอะไรออกมา และขอใหมีคณะกรรมการตรงกลางเพื่อพิจารณาขั้นตนกอน 2. การแกปญหาในแตละประเด็น เรื่องอาชีพ การซอมเรือ สุขภาพ สิ่งแวดลอม ตามที่ชาวบานนําเสนอ ปริมาณความเสียหายไมเยอะ เปนการพัฒนากาวตอไปมากกวา ในการเขาไปสํารวจขอมูลตองพิจารณาเรื่องความตางในเพศสภาพเพราะที่ผานมา การจูนคลื่นยังไมคอยตรงกับชาวบาน ผูหญิงพูดตรงกับผูเก็บขอมูลมากกวาผูชาย ซ่ึงขอมูลที่ไดมามีภาพรวม 2 มิติ คือ โดยใหการชวยเหลือ เชน เรื่องที่ดิน การตัดถนน เพ่ือเปนเครื่องมือสรางความเขมแข็งระยะยาวของชุมชน 3. การระดมทรัพยากร เปนสิ่งที่จําเปนเกี่ยวเนื่องการกับแกปญหาในแตละประเด็น ทั้งการฟนฟูในเชิงกายภาพ ไมวาจะเปนการสรางบาน การซอมแซมสาธารณูปโภค และการสรางศักยภาพในการทํางาน

Page 76: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

75

จากการจัดประชุม การจัดเวที โครงสรางพื้นฐานอ่ืน ๆ เชน ระบบการเงิน บัญชี ซ่ึงควรใชเปนตัวชี้วัดความเขมแข็งของชุมชน 4. มีสวนรวมจากหลายหนวยงาน ทุกภาคสวนสามารถรวมกันฟนฟูไดตลอดทุกระยะโดยชาวบานเปนแกนหลักในการดําเนินงาน บทบาทที่แตละภาคสวนสามารถรวมมือดําเนินงานได คือ ชุมชน - ชาวบานตองมีขอมูลของตนเอง update ขอมูลใหทันสมัย ใหคนอ่ืนเขาถึง/เชื่อมตอได - อยากใหมีเจาภาพ/คณะกรรมการกลางที่ดูเรื่องขอมูล แลวแตใครจะเอาไปใชเพ่ือ

ประโยชนอะไร ขอใหชวยเรยีงลําดับความเดือดรอนใหชัดเจน (พ้ืนที่ ความตองการ) เพ่ือเปนขอมูล/ตอบโจทยสาํหรับผูใหการชวยเหลือ

ภาคประชาสังคม - ชุมชนควรรวมมือกับ NGOs และมหาวิทยาลัยเรื่องสิทธิในที่ดิน ที่อยูอาศัยของหมูบานชาวประมงชายฝง การฟนฟู เชน การปลูกปาชายเลน - การสรางความเขมแข็งขององคกรที่อยูในหมูบานทั้งน้ี การสนับสนุนงบประมาณบางกรณีอาจเปนลักษณะสมทบเพื่อไมใหเกิดความซ้ําซอน (เรือ-การประมง) และในระยะยาวตองประสานความรวมมือกับหนวยงานอื่น ๆ ที่กวางขวางขึ้นตอไป สถาบันการศึกษา - สามารถมีสวนในการชวยประสาน รวมเรียนรู ดู process/ศึกษา ระหวางราชการ ทองถิ่น - ชวย identify เรื่องที่ชาวบานตองการแตยังขาดและอุดชองวาง - ศูนยรวมการแจงขาว จัดระบบขอมูล ติดตามและประเมิน - ชวยระดมทุน/หรือสิ่งที่ชาวบานควรไดแตยังขาด - สรางการเรียนรูใหกับชาวบานในการรับมือภัยพิบัติ ภาครัฐ - จังหวัดให อสม. และเครือขายสํารวจขอมูลความเสยีหายลงในแบบ สพ. 2 (ใสขอมูล ชื่อ

เลขทีบ่าน ลักษณะบาน จํานวนคนในครอบครัว ความเสียหาย) ประมงจังหวัดก็มีแบบฟอรมสํารวจ และหนวยงานตาง ๆ เขาไปทําขอมูลตามเปาหมายของตน ทั้งน้ี หมูบานที่ตั้งตวัติดแลวก็ใหมีการสํารวจภายในหมูบานตนเอง เชน ดาโตะ - เราจะมียุทธศาสตรอยางไร (ในแงมหาวิทยาลัย) เชน เลือกชวยหมูบานที่แยที่สุด หรือจะติดตามหมูบานระยะยาวซัก 7 หมูบาน เกบ็ขอมูลมาแลวเอามาทําอะไรตอ ??

- ควรมีใช GIS บอก location และใสขอมูลเชิงลักษณะเพิม่จากการสํารวจภาคสนาม มีสถิติจากราชการ และติดตามเฉพาะขอมูลที่ active เพ่ือยืนยันความถูกตองของขอมูล

- ควรมีวทิยุเปนชองทางออกอากาศสื่อสาร update ขอมูลความเสียหาย การชวยเหลือ ทั้งจากชาวบาน หนวยงานราชการ และผูตองการใหความชวยเหลือ

Page 77: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

76

สรุปบทเรียน

โดย

อาสาสมัครทุกคน

Page 78: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

77

บทที่ 1 Timeline เลาเรื่องรายวัน day by day ฉาย dynamic การปรับตวั การรวมตวั บทบาทของแตละฝาย

ชวงที่ 0 กาวกอนเร่ิม การตั้งเคากลุมกอนนักเคลื่อนไหวทางสังคมทั้งภาคธุรกิจและนักพัฒนาฯ ที่กอการกันจนเกิดศูนยอาสาสมัครประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ(ศอบ.)ในครั้งนี้ เร่ิมมาจากการประชุมกัน 3 ครั้ง ที่ ธนาคารกรุงไทยในวันที่ 26 ตุลาคม ที่ สสส. ในวันที่ 28 ตุลาคม และที่ทีวีไทย ในวันที่ 1 พฤศิจกายน เพ่ือรวมตัวกันหารือกันถึงแตละกาวที่แตละคนจะลงมือกับเหตุนํ้าทวม ที่เริ่มฤดูของความแปรปรวนดวยจังหวัดที่ทวมนําไปกอน ไดแก ราชบุรี เพชรบุรีและโคราช ซ่ึงเปนปฐมบทที่ปลุกใหตื่นและมองเห็นไดแลววาจะมีทั้งนํ้าและฝนอีกเปนกอนๆ กําลังจอคิวตามมา แมวาจะ “เง้ืองาราคาแพง” ของการรวมตัวกันในการรับนํ้ากอนน้ีจะชาไปนิด แตเวลาของการเงื้อน้ันก็ทําใหผูกอการทั้งหลายไดเก็บชั่วโมง พิสูจนบทเรียนการรับบริจาคและชวยเหลือผูประสบภัย และคัดกรองคนที่มีแนวคิดเดียวกันใหโดดลงมารวมวงเดียวกัน โดยมีดีเปรสชั่นที่ยกตัวขึ้นฝงของภาคใตในวันจันทรที่ 1 พฤศจิกายน เปนตัวเรงในการตัดสินใจ และมีเวทีระดมความคิดในชวงเย็นที่จัดขึ้นที่ทีวีไทย จนเกิดแนวคิดหลักในการดําเนินงานของเครือขายภาคประชาชนเพื่อรับมือกับวิกฤตที่จะคุกคามทั้งผูใหความชวยเหลือและผูประสบภัย บทเรียนจากการทํางานฟนฟูบนความหลากหลายของสภาพภูมิศาสตรและวัฒนธรรมเปนสิ่งทําใหการทํางานแบบโครงขายในพื้นที่จําเปนตองถูกจัดตั้งขึ้น อาจารยยักษ (วิวัฒน ศัลยกําธร) ไดเสนอหลักการทํางานเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยที่เขาถึงชุมชนในเชิงลึกและสรางความเขมแข็งในการจัดการตัวเองไปพรอมๆกันวา การจัดการในระดับภาคประชาชนนั้น (ดังภาพที่ 1) จําเปนตองมีการทํางานแบบกระจายศูนย (node) ออกไปแบบแบนราบในการใหความชวยเหลือและทรัพยากรจากสวนกลางที่ไปสูพ้ืนที่ปลายทาง ไปสูการจัดการดวยคนปลายทาง ซ่ึงรูจักพื้นที่ของตนเองดีที่สุด

ภาพที่ 1 หลักการจัดการพื้นที่ประสบภยัตามแนวคิดภาคประชาชน

Page 79: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

78

ที่จริงหลักการที่วามานี้ ไมไดมาจากความคิดของคนคนเดียว แตแนวคิดนี้ไดรับการทดสอบและยืนยันดวยบทเรียนจากการทํางานของภาคประชาชนที่ชุมฉ่ําจนถึงเปยกโชกกันเกือบหนึ่งเดือนกอนหนา ประกอบกับบทเรียนจากน้ําทวมในปลายป 49 เหตุการณสึนามิในป 2546 องคกรภาคประชาชนทั้งหมดกวา 50 องคกร แทบทั้งหมดมีความคิดเห็นในปญหาและการหาวิธีแกที่ตรงกันอยางที่ไมนาเชื่อวา การลดปญหาการเขาไมถึงชุมชนที่ตกคางและการใหความชวยเหลือที่ไมเทาเทียมนั้น ควรใหชาวบานหรือภาคประชาสังคมในพื้นที่ ทําหนาที่มดงานระดมกําลังจากพื้นที่ใกลเคียง ขนขาวขนของเขาไปจัดสรรและแบงปนในชุมชนของตนเอง เพราะมดงานเหลานี้รูจักทรัพยากรและรูจักพื้นที่ของตนเองดีที่สุด จึงควรใชการโยงใหชุมชนที่ประสบภัยไดรับความชวยแบบชาวบานใหชวยชาวบานดวยกันเอง แมวาแนวคิดการจัดการแบบแบนราบสูทองที่ อาจมองไดวาเปนแนวคิดการจัดการแบบแนวดิ่งในอีกรูปแบบหนึ่ง ผูเขียนบทความนี้ก็ขอยืนยันวา แนวความคิดการจัดการแบบแบนราบของกรุงเทพ ที่จะนําสิ่งของบริจาควิ่งไปสูแตละชุมชนโดยตรง ก็อาจเปนการจัดการสูปลายทางแบบแนวดิ่งพ้ืนอีกรูปแบบหนึ่งดวยเชนกัน เพราะความคิดของมนุษยเรานั้นไมสมบูรณแบบ การแสวงหาจุดรวมและการสงวนความแตกตาง ก็นับเปนการจัดการทางความคิดที่เราไมสามารถเพิกเฉยไดอีกประการหนึ่ง ชวงที่ 1 Day1-day3 อุทกภัยทางความคิด และวิกฤติชีวิตในพื้นที่ประสบภัย หลังจากที่ดีเปรสชั่นมาถึงภาคใตฝงอาวไทยและเสร็จประชุมวันกอน ทีมขาวของทีวีไทย นําโดยพี่แวว (นาตยา แวววีรคุปต) และทีม Frontline ของ 1,500 ไมล นําโดยพี่โตง (รัฐภูมิ อยูพรอม) ก็ออกเดินทางลงไปปลายทางหาดใหญเพ่ือลงสํารวจพื้นที่ พรอมกับเชาวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 ที่การเตรียมศูนยรับมือวิกฤตที่กรุงเทพ ไดเร่ิมขึ้นที่ชั้น 2 ของโรงแรมพินนาเคิล ลุมพินี ที่ ดร.วงษภูมิ วนาสิน ใหใชเปนที่ทํางานและที่พักสําหรับอาสาสมัครไดเปลี่ยนกะทํางานตอเน่ืองกันไดตลอด 24 ชั่วโมง โดยมีพ่ีลักษณ สมลักษณ หุตานุวัตร จาก SVN (Social venture network) คอยเปนแมบานและแมงานที่ดูแลศูนยอาสาประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ (ศอบ.) ซ่ึงปรับเปลี่ยนชื่อมาหลายรอบจนไดชื่อน้ีในปจจุบัน และยังมี สสส., ทีวีไทย และ www.thaiflood.com คอยใหการสนับสนุน สิ่งแรกที่ทําในการเริ่มศูนยวันนั้นคือ การสรางระบบการประสานขอมูลในฝายทั้ง 5 ที่อาจารยยักษไดรางไวเม่ือวันกอนตอนประชุมที่ทีวีไทย คือ ฝายขอมูล-ขาว ฝายมวลชน ฝายทรัพยากร ฝายอาสาสมัคร ฝายบริหาร โดยการเสนอตัวของอาสาหนึ่งคนตอหน่ึงฝายขึ้นมาเปนเจาภาพหลักในการรวมขอมูลเพ่ือที่จะตัดสินใจตอในฝายนั้น เพ่ือลดความซ้ําซอนในการสื่อสาร ที่น่ีเราเรียกระบบนี้วา Communications line พูดงายๆ คือ จะบอกเรื่องไหน ก็เดินไปหาคนนั้น โดยขอมูลที่จะเขาไปยังแตละฝายนั้นประกอบดวย

1. มวลชน (ชุมชน/คนพื้นที่) เปนตัวแทนคนในพื้นที่ ทําหนาที่สื่อสาร ชวยประเมินสถานการณและประสานความชวยเหลือ โดยมีพ้ืนฐานความเขาใจในพื้นที่ประสบภัย

Page 80: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

79

และมี connection ศูนยประสานงานในระดับพ้ืนที่ สื่อสารเอาขอมูลมาแชรกับฝายทรัพยากรซึ่งเปนสวนตอไป

2. ทรัพยากร ทําหนาที่ระดมของบริจาค และประสานขอมูลความตองการความชวยเหลือ เชน พ้ืนที่ที่ตองการใหชวยประสานเรือที่จะอพยพ พ้ืนที่ที่ตองการอาหารสด พ้ืนที่ที่ตองการถุงยังชีพ รวมไปถึงการประสานพาหนะสําหรับขนสงไปยังพ้ืนที่ประสบภัยตอไป

3. ขอมูล–ขาว ทําเรื่องสถานการณพ้ืนที่ ระดับนํ้า ระดับความเสียหาย ความเสี่ยงที่จะโดนซ้ําและการเตือนภัย เพ่ือจัดลําดับการสงความชวยเหลือหรือแจงเตือนใหมีการเตรียมพรอม

4. อาสาสมัคร ทําหนาที่จัดระบบคนที่เขามาทําใหศูนยลื่นไหล ไปยังตําแหนงตางๆที่มีความตองการทั้งหนางาน (ในพ้ืนที่) และ หลังบาน (ที่ศูนยกรุงเทพ)

5. บริหาร แนนนอนวา War room ก็คือ หองแหงการบริหารจัดการ ทุกชวงเย็นผูใหญและผูประสบการณทั้งหลายจะแวะเวียนมาแลกเปลี่ยนความคิดในการกําหนดทิศทางรวมกันตอไป

หลักการทํางานที่วาไปขางบนพอจะเขียนเปน Map ไดดังภาพนี้

ภาพที่ 2 โครงสรางการทํางานของศูนยอาสาสมัครประชาชนฟนฟูภัยพิบัต ิ ชวงที่ฟาสวางของวันแรกทั้งวันนี่หมดไปกับการระดมความคิด จัดระบบ และอะไรอีกหลายอยางที่ไมลงตัว พอเขาสูชวงฟามืดนี่ยิ่งแยกวา เพราะตัวเมืองก็ถูกน้ําหลาก-นํ้าทวมสูงเปน

Page 81: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

80

เมตรทําใหไปไหนไมได พ้ืนที่ปลายทางถูกตัดไฟเพื่อปองกันไฟรั่ว เสนทางเดินรถก็ไปไดยากเพราะตนไมลมระหวางทางปดถนนไปหลายจุด ระบบโทรศัพทลมเหลวเพราะชองสัญญาณเต็มเน่ืองจากมีผูใชบริการจํานวนมาก แมแตจะติดตอทีม Frontline เพ่ือสื่อสารกันเองก็ทําไดยาก ตั้งแตฟามืดนี่ภารกิจหลักของเรา คือ ประสานตอหนวยฉุกเฉินเขากับความชวยเหลือที่รองขอมาทั้งทาง Twitter บนหนาเว็บ Thaiflood และทางโทรศัพท เคสทุกเคสสะเทือนความรูสึกจนอยูน่ิงไมได อาสาสมัครซึ่งประสานงานในภาวะวิกฤติเปนครั้งแรกตางตื่นเตนและพยายามประสานหนวยเคลื่อนที่เร็วแทบทุกชนิดลงไปชวยในพื้นที่ คอยจดจอความคืบหนาในการใหความชวยเหลือไมวาจะเปน เคสหญิงทองแกจะคลอดจนน้ําเดินแลวแตติดอยูในที่พัก หรือ เคสคนปวยเสนเลือดสมองตีบเจาะคอชวยหายใจที่ติดอยูในโรงแรมกําลังอาการทรุด ซ่ึงญาติเลาสถานการณใหฟงดวยน้ําเสียงสั่นเครือ เรื่องราวเหลานี้ตอง recheck หลายครั้งเพ่ือใหไดขอมูลที่ชัดเจน เรียกวา เจอขอมูลไหลเขามาทวมจนประสบอุทกภัยทางความคิดกันไปหมดเลยทีเดียว การทํางานอาสาสมัครในวันแรก จึงอยูในภาวะโกลาหลกันทั้งคืน หลุดไปจากเริ่มแรกที่ตั้งใจวาจะประชุมสรุปงานกันทุก 3 ชั่วโมง เราตางก็ทําไมสําเร็จ และแมจะตั้งเปาวาจะทําหนาที่ประสาน node สนับสนุนใหเกิดการเชื่อมโยงภายในพื้นที่น้ัน เสียงรองขอความชวยเหลือจากคนแตละคนที่มีเครื่องมือสื่อสารเปนฟางเสนเดียว ก็ทําใหเราประสบอุทกภัยทางความคิดเอาใจไปติดกับชีวิตจนไขวเขว ทํางานไมไดไปตามเปาที่ตั้งไวตอนหัววัน กระทั่งเชาวันที่สองพี่ลักษณถึงเรียกสติอาสาสมัครทั้งทีมคืนมาไดวา เปาหมายและวิธีการทํางานของเราคืออะไร การทํางานอยางมีระบบจริงๆ ถึงไดเริ่มขึ้นเปนครั้งแรก เรียกไดวาเม่ือนํ้านิ่งคนก็เริ่มน่ิง เพราะเมื่อโทรไปติดตามความคืบหนาในการชวยเหลือทั้งสองเคสที่เลาไปแลวในขางตนวา ไดรับความชวยเหลือและปลอดภัยแลว คนทํางานก็เร่ิมมีสมาธิกับงานขางหนามากขึ้น เม่ือความรุนแรงของกระแสน้ําเริ่มลดลง ความตองการตอจากการเอาชีวิตรอดใหไปอยูในพ้ืนที่ปลอดภัยก็คือ การกิน อาหารสดหรือเรียกงายๆ วา “ขาวกลอง” เปนความตองการถัดมาหลังจากไดที่ปลอดภัย ใครบอกวาขาวกลองไมสําคัญ ผูเขียนขอบอกวา ขาวกลองเนี่ยสําคัญมาก การจะดูแลกันตอไปของชุมชนเนี่ยขาวกลองถือเปนจุดเปลี่ยนของชุมชนเลยทีเดียว เพราะในปรากฏการณของพื้นที่ประสบภัย เราพบวา คนแตละคน หรือ แตละครอบครัว จะถูกซัดใหกระจัดกระจายหรือถูกทําใหปลีกแยกออกไปจากสิ่งแวดลอมที่คุนชิน บางบานสูญเสียครัวและอุปกรณทําอาหาร บางคนตองยายหนีไปอยูที่อ่ืนซึ่งไมรูวาจะไปหาอาหารไดที่ไหน การมีครัวรวมหรือครัวชุมชนเปนคําตอบที่จะทําใหผูประสบภัยซ่ึงกําลังเควงอยู ไดมีอาหารกิน ไดพ้ืนที่ที่จะรวมตัวกันพูดคุยแลกเปลี่ยนเร่ืองราวที่เผชิญ ไปจนถึงหาทางที่จะจัดการกับภาวะที่แตละคนเผชิญอยู ซ่ึงครัวรวมหรือครัวชุมชนนี้อาจเกิดขึ้นไดทั้งการลงแรงกันของชาวบานเองและการเขาไปชวยตั้งโรงครัวจากคนนอกดวยการหาคนและหาวัตถุดิบตั้งตน อยาง นํ้าปลา นํ้ามัน พริก กระเทียม ผัก หมู เห็ด เปด ไก สําหรับม้ือแรกๆ เขาไปชวย เพ่ือที่จะชวนชาวบานเขามาชวยกันลงแรงตอไป ปรากฏการณในการบริจาคในครั้งนี้มีเร่ืองนาดีใจ ที่คนไทยเขาใจลําดับ

Page 82: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

81

ความสําคัญและความหมายของปจจัย 4 สําหรับผูประสบภัยมากขึ้น ครั้งน้ีเราไมเห็นกองภูเขาเสื้อผา ครั้งน้ีเรามองไมเห็นกองของบริจาคที่อยูนอกเหนือความจําเปน ครั้งน้ีเราเห็นความเขาใจที่ดีขึ้นในการใหความชวยเหลือที่จะกอใหเกิดปญหาความขัดแยงระหวางชุมชนนอยลง ตองขอขอบคุณคนไทยที่เขาใจบทเรียนในการบริจาคจากประสบการณที่เรารวมทุกขรวมสุขกันมา

กอนที่จะเตลิดออกอาวไทยไป ตอนนี้ขอกลับมาที่ศูนยฯกอน งานที่เริ่มมีบทบาทมากขึ้นในชวงวันที่ 3 น่ีคอยๆ เปลี่ยนจากการสื่อสาร มาเปนการระดมทรัพยากรและ logistic ในการประสานเรื่องอาหารสดหรือขาวกลองไปชวยผูประสบภัยที่ติดอยูในพ้ืนที่ ซ่ึงงานนี้ทีมเจาหนาที่จากมูลนิธิกระจกเงาก็ไดเดินทางลงพื้นที่หาดใหญเพ่ือประสานการตั้งศูนยขาวกลองและ logistic ของบริจาคลงไปจากกรุงเทพ โดยมีสายการบินนกแอรอาสาขนใหในภารกิจน้ีโดยเฉพาะ นอกจากนั้นวันนี้เรายังมีกลุมคนที่เราตองการที่สุดก็กาวเขามาในหอง พวกเขาคือ พ่ีประยูร พ่ียาและพ่ีมณเฑียร ซ่ึงเปนชาวบานแกนนําในเครือขายองคกรชุมชนในภาคใตและมีประสบการในการฟนฟูชุมชนที่ประสบภัยสึนามิ ดวยการชวนของพี่ดวง มูลนิธิชุมชนไทย ใหเขามาลองดูวาจะชวยอะไรไดบางตั้งแตชวงเย็น ซ่ึงพอกาวเขามาพี่ทั้งสามคนก็เห็นและรูทันทีเลยวา ทาจะตองอยูยาวซะแลว เพราะคนที่จะประสานชุมชนไดมันขาดจริงๆ หลักจากจูนระบบและจูนความเขาใจเขาดวยกัน การทํางานในวันที่สามลงลึกไปในพื้นที่ประสบภัยทั้ง 7 จังหวัด ไดแก ชุมพร สุราษฏรธานี นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สงขลา และปตตานี จนสามารถคนพบคนที่จะเปนแกนในการประสานทองถิ่นไปไดอีกหลายพื้นที่ เพราะมีคนที่มี Connection และความเขาใจในทองถิ่นเขามารวมทีมดวยอยางเต็มตัว ชวงที่ 2 day4-day7 วิดขอมูลที่ทวมชีวิต แลวไปกูวิกฤติปากทอง คําถามที่มีอยูตลอดมาตั้งแตสมัยสึนามิ คือ เราจะลดปญหาความซ้ําซอนและการตกหลนในการใหความชวยเหลือในพื้นที่ประสบภัยพิบัติไดยังไง ก็หาคําตอบกันตอไป จนวันนี้ปญหานี้ก็ยังเจอเรื่องน้ีอยู แตในภาวะวิกฤตแบบนี้ สิ่งที่เราตองทําก็คือ ตองรูจักละและวางในสิ่งที่เรายังมองไมเห็นวาเราทําไดแคไหน แตขณะเดียวกัน เราก็จะทําเต็มที่ในสิ่งที่เราทําได และทําตอไปใหถึงที่สุด หลังจากที่ศูนยเ ร่ิมเปนที่ รู จักและมีการสงขอความรับอาสาสมัครออกไป ชวงนี้อาสาสมัครก็เขามาชวยงานในศูนยเพ่ิมขึ้นเปนจํานวนมาก ความหลากหลายของอาสาสมัครไดพัฒนาใหการทํางานคอยๆ เขารูปเขารอยมากขึ้นเรื่อยๆ ถึงกระนั้นงานในชวง 4-5 วันแรกก็ยังไมไดเปนไปอยางที่ตั้งใจหวังวาจะใหเกิด node ในการระดมทรัพยากรจากพื้นที่ใกลๆ มาชวยกันเอง เพราะเราเองก็ยังเปนการชวยเหลือจากขางบนแลวสงขึ้นเคร่ืองบินลงไปขางลาง และขางลางก็ยังไมสามารถตั้งตัวไดเชนกัน แตอยางนอยเราก็เร่ิมมีผูประสานและ node ซ่ึงเปนจุดเชื่อมตอที่ชัดเจนมากขึ้นในการประสานความชวยเหลือในลักษณะของใยแมงมุม ซ่ึงถาพูดถึงใยแมงมุมน่ันก็แสดงวา มันตองมีตัวแมงมุม ถาเปรียบใหศูนย ศอบ. เปนตัวแมงมุม ชุมชนในพื้นที่เปนศูนยประสานงานก็คงเปนขาแมงมุมที่โยงความชวยเหลือใหกันและกัน เชน ชวงที่คาบ

Page 83: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

82

เกี่ยวกับระหวางวิกฤติปากทองกับวิกฤตชีวิตอยางชวงนี้ ตอนที่นครศรีธรรมราชโดนพายุเขาถัดมาจากหาดใหญ เราไดทําหนาที่ประสานใหทางหาดใหญซ่ึงนํ้าลดคลี่คลายจนเรือเร่ิมใชนอยลงแลว ใหหาดใหญสงเรือไปชวยนครฯที่กําลังนํ้าเออ พรอมกันก็ไดชวยประสานเรื่องวิกฤตอาหาร พัทลุงมีโรงสีชุมชนมีขาวเล็บนก ซ่ึงเปนขาวดีของทางใตที่ขายใหไดในราคาชวยเหลือผูประสบภัยและยังจัดสงใหฟรี เราก็เปนตัวประสานใหขาวจากพัทลุง(สวนที่ไมทวม)ไปชวยพัทลุงสวนที่ทวม ไปชวยหาดใหญ ไปชวยนครฯ ได การระดมทรัพยากรและ logistic ในการสงอาหารและยาลงไปในพื้นที่จึงเปนงานที่มีบทบาทสําคัญในชวงนี้ ระบบการจัดการของเราแบงแบบงายๆ ไดเปน 2 สวน คือ ฝงตนทางที่กรุงเทพ และฝงปลายทางที่ทางใต ซ่ึงสื่อสารจํานวนของที่ตองการโดยรวมขึ้นมา สวนเราก็จัดหาของใหไดตามความตองการและตามจํานวนที่ตองการจัดเปนกลุมๆ แตละจังหวัด แลวทยอยสงไป โดยมีสายการบินนกแอรเอ้ือเฟอพ้ืนที่โกดังใหเราจัดของและเอื้อเฟอเครื่องบินขนของใหในชวงที่ถนนยังถูกปดดวยน้ําและตนไมที่ลมขวางอยูระหวางทาง โดยการจัดการของบริจาคในฝงกรุงเทพจะรับทั้งของที่เปนชิ้นยอยๆ จากผูบริจาคทั่วไปและของบริจาคลอตใหญๆ ที่มีผูบริจาคตรงจากโรงงาน ทั้งหมดจะถูกนํามาจัดแบงตามปริมาณที่แตละพ้ืนที่ตองการแลวสงไปยัง node ปลายทาง ดังรูปที่ 3

ภาพที่ 3 ระบบการจัดการของบริจาคและ logistic ไปยังพ้ืนที่ประสบภัย

Page 84: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

83

การระดมทรัพยากรและ logistic น่ีกวาจะลงตวัก็ปาเขาไปวันที่ 7 ตั้งแตเปดศูนย ระหวางทางนี ่เจอปญหาและอุปสรรคในการทํางานมากมายซึ่งเด๋ียวจะขอเลาตอในสรุปบทเรยีนชุดถัดไปซึ่งจะเลาถึงรายละเอียดการของการทําแตละฝายอีกที วันที่ 7 ของการทํางานนี่ เพราะวาระบบงานเริ่มลงตัวแลว เราถึงไดขอปลีกตัวจากหองสี่เหลี่ยมไปลงพื้นที่หนางานบาง ดวยความคิดเห็นที่ตรงกันทุกคนวา ถาคนที่ศูนยไมเขาใจสภาพหนางาน การจัดระบบเพื่อพัฒนางานตอไปตามสภาวะที่เปนจริงมันจะเปนไปไดยาก เราจึงเดินทางลงไปปตตานี โดยนั่งเครื่องบินไปลงหาดใหญแลวตอรถตูไปลงที่ ม.อ. ปตตานี ซ่ึงเปนสถานที่รวมพลของคนแกนหลักที่ประสานระหวางชุมชนกับสวนกลางที่จะเขาไปใหความชวยเหลือ เราหารือกันถึงกลุมกอนของคนทํางานที่เกิดขึ้นวาจะขับเคลื่อนกันตอไปอยางไรและขอลงไปสัมผัสพื้นที่บานดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปตตานี ซ่ึงมีลักษณะเปนอาวที่ถูกขนาบดวยทะเล ซ่ึงขอมูลที่ทางกรุงเทพไดรับคือ ในวันที่พายุเขา นํ้าทะเลยกระดับสูงขึ้นเปนเมตรตั้งแตชวงบายกอนที่พายุจะเขา ซ่ึงขาวในทองที่ก็เตือนภัยแจงวาพายุจะเขาตอนกลางคืน แตขนาดฟายังไมมืดนํ้ายังขึ้นสูงขนาดนี้ คนธรรมดาก็อยูน่ิงไมไดแลว ชาวบานก็เลยอพยพกันไปอยูในที่ปลอดภัย ทิ้งไวแตฝูงแพะและบานเรือน ความเสียหายจึงเกิดขึ้นกับทรัพยสินมากกวา พอไปถึงน้ันเราพบวา ชุมชนนี้ประสบภัยไมตางจากบานน้ําเค็ม สมัยที่โดนสึนามิ คือ ขอ 1 บานถูกคลื่นซัดพังเสียหาย ขอ 2 มีคนเขาไปในชุมชนมากมายคลายกรุปทัวรจนรถติดยาวกวา 5 กิโล ไปถึงปากทางเขาชุมชน ขอ 3 มีความชวยเหลือเขาไปอยางลนหลาม แตปญหาเรื่องการจัดการจนเกิดรอยราวระหวางชุมชน

รูปที่ 4 สภาพชุมชนดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปตตานี ที่ไดรับความเสียหายจากดีเปรสชั่น

Page 85: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

84

ทั้งกอนลงพื้นที่และหลังจากกลับมา มีคําถามและขอถกเถียงวาสิ่งที่สรางความเสียหายใหชุมชนนี่เปน Strom surge หรือไม จนวันนี้ก็ยังไมมีคํายืนยัน และผูเฒาผูแกในชุมชนก็ยังไมเคยเจอเหตุการณแบบน้ีเลย ธรรมชาติในทุกวันนี้มันเปลี่ยนแปลงไป แลวเราจะรบัมือยังไงกับความแปรปรวนที่นากลวั

ชวงที่ 3 day7-day10 เฝาระวังภัยซํ้า พรอมกับทําในสิ่งที่ทําได แมวาสถานการณนํ้าหลากจะเริ่มเบาบางลง แตฝนที่ตกสะสมก็ยังมีความเสี่ยงตอการเกิดภัยพิบัติซํ้า ทั้ง landslide ในพ้ืนที่ลาดเอียงตามเชิงเขาและน้ําหลากตามพื้นที่รับนํ้าทั้งหลาย ชวงนี้งานระดมทรัพยากรและ logistic เราก็ยังทําอยู แตสิ่งที่เพ่ิมเขามาคือ เราเริ่มมีสติที่จะติดตาม ฝนตกสะสม ที่จะทําใหเกิดดินถลมซํ้า โดยใชวิทยุสื่อสาร ว.ดํา ที่จริงบทบาทการทํางานของวิทยุสื่อสารกับงานภัยพิบัติในศูนยน่ีเริ่มมีมาตั้งแตที่พ่ียา และ พ่ีมณเฑียร เดินเขามาในศูนย แลวทําใหเราพบวา การ recheck ขอมูลทั้งความเสียหายและความชวยเหลือที่ตองการจากปลายทางพื้นที่ประสบภัยน้ัน สามารถทํารวมกันไดโดยใชโทรศัพท วิทยุสื่อสาร และ Social media อยาง Twitter ทั้ง 3 อยางรวมกัน เชน เม่ือเราพบการแจงของความชวยเหลือผาน Twitter เราก็จะโทรไปเช็คสถานะของคนโพส Twitter น้ันวา ขณะน้ันไดรับความชวยเหลือหรือยัง หากยังไมไดรับความชวยเหลือ เราก็จะไดวิทยุสื่อสารแจงขาวไปยังศูนยที่อยูใกลๆ ในพ้ืนที่วาสามารถใหความชวยเหลือไดอยางไรบาง ดังรูป

รูปที่ 5 การใชเครื่องมือสื่อสารเพื่อประสานความชวยเหลือกับพ้ืนทีป่ระสบภัย

Page 86: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

85

โดยในสวนของวิทยุสื่อสารหรือ ว.ดํา น้ัน เราใชโปรแกรม Echolink ซ่ึงเปน VoIP ที่เชื่อมสัญญาณวิทยุสื่อสารผานเขาคอมพิวเตอร ทําใหคนอยูที่ไกลอยางกรุงเทพยังสามารถรับขาวสารทันสถานการณไดพรัอมกับกลุมอาสาที่ใช ว.ดํา ในพ้ืนที่ประสบภัยทางใตดวย เลามาถึงตรงน้ีคงเริ่มมีคําถามอีกแลววา โทรศัพทก็มี อินเตอรเนทที่จะเอาไวใช Social network ก็มี ทําไมตองกลับไปใชวิทยุสื่อสารดวยละ เด๋ียวคําถามนี้จะไปตอบอยางละเอียดในสรุปบทเรียนชุดถัดไป โปรดติดตามชมอีกเชนกัน การขอความชวยเหลือที่ศูนยฯ นอกจากจะเขามาโดย connection ของผูประสานงานพ้ืนที่แลว ก็ยังมีผูที่ตอสายเขามาโดยตรงผานโทรศัพทสวนกลางของศูนย มีอยูสายหนึ่งโทรแจงมาวา เปนผูประสบภัยอยูในพ้ืนที่ จ.อยุธยา ไมมีไฟฟาใชมากวาสัปดาหแลว อยากจะขอใหทางศูนยชวยเหลือดวย เม่ือนองอาสาสมัครไดรับสายนี้ นองก็เลาตอใหพ่ีลักษณฟงและหารือวาเราจะทําอะไรไดบาง ผูเขียนซึ่งเปนคนที่น่ังฟงทั้งสองคนอยูก็ทําไดเพียงคิดวา ก็คงตองรอใหทางไฟฟาเคาจัดการเอง แตดวยความคิดที่ไมเคยรั้งรอที่จะลงมือและความเปนอาสาสมัคร ทั้งสองคนก็ประสานงานแจงปญหาที่ชาวบานไมมีไฟฟาใชตอการไฟฟาสวนภูมิภาคของทางจังหวัด ไปจนกระทั่งเคามองเห็นปญหาและชวยหาทางออกใหจนเจาหนาที่แจงวาจะไปติดตั้งอุปกรณไฟฟาใหชาวบานไดมีไฟฟาใชไดในวันรุงขึ้น สําหรับผูเขียน เรื่องน้ีเปนเรื่องราวเล็กๆ ที่นาภูมิใจวา การไมดูดายและไมร้ังรอของการขยับตัวจากฟนเฟองเล็กๆ ที่กาวขามความไมม่ันใจ สงเสียงไปบอกฟนเฟองขนาดใหญใหรูตัววาการขยับของเขาสามารถเปลี่ยนแปลง สวนอ่ืนๆใหดีขึ้นไดอยางไร มันชวยย้ําใหเราม่ันใจวา เราทุกคนที่เปนฟนเฟองทุกอันไมวาเล็กหรือใหญ หากเราเลิกปดกั้นตัวเองจากความกลัววาจะทําไมได แลวมาลงมือเอาแคเพียงเร่ืองเล็กๆ ที่เราทําได เทานี้โลกก็คอยๆเปลี่ยนแลว สรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทัง้ 3 ชวง จากการทํางานทั้ง 3 ชวง จะเห็นไดวาคนที่มีบทบาทสําคัญในแตละชวงงานจะแบงเปน ชวงเตรียมการ งานดานวิชาการทั้งสายวิทยและสายสังคม ซ่ึงอยูภายใตฝายขอมูลจะเปนตัวกําหนดทิศทางการทํางานของศูนย ชวงเผชิญเหตุและเฝาระวังภัย งานดานสื่อสารซึ่งอยูภายใตฝายชุมชนจะมีบทบาทเดนกวาวิชาการ เพราะชุมชนซึ่งเปนผูเผชิญเหตุมีความเขาใจในบริบททางสังคมและภูมิศาสตรของตัวเองดีที่สุด การสื่อสารโดยมวลชนเชื่อมโยงกันระหวาง Connection ที่เปนคนที่เคยรูจักกันมากอนแลว ความเขาใจและความไววางใจที่มีอยูเปนกุญแจสําคัญของการชี้ให node ปลายทางไดเริ่มตนความรวมมือกันและไดชูใหเห็นวาแตละพ้ืนที่จะมีใครเปนแกนหลักที่จะทํางานในชวงถัดไป ชวงฟนฟู ฝายทรัพยากรและ Logistic จะมีบทบาทมากที่สุดชวงหลังเหตุฉุกเฉิน เพราะ ในชวงที่พ้ืนที่ประสบภัยปลายทางยังตั้งตัวไมได การเสริมกําลังและการเขาไปชวยตั้งตนการจัดการโดยใชทรัพยากร ไมวาจะเปน ขาวกลอง นํ้าดื่ม ยา หรือ ขาวสารที่จะตองใชบริโภค

Page 87: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

86

ในชวงถัดไป ตางเปนสิ่งที่ใชแกไขสถานการณและสรางประสบการณในการลงมือจัดการตนเองในเวลาเดียวกัน นอกจากบทบาทในการนําของแตละฝายแลว เรายังพบวิวัฒนาการของการปรับตัว รวมตัว และการแตกหนอที่เกิดขึ้นระหวางการทํางานไปพรอมๆกัน งอกเปนภารกิจแยกยอยแตละดานไปไดอีก คือ ดานขอมูล – ชุมชน เม่ือทํางานไปไดสักระยะ เราพบวาฝายขอมูลและฝายชุมชนนั้นแทบจะเปนฝายเดียวกัน เพราะพ่ียา พ่ีมณเฑียร ที่ทําหนาที่ในการประสานงาน node หรือ ชุมชนปลายทางนั้น ตองทําหนาที่ในการสื่อสารและการจัดการขอมูลที่ชุมชนแจงกลับมา กระจายสื่อสารภายในศูนยใหทุกคนไดรับขอมูลทราบทั่วกัน โดยภายในศูนยนองๆ อาสาสมัครเปนผูชวยพิมพ/เขียนขอมูลที่ไดมาซึ่งตอนแรกเริ่มจากการรวมขอมูลเปนหนึ่งจังหวัด หน่ึง A4 กอน ตอมาพอขอมูลเริ่มมีความเคลื่อนไหวเขามาในจํานวนมากและมีความเร็วเพ่ิมขึ้น เราก็เปลี่ยนใชไวทบอรดตีตารางแบงแตละจังหวัด แลวแปะ Notepad ขนาด ½ กระดาษ A4 แสดงขอมูลความตองการของแตละพ้ืนที่ซ่ึงเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา พรอมกับรายงานสถานะการสง-รับ จํานวนสิ่งของที่สงเรียบแลวและคงคางกํากับไวในสวนทาย

รูปท่ี 6 บอรดส่ือสารขอมูลความตองการและความชวยเหลือใหภายในศูนยทราบขอมูลโดยทั่วกัน

ดานทรัพยากร-logistic หลังจากที่มีการสื่อสารภายในวาความตองการของแตละพ้ืนที่เปนอยางไร จํานวนเทาไร ฝายทรัพยากรและ logistic ซ่ึงทํางานแทบจะเปนเนื้อเดียวกัน ก็จะประสานของบริจาคที่ระดมมาไดขนสงจากตนทางไปยังคลังสินคาหรือที่เรียกกันติดปากวา Cargo ที่สนามบิน ซ่ึงที่น่ันจะมีการคัดแยก แบงตามจํานวน โทรแจงผูประสานงาน Node ปลายทางวา เครื่องบินจะไปถึง flight ไหน และเช็ควารายการสิ่งของตรงตามความตองการหรือไม จากนั้นจึงแพคใหเรียบรอยตามระบบการบิน ขนขึ้นเครื่อง จากนั้นจึงโทรเช็คซ้ําวาแจงผูประสานงาน Node ปลายทางไดรับสิ่งของครบตามจํานวนหรือไม เพ่ือที่จะไดแกปญหาในการระดมและการจัดสงตอไป ซ่ึงทั้งฝายขอมูลชุมชนและฝายทรัพยากร-logistic น้ีสามารถเขียนภาพโยงความสัมพันธในการทํางานรวมกันไดเปนภาพที่ 7

Page 88: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

87

ภาพที่ 7 กระบวนการทํางานรวมกันระหวางฝายขอมูลชุมชนและฝายทรัพยากร-logistic ดานการสื่อสาร สําหรับการสื่อสารภายในศูนยที่มีนองๆอาสาสมัครที่คอยวิ่งไปวิ่งมา เขียนแปะ เขียนแปะ และชวยประจํา Echolink เปลี่ยนกะชวยงานสื่อสารสูชุมชนแลว เรายังมีการสื่อสารสาธารณะไปสูภายนอกวาสถานการณพ้ืนที่ปลายทางและภารกิจที่ทางศูนยไดทําในแตละวันนั้นมีอะไรลุลวงและยังตองสานตอไปอีกใหคนภายนอกไดรับรูการทํางานและชองทางที่จะเขามามีสวนรวมได จุดนี้เปนสิ่งที่เราออกแบบไววาอยากจะใหมีการสื่อสารสูภายนอกที่ชัดเจน ฉับไวและตอเน่ือง แตเราก็ทํางานไดเต็มที่เพียงเทานี้จริงๆ เพราะกําลังคนของเราเองก็ไมเพียงพอที่จะรับมือกับหนางานซึ่งประสานเขามาสิบทิศอยูแลว ชวงแรกเราจึงแทบจะไมสามารถสื่อสารสาธารณะออกไปสูภายนอกไดเลยวา เราไดสงความชวยเหลือไปใหใคร ที่ใด และ จํานวนเทาไรไดบาง ทําใหเราตองใชเวลาในการทําความเขาใจคนนอกและอาสาสมัครที่เขามาใหมอยูพอสมควร ครั้งตอไปถามีอาสาที่มาชวยดานการสื่อสารสาธารณะไดโดยตรงนี่การทํางานของเราคงจะราบรื่นไดมากขึ้น สําหรับกระบวนการสื่อสารภายใน อยางที่เลาไปในขางตนวามีนองๆอาสาสมัครเขามาชวยทําขอมูลขึ้นบอรดแสดงความตองการในแตละพ้ืนที่พรอมกับสถานะความชวยเหลือใหทุก

Page 89: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

88

ฝายไดทราบขอมูลทั่วกันแลว ยังมีการสื่อสารภายในระหวางฝายที่ตองทํางานตอเน่ืองกัน คือ เม่ือฝายขอมูล-ชุมชน ไดแจงตอฝายทรัพยากรวาตองการของสิ่งใดจํานวนเทาไรเรียบรอยแลว ฝายทรัพยากรซึ่งแทบจะเปนรางเดียวกับฝาย logistic ก็จะประสานการขนสงตอและเช็คซ้ําวาปลายทางไดรับของเปนที่เรียบรอย แลวสื่อสารกลับ ฝายสื่อสารซึ่งทราบความคืบหนาของแตละฝายก็จะทําหนาที่คลายดาวเทียมกระจายขาวตอซ่ึงเขียนแทบดวยรูปภาพไดดังน้ี

ภาพที่ 7 ลําดับขั้นการสื่อสารระหวางฝายขอมูลชุมชนและฝายทรัพยากร-logistic ซ่ึงแนวทางในการปรับปรุงการทํางานของฝายสื่อสาร คือ นอกจากจะมีคนที่ดูแลอุปกรณ IT-support และวิทยุสื่อสารที่ใช Echolink ประสานกับทางชุมชนปลายทางแลว ยังควรจะมีฝายสื่อที่ทําหนาที่ชัดเจนอยางนอยหนึ่งคน ที่ทําหนาที่ประชาสัมพันธ Information ทําหนาที่เขียนขาว press ขาว ถึงการประสานงานกระจายขาวระดมของ ระดมอาสา ไมควรเอาไปรวมกับการกรองขอมูลชุมชน หรือ การติดตามขอมูลสภาพอากาศ เพราะที่จริงมันคนละเรื่องกันและคนที่ทํางานก็ควรจะโฟกัสและลงมือเร่ืองใดเรื่องหนึ่งใหชัด ถึงจะไดทํางานใหสุด ในขณะที่ฝายขอมูลซ่ึงทําหนาที่วิชาการ เตือนภัย ดูฝน หรือปรึกษาเรื่องเฉพาะทางก็ควรตองมีคนที่มาทําหนาที่ที่ชัดเจน นอกจากนั้นการถอดบทเรียนองคกรทุกฝายทั้งหมดก็ควรจะทําไปพรอมกันๆ ระหวางทํางานไปในตัว ดานการบริหารและดานอาสาสมัคร แมวาจะไมคอยมีใครกลาวถึง แตทั้งสองสวนนี้ แทจริงเปนกําลังหลักในการทํางานเลยทีเดียว เราโชคดีที่มีผูใหญที่ชวยตัดสินใจโฟกัสภาพรวมและเปนที่ปรึกษาที่ดีกับอาสาสมัครที่มาชวยงาน ระบบยังมีคนที่มีประสบการณในการจัดการอาสาสมัครที่มองเห็นภาพรวมทั้งหมดและรูขอมูลทุกฝายวาใครขาดแรงที่จะเขาไปชวยดานไหน

Page 90: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

89

และชวย recruit skill ของอาสา ใชเวลาและทําความรูจักแตละคน ซ่ึงเราก็ยังเจอปญหาเดิม คือ เราดูแลเคาไดไมทั่วถึง มีเวลาเรียนรูกันนอยเกินไป เลยรูจักอะไรจากเคาไมไดมาก ตองทํางานดวยกันไปสักพักถึงจะมองเห็นทักษะออกมาจากสถานการณ ซ่ึงพวกเอามักจะแสดงตัวออกมาเอง แลวเราคอยชอนเขาไปเขางาน จากการสรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ชวงที่กลาวมาคงจะพอที่จะทําใหเห็นบรรยากาศในการทํางานไปบางแลววา ความเปนจริงในการทํางานนั้นคนที่มาทํางานภายใตภาวะวิกฤติจะตองทําตัวเองใหมีความยืดหยุนสูง สามารถปรับตัวเขากับเง่ือนไขในการทํางานที่ เปลี่ยนแปลงอยู เสมอ ผู เขียนคิดวาบทเรียนจากการลองผิดลองถูกในประสบการณที่ผานมาและบทเรียนจากการทํางานในครั้งนี้ คงจะชวยฉายภาพโครงรางการทํางานของศูนยที่จะทําหนาที่เปน back office ในภาวะวิกฤต ใหคนที่จะเขามาเปนอาสาสมัครเดินหนาการทํางานในครั้งตอไป มุงไปขางหนาไดในเสนทางที่ชัดเจนขึ้นดวยแผนที่จากประสบการณที่เรารอยเรียงไวใหในครั้งน้ีแลว

Page 91: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

90

บทที่ 2 Part by part กาวยางแตละกาว เลาแบบ Part by part เลาการทํางานของแตละฝาย โครงสรางการทํางาน ในเชิงขอแนะนําการตั้งศูนย

เรื่อง ฝายที่ 1 มวลชน

- ดานมวลชนสมัพันธ - ดานการสื่อสาร

ฝายที่ 2 ทรัพยากร-logistic - ดานการจัดหาทรัพยากร - ดาน logistic

ฝายที่ 3 ขอมูล-ขาว - ดานสื่อ / การเผยแพรขาว - ดานวิชาการ - การจัดการขอมูลภายในศูนย

ฝายที่ 4 อาสาสมัคร - Volunteer recruit

ฝายที่ 5 บริหาร - สิ่งที่ตองมีตอนเริ่มศูนย

บทสรุปและแนวทางการปรับปรุงโครงสรางศูนยในอนาคต

Page 92: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

91

ฝายที่ 1 มวลชน หน่ึงเดือนที่ผานมากับงานอาสาสมัครใน ”ศูนยอาสาประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ” ระบบการดําเนินงานหลักของศูนยน้ีมาจากไอเดียหลักของ อ.ยักษ วิวัฒน ศัลยกําธร คนอ่ืนมองศูนยน้ีอยางไรไมรู แตผูเขียนคดิวามันควรจะ “เปนศูนยทีเ่กิดข้ึนมาเพื่อไมใหเกิดศูนย”

คือ มันควรจะเปนโครงขายที่ทั้งโยงและกระจาย ความชวยเหลือใหปลายทางชวยเหลือตัวเองได โดยระบบมันทํางานดวยตวัของมันเองคือ “ชุมชนทํางานใหชุมชน” ดวยการกระจายขอตอ (node) ประสานความชวยเหลอืออกไป การประสานงานในลักษณะในแมงมุมจึงเริ่มขึ้นตั้งแตวนัแรกที่มีศูนย โดยศูนยจะเปนตัวแมงมุม สวนทีมคนทํางานชุมชนในพื้น (หนาบาน) ก็เปนไดทั้งใยแมงมุมและเปนขาแมงมุมที่ทําหนาที่โยงความชวยเหลอื ใหแตละที่มองเห็นทรัพยากรหรือกําลังที่จะแบงปนกนัได การใชมวลชนสัมพันธและการสื่อสาร จึงเปน 2 สิ่งที่เราใชถักโยง เกี่ยวเอามาเปนเครื่องมือเบิกทางสูการใหความชวยเหลอืชุมชนปลายทาง

ดานมวลชนสัมพันธ

การเขามาของอาสาสมัครคนใตอยาง พ่ีมณจากระนอง พ่ียาจากตรัง พ่ีประยูรจากนํ้าเค็ม ซ่ึงเปนแกนนําชาวบานที่มีทักษะในการทํางานเชื่อมโยง เหตุการณน้ีเปนจุดสําคัญที่ทําใหศูนยสามารถตอติดกับคนที่ทํางานในพื้นที่ได เพราะพี่ๆ ทุกทานมีคุณสมบัติ คือ

1. รูจักสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมของชุมชน 2. มีความเขาใจในบริบทของพื้นที่และมีสายสัมพันธ (Connection) รูจักกับพ่ีนองในชุมชน

เครือขายที่ทํางานดวย 3. เขาใจสภาพการเมืองของทองถิ่น มีคนรูจักที่สามารถสงตอขอมูลความตองการและ

กระจายขาวสารไดอยางรวดเร็ว กลไกของการประสานงานที่มีอยูไมอาจขับเคลื่อนได ถาไมมีคนที่คณุสมบัติเหลานี้เขามาชวยงาน

ดานการสื่อสาร ถัดจากมีมวลชนสัมพันธแลว การสื่อสารตามมา การเชื่อมโยงเทคโนโลยีเขากับทองถิ่น

ผานการใชโทรศัพท social network และวิทยุสื่อสาร เปนอีกปจจัยที่ใชในการดําเนินงาน

Page 93: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

92

จากการดําเนินงานในครั้งน้ีเราพบวา เทคโนโลยีเปนตัวเรงที่ทําใหความชวยเหลือเขาถึงผูประสบภัยไดมากขึ้น อยางที่กลาวไปแลวในบทที่ 1 เพ่ือใหไดขอมูลที่ถูกตอง จึงตองมีการตรวจสอบขอมูลซํ้าใหตรงกันอยางนอย 2 ใน 3 จากเครื่องมือสื่อสารทั้ง 3 ชนิดที่แจงขอมูลเขามา ซ่ึงขอมูลที่ไดรับน้ันมีทั้งการรองขอความชวยเหลือรายบุคคลจากหนาเว็บ Thaiflood การแจงเหตุของ node จากชุมชน และการสงขอมูลความชวยเหลือที่ไดรับกลับมายังสวนกลาง สําหรับการประสานงานกับปลายทางนั้นยิ่งอยูในภาวะฉุกเฉิน จํานวนการสงขอมูลเขามาก็จะมีมาก และขอมูลก็จะมีความเปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก การสื่อสารทุกสายจึงตองมีการตรวจสอบขอมูลใหมีความถูกตองอยูเสมอ การทํางานจึงตองเปนระบบ คือ

1. ผูประสานงาน node ปลายทางที่รวบรวมขอมูลประเภทสิ่งของที่ตองการและจํานวนสิ่งของที่ตองการเปนจํานวนถุงยังชีพหรือจํานวนครัวเรือนไว

2. ผูประสานงาน node ปลายทางแจงขอมูลในขอ 1) แกผูประสานมวลชนที่กรุงเทพพรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองของขอมูลกับเครือขายในพื้นที่

3. ประสานมวลชนที่กรุงเทพ สงขอมูลใหกับฝายทรัพยากรใหระดมสิ่งของ และเม่ือไดสิ่งของมาฝาย logistic ก็จะสงสิ่งที่ตามที่แจงมาในขางตนลงพื้นที่ จากนั้นจึงโทรไปเช็คซํ้าวาไดรับตรงตามความตองการหรือไม อยางไร

รูปที่ 8 เสนทางการสื่อสารระหวางสวนกลางกับ node และชุมชน

Page 94: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

93

นอกจากสื่อสารเพื่อประสานของบริจาคแลว เรายังมีการสื่อสารเพื่อเฝาระวังภัยพิบัติซํ้าที่จะเกิดตอเน่ืองจากฝนที่ตกสะสมตอเน่ือง หลักในการทํางานก็จะเปนแบบเดียวกัน คือ รับสารและเช็คซ้ํา โดย

1. เม่ือนักวิชาการ แจงขอมูลพ้ืนที่เสี่ยงภัย เชน โคลนถลม หรือ นํ้าปาไหลหลาก มายังศูนย ศูนยก็จะใชวิทยุสื่อสาร ตรวจสอบสถานการณกับเครือขายวา มีความเสี่ยง เชน มีฝนตกตอเน่ืองหลายวันหรือไม นํ้าในลําหวยมีความขุนจากตะกอนดินผิดปกติหรือไม พ้ืนดินเชิงเขามีรอยดินแยกหรือไม

2. หากเครือขายในพื้นที่แจงกลับมาวามีความเสี่ยงดังกลาว ทางศูนยจะขอใหทางเครือขายดําเนินการแจงเตือนประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย

3. ระหวางนั้นจะมีการตรวจสอบซ้ําวา ในพ้ืนที่มีการแจงเตือนหรือมีการดําเนินการอพยพชาวบานหรือไม ซ่ึงหากเครือขายปลายทางตองการใหเราสนับสนุนเรื่องใด ก็จะมีการแจงกลับมาในขั้นตอนนี้

4. เฝาติดตามผล วาสถานการณเรียบรอยดีหรือไม หลังจากภาวะวิกฤตผานไปแลว ทางชุมชนมีความตองการอะไรเพิ่มเติม ก็ขอใหทางเครือขายแจงมา

สําหรับการสื่อสารเพื่อเตือนภัยน้ัน นายอนนต อันติมานนท เสนอสิ่งที่ควรปรบัปรุงเพ่ิมเติม 3 เรื่อง วา ‐ คําศัพทที่ตองใชตรงกันทุกฝาย เชน ฝนตกระดับ 5 หาของที่ศูนยกับของในพื้นที่ไมมีใคร

เทากันเลย เพราะฉะนั้น เราควรจะเรียกหนวยที่ใชในการวัดใหเทากัน ‐ ควรมีการวางแนวการสื่อสารลวงหนาวา อะไรควรใชวิทยุสื่อสาร อะไรควรใชโทรศัพท อะไร

ควรใชอินเตอรเนทเพราะเมื่อตองเช็คเหตุในพ้ืนที่ฉุกเฉิน มันจะสับสน และทุกขายจะตองมีระบบสื่อสารสํารองทันที และตองมีหนวยในการประสานงานมากกวาหนึ่งจุดในพื้นที่

‐ สวนในการบันทึกเหตุ ที่ผานมามีการบันทึกขอมูลไมครบถวน เชน ฝนตกเทาไรปริมาณเทาไร จะสงผลยังไง ระดับนํ้าจุดไหน มันควรจะมีขอมูลที่ถูกตองที่ชวยเทียบเคียงได เรามีภาควิชาการอยูระดับหน่ึงก็จริง แตถาเราเปนขอมูลที่ทางหนึ่งที่ถูกตองจากที่เคยเกิดขึ้นมาแลวน่ีมันจะเทียบเคียงได

Page 95: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

94

ฝายที่ 2 ทรัพยากร-logistic หากอยูในภาวะปกติการระดมทรัพยากรคงจะตองทําหนังสือขอความอนุเคราะห แจงจุดประสงค เปาหมาย วิธีการดําเนินงาน เพ่ือใหไดความรวมมือมาอยางเปนขั้นตอน แตเพราะความเดือดรอนไมเคยรอใคร และเพราะผูใหเขาใจในภาวะฉุกเฉิน ทําใหเราไดรับความรวมมือจากแหลงทุนเปนจํานวนมาก ซ่ึงมาจากความสัมพันธระหวางภาคี โดยเฉพาะภาคธุรกิจ ที่กาวขามเง่ือนไขและขอจํากัดตางๆ ทําใหการสงทรัพยากรตางๆเปนไปดวยความคลองตัว แสดงใหเห็นถึงพลังในภาคประชาชนอยางที่เกิดขึ้นในชวงที่ผานมา

ดานการจัดหาทรัพยากร กระบวนการระดมทรัพยากรหลักๆที่เกิดขึ้นในศูนยมาจากการใชความสัมพันธสวนบุคคลระหวางภาคีเครือขายอาสาสมัครแตละคน จากทุนทางสังคมในความเชื่อใจและความไววางใจที่มีตอกัน นําเอาสิ่งที่แตละคนมีโยงไปใหความชวยเหลือสูชุมชนปลายทาง เปนความสัมพันธในรูปแบบใหมที่ใชทุนทางสังคมซึ่งเปนทั้งกาวในการเชื่อมโยงความชวยเหลือเขาไปถึงกัน และเปนทั้งเกียรที่ขับเคลี่อนการทํางานใหคลองตัวกาวขามกฏเกณฑที่สรางขั้นตอนตางๆกั้นไวไปดวยพรอมๆกัน

ภาพที่ 9 ภาพแสดงทุนทางสังคมที่ใชในการโยงความชวยเหลือในภาวะภัยพิบตั ิ

Page 96: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

95

ดาน logistic

กระบวนการขนสง หรือ logistic น้ันประกอบดวย 2 สวนหลักๆ คือ 1) การประสานผูบริจาคในการขนของจากแหลงทรัพยากรจากโกดังหรือคลังตางๆ ไมวาจะเปนกรุงเทพ อยุธยา ไปยังจุดจัดการ(รวบรวม) ของบริจาคที่สนามบินหรือขนสงก็แลวแต 2) การแพ็คของบริจาคตามความตองการในพื้นที่แลวนับจํานวนใหตรงกับความตองการในพื้นที่แลวสงตอไปยัง node ปลายทาง ขอมูลความตองการความชวยเหลือที่ node ปลายทางจะเปนตัวกําหนดการระดมทรัพยาการ วาตองการของประเภทไหน จํานวนเทาไร ซ่ึงจากการขนสงของ เราพบวาสิ่งที่มีการสงลงไปมากที่สุดการ คือ อาหาร ทั้งขาวสารและปลากระปอง รองลงมา คือ ยาสามัญประจําบาน ซ่ึงกระบวนการขนสงจากแหลงหน่ึงไปยังอีกแหลงหน่ึงเปนดังน้ี 1. เริ่มจากผูประสานงานมวลชน โทรแจงยอดรวมความตองการความชวยเหลือในแตละ node

จังหวัด มาที่ฝายทรัพยากร 2. ฝายทรัพยากรจะประสานการขนสงสิ่งของจากโกดังตางๆ ลงไปยังจุดขนสงของฝงกรุงเทพ 3. ณ จุดขนสงของฝงกรุงเทพ เม่ืออยูภาวะในเรงดวน เราไดใชการขนสงโดยเครื่องบินเปน

หลัก จนเม่ือภาวะเรงดวนผานไปก็จะกลับมาใชรถบรรทุกตามปกติ ซ่ึงการจัดลําดับความชวยเหลือใหกอน-หลังน้ัน ผูประสานงานจะ recheck กับผูประสานงานวาสถานการณในพ้ืนที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม จํานวนความตองการยังคงเทาเดิมหรือไม

4. เม่ือ node ปลายทางไดรับของ ก็จะมีการจัดหารถขนสงของไปแจกจายตามชุมชนตอไป

ภาพที่ 9 การขนสงของบริจาคในภาวะฉกุเฉิน

Page 97: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

96

ฝายที่ 3 ขอมูล-ขาว การสื่อสารขอมูลและขาวตางๆ ในระยะเริม่ตนการทํางานนั้นมีขอจํากัดหลายประการ เพราะเราขาดอาสาสมัครที่มีทักษะและประสบการณดานสื่อ และยังขาดคนที่จะคอยโฟกัสขอมูลทั้งดานวิชาการและการ press ขาว เพ่ือที่จะสื่อสารขอมูลภายในไปสูภายนอก ใหรับรูวาสิง่ที่เรากําลังทาํคืออะไร ดังน้ัน ในการทํางานครั้งหนา เราควรจะแบงเปนการสื่อสารภายในศูนย สื่อสารชุมชน สื่อสารสาธารณะ โดยที่แตและสวนจะตองมีอาสาสมัครที่รับผิดชอบและสงตองานกันอยางตอเน่ือง ดานสื่อ / การเผยแพรขาว การประชาสัมพันธและ press ขาว ประสานงานกระจายขาวระดมของ ระดมอาสาเปนกิจกรรมที่เพ่ิงลงตัวหลังวันที่ 8 ของการดําเนินงาน ซ่ึงงานภาวะฉุกเฉินไดผานไป จากการดําเนินงาน เราพบวา ไมควรเอาในสวนนีไ้ปทําหนาที่รวมกับการกรองขอมูลชุมชน หรือ การติดตามขอมูลสภาพอากาศ เพราะที่จริงมันคนละเรื่องกนัและเปนการแบกภาระเยอะเกินไป ทําใหทํางานไดไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร ดานวิชาการ ขอมูลทางอุตุนิยมวิทยา เชน ปริมาณน้ําฝน ความเร็วลม และความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับชุมชน ทั้งนํ้าหลากและโคลนถลมเปนInformation ที่เราประเมิน ตรวจสอบ และแจงเตือนชุมชน ถาตรงนี้มีคนของพื้นที่เองเลยการประเมินและประสานเรื่องตางๆ ก็จะแมนยํามาขึ้น สําหรับการทํางานที่ผานมาอาสาสมัครในศูนยจะไมไดเปนคนทําขอมูลเชิงรุกดานความเสี่ยงจากภัยพิบัติเอง แตทางศูนยจะไดรับความชวยเหลือจาก นักวิชาการทั้งดร.รอยล จิตรดอน ผูอํานวยการสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร และคุณไกลกอง ไวทยการ หัวหนาฝายสงเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มูลนิธิกองทุนไทย ไดสงประมวลผลและแจงเตือนใหเราแจงเตือนชุมชนอีกที การจัดการขอมูลภายในศูนย การจัดการขอมูลภายในศูนย เริ่มจากภายในหองยังมีการหอยปายบอกชื่อฝายไวเหนือหัว เพ่ือใหสะดวกกับอาสาสมัครที่เขามาใหมจะไดรูวาฝายไหนอยูตรงไหนของหอง จะไดไปประสานงานถูกซึ่งเม่ืองานเขามาเราจะใชกระดาษ Notepad เขียนขอความ 1 แผน ตอ 1 เร่ือง เพ่ือสะดวกตอการมองหา เชน เรื่องที่แจงเขามา 1 เคส ก็เขียน 1 เร่ืองน้ัน ลงบนกระดาษ 1

Page 98: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

97

แผน หรือมีผูที่ประสงคจะบริจาคเขามา 1 ราย เราก็จะบันทึกไวบนกระดาษ 1 แผนเชนกัน แลวกระดาษเหลานี้ก็จะถูกแปะอยูบนบอรดหรือผนังหองแบงตามหมวดหมูของภารกิจ เชน วันแรกที่โดนน้ําหลาก เรามีบอรด 2 บอรดที่อยูคูกันคือ บอรดแจงขอความชวยเหลือ และ บอรดแหลงของหนวยกูภัย สวนวันที่ 2 บอรด 2 บอรดที่ตามมาคูกันคือ บอรดความตองการของบริจาค(need) และ บอรดแหลงผูใหของบริจาค(Give) วันที่ 3-4 มีบอรดผูประสาน node แตละจังหวัด รวมถึงการอัพเดทรายการใหความชวยเหลือและความตองการที่ยังรอคอย นอกจากนั้นยังมีการแปะบันทึกการประชุมรายวันที่ถอดบทเรียนรายวันเอาไวใหเห็นความคืบหนาดวย

รูปที่ 11 บรรยากาศและการจัดการขอมูลในศูนยโดยใช notepad

สําหรับนักจัดการมืออาชีพอาจจะมีขอสงสัยวาทําไมเราไมใชฐานขอมูลในคอมพิวเตอรหรือใช server แชรขอมูลกัน ผูเขียนขอแจงวา เหตุผลที่เราใชการสื่อสารขอมูลภายในดวย hard copy อยางบอรดหรือกระดาษนี้ ก็เพราะชวงแรกๆ เราขาดคนที่จะทํางาน It support ทั้งการติดตั้งคอมพิวเตอร ปริ๊นเตอร เซ็ทวง LAN แตเรายังขาดสิ่งที่ตองการมากที่สุด คือ intranet ที่จะใชเก็บขอมูลและแชรขอมูลตรงกลางใหเห็นไดทั่วกัน ซ่ึงเราเคยขอความเรื่องนี้จากองคกรแหงหน่ึงไปแลว แตเคาก็ไมสามารถจะใหบริการเราใชได เพราะติดปญหาเรื่องลิขสิทธ เราจึงไดสื่อสารกันแบบ manual กันทั่วทั้งหอง ซ่ึงนั่นก็ทําใหการทํางานของเรามีสีสันและมีความเปนมนุษยไปอีกแบบ

Page 99: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

98

ฝายที่ 4 อาสาสมัคร

เม่ือคนหนึ่งคนเดินเขามาเราจะใหเขาไปชวยงานอะไร เม่ือคน 4 คน เดินเขามา เราจะใหเขาไปชวยตอมือไดที่ฝายไหน เม่ือคนกลุมใหญๆ เขามาพรอมๆกัน เราจะทําใหเขาเขาใจสิ่งที่เรากําลังทําไดอยางไร Volunteer recruit เปนคําตอบของจัดการอาสาสมัคร

Volunteer recruit

การทํางานนี้ตองมีคนที่มองเห็นภาพรวมทั้งหมดและรูขอมูลทุกฝายวาใครขาดแรงที่จะเขาไปชวยดานไหน และยังตองมีคนที่ recruit skill ของอาสาเปน ไมปลอยอาสาทิ้ง ตองใหเวลา และทําความรูจัก เพราะแตละคน เพียงแวบแรก เรารูจักอะไรจากเคาไมไดมาก เม่ือทํางานดวยกันไปสักพักทักษะจะแสดงออกมาใหเห็นจากสถานการณ แลวเราคอยชอนเขาไปเขางาน บทเรียนในครั้งน้ีเผยใหเห็นขั้นตอนในการจัดการอาสาสมัครวาประกอบดวย 1. ดานแรก ตองมีโตะรับอาสาสมัครตั้งอยูหนาหอง เพ่ือใหอาสาสมัครที่มาใหมไดลงทะเบียน

กรอกชื่อ ที่อยู อีเมล เบอรโทรศัพท สําเนาบัตรประชาชนไว เพ่ือเก็บไวเปนบันทึกสําหรับการติดตามงานและการระดมอาสาสมัครครั้งถัดไป

2. ดานที่สอง พออาสาสมัครเขียนในลงทะเบียนเสร็จ ก็จะมีการปฐมนิเทศพรอมๆ กันวาศูนยเราทํางานเพื่ออะไร มีการแบงฝายการทํางานอยางไร มีกระบวนการทํางานอยางไร ระหวางน้ันเราก็จะดูการตั้งคําถามของอาสาสมัคร ระหวางนั้นก็อานทักษะหรือความสามารถของอาสาสมัครไปดวยวาเคามีพ้ืนฐานดานไหน

3. ดานที่สาม ถามอาสาสมัครแตละคนวาสมัครใจที่จะชวยงานดานใด และงานดานใดที่มี connection ในการระดมทรัพยากร หรือมีความสามารถพิเศษอะไรบาง

4. ดานที่สี่ ใหเขาลงไปทํางาน โดยเริ่มจากไปชวยคนที่ทํางานเปนตัวหลักอยูกอนแลว ใหคนที่เปนตัวหลักเปนพ่ีเลี้ยง สอนระบบการทําและการเก็บขอมูลเพ่ือสงตองาน ระหวางนั้นก็คอยดูวาเขามีปญหาที่ตองการใหเราชวยเหลืออยางไรบาง หรืออบรมเฉพาะทางใหถาเคาพรอม

5. ดานที่หา เม่ือเสร็จภารกิจก็จัดการถอดบทเรียนอาสาสมัครรวมกัน แตจากการจัดกิจกรรมไปแลว เราก็พบวาอาสาสมัครยังไมไดรับการใหความสนใจเทาที่ควร อาจเปนเพราะกิจกรรมของเราสั้นและเราแจงการนัดประชุมกระชั้นเกินไป

สําหรับการปรับปรุงการสงตองานของอาสาสมัครซึ่งจรมาและจรไปใหตอเน่ืองน้ัน มีผูเสนอความคิดวา ควรจัดตารางคนทํางานและแจงใหทราบเพื่อทราบเวรและงานในระยะยาว ควรจะมีการทําแฟมงานแตละ job หรือแตลพ้ืนที่ เหมือน log book ที่ใชบันทึกในการใชวิทยุสื่อสาร ใหที่คนที่เขามาทํางานตอไดรูงานที่ทํามาแลวและเอาขอมูลมาทํางานไดทันทีไมตองเสียเวลาไปคนหาดวยตัวเอง

Page 100: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

99

บทที่ 5 บริหาร สําหรับการบริหารจัดการในศูนยน้ัน เราโชคดีที่ไดผูใหญมาชวยใหทําปรึกษาและตัดสินใจ โดยทําหนาที่โฟกัสภาพรวมแลวใหสิทธิ์การจัดการแกอาสาสมัครที่เยาวกวา โดยไมมีบทบาทแทรกแซงมากเกินไปไป มอบอํานาจการตัดสินใจใหคนทํางานอยางเต็มที่ ซ่ึงการบริหารจัดการศูนยน้ันยอมขึ้นอยูกับอัตลักษณของแตละคนที่มาทํางานบริหารอยูแลว บทความในสวนน้ีจึงขอเสนอการเตรียมอาสาสมัครและอุปกรณที่จะใชในการบริหารศูนย เพ่ือที่จะเปนคูมือในการตั้งศูนยสําหรับการจัดการครั้งถัดไปนาจะเกิดประโยชนในเชิงรูปธรรมตอคนที่อาจตองเผชิญภาวะนี้อีกครั้งอยางแนนอน นอกจากทํางานกวางๆที่มีฝาพนังใหแปะงานและมีกระดานแลว วัสดุ อุปกรณสํานักงาน และอาสาสมัครแตละฝายที่เพียงพออยางนอยที่สุดควรจะมีในการเริ่มทํางานครั้งตอไปดังตาราง

จํานวนอุปกรณที่ตองการในการเริ่มศูนย จํานวนอาสาสมัครที่ตองการในการเริ่มศูนย อุปกรณ จํานวน (ชิ้น) อาสาสมัคร จํานวน (คน)

โตะประชุม 6 ฝายชุมชน 3 คอมพิวเตอร 4 ฝายสื่อสาร 1 Printer 2 ฝายขาว 1 Projector 1 ฝายวิชาการ 1 โตะทํางาน 8 ฝายทรัพยากร 2 เกาอ้ี 15 ฝาย logistic 3 โทรศัพท 5 ฝายอาสาสมัคร 2 FAX 1 ฝายสวัสดิการดูแลขาว/นํ้า 1 โทรทัศน 5 ธุรการ / การเงิน 1 แผนที่จังหวัด n/a

ปากกา/ดินสอ 30

Scotch tape 5

กระดาษ 3 รีม

Flip board 3

high speed internet 2

ปลั๊กไฟ 5

Post it >10

Page 101: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

100

สวนเอกสารทีท่างศูนยจะตองมีไวใชในการทํางานควรจะเริ่มดวย 1. ใบลงทะเบียนอาสาสมัคร

รายละเอียดประกอบดวย ชือ่ เบอรโทร อีเมล ความถนดั เวลาสะดวก และมาจากเครือขาย

2. เอกสารติดตามการขนสง เชน ตารางสายการบิน เวลาเครื่องออก การประสานรถที่จะขนสงสูปลายทาง เพราะการของตองไปถึงกอนสนามบิน 3 ชั่วโมง การติดตอคนชวยขนของกอนเวลาเครื่องออก 4 ชั่วโมง ตองมีการประสานงานคนรับของที่สนามบินขาไปและปลายทาง โดยทราบชื่อ และเบอรโทร เพ่ือประสานงาน ขนสงทางรถติดตอจุดสงของและปลายทาง กําหนดจํานวนและเวลา คนปลายทางที่จะมารับใหเบอรโทรทั้งสองฝายเพื่อติดตอกัน รายละเอียดของการขนสง ประกอบดวย - ประเภทของรถ (กระบะ 1-3 ตัน, รถ 6 ลอ 12-15 ตัน, รถ 10 ลอ 17-20 ตัน) - เวลาขนของ โดยประสานงานกับเจาของรถ และสถานที่ที่ไปรับ โดยใหเบอรทั้งสอง

ฝาย เพราะอยางในกรุงเทพ รถ 10 ลอ จะมีปญหาในการวิ่งกลางเมืองกรุงเทพ เชน สีลม สุขุมวิท ฯ

- สถานที่ตาง ๆ เพ่ือระบุเสนทางการเดินทาง เพ่ือประหยัดเวลาและคาใชจาย - ขึ้นตารางของบริจาค ใหทราบน้ําหนัก เพ่ือจัดรถใหอยางเหมาะสม เตรียมเอกสารที่

บรรจุไป และลงรายละเอียดสินคา รวมถึงคนปลายทาง โดยกําหนดคนรับ ทราบเบอร

3. เอกสารสําหรับฝายทรัพยากร - การหาของบริจาคตามตารางความตองการ / บันทึกของบริจาคและเงินสนับสนุน - ขึ้นกระดานและประสานงานกับการขนสง / บันทึกความตองการและปญหาของแตละ

พ้ืนที่ - list เบอรโทรศัพทเครือขาย ฯ - list เบอรโทรศัพทผูสนบัสนุน และ supplier

4. การจัดการของบริจาคและการขนสง - ตารางความตองการ แยกประเภทของ จํานวนที่ชัดเจนและพื้นที่ทีต่องการ พรอม

จํานวนคนที่เดือดรอนโดยมี ชื่อผูแจง เบอรโทร สถานที่หรือพิกัดที่ตองการ สินคาที่ตองการ

- ตารางสินคาทีบ่ริจาค ระบสุินคา นํ้าหนัก จํานวนชิ้น นํ้าหนักรวม เพ่ือสะดวกในการขนสง

Page 102: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

101

- ระบุการขนสง วาสงมาเองพรอมคนที่ขนของหรือไม หรือใหเราดําเนินการขนหากใหเราดําเนินการขนสง ติดตอหนวยหาของสนับสนุน เพ่ือประสานกับคนที่ปลายทางที่ตองการของขอทราบเบอรคนประสานงาน สถานที่และเวลาทีส่ะดวก

- ติดตามสินคาและการสงสินคา โดยมีเอกสารกํากับเปนรายละเอียดของ เพ่ือใหตรงกับความตองการ ทําตารางการเดินทางและการขนสง โดยระบุสินคา คนติดตอปลายทาง คนที่ดูแลที่สนามบินวันนั้น บันทึกปลายทางรับของ รวบรวมตามเอกสารขึ้นตารางตามวัน

- นอกจากนั้นควรมีการถอดความรูเร่ืองการแพคของบริจาควา ในสถานการณภัยไหน ควรแพคของที่จําเปนอะไรไปใหบาง และของแตละชนิดความมีจํานวนเทาไร ควรมีปริมาณเทาไร ควรมีนํ้าหนักเทาไร จึงจะเหมาะสมกับการขนสงและตอบสนองความตองการของผูประสบภัย

- ตารางเงินที่บริจาค ระบุวันที่ เวลา ชื่อคน เบอรโทร เปาหมาย เพ่ือดําเนินการ

บทสรุปและแนวทางการปรับปรุงโครงสรางศูนยในอนาคต จากการระดมสมองเพื่อถกกันวาหากจะตองมี warroom ที่ประสานงานกับชุมชนในลักษณะ node แบบน้ีอีก เราควรจะแบงฝายในการทํางานอยางไร เราก็ไดขอสรุปวา ควรมีอยางนอยที่สุด 5 ฝายแบบนี้ ถือวาโอเคแลว แตถามีอาสาสมัครที่มีศักยภาพและมีจํานวนเพียงพอ (เนนวามีคนพอ) สําหรับทํางานระยะยาวหรือลงลึกไปกวานั้น เราควรจะแบงฝายในการทํางานออกเปน 10 ฝาย คือ

1. ฝายวิชาการ ดูแผนที่อากาศ รับขาว ประเมินความเสี่ยง หากสามารถทําไดควรจะจัดอบรมใหทุกคนทั้งชาวบานและอาสาสมัครมีความรูดานการภูมิอากาศ ภูมิศาสตรและสื่อสารกันในหนวยมาตราวัดเดียวกัน ไปจนถึงการติดตามขอมูลเพ่ือเฝาระวังความเสี่ยงและตัดสินใจที่จะจัดการตนเองทั้งการปองกันภัยและการอพยพ โดยไมตองรอคําสั่งจากภายนอก

2. ฝายประชาสัมพันธ (PR เขียนขาว) ทําหนาที่กรองขาว รายงานขาวที่ไดรับจากภาคชุมชน กระจายไปยังสื่อสาธารณะวาเราทําอะไร กระจายความตองการ ไดรับของมาจากไหน ไดสงของไปไหน จํานวนเทาไร ชี้แจงเรื่องการเอาความชวยเหลือไปใช

3. ฝายขอมูล-ชุมชน ทําหนาที่ประสานงานองคกรพื้นที่ – เชื่อมโยงอํานาจจากสวนกลาง หากเปนไปไดควรทํา map เครือขาย ชี้ใหเห็นความสัมพันธระหวางพื้นที่และประเด็นตางๆ โดยระบุ key

Page 103: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

102

person วา คนติดตอที่ชื่อน้ีติดตอเร่ืองอะไร สายใด โดยทําเปน plate เปน Area base เปนจังหวัด เปนทั้งแผนภาพ ไฟลงาน และทําเปนแฟม hard copy เชน เคสสุราษฏรธานีธานี ก็แฟมสุราษฏรธานีธานี เคสนครศรีธรรมราชก็แฟมนครศรีธรรมราช รายงานขอมูลขอเท็จจริงตางๆ เพ่ือสะดวกที่สําหรับคนที่จะมาทํางานตอมือกัน

4. ฝายทรัพยากร มีหนาที่หลัก คือ ระดมทรัพยากรจากแหลงทุน ประสานนําเขา สงตอทรัพยากรที่ไดไปให logistic ซ่ึงสําหรับการทํางานอีกในครั้งหนา เราคิดวาเราพบ Sequence จากประสบการณเดิมในครั้งน้ีอยูแลว เราควรจะเตรียมการลวงหนาในพื้นที่เสี่ยง โดยเฉพาะการประสานแหลงทุนหรือทรัพยากรในพื้นที่โดยมีการทําบัญชีเครือขายผูให (บริจาค) หรือมีกองทุนสําหรับชวยเหลือผูประสบภัย โดยกลุมคนที่ keep connection ใหรวมกันดวยประสบการณรวมในครั้งน้ี keep paper เอาทั้งคนและชุดความรู สําหรับปะติดปะตอประยุกตใชใหมในภาวะฉุกเฉินครั้งถัดไป

5. ฝาย logistic ทําหนาที่จัดสงทรัพยากรจากแหลงทุน ไปยังจุดขนสงกรุงเทพ และประสานทรัพยากรจาก Node ไปสูปลายทาง ซ่ึงการทํางานในครั้งถัดไปจะตองจัดลําดับพาหนะตามความสําคัญในการขนสง เชน จะใชเครื่องบิน ก็ตอเม่ือเสนทางเดินรถถูกตัดขาด ชุมชนประสบภัยหนัก ตองการความชวยเหลืออยางเรงดวน ของที่จะสรางความเสียหายกับเครื่องบินไวสงทางรถตามไปทีหลัง

6. ฝายสื่อสาร (Communication) เปนฝายที่มีคนประจําเครื่องมือสื่อสาร ประสานวิทยุสื่อสาร ดูแลเครื่องมือสื่อสาร การทํางานครั้งตอไปจะตองกําหนดวาการสื่อสารประเภทใดเรื่องใดใชอุปกรณใดสื่อสาร เชน โทรศัพทใชแจงของอาหาร ขาวสาร นม, วิทยุสื่อสาร ใชคุยแจงการเตือนภัยเสื่ยง, Twitter ใชเช็คขอมูลการไดรับความชวยเหลือ คิดเหมือนกันครับจริงๆแลว มันควรจะมีใครแตละฝาย อยางฝายวิทยุที่ผมทําเนี่ย ขอมูลสงตอสถานการณสี่หาวันกอนที่ผมจะมาเนี่ยไมมี วาสามารถประสานงานที่ไหนไดบาง ซ่ึงศักยภาพในการทํางานมันจะลดลงทันทีเลยเพราะมันไมรู ทีน้ีขอมูลพ้ืนฐานที่ทุกฝายตองมีอยางแฟมเน่ีย ขอมูลทางภูมิศาสตรมันควรจะมีทีมละชุดจะไดไมตองแยงกันดู มันจะลดเวลาไปไดเยอะ

7. ฝายอาสาสมัคร ทําหนาที่ recruit อาสาสมัครที่ walk-in เขามาใหไปถึงงานที่มีความตองการคนที่มีทักษะนั้น การทํางานในครั้งหนาควรมี presentation แนะนําอาสาสมัคร หรือ มีโครงสรางที่ชี้แจงใหเคาเขาใจอยางชัดเจน Facebook แสดงโครงสรางใหเขาใจลวงหนากอนอาสาเดินเขามาจะชวยลดเวลาในการสรางความเขาใจเรื่องศูนยของอาสาสมัครดวย

Page 104: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

103

8. ฝายที่ปรึกษาประจําศูนย / อาสาเฉพาะทาง เชน แพทยที่ใหคําปรึกษาในภาวะที่วิกฤตถึงชีวิต นักวิชาการดานอุตุนิยมวิทยา นักภูมิศาสตรที่ใหคําปรึกษาเรื่องแผนที่ ฝายเทคโนโลยี IT-support ดูแลอุปกรณ ทั้งโทรศัพทดาวเทียม และคอมพิวเตอร

9. ฝายธุรการและการเงิน ทําหนาที่ดูแลการใชเงินเพ่ือบริหารศูนยอาสาสมัครและการใชจายเงนิบริจาค สรางความโปรงใสในการใชเงิน โดยแจงวารับมาเทาไร ไปเทาไร ถึงไหนเทาไร รวมไปถึงอาจจะไปชวยคิดเรื่องการจัดการเงินเพ่ือฟนฟูตนเองในระยะยาวของชุมชนตอไป

10. ฝายบริหาร ฝายเบรก และ ฟนธง ทําหนาที่ดูแลการดําเนินงานในภาพรวมของศูนยอาสาสมัคร ในอนาคตควรจะกําหนดวัฒนธรรมการทํางานใหมีการประชุมทั้งชวงเชาและชวงเย็นเปน Morning brief และ night brief อยางตรงเวลาและสม่ําเสมอ นอกจากนั้นยังจะตอง Chart organization โยงวาใครเชื่อมอะไรอยู เพ่ือที่อาสาสมัครที่มาใหมจะไดทราบวาตองวิ่งไปหาวาใครสายไหน พัฒนาตอจาการ Post-it บนผนังซ่ึงมองหาความเชื่อมโยงไมออก สําหรับการทํางานในฝายนี้ เราตองการคนที่มีประสบการณการทํางานในภาวะวิกฤตที่มีทักษะในการบริหารคือ สามารถขับเคลื่อน เบรก ตัดสินใจ และฟนธงในงานตางๆ ไดอยางแมนยํา พรอมทั้งมีสติในการทํางานดวย

ซ่ึงสําหรับฝายทั้งหมดที่กลาวมาผูเขียนคิดวา เราควรจะมีการตั้งวงเพื่อนที่มีสัญญาใจ

รวมกันในอนาคต หากเกิดภาวะวิกฤตเชนนี้แลว เราจะมารวมตัวกัน ชวยเหลือกันแบบนี้อีก ผูเขียนขอตั้งชื่อกลุมที่เกิดขึ้นและจะเกิดขึ้นจาก warroom น้ีวา “กลุมเพื่อนยามวิกฤต หรือ Crisis friend” เพ่ือที่จะยึดโยงความทรงจําดีๆที่เราเคยสรางรวมกันไว และถามีภาวะที่ตองการเราอีกเม่ือไร เราจะกลับมารวมตัวกัน

Page 105: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

104

รูปที่ 12 กลุมเพ่ือนยามวิกฤตทั้ง 10 ฝาย

Page 106: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

105

(ราง) ขอเสนอเบ้ืองตนแผนงานปฏิรูปการจัดการนํ้าอีสาน

คณะอนุกรรมการปฏิรูปที่ดิน ทรัพยากร สิ่งแวดลอม และน้ํา

Page 107: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

106

(ราง) ขอเสนอเบื้องตนแผนงานปฏิรูปการจัดการนํ้าอีสาน

คณะอนุกรรมการปฏิรูปที่ดิน ทรัพยากร สิ่งแวดลอม และน้ํา

1.หลักการและเหตุผล ทําไม ปฏิรูปประเทศไทย ตอง ปฏิรูประบบการจัดการน้ํา?

นํ้า เปนสิ่งที่ขาดไมไดสําหรับทุกชีวิต มนุษยเปนผูมีสวนสําคัญที่ทําใหสมดุลของน้ําบนโลกเสียไป มนุษยใชนํ้ามากเกินกวาความจําเปนพ้ืนฐานที่ควรจะใช กิจกรรมหลายๆ อยางของมนุษยแยงนํ้าไปจากปา แยงนํ้าไปจากปลา และสิ่งมีชีวิตชนิดอ่ืน และนับวันมนุษยจะเขาใจเรื่องนํ้าที่เชื่อมโยงกับฐานทรัพยากรอื่นนอยลงเรื่อยๆ หลายกรณีก็แกลงทําเปนไมรูไมชี้ หรือหาเหตุผลอ่ืนๆ มากลบเกลื่อน บายเบี่ยงเพื่อแยงนํ้าไปจากสิ่งมีชีวิตอ่ืน หรือแยงไปจากมนุษยดวยกันเอง เพ่ือผลประโยชนของกลุมตน

นํ้าบนโลกไมไดมีมากขึ้นหรือนอยลง แตวัฏจักรที่นํ้าเคยหมุนเวียนเปนไอน้ํา นํ้าแข็ง และของเหลวอยางสมดุลในระบบตางหากที่ผิดเพี้ยน ทําใหดูเสมือนวาทําไมบางพื้นที่แหงแลงขึ้น แลงยาวนานขึ้น หรือบางแหงกลับมีนํ้ามากเกินไปจนทวมซํ้าซาก หรือไปทวมเอาชวงเวลาที่ไมควรจะทวม เปนตน เราคงปฏิเสธไมไดวากิจกรรมของมนุษยเปนสวนสําคัญที่ทําใหสิ่งเหลานี้เกิดขึ้น ปญหาจึงใหญโตเกินกวามนุษยเพียงคนเดียว หรือประเทศหนึ่งๆ จะแกไขไดทั้งหมด แตอยางนอยหลายๆ ชุมชนบนโลกใบนี้ก็ไดเลือกใชวิถีชีวิตที่เอ้ืออํานวยตอธรรมชาติมากขึ้น ดํารงชีวิตที่สมดุลอยูบนพ้ืนฐานของศักยภาพทรัพยากรที่ตนเองมี รวมไปถึงทรัพยากรน้ําที่เปนเรื่องสําคัญตอชีวิตและการผลิตอาหาร

สถานการณปญหาในปจจุบัน การทบทวนอดีต หันกลับไปมองภูมิปญญาดั้งเดิม จึงไมใชการจํายอม การสิ้นไรหนทาง หรือ การขาดซึ่งเทคโนโลยี แตเปนการมองอยางเขาใจวาบรรพบุรุษของเราอยูรอดมาไดอยางไรนับพันๆ ปทามกลางฝนแลง นํ้าทวม โดยที่การจัดการในอดีตนั้นไมไดมีเทคโนโลยีชั้นสูงอะไร แตมีปญญาที่จะเขาใจสภาพพื้นที่ เขาใจพฤติกรรมของน้ํา เขาใจรอบวัฏจักรของฤดูกาล แลวนํามาวางแผนจัดการชีวิต และจัดการการผลิตใหสอดคลองกับสภาพดังกลาว จนกลายเปนวิถี มีการสั่งสม วิวัฒน สืบทอด จนกลายเปนวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหวาง มนุษย ธรรมชาติ และปรากฏการณเหนือธรรมชาติ หรือเรียกอยางสั้นๆ วา “นิเวศวัฒนธรรม, ภูมินิเวศ หรือ ภูมิสังคม” แลวแตจริตจะนําไปใช แตความหมายก็คลายๆ กัน คือ ความเขาใจพัฒนาการของสังคมมนุษยผานความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษย มนุษยกับธรรมชาติ และมนุษยกับสิ่งเหนือธรรมชาติ

Page 108: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

107

ดังนั้น ในภาคเหนือจึงมีระบบเหมืองฝายที่เหมาะสมกับพ้ืนที่สูงที่เต็มไปดวยปาเขาและภูดอยสลับซับซอน มีพ้ืนที่ราบนอย การมีลําเหมืองลัดเลาะไปตามไหลเขาซึ่งรับนํ้ามาจากลําน้ําที่ทดใหสูงขึ้นเล็กนอยโดยฝายพื้นบานที่ทํามาจากวัสดุธรรมชาติ เพ่ือสงไปตามลําเหมืองกระจายไปสูแปลงนาเล็กๆ ตั้งแตที่สูงจนถึงที่ลุมควบคูกับการรักษาตนน้ํา ปาเขา นับเปนระบบที่เหมาะสม ขณะที่ภาคอีสานเปนพ้ืนที่แลงนาน เปนที่ราบกวางใหญสลับกับเนินดินเนินเขาเล็กๆ ตนนํ้าของอีสานจึงไมไดมาจากบนภูสูงเทานั้น แตมาจากทุกพื้นที่ นํ้าอีสานมาเร็ว ไปเร็ว และมีพ้ืนที่หลากทวมในฤดูฝนตามริมแมนํ้า และปากแมนํ้าเชนปาบุง ปาทาม แตเกือบทั้งหมดไหลไปลงแมนํ้าโขง การจัดการน้ําของอีสานจึงมีความหลากหลายสูงมาก ตั้งแตการเลือกใชพันธุขาวที่อายุสั้นเก็บเกี่ยวเร็วในพื้นที่ดอน การเลือกใชความสูงของคันนาหลายระดับเพ่ือเก็บนํ้า การทําฝายดิน ลําเหมือง ทํานบเบนน้ํา-เก็บนํ้า ระหัดวิดน้ํา การใชนํ้าจากบึง หนอง บุง กุด เพ่ือทํานาทาม รวมถึงการขุดสระ หรือ ตะพัง ในชุมชน เพ่ือเก็บนํ้าไวใชสอยในครัวเรือน การรองนํ้าฝนไวกิน และการขุดบอนํ้าตื้นไวใช เปนตน สวนภาคกลางนั้นเปนที่ราบลุมดินตะกอนกวางใหญ สวนใหญเปนดินเหนียวอุมนํ้าดี การรับนํ้าหลากในหนาน้ํา แลวเลือกใชพันธุพืชที่สามารถอยูกับนํ้าไดเปนภูมิปญญาที่นาอัศจรรย โดยเฉพาะขาวขึ้นน้ําที่เปนพันธุขาวที่ดีที่สุดพันธุหน่ึงของโลก คือ ปนแกว การยกรองสวนที่เปนทั้งพ้ืนที่รับนํ้า ระบายน้ํา และเก็บนํ้าไวใชในหนาแลงไปในตัว รวมถึงการขุดคลองเชื่อมตอในทุกพื้นที่เพ่ือเก็บนํ้า ระบายนํ้า และเปนเสนทางคมนาคม การสรางเรือนยกพื้นใตถุนสูง ซ่ึงเปนการแสดงใหเห็นถึงความออนนอมตอธรรมชาติ เปนภูมิปญญาที่มากกวาการจัดการน้ํา สวนภาคใตและภาคตะวันออกมีลักษณะที่คลายคลึงกัน คือมีปริมาณน้ําฝนสูง มีแมนํ้าสายสั้นๆ ที่ไหลลงมาจากเทือกเขาแลวไหลลงทะเล มีพ้ืนที่เชื่อมตอระหวางทะเลกับนํ้าจืดเปนปาชายเลน ปาพรุตามที่ลุมและปากแมนํ้า ในอดีตการทํามาหากินตามฤดูกาลและเก็บเกี่ยวผลผลิตจากธรรมชาติเปนสิ่งที่เพียงพอแลวสําหรับพ้ืนที่ดังกลาว แมจะมีการปลูกพืชเพ่ือขายเปนรายไดบางก็เปนพืชยืนตน เชน มะพราว ทุเรียน มังคุด และไมผลอ่ืนๆ ที่ชาวบานปรับปรุงพันธุมาจากพืชด้ังเดิมมานับรอยๆ ป และก็เปนรูปแบบการผลิตที่ผสมผสานเปนสวนเดียวกับปาธรรมชาติจนแยกแทบไมออกเชนสวนสมรมของภาคใต เปนตน

จากที่กลาวมาทั้งหมดสะทอนใหเห็นวาการจัดการน้ําไมไดแยกออกจากการจัดการชีวิต การจัดการระบบการผลิต และการจัดการรวมกับเรื่องอ่ืนๆ ซ่ึงเปนการจัดการรวมหมูและกระจายศูนย ตั้งแตระดับครัวเรือน ชุมชน หลายๆ ชุมชนรวมกัน และการจัดการในระดับลุมนํ้า ทั้งการรักษาตนน้ํา การฟนฟู การจัดสรรน้ํา และการชําระขอพิพาทเรื่องนํ้า ดังเชนในภาคเหนือ ซ่ึงมีกฎกติกาที่ทั้งหมดตองเคารพรวมกัน คือ การไมละเมิดตอธรรมชาติจนเกินพอดี แตหลังจากเรารับเอาแนวทางการพัฒนาประเทศจากตะวันตกเขามาพรอมกับความทันสมัย และการจัดการแบบรวมศูนยอํานาจ ทําใหศักยภาพของชุมชนและทองถิ่นในการจัดการลดนอยลงตลอดมา อํานาจในการจัดการ การกําหนดนโยบาย การใชงบประมาณ เพ่ือสรางสิ่งแปลกปลอมทางน้ําเกิดขึ้นนับหม่ืนๆ แสนๆ โครงการ โดยมองไมเห็นหัวประชาชนผูอยูติดกับดินกับนํ้า การผูกขาดความรูในการจัดการ การเจาะจงเลือกใชเทคโนโลยีผานความเชี่ยวชาญทางชลศาสตร

Page 109: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

108

และวิศวกรรมทางน้ํา วิศวกรรมชลประทาน ตามแบบแผนของการศึกษาสมัยใหมในตะวันตก ยิ่งเบียดขับและเหลือชองทางใหภูมิปญญาดั่งเดิมนอยลงทุกที และส่ิงเหลานี้เองที่ไปทําลายระบบนิเวศลุมนํ้าอยางมากมาย กลุมผูคนที่มุงหวังเอาน้ําไปใชเพ่ือการเติบโตทางเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรมนํา ไดแยงเอาน้ําไปจากชาวไรชาวนาจนสุดจะทานทนในปจจุบัน การพัฒนาแหลงนํ้าที่ใชงบประมาณมหาศาลในหวงเวลา 50 ปที่ผานมา จึงวนเวียนอยูที่การขุดลอกแมนํ้าลําหวย การทําคันดินและถนนเลียบแมนํ้าลําคลอง การสรางเข่ือน อางเก็บนํ้า คลอง ฝาย ประตูนํ้า และมุงไปสูการผันนํ้าขามลุมนํ้าในอนาคต เพ่ือรองรับการเติบโตของชุมชนเมือง การพัฒนาอุตสาหกรรม และเกษตรอุตสาหกรรม รวมถึงน้ําเพื่อผลิตกระแสไฟฟาดังเชนกรณีการผลักดันใหมีการสรางเข่ือนในแมนํ้าโขง และแมนํ้าสาละวินของการไฟฟาฝายผลิตฯ สิ่งที่เกิดขึ้นทั้งหมดอยูภายใตการจัดการของกลุมคนเพียงหยิบมือที่ดูเหมือนวาไดกลายเปนเจาของน้ําทั้งประเทศไปแลว ไดแก กรมชลประทาน การไฟฟาฝายผลิตฯ และกรมทรัพยากรน้ํา

แตทั้งหมดมักจะไมรับผิดชอบใดๆ เม่ือเกิดภาวะวิกฤตขึ้น เชน เม่ือยามใดที่เกิดภัยแลงนํ้าในเขื่อนไมพอก็อางวาฝนตกนอย เขื่อนไมมีนํ้าพอสําหรับทั้งปนไฟ เกษตรกร เมือง และอุตสาหกรรม ดังน้ัน กลุมคนที่ถูกบังคับใหเสียสละชั่วนาตาปก็คือกลุมที่มีอํานาจตอรองนอยที่สุดน่ันคือชาวนา ในกรณีภาคกลางและภาคตะวันออกจะชัดเจนมาก จะมีการประกาศงดการปลอยนํ้าและใหเกษตรกรงดทํานาปรังอยูเสมอ เพ่ือรักษาน้ําไวใหเมืองและอุตสาหกรรม รวมทั้งปนไฟ ในภาคตะวันออกอางเก็บนํ้าใหญๆ จะถูกจัดการโดยบริษัทเอกชนที่จายสัมปทานใหกับรัฐและสงนํ้าไปขายตอเอากําไร และลูกคาที่มีกําลังจายไดก็ไมพนเมืองและอุตสาหกรรม นํ้าจึงแทบไมเหลือมาถึงเกษตรกรชาวไรชาวสวน แมในภาวะน้ําทวม พ้ืนที่ซ่ึงตองรักษาเอาไวไมใหประสบภัยก็คือ เมือง แหลงการคา และอุตสาหกรรม การทําใหเมืองปลอดภัยคือการสรางทํานบ การทําพนังกั้นน้ําริมตลิ่งแมนํ้า การสรางทางเบนน้ําออกไปใหพนเมือง การปดประตูนํ้าไมใหนํ้าไหลเขาคลองมาในเมือง การตั้งสถานีสูบนํ้าออกจากเมือง และเม่ือเมืองปลอดภัย เรากลับพบวาผูที่จมอยูใตบาดาลก็คือเกษตรกร ชาวชนบทและพื้นที่เกษตรกรรมที่อยูนอกเมืองนั่นเอง

หากการจัดการน้ํายังเปนเชนทุกวันนี้ ในอนาคตก็คงไมมีใครทําอาชีพเกษตรกรรม เพราะตองถูกบังคับใหเสียสละตลอดเวลา ทั้งยังมีความเสี่ยงสูง (ทั้งจากน้ําทวม ฝนแลง และราคาตกต่ํา) ชาวนามีอํานาจตอรองนอย เชน กรณีชาวบานรอบพื้นที่หนองหานกุมภวาป จ.อุดรธานี หน่ึงในโครงการโขง ชี มูล ที่ลมเหลว เรียกรองใหเจาหนาที่สูบนํ้าออกจากพื้นที่นํ้าทวมขังเขาไปยังอางเก็บนํ้า และเปดประตูระบายน้ําจากอางลงสูแมนํ้าใหญ เพราะน้ําทวมนาเสียหาย หนวยงานที่เกี่ยวของก็จะอางวา ไมมีงบประมาณสําหรับจายคาสูบนํ้า และเปดประตูนํ้าไมได ตองไดรับการอนุมัติจากผูบังคับบัญชาในกรุงเทพฯ สิ่งเหลานี้เกิดขึ้นซ้ําซากมานับ 10 ป ตั้งแตโครงการนี้ดําเนินการมา

การจัดการน้ําแบบผูกขาด รวมศูนย และความถือดีของหนวยงานที่เกี่ยวของกับนํ้า เปนตัวการสําคัญในการทําลายระบบนิเวศลุมนํ้า ทําลายวิถีชีวิต วิถีการผลิต และภูมิปญญาของประชาชน การกาวไปขางหนาโดยโครงสรางเหลานี้ยังดํารงอยู ไมสามารถนําไปสูการสราง

Page 110: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

109

ความเปนธรรมและการลดความเหลื่อมล้ํา ลดอํานาจรัฐ และเพ่ิมอํานาจประชาชนใหเปนจริงได ขณะที่แนวคิดการกระจายอํานาจไปสูองคกรปกครองสวนทองถิ่น ก็ยังไมสามารถเปนความหวังไดมากนัก เพราะยังถูกครอบงําจากรัฐผานกระทรวงมหาดไทย รวมถึงแนวคิด องคความรูในการจัดการก็ยังปฏิบัติตามแบบสวนราชการ โครงสรางการจัดการและอํานาจในการสรางนโยบายตามที่เปนอยูมีแตจะเปนเคร่ืองมือในการฉอฉลใหนักการเมืองและขาราชการนํางบประมาณไปใชปูยี้ปูยําผานโครงการนอยใหญและสรางความปนปใหกับแหลงนํ้าและสรางความทุกขยากของประชาชนมากขึ้น การปฏิรูปการจัดการน้ําจึงตองสรางพลังการจัดการขึ้นใหม ภายใตเง่ือนไขที่ตองยอมรับวา “นํ้าเปนของทุกชีวิต นํ้าเปนความจําเปนพ้ืนฐานไมใชสินคาที่จะมาหากําไรเกินควร นํ้าเปนเรื่องที่ทุกคนตองมีสวนในการบริการจัดการ ไมใชผูกขาดโดยรัฐ และการจัดการน้ําเปนวัฒนธรรมของมนุษยที่สะทอนใหเห็นถึงการอยูรวมกันระหวางมนุษยกับธรรมชาติอยางสมดุล ไมใชอยูบนพ้ืนฐานเพื่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและความเห็นแกตัว”

2.แนวคิดและกระบวนการในการขับเคลื่อนงาน “ปฏิรูปการจัดการนํ้า”

การปฏิรูปการจัดการน้ํา ไมใชการทํางานเพียงเพ่ือนําเสนอแนวทางการปฏิรูปตอรัฐบาล แตเปนกระบวนการเพื่อนําไปสูการเสริมสรางพลังอํานาจของประชาชนเพื่อนําไปสูเปาหมายของการปฏิรูป ซ่ึงตองพิจารณาอยู 4 ประเด็น/ขั้นตอนสําคัญ คือ

2.1) วิเคราะหสถานการณปจจุบัน ณ สถานการณปจจุบัน นํ้า มีประเด็นความขัดแยงในการจัดการอยางไร ทั้งในระดับทองถิ่น ภูมิภาค หรือในระดับโลก ความเคลื่อนไหว สถานการณ ภาวะคุกคามตางๆ ของการนําไปสูวิกฤตินํ้า หรือการแยงชิงนํ้า และภายใตสถานการณเหลานี้มีกลไกทางสังคม และกลไกของรัฐอะไรบางที่เกี่ยวของกับการจัดการน้ํา ตั้งแตระดับนโยบาย ไปจนถึงการปฏิบัติการในระดับพ้ืนที่ และกลไกเหลานั้นไดทําหนาที่อยางไร เกิดผลสําเร็จ ลมเหลว หรือมีปญหาอุปสรรคใดบางที่สงผลกระทบทั้งตอประชาชนและตอการแกไขปญหาของรัฐเอง และประชาชนไดใชกระบวนการอยางไรบางในการเขาถึงขอมูล ขาวสาร ไดเขาไปมีสวนรวมในการคิด วางแผน ตัดสินใจ วิพากษวิจารณ หรือคัดคานอยางไร บทเรียนที่ผานมาเปนอยางไร และความตองการของแตละภาคสวนที่เกี่ยวของกับการปฏิรูประบบการจัดการน้ําเปนอยางไร

2.2) การสนับสนุนปฏิบัติการเพื่อสรางพลังความเปลี่ยนแปลงและสรุปประสบการณ-บทเรียนในพื้นที่รูปธรรม เพ่ือใหไดผลสัมฤทธิ์และองคความรูบนฐานการปฏิบัติจริงเกี่ยวกับการสราง-เพ่ิมอํานาจภาคประชาชนในการแกปญหาของประชาชนในการจัดการน้ําตามสถานการณสําคัญที่กําลังดําเนินการอยู รวมทั้งประสบการณดานการสรางทางเลือกที่เหมาะสมในการจัดการน้ําที่ประสบความสําเร็จ โดยคณะอนุกรรมการ/คณะทํางานลงไปรวมสังเกตการณ สนับสนุนกระบวนการ สรางเง่ือนไขแวดลอมที่เหมาะสมตอการแกปญหา แลวมีการสรุปเปนบทเรียนสําคัญ รวบรวมเปนองคความรูที่จะใชเปนขอเสนอในการปฏิรูปในขั้นตอไป ทั้งน้ีโดยใชพ้ืนที่ที่มีกระบวนการดําเนินการของชุมชนทองถิ่นดําเนินการกันอยู เชน กรณี

Page 111: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

110

โครงการ โขง ชี มูล เขื่อนปากมูล กรณีประสบการณในการจัดการน้ําขนาดเล็กระดับไรนา ระดับชุมชนทองถิ่น หลายพื้นที่

2.3) การสรางภาพอนาคต เปนการนําขอมูลมาประมวล วิเคราะห และนําไปสูการพยากรณอนาคตวาจะเกิดอะไรขึ้นบางจากทางเลือก หรือเง่ือนไขตางๆ (scenario) เชน การไมปฏิรูปปลอยใหกลไกปกติดําเนินไป การยกระดับการมีสวนรวมของประชาชนมากขึ้นโดยที่ไมเปลี่ยนแปลงโครงสราง หรือ การเปลี่ยนแปลงโครงสรางโดยลดอํานาจรัฐและเสริมสรางพลังของประชาชนในการจัดการตนเอง เปนตน เพ่ือใหเห็นภาพอนาคตที่ชัดเจนซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจากสถานการณที่เปนอยูและสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป

2.4) การขับเคลื่อนไปสูการปฏิรูป เปนการวิเคราะหและเลือก scenario ที่เหมาะสมที่สุดไปสูการดําเนินการอยางเปนรูปธรรมในการเปลี่ยนแปลงใหเกิดผล โดยใชพลังของประชาชนในการสรางอํานาจตอรองกับรัฐในการแกปญหา หรือชะลอภาวะคุกคามตางๆ ในระยะสั้น และนําไปสูการเปลี่ยนแปลงในระยะยาว ทั้งในเชิงโครงสราง กลไก นโยบาย และการปฏิบัติการในระดับทองถิ่น

Page 112: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

111

3.สถานการณปจจุบันที่เปนบริบทของกระบวนการปฏิรูปการจัดการนํ้า 3.1) สถานการณนํ้าทวมใหญในลุมนํ้าชี มูล เจาพระยา ในเดือนตุลาคม 2553 โดยเปนที่ประจักษวาเกิดจากความผิดพลาดจากกระบวนการจัดการน้ําภาครัฐที่มี “เขื่อนขนาดใหญ” เปนเคร่ืองมือ ทั้งกระบวนการปองกันแกไขและเยียวยาผลกระทบที่ไมทันการ ไมทั่วถึงอันเกิดจากความเสื่อมของกลไกรัฐ สถานการณน้ีสะทอนใหเห็นอยางชัดเจนถึงความจําเปนตองเปลี่ยนแปลงขนานใหญเกี่ยวกับทิศทาง-นโยบายและกลไกการจัดการน้ําของประเทศไทย อนุกรรมการควรใชสถานการณน้ีเปนจุดเริ่มตนในการเชื่อมโยงไปสูการวิเคราะหปญหาทั้งระบบของการจัดการน้ํา 3.2) ปจจุบันมีการถกเถียง การแยงบทบาทกันเองระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบนโยบายในการจัดการน้ํา ระหวางกรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ํา ซ่ึงทั้งสองหนวยงานเนนที่นโยบายการจัดการน้ําขนาดใหญ ไมใหความสําคัญและกีดกันบทบาทหนวยงานที่สนับสนุนทางเลือกการจัดการน้ําขนาดเล็กระดับไรนา-ระดับชุมชนทองถิ่น เชน กรมพัฒนาที่ดิน สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร เปนตน สถานการณน้ีเหมาะสมที่อนุกรรมการจะไดรับทราบจากหนวยงานรัฐเกี่ยวกับขอมูลขาวสาร เกี่ยวเนื่องกับวิธีคิด กระบวนการและเงื่อนไขสําคัญเกี่ยวกับกระบวนการและกลไกการจัดการน้ําของประเทศ เพ่ือสรางชองทางที่จะสราง ความโปรงใส การมีสวนรวมและการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐดานนี้อยางจริงจัง 3.3) ปจจุบันมีการอนุมัติแผนงานตางๆ มากมายที่จะเตรียมการริเร่ิมโครงการการจัดการน้ําขนาดใหญ เชน ในภาคอีสาน มีการอนุมัติของคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 8 กันยายน 2552 ในการศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดลอม และการประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร โครงการบริหารจัดการน้ํา โขง เลย ชี มูล โดยแรงโนมถวง และเม่ือวันที่ 22 มิถุนายน 2553 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบใหกรมทรัพยากรน้ํา ดําเนินการศึกษาความเหมาะสมและศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการระบบเครือขายน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 19 พ้ืนที่ พรอมทั้งศึกษาผลกระทบระดับยุทธศาสตรในพ้ืนที่ครอบคลุมลุมนํ้า โขง ชี มูล จะเห็นไดวา นโยบายการจัดการน้ํายังดําเนินไปตามทิศทางของการสราง เมกกะโปรเจกต ใชทุนจํานวนมาก และไรการศึกษาหาทางเลือกอ่ืนๆที่เหมาะสมในการจัดการน้ํา ตลอดจนกระบวนการเปดเผยขอมูล – การมีสวนรวมอยางสิ้นเชิง อันเปนหนทางที่จะสรางใหเกิดโครงการที่ไมมีความคุมคา และยังกอใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศและชุมชนทองถิ่นซ้ํารอยการพัฒนาโครงการในระยะที่ผานมาอยางแทจริง อนุกรรมการควรไดมีการเรียกขอมูลและหนวยงานมาชี้แจง แลกเปลี่ยน ทบทวน ในกรณีดังกลาว พรอมมีความชอบธรรมที่จะเสนอใหมีการทบทวน ประเมินผล โครงการเดิมที่ดําเนินไปแลว และเสนอใหหนวยงานที่เกี่ยวของรับผิดชอบ ในการแกไข ปองกัน เยียวยา และฟนฟูผลกระทบที่เกิดขึ้นใหครบถวนเสียกอน กอนการดําเนินการใดๆ ตอไป

Page 113: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

112

4.แผนการดําเนินงานปฏิรูปน้ําอีสาน 4.1) รวบรวมขอมูล เอกสารวิชาการ งานวิจัย หนวยงานที่เกี่ยวของ เครือขายน้ํา-ทรัพยากร และสื่อตางๆ 4.2) สํารวจหรือรับฟงขอมูลระดับพ้ืนที่เพ่ือศึกษาบริบทการจัดการน้ํา สถานการณปญหา ความตองการ และขอเสนอตางๆ รวมทั้งสนับสนุนกระบวนการการแกปญหา/สรางสรรคทางเลือกการจัดการน้ําที่เหมาะสมในบางพื้นที่ที่เกิดองคความรูที่สําคัญ ใน 5 พ้ืนที่ ไดแก พ้ืนที่ลุมนํ้าชี (ชัยภูมิ ขอนแกน รอยเอ็ด), พ้ืนที่ลุมนํ้ามูล (ราษีไศล หัวนา ปากมูน),พ้ืนที่ลุมนํ้าสงคราม,พ้ืนที่หวยหลวง-หนองหานกุมภวาป-ลําปาว ,พ้ืนที่ลุมนํ้าโขง (ปากชม บานกุม) 4.3) จัดเวทีกลางรับฟงขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของกับการจัดการน้ํา ไดแก กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ํา กรมทรัพยากรน้ําบาดาล คณะกรรมการนโยบายน้ําแหงชาติ การประปานครหลวง-สวนภูมิภาค สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สวนพ้ืนที่ชุมนํ้า และกองวิเคราะหผลกระทบ) 4.4) รับฟงขอมูลจากนักวิชาการและผูเชี่ยวชาญดานทรัพยากรน้ําจาก สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร (สสนก.), โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ, ศูนยพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร, ศูนยวิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย, ศูนยเตือนภัยพิบัติแหงชาติ, สมาคมตอตานสภาวะโลกรอน เปนตน

4.5) ศึกษาพื้นที่รูปธรรมในการจัดการน้ําที่ยั่งยืนใน 5 ประเด็น ไดแก 1) พ้ืนที่สูงและตนน้ํา 2) การจัดการน้ําพื้นที่ราบลุมและปากแมนํ้า 3) การจัดการน้ําในพื้นที่แหงแลง และดินเค็ม 4) การจัดการน้ําในระดับไรนาและกลุมผูใชนํ้า 5) การจัดการน้ําเพื่ออุตสาหกรรมและเมือง 4.6) ศึกษาดูงานการจัดการน้ําประเทศเพื่อนบานในอนุภูมิภาคลุมนํ้าโขง เชน ลาว เวียดนาม กัมพูชา 4.7) การสรางภาพอนาคต (scenario) จากการนําขอมูลทั้งหมดมาประมวล วิเคราะห และนําไปสูการพยากรณอนาคตภายใตเง่ือนไขและทางเลือกตางๆ และเลือก scenario ที่นาจะนําไปสูความยั่งยืนที่สุดในการนําไปกําหนดเปนขอเสนอเพื่อการปฏิรูป ภายใตเง่ือนไขการลดอํานาจรัฐและเสริมสรางพลังของประชาชนในการจัดการทรัพยากรน้ํา 4.8) จัดเวทีนําเสนอขอมูล และรับฟงความคิดเห็นเพ่ิมเติมจากทุกภาคสวน 4.9) การสื่อสารตอสาธารณะอยางตอเน่ือง พรอมทั้งการสรางความรูสูประชาชนในวงกวางผานเครือขายในระดับพ้ืนที่ 4.10) การผลักดันขอเสนอสูรัฐบาผานเครือขายภาคประชาชน และประชาสังคม 4.11) การสรางกลไกภาคประชาสังคมในการติดตามตรวจสอบการแกไขปญหาเฉพาะหนาและการปฏิรูปในระยะยาวของรัฐบาล 4.12) การเสริมสรางรูปธรรมตนแบบในการจัดการน้ําอยางยั่งยืนและขยายผลสูพ้ืนที่เปาหมายหรือพ้ืนที่นํารอง

.................................

Page 114: รวมเรื่องราวการฟื้นฟูน้ำท่วมปี 53 รวมไว้ในหนังสือชื่อบทเรียน 6 ปี

0