20
แผนบริหารความเสี่ยง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีการศึกษา 2553 ฝ่ายบริหาร คณะนิเทศศาสตร์

แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2553 2554

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

แผนบริหารความเสี่ยง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีการศึกษา 2553

ฝ่ายบริหาร คณะนิเทศศาสตร์

Page 2: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 1

แผนบริหารความเสี่ยง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

ประจําปีการศึกษา 2553

บทนํา คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ตระหนักถึงควา มสําคัญของการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน จึงจัดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ และการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงขึ้น เพื่อลดสาเหตุและโอกาสที่จะเกิดความเสียหายให้มีระดับความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้นให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได ้ ประเมินได ้ ควบคุมได ้ และตรวจสอบได้อย่างเป็นระ บบ

ทั้งนี้สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้จัดทํามาต รฐานที่เป็นแน วปฏิบัติในการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเพื่อตอบสนองต่อเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่ให้สถาบันอุดมศึกษามีระบบในการบริหารความเสี่ยงโดยการบริหารปัจจัยและควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนกา รดําเนินงานต่างๆ เพื่อลดมูลเหตุของแต่ละโอกาสที่องค์กรจะเกิดความเสียหาย ตามองค์ประกอบของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ในด้านระบบการบริหารความเสี่ยง เพื่อบริหารจัดการหน่วยงานภายในคณะวิชา อันได้แก่ งานบริหารในฝ่ายต่าง ๆ สาขาวชิาและหน่วยงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการ ปฏิบัติการ ฝ่ายเทคนิคให้มีระบบการบริหารความเสี่ยงเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

นโยบายการบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

1. เพื่อให้มีการบริหารความเสี่ยงในส่วนงานต่าง ๆ ขององค์กรโดยมีการจัดการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง มีการประเมินความเสี่ยงและการวางแผนบริหารความเสี่ยง

2. เพื่อให้มีการกําหนดกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่เป็นระบบมาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งองค์กร 3. เพื่อให้มีการติดตามประเมินผลและมีการทบทวน ปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงอย่างสม่ําเสมอต่อเนื่อง ในแต่ละปีการศึกษา 4. เพื่อให้มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการบริหารจัดการที่ดี 5. เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งในการดําเนินงานตามปกติขององค์กร

Page 3: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 2

หน่วยงานที่รับผิดชอบการบริหารความเสี่ยง หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก - ฝ่ายบริหาร คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต หน่วยงานที่รับผิดชอบรอง - ฝ่ายบริหารด้านต่าง ๆ ได้แก่ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายกิจการนักศึกษา ฝ่ายวางแผนและพัฒนา ฝ่ายประกันคุณภาพ - สาขาวิชา และหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการสื่อสาร - ระดับปฏิบัติการ ได้แก่ สํานักงานเลขานุการ ฝ่ายธุรการ ฝ่ายเทคนิค และ ฝ่ายปฏิบัติการ

Page 4: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 3

�������ก��� �������� ����������� ������ก��ก 2553-2554

��&�

��'()�� ��&�*+����

��'()�� ��&�*+���(ก

��'()�� ��&�*+�������,�-./�

��'()�� ��&�*+�ก��ก�.ก��ก

��'()�� ��&�*+���ก.� 0��-

��ก�ก��(ก

��1�0ก�ก��ก.� 0��-

��ก�ก����,.ก�����223� (���ก�5�1�)

������ก���� �������������

������������ ���

� �����

��������ก��

������ �� ���

� �������������

ก������

� �������������

�� !���ก����"#

����� !�� �$��%

� �������������

�������&������

�����

� �������������

'����(�����

"�)�(!�

�)�������& ���ก��

���)*��

!�)�������)*�

����

!�)�������)*�

����

!�)�������)*�

����

!�)�������)*�

����

!�)�������)*�

����

!�)�������)*�

����

� �����+,��

�-�. (�ก��

� ������)�������&

����

�)�������& ����

1� ��&��ก���ก��.����������& �#

Page 5: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 4

กระบวนการบริหารความเสี่ยง กระบวนการบริหารความเสี่ยง เป็นกระบวนการจัดทําขึ้นอย่างเป็นระบบ เพื่อลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากความเสี่ยงต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้จะทําให้เราทราบปัญหาล่วงหน้าและเตรียมวิธีป้องกันแก้ไขได้ ลดโอกาสการสูญเสีย และเพิ่มโอกาสความสําเร็จ การบริหารความเสี่ยงประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การกําหนดวัตถุประสงค์ 2. การระบุความเสี่ยง 3. การประเมินความเสี่ยง 4. การจัดการและจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง 5. การรายงานและติดตามผล 6. การประเมินผลการจัดการและแผนบริหารความเสี่ยง 1.วัตถุประสงค์การของบริหารความเสี่ยง

1. เพื่อให้คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตมีการประเมินระดับความเสี่ยง และสามารถลดมูลเหตุของโอกาสที่จะเกิดความเสียหายและลดขนาดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ควบคุมได้และตรวจสอบได้

2. เพื่อให้คณะนิเทศศาสตร์มีการดําเนินงานบรรลุตามเป้าหมายของแผนกลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ และแผนปฏิบัติงาน 3. เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริหารในการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารและการปฏิบัติงาน ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับองค์กร

(Stakeholder)

2. การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) ความเสี่ยงที่เป็นเหตุการณ์ หรือภาวะคุกคาม หรือปัญหาอุปสรรค อันไม่พึงประสงค์ ซึ่งจะส่งผลกระทบให้วัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายของคณะนิเทศศาสตร์ในการ

ดําเนินงานไม่เป็นไปตามที่กําหนดไว้ ซึ่งคณะนิเทศศาสตร์ประเมินความเสี่ยงแล้วโดยพิจารณาสามารถแยกลักษณะและประเภทของความเสี่ยง 4 ด้าน ดังนี้ 2.1 ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีวารสารสนเทศ อาคารสถานที่) 2.2 ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบการประกันคุณภาพ

Page 6: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 5

2.3 ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล เช่น จรรยาบรรณของอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และบุคลากร 2.4 ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก

3. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)

เป็นการประเมินความเสี่ยง โดยนําปัจจัยเสี่ยงที่ได้มาจัดทําเป็นตารางโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงและผลกระทบที่มีต่อส่วนงานต่าง ๆ ของคณะนิเทศศาสตร์ การเกิดความเสี่ยงเป็นมาตรวัดโดยประมาณการจากโอกาส (Likelihood) ความบ่อยครั้งที่จะเกิดความสูญเสียสําหรับปัจจัยเสี่ยงแต่ละประเภทที่ระบุไว้ และผลกระทบ (Impact) ที่มีต่อส่วนงานต่าง ๆ ของคณะนิเทศศาสตร์ เป็นการระบุว่าหากปัจจัยเสี่ยงที่ระบุไว้เกิดขึ้น จะมีความรุนแรงมากน้อยเพียงใด เพื่อเลือกวิธีการที่สามารถรองรับความเสี่ยงได้อย่างเพียงพอและเหมาะสมต่อไป

สําหรับการประเมินความเสี่ยงของคณะนิเทศศาสตร์ ได้ใช้วิธีการสอบถาม/สัมภาษณ์ และวิเคราะห์สถานการณ์ร่วมกันจากบุคลากรในฝ่ายต่าง ๆ ของคณะนิเทศศาสตร์ การประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบในการดําเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยง เพื่อร่วมกันแสดงความคิดเห็นและประเมินระดับความเสี่ยงโดยรวม การวิเคราะห์ความเสี่ยงโดยการประเมินความถี่ที่จะเกิดขึ้นหรือโอกาสที่เกิดความเสี่ยง และระดับ ผลกระทบที่มีต่อคณะนิเทศศาสตร์ (Impact) ได้ใช้วิธีการให้คะแนน ดังนี้

Page 7: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 6

1. พิจารณาถึงความถี่หรือโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ (Likelihood) ว่ามีโอกาสที่จะเกิดมากน้อยเพียงใด โดยจัดไว้ 3 ระดับ ได้แก่ โอกาสเกิดสูง ปานกลาง ต่ํา 2 . พิจารณาถึงผลกระทบของเหตุการณ์ต่าง ๆ (Impact) ที่จะเกิดผลกระทบต่อ คณะนิเทศศาสตร์ว่าจะเกิดขึ้นในระดับใดหากเหตุการณ์เกิดขึ้น และอยู่ในระดับใด โดยจัดไว้ 3 ระดับ ได้แก่ ความรุนแรงของผลกระทบสูง ปานกลาง และต่ํา

ระดับโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความถี่โดยเฉลี่ย คะแนน

น่าจะเกิดมากที่สุดหรือเกิดประจํา-สูงมาก

เกินกว่า 4 ครั้ง/เดือน 5 สูง

น่าจะเกิดขึ้นบ่อยครั้ง-สูง 1-4 ครั้ง/เดือน 4 เป็นไปได้หรือเกิดขึ้นบ้าง-ปานกลาง

เกิน 6 ครั้ง/ปี 3 ปานกลาง

ไม่น่าจะเกิดขึ้นได้หรือเกิดขึ้นได้น้อย-น้อย

2-6 ครั้ง/ปี 2 ต่ํา

ยากที่จะเกิดขึ้น-น้อยมาก 1 ครั้ง/ปี 1 คณะนิเทศศาสตร์ แบ่งระดับความเสี่ยงโดยรวม ออกเป็น 3 ระดับ (โดยสรุป) ดังนี้ น้อยหรือน้อยมาก หมายถึง ความเสี่ยงต่ํา เป็นระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้โดยไม่ต้องมีแผนจัดการความเสี่ยงหรือเตรียมการไว้ ปานกลาง หมายถึง ความเสี่ยงปานกลาง เป็นระดับความเสี่ยงที่พอจะยอมรับได้แต่จะต้องควบคุมความเสี่ยงไม่ให้เพิ่มสูงขึ้นไปอยู่ในระดับที่ไม่ สามารถยอมรับได้ สูงหรือสูงมาก หมายถึง ความเสี่ยงสูง เป็นระดับความเสี่ยงที่ไม่สามารถยอมรับได้จะต้องจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ต่อไป

Page 8: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 7

4. การจัดการและจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง (Risk Management Planning) ในปีงบประมาณ 2553 ได้นํากระบวนการบริหารความเสี่ยงมาประยุกต์ใช้ปฏิบัติจริง และปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน โดยพิจารณาจากปัจจัย

ภายในและปัจจัยภายนอก การวิเคราะห์และวางแผนกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม ในขั้นเริ่มต้นของการจัดการความเสี่ยง คณะนิเทศศาสตร์เริ่มจัดการกับความเสี่ยงที่อยู่ในระดับสูง และปานกลาง วัตถุประสงค์หลักในการจัดการกับความเสี่ยงเหล่านี้ก็เพื่อลดความถี่และความรุนแรงของผลกระทบให้ลงมาให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ การจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง เมื่อกําหนดทางเลือกที่เหมาะสมแล้ว จึงพิจารณาว่าความเสี่ยงดังกล่าว โดยมีการกําหนดวิธีการดําเนินการต่าง ๆ เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้แล้วหรือไม่ หากความเสี่ยงนั้นยังไม่มีการดําเนินการควบคุมหรือมีการดําเนินการควบคุมแล้วแต่ยังไม่เพียงพอต่อการรองรับความเสี่ยงนั้น คณะนิเทศศาสตร์ต้องวางแผนจัดการและควบคุมความเสี่ยงนั้นให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งในการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงมีเป้าหมาย ดังนี้ 1. ลดโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงนั้น 2. ลดความรุนแรงของผลกระทบจากความเสี่ยงนั้น ในกรณีที่ความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้น 3. เปลี่ยนลักษณะของผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นของความเสี่ยงให้เป็นไปในรูปที่ คณะนิเทศศาสตร์ต้องการหรือยอมรับได้ 5. การรายงานและติดตามผล ( Monitoring & Review) มีการติดตามผลประจําปีการศึกษา ถึงการปฏิบัติงานในหน่วยงานต่าง ๆ ของคณะนิเทศศาสตร์ว่า เพื่อประเมินได้ว่าแผนบริหารความเสี่ยง และระบบ การควบคุมภายในมีประสิทธิผล และเพื่อการปรับปรุงให้ทันต่อเหตุการณ์ในปีการศึกษาต่อไป

Page 9: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 8

6. การประเมินผลการจัดการแผนการบริหารความเสี่ยง การติดตามประเมินผลการดําเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยงเป็นขั้นตอนสําคัญในการศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติตามแผนบริหารความเสี่ยง ซึ่งจะต้องกระทําอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่อง นอกจากนี้ควรประเมินว่าการดําเนินการตามแผนสามารถควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้หรือมีความเสี่ยงใหม่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้ปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพในปีต่อไป

Page 10: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 9

แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ประจําปีการศึกษา 2553 1. ความเสี่ยงด้านทรัพยากร ( เช่น การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่ และอื่นๆ เป็นต้น)

ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง ปีการศึกษา 2553 ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ

ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/แผนปฏิบัติการ

ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

1. ระบบการเงินและงบประมาณ

มหาวิทยาลัยเป็นผู้จัดสรรตามโครงการ

ไม่สามารถเสนอขอเป็นงบประมาณประจําปีได้

มีผลต่อการบริหารทางการเงินให้สอดคล้องกับสาขาวิชา หน่วยงานภายในคณะฯ และการควบคุมงบประมาณ

ปานกลาง ใช้ฐานการตัดสินใจด้านงบประมาณจากปีที่ผ่านมาในการเสนอโครงการและเสนอของบประมาณจากทางมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการของคณะฯ และมีคณะกรรมการควบคุมตรวจสอบงบประมาณในการพิจารณา

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์/สาขาวิชา

2.อาคารสถานที่ อุปกรณ์ใช้ไฟฟ้าและสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม

ขาดการซ่อมบํารุง อาคารสถานที่ที่วิทยาเขตพัฒนาการและสภาพแวดล้อมของห้องพักอาจารย์ไม่เอื้อต่อการทํางาน

ทําให้บุคลากรมีปัญหาด้านสุขอนามัยและขาดประสิทธิภาพในการทํางาน เสี่ยงต่อการ

สูง เสนอให้ทางมหาวิทยาลัยปรับปรุงและให้มีการทําความสะอาดอย่างสม่ําเสมอ ให้

ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัย/คณะนิเทศศาสตร์

Page 11: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 10

ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง ปีการศึกษา 2553 ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ

ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/แผนปฏิบัติการ

ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

อุปกรณ์ไฟฟ้าอยู่ในสภาพเก่า ทํางานไม่เต็มประสิทธิภาพ เช่น เครื่องปรับอากาศ สายไฟ เป็นต้น

เสียชีวิตและทรัพย์สิน

บุคลากรของคณะฯ ช่วยกันดูแลรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าทั้งในช่วงเวลางานและหลังเลิกงาน

3.ระบบความปลอดภัยของวิทยาเขตร่มเกล้า

สถานที่มีลักษณะที่มิดชิดและเสี่ยงต่อต่อของสูญหาย

มีความเสี่ยงในลักษณะเดียวกัน

เกิดความไม่ปลอดภัยในทรัพย์สิน

สูง ให้แม่บ้านและเจ้าหน้าที่ประจําห้องปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัยตลอดจนดูแลจัดเก็บอุปกรณ์และห้องปฏิบัติการ

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์

4. การขออุปกรณ์และครุภัณฑ์ค่อนข้างล่าช้า

ขั้นตอนการอนุมัติของมหาวิทยาลัย

การเสนอขออุปกรณ์ประจําห้องปฏิบัติการและครุภัณฑ์ต้องใช้ระยะเวลาค่อนข้างนาน

มีผลต่อประสิทธิภาพการทํางาน

สูง ให้มีการสํารวจความต้องการแยกเป็นหน่วยงาน โดยประเมินความต้องการการใช้งานและเสนอขออนุมัติล่วงหน้า

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์/สาขาวิชา/หน่วยงาน

Page 12: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 11

2. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบการประกันคุณภาพ และอื่น ๆ เป็นต้น

ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง (ปีการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ

ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/แผนปฏิบัติการ

ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

1. อาจารย์มีภาระงานส่วนกลางจํานวนมากทําให้มีผลต่อเวลาในการทําผลงานทางวิชาการและการทําวิจัย

ภาระงานที่ได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัย

การรับตําแหน่งบริหารและคณะกรรมการต่าง ๆ จากงานส่วนกลางของคณะฯ

ไม่มีเวลาในการทําผลงานทางวิชาการ และมีอาจารย์ที่ดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กําหนด

สูง กระจายงานและลดความซ้ําข้อนของ งาน บทบาทหน้าที่ ตลอดจนสร้างแรงจูงใจในการทําตําแหน่งทางวิชาการ โดยจัดสรรเวลาให้กับอาจารย์อย่างเหมาะสมตามแผนพัฒนาบุคลากร

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์

2. เจ้าหน้าที่สายสนับสนุนยังมีการเข้าร่วมโครงการในการพัฒนาทักษะฯ ในระดับต่ํา

ส่วนใหญ่มีการจัดโครงการอบรมที่มีค่าใช้จ่ายในการดําเนินการและไม่ตรงกับทักษะของเจ้าหน้าที่

มีการจัดโครงการอบรมแต่ยังไม่มากนัก

ทําให้บุคลากรสายสนับสนุนมีประสิทธิภาพการทํางานต่ํากว่าเกณฑ์และไม่มีการพัฒนาทักษะ

ปานกลาง ใช้แผนพัฒนาในการส่งเสริมให้บุคลากรสายสนับสนุนเข้าร่วมการอบรมเพื่อเพิ่มทักษะทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เช่น การใช้คอมพิวเตอร์

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์

Page 13: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 12

ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง (ปีการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ

ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/แผนปฏิบัติการ

ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

การเขียนบันทึกรายงานการประชุม การตัดต่อ เป็นต้น

3. ห้องปฏิบัติการและเครื่องมือไม่เพียงพอต่อการเรียนการสอนในบางสาขาวิชาที่มีนักศึกษาเป็นจํานวนมาก

รออุปกรณ์จากบริษัทฯ การสั่งซื้อและการอนุมัติจากมหาวิทยาลัย

มีนักศึกษาจํานวนมากและฝึกปฏิบัติได้ไม่ทั่วถึง

ทําให้ขาดประสิทธิภาพในการเรียนการสอน

สูง นําเสนอมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการจัดซื้อและความจําเป็นในการใช้อุปกรณ์เพิ่มเติมและจัดจํานวนนักศึกษาเป็นกลุ่มย่อยให้พอเหมาะต่อการปฏิบัติ

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์/สาขาวิชา/ฝ่ายเทคนิค/ฝ่ายปฏิบัติการ

4. การปฏิบัติงาน 2 วิทยาเขตทําให้เป็นอุปสรรคต่อการประสานงานและติดต่อสื่อสาร การปฏิบัติงานของบุคลากร

หน่วยงานส่วนกลางส่วนใหญ่อยู่ที่วิทยาเขตพัฒนาการ

ปัญหาในการประสานงาน การแจ้งข่าวสาร การส่งเอกสาร การประชุม การจัดส่งเอกสารการพิมพ์ การติดต่อกับนักศึกษา

ทําให้การปฏิบัติงานล่าช้า

สูง จัดให้มีเจ้าหน้าที่หมุนเวียนในการปฏิบัติงานประจําวิทยาเขตเพื่อประสานงานเรื่องข่าวสาร การส่งเอกสาร และใช้ช่องทางคณะนิเทศ

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์/ สํานักงานเลขานุการคณะฯ

Page 14: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 13

ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง (ปีการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ

ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/แผนปฏิบัติการ

ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

ศาสตร์ในการสื่อสารระหว่างบุคลากรและนักศึกษา

5. การใช้กรอบมาตรฐานระดับอุดมศึกษา TQF ในการจัดการเรียนการสอน

บุคลากรยังมีความเข้าใจน้อย เนื่องจากยังเป็นเรื่องใหม่และอาจต้องปรับตัวในการนําไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอน

ทําให้เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานในระยะแรก

สูง จัดโครงการอบรมและประชุมทําความเข้าใจ ตลอดจนให้ศึกษาตัวอย่างจากสถาบันการศึกษาอื่นๆ หรือคณะอื่น ๆ ที่ดําเนินการแล้ว

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์และสาขาวิชา

6.การทําวิจัยในชั้นเรียน

บุคลากรยังมีความเข้าใจน้อย เนื่องจากยังเป็นเรื่องใหม่และอาจต้องปรับตัวในการนําไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอนในทุกรายวิชา

ทําให้เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานในระยะแรก

สูง ส่งเสริมให้เข้าร่วมการอบรมของมหาวิทยาลัยและให้ศึกษาจากตัวอย่างของที่ดําเนินการแล้ว

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์และสาขาวิชา

7. ผลงานวิจัยของคณะฯ ยังมีน้อยไม่

ส่งเสริมระบบจูงใจ อาจารย์มีภาระงานจํานวนมากและขาด

ทําให้ไม่ผ่านเกณฑ์และอาจารย์มีผลงาน

สูง ส่งเสริมให้อาจารย์ทําผลงานวิจัย / จัดทํา

ปีการศึกษา

คณะนิเทศศาสตร์และ

Page 15: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 14

ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง (ปีการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ

ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/แผนปฏิบัติการ

ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

เป็นไปตามเกณฑ์ พี่เลี้ยงในการวิจัย ฐานข้อมูลแหล่งทุนวิจัย

ทางวิชาการในระดับน้อย

ห้องปฏิบัติการวิจัย/ข้อมูลแหล่งทุนวิจัย ส่งเสริมแรงจูงใจ โดยให้มีผลงานวิจัยสาขาวิชาหลักสูตร ละ 1 เรื่อง/ปีการศึกษา

2553 สาขาวิชา

8. ความร่วมมือของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมของคณะฯ

มีโครงการกิจกรรมจํานวนมาก

นักศึกษาบางส่วนไม่ค่อยให้ความร่วมมือ เนื่องจากไม่รู้สึกมีส่วนร่วมและต้องใช้

การบังคับ

ขาดการพัฒนาทักษะของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ และโครงการขาดคณะฯ ขาดความร่วมมือ

สูง ส่งเสริมให้ทุกสาขาวิชาให้นักศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในโครงการ กิจกรรม โดยชี้ให้เห็นความสําคัญและความสามัคคีของคณะฯ ร่วมกับการสะสมเป็น port กิจกรรม

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์และสาขาวิชา

9. ความรู้ความเข้าใจและการเปลี่ยนเกณฑ์การ

การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ใหม่

การสร้างความรู้ความเข้าใจให้

บุคลากรทุกระดับมี

มีปัญหาในระบบงานและเอกสารในการตรวจประเมิน

สูง ส่งเสริมการทําความเข้าใจเกณฑ์ใหม่ เข้าร่วมอบรม และจัด

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์

Page 16: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 15

ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง (ปีการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ

ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/แผนปฏิบัติการ

ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

ประกันคุณภาพ ส่วนร่วม โครงการ “Easy QA” เป็นเรื่องง่ายทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

10. การจัดโครงการมีความซ้ําซ้อน และไม่สามารถตอบตัวบ่งชี้ได้อย่างครบถ้วน

การประชุมแผนของมหาวิทยาลัยค่อนข้างล่าช้า

มีโครงการจํานวนมากและมีโครงการ

เพิ่มตลอดปีการศึกษา

ใช้งบประมาณจํานวนมาก และขาดการพัฒนาในบางองค์ประกอบ เนื่องจากไม่สามารถตอบครบตัวบ่งชี้

สูง ประชุมการจัดทําแผนปฏิบัติงานคณะนิเทศศาสตร์ และแยกตัวบ่งชี้ ยุทธศาสตร์ เพื่อไม่ให้เกิดความซ้ําซ้อน

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์

3. ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล เช่น จรรยาบรรณของอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และบุคลากร และอื่น ๆ เป็นต้น

ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง

(ปีการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/

แผนปฏิบัติการ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

1. บุคลากรขาดความเข้าใจเรื่องจรรยาบรรณ เนื่องจากมีรายละเอียดเป็น

ระบบการกํากับติดตาม

ความรู้ความเข้าใจและการปฏิบัติตาม

ทําให้เกิดผลกระทบต่อคณะนิเทศศาสตร์และมหาวิทยาลัย ซึ่งบุคลากรอาจทําผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

ปานกลาง มีคณะกรรมการควบคุมตรวจสอบจรรยาบรรณคณะฯ ทําหน้าที่และเผยแพร่จรรยาบรรณ

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์

Page 17: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 16

ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง (ปีการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ

ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/แผนปฏิบัติการ

ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

จํานวนมาก

ทําความเข้าใจและติดตามผล โดยการสังเกตการณ์และการรับเรื่องร้องเรียนจากผู้เกี่ยวข้องเป็นข้อมูล ทําคําสั่ง ระเบียบคณะฯ แจ้ง

2.การสรรหาผู้บริหารคณะนิเทศศาสตร์

ยังไม่มีระบบการสรรหาที่ชัดเจนให้กับทางคณะฯ

มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสรรหาผู้บริหารเป็นครั้งแรก

บุคลากรอาจต้องการความมั่นใจในความโปร่งใสของระบบการสรรหา

สูง ประชุมและสร้างความเข้าใจระบบการสรรหาที่มาจากความเห็นชอบของบุคลากรคณะฯ และให้ทุกคนมีส่วนร่วม อย่างโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์

3. การสรรหาและคัดเลือกบุคลากรตําแหน่งอาจารย์ประจําให้ตรงตามความต้องการของ

การแข่งขันกับมหาวิทยาลัยอื่นและมีบุคลากรที่มีประสบการณ์ทางวิชาชีพมาสมัครน้อย

ต้องการอัตรากําลังในการพัฒนา

ทําให้ต้องใช้เวลาในการสรรหาและคัดเลือก

สูง ประชาสัมพันธ์การรับสมัครไปยังสถาบันการศึกษาต่าง ๆ และวงการวิชาชีพ โดยคัดเลือกให้ตรง

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์และสาขาวิชา

Page 18: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 17

ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง (ปีการศึกษา 2553) ภายนอกคณะฯ ภายในคณะฯ

ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/แผนปฏิบัติการ

ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

สาขาวิชา ตามความต้องการของคณะฯและสาขาวิชา

5.การขาดแรงจูงใจของอาจารย์และเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน

การประเมินผลการปฏิบัติงานยังมีความล่าช้าในบางปีการศึกษา

ทําให้บุคลากรขาดขวัญและกําลังใจ ตลอดจนทําให้ขาดประสิทธิภาพในการทํางานเนื่องจากระบบการให้คุณ โทษไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่เหมาะสม

ปานกลาง จัดโครงการส่งเสริมขวัญและกําลังใจให้แก่บุคลากรในคณะฯ เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ชี้ให้บุคลากรเข้าใจและเห็นการปฏิบัติงานที่ให้คุณ โทษและการประเมินที่เป็นรูปธรรม

ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยและคณะนิเทศศาสตร์

Page 19: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 18

4. ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก

ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง (ปีการศึกษา 2553) ภายนอก ภายใน

ผลกระทบ ระดับความเสี่ยง มาตรการ/แผนปฏิบัติการ

ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

1.การแข่งขันกับมหาวิทยาลัยอื่น

มีมหาวิทยาลัยเปิดสอนทางด้านนิเทศศาสตร์เป็นจํานวนมาก และมีสาขาวิชาที่น่าสนใจ ตลอดจนมีสถาบันวิชาชีพเปิดสอนเฉพาะ เช่น สถาบันกันตนา (ด้านภาพยนตร์)

ทําให้นักศึกษาในพื้นที่มีทางเลือกเพิ่มขึ้นและอาจเลือกเรียนให้สถาบันการศึกษาอื่นที่มีค่าใช้จ่ายน้อยกว่า เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฎ เป็นต้น ทําให้จํานวนนักศึกษาลดลง

สูง ปรับปรุงหลักสูตรให้มีความทันสมัยและประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น โดยใช้โครงการและกิจกรรมในการสร้างชื่อเสียง

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์และสาขาวิชา

2. ด้านความทันสมัยของอุปกรณ์การเรียนการสอนและห้องปฏิบัติการ

มีการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีตลอดเวลา เช่น คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ตัดต่อ เป็นต้น

อุปกรณ์ที่มีอยู่อาจไม่ทันการเปลี่ยนแปลง

ทําให้ขาดประสิทธิภาพการสอนและนักศึกษาไม่สามารถปฏิบัติงานจริงได้ มีผลต่อคุณภาพบัณฑิต

ปานกลาง มีการสํารวจอุปกรณ์และเสนอมหาวิทยาลัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอนตามความเหมาะสม

ปีการศึกษา 2553

คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชา/ฝ่ายเทคนิค/ฝ่ายปฏิบัติการ

3. เหตุการณ์ความไม่สงบของบ้านเมือง

มีความขัดแย้งทางการเมือง

อาจต้องประกาศปิดการเรียนการสอน

มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอน

น้อย จัดชดเชยชั่วโมงการสอน

ปีการศึกษา

คณะนิเทศศาสตร์และ

Page 20: แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2553 2554

���������� ����� ���� ������� 19

ตามมติทางราชการ 2553 สาขาวิชา