14
Volume 1/2015 : January - March

Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

Volume 1/2015 : January - March

Page 2: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

สารบัญSpecial TOPIC การสื่อสารระหวางคณะกรรมการตรวจสอบกับฝายบริหารและผูสอบบัญชี

เพื่อประสิทธิภาพในการสอบทานรายงานทางการเงิน 3 IFRS Update 6TFRS Progress กรมพัฒนาธุรกิจการคาเริ่มใหบริการรับงบการเงินดวยระบบ e-Filing แลว 8 New auditor’s Report 9Related ISSUE

Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to Breach the Fundamental Principles 9

Financial Reporting QUIZ 11Training & Seminar UPDATE 14Disclaimerเอกสารฉบับนี้ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยจัดทําข้ึนเพื่อเสริมสรางความรู ความเขาใจ และใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ทั้งนี้ ตลาดหลักทรัพยฯ สงวนสิทธิ์ไมรับรองความถูกตองครบถวนและเปนปจจุบันของขอมูล เนื้อหา ตัวเลข รายงานหรือขอคิดเห็นใดๆ ไมวาสวนใดสวนหน่ึงในเอกสารฉบับน้ี เน้ือหาที่ปรากฏอยูในเอกสารนี้เปนเพียงการใหขอมูลของตลาดหลักทรัพยฯ เทานั้น มิใชการใหคําแนะนําหรือความคิดเหน็ดานกฎหมาย และตลาดหลักทรัพยฯ ไมมีความรับผิดในความเสียหายใดๆ ไมวาเปนผลโดยทางตรงหรือทางออมที่อาจจะเกิดขึ้นจากการใชขอมูลไมวาสวนใดสวนหนึ่งหรือทั้งหมดในเอกสารฉบับนี้

Inspiration

สุภกิจ จิระประดิษฐกุลรองผูจัดการ

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

สวัสดีครับ FRUpdate@SET กาวเขาสูปที่ 5 แลวนะครับ ในปมะแมนี้ ไมวาทานจะตองเผชิญกับสถานการณหนักเบาเพียงไร ขอเพียงทําจิตใจใหผองใสเพื่อใหเปนปแหง “แพะรับบุญ” สําหรับทุกทานนะครับ

FRUpdate@SET ฉบับนี้ นําเสนอเร่ืองราวท่ีจะชวยใหคณะกรรมการตรวจสอบสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น เนื่องจากคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทจดทะเบียนมีบทบาทสําคัญอยางย่ิงในการกํากับดูแลใหบริษัทจดทะเบียนจัดทํารายงานทางการเงินที่เชื่อถือได การสื่อสารกับฝายจัดการและผูสอบบัญชีอยางใกลชิดและเปนระบบจะชวยใหคณะกรรมการตรวจสอบทําหนาที่ไดดียิ่งขึ้น แลวคณะกรรมการตรวจสอบควรหยิบยกประเด็นใดบาง...ติดตามไดใน Special Topic … นอกจากนี้ มาตรฐานสากลตางๆ ไมวาจะเปนมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ (IFRS) มาตรฐานการสอบบัญชีระหวางประเทศ (ISA) และมาตรฐานจรรยาบรรณนานาชาติที่กําหนดโดยสหพันธนักบัญชีนานาชาติ (IFAC) ตางก็มีการปรับปรุงอยูเสมอเพื่อใหเหมาะสมและสอดคลองกับสภาพแวดลอมและสถานการณที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งก็ไดนําเรื่องสําคัญท่ีนาสนใจมานําเสนอในฉบับนี้เชนเคย ติดตามไดในฉบับนะครับ

Page 3: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

3

คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทสําคัญในการสอบทานรายงานทางการเงิน เนื่องจากมีหนาที่โดยตรงที่จะตองสอบทานใหบริษัทจดทะเบียนมีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ ซึ่งการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนมีผูที่เกี่ยวของหลายฝายทั้งภายในและภายนอกองคกร โดยภายในองคกร ไดแก ฝายบัญชี-การเงินและผูบริหารของบริษัท เปนตน สวนภายนอกองคกร ไดแก ผูสอบบัญชี ดังนั้น ในการสอบทานรายงานทางการเงินในแตละไตรมาส คณะกรรมการตรวจสอบตองมกีารสื่อสารหรือซักถามขอมูลกับบุคคลดังกลาว เพื่อใหมั่นใจวารายงานทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนถูกตอง

เพ่ือเปนการเตรียมความพรอมและเพ่ิมประสิทธิภาพในการสอบทานรายงานทางการเงินของคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบกับมีการเปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสําคัญในมาตรฐานการรายงานทางการเงินทั้งฉบับใหมและฉบับปรับปรุงซึ่งมีผลใชบังคับในป 2558 เปนตนไป จึงขอนําเสนอประเด็นคําถามหรือประเด็นหารือที่จะเปนแนวทางใหกับคณะกรรมการตรวจสอบในการส่ือสารกับฝายบริหารและผูสอบบัญชีของบริษัทจดทะเบียน ดังนี้

ประเด็นคําถามหลักในการสื่อสารกับฝ�ายบริหารของบริษัทจดทะเบียน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในข�อกําหนดของมาตรฐานการบัญชี

1. การเปลี่ยนแปลงมาตรฐานบัญชีมีผลกระทบตอรายงานทางการเงินอยางไรบาง

2. ผูที่เกี่ยวของในเรื่องนี้มีใครบางและบุคคลดังกลาวมีความรูความเขาใจเรื่องดังกลาวมากนอยเพียงใด

3. มีการตั้งคณะทํางานดูแลเร่ืองนี้หรือยัง ใครรับผิดชอบ ดูแลอะไรบาง

4. ตองมีการปรับระบบ ขั้นตอนการทํางานและการเก็บขอมูลหรือไม

5. บริษัทจดทะเบียนของกลุมบริษัททํางานไปในทิศทางเดียวกัน หรือไม

6. ฝายบริหารทราบถึงผลกระทบตองบการเงินหรือไม เมื่อไหร อยางไร

7. ฝายบริหาร ที่ปรึกษาและผูสอบบัญชีมีความเห็นไปในทิศทางเดียวกันหรือไม

8. แผนการสื่อสารผลกระทบที่มีตองบการเงินไดมีการเตรียมการอยางไร

9. การเปลี่ยนแปลงมาตรฐานฯมีผลตอนโยบายการจายเงินปนผลมากนอยแคไหน

10. จะอธิบายตอผูถือหุนในการประชุมผูถือหุนสําหรับป 2558 และตอไปอยางไร

ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.kpmg.com (AC Forum)

ประเด็นคําถามในการสื่อสารกับผู�สอบบัญชี

คณะกรรมการตรวจสอบควรจะมกีารสือ่สารกบัผูสอบบญัชเีพือ่ทีจ่ะชวยใหกระบวนการจดัทาํรายงานทางการเงนิเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการตรวจสอบควรจะสื่อสารกับผูสอบบัญชีทั้งในชวงของการวางแผนงานของผูสอบบัญชีในการตรวจสอบหรือสอบทานงบการเงิน ระหวางการตรวจสอบหรือสอบทานงบการเงิน และหลังจากการตรวจสอบหรือสอบทานงบการเงินแลวเสร็จ

การสื่อสารระหว�างคณะกรรมการตรวจสอบกับฝ�ายบริหารและผู�สอบบัญชี เพ่ือประสิทธิภาพในการสอบทานรายงานทางการเงิน

Special TOPIC

Page 4: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

4

ช�วงการวางแผนของผู�สอบบัญชีในการตรวจสอบหรือสอบทานงบการเงินของกิจการ

ประเด็น คําถาม

ขอมูลจากปกอน 1. บริษัทมีประเด็นทางบัญชีหรือการตรวจสอบบัญชีจากปกอนหรือไม อยางไร ควรปรับปรุงแกไขอยางไร2. ระบบการควบคุมภายในระบบใดมีขอบกพรองท่ีตองเรงปรับปรุง

การวางแผนของผูสอบบัญชี

3. กรณีมีมาตรฐานการบัญชีหรือการสอบบัญชีฉบับใหมที่บังคับใช 3.1 มีผลกระทบทําใหวิธีการบันทึกบัญชี วิธีการตรวจสอบบัญชีเปลี่ยนแปลงไปอยางไร 3.2 บริษัทควรดําเนินการอยางไร4. รายการบัญชีใดที่ผูสอบบัญชีเห็นวาเปนบัญชีที่สําคัญ และมีความเสี่ยงที่จะทําใหงบการเงินไมถูกตอง5. มีความเสี่ยงอะไรที่อาจทําใหงบการเงินไมถูกตอง6. ผูสอบบัญชีมีแนวทางในการตรวจสอบบัญชีอยางไร เพ่ือปองกันขอผิดพลาดและตอบสนองตอความเส่ียง

ดังกลาว7. บริษัทมีความเสี่ยงที่ผูบริหารจะสามารถขามขั้นตอนของระบบการควบคุมระบบใดหรือไม ถามีบริษัท

ควรดําเนินการอยางไร8. บริษัทมีการใชบริการ non-audit service จากผูสอบบัญชีหรือไม อยางไร คาบริการเทาไร กระทบตอ

ความอิสระของผูสอบบัญชีหรือไม9. บริษัทมีบริษัทยอยที่มีสาระสําคัญที่ตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีอื่นหรือไม (ถามี) ผูสอบบัญชีจะควบคุม

การปฏิบัติงานของผูสอบบัญชีอื่นอยางไร

ความกังวลของผูสอบบัญชี

10. ระบบงานใดที่หากบริษัทปรับปรุงแลวจะชวยใหผูสอบบัญชีมีความเชื่อมั่นตอความถูกตองของขอมูล11. ผูสอบบัญชีตองการความรวมมือจากบริษัทในสวนใดเพิ่มเติม เพื่อใหไดขอมูลท่ีครบถวน12. แผนการดําเนินธุรกิจของบริษัทมีประเด็นใดท่ีทําใหผูสอบบัญชีกังวลวาอาจกอใหเกิดขอผิดพลาดใน

การบันทึกบัญชี

การกํากับดูแลจากหนวยงานตางๆ

13. ก.ล.ต. หรอืหนวยงานอ่ืนใดท่ีเกีย่วของ ไดตรวจทานกระดาษทําการของผูสอบบัญชทีีใ่ชในการตรวจสอบบริษัทหรือไม (ถาใช) มีประเด็นอะไรที่บริษัทควรปรับปรุงแกไข ผูสอบบัญชีมีแนวทางแกไขปรับปรุงอยางไร

กรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบตองการลงรายละเอียดในเรื่องที่เกี่ยวกับรายการระหวางกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวของกัน

14. ผูสอบบัญชีมีวิธีการตรวจสอบอยางไรวาผูบริหารไดแจงขอมูลบริษัทหรือบุคคลท่ีเก่ียวของกันครบถวนแลว หากผูบริหารแจงขอมูลไมครบถวน ผูสอบบัญชีมีวิธีการตรวจสอบอยางไรเพื่อใหแนใจวาผูบริหารไดแจงรายการกับกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวของกันควบถวนแลว หรือไม อยางไร

15. ผูสอบบัญชีมวีธิกีารตรวจสอบอยางไรใหแนใจวา ระบบบัญชขีองบริษทัสามารถดึงขอมลูรายการระหวางกันกับกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวของกันไดครบทุกรายการ

กรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบตองการลงรายละเอียดในรายการธุรกิจที่สําคัญของบริษัท

16. ผูสอบบัญชีพิจารณาวารายการธุรกิจที่สําคัญของกิจการคืออะไร17. บัญชีใดบางที่เกี่ยวของกับรายการธุรกิจที่สําคัญ18. ผูสอบบัญชีประเมินความเสี่ยงของบัญชีดังกลาวในระดับใด เพราะเหตุใด 19. เพราะเหตุใดผูสอบบัญชีจึงไมไดระบุความเสี่ยงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (กรณีที่กรรมการตรวจสอบเห็นวามี

ความเสี่ยงอื่นที่ผูสอบบัญชีไมไดระบุ)20. ผูสอบบัญชีวางแผนที่จะตอบสนองความเสี่ยงไวอยางไร ครบถวนหรือไม 21. ในการตอบสนองตอความเสี่ยง ผูสอบบัญชีวางแผนท่ีจะทดสอบระบบการควบคุมหรือไม (หากจะ

ทดสอบ การทดสอบมีวัตถุประสงคเพื่อพิจารณาระบบการควบคุมในเรื่องใด)22. ผูสอบบัญชีวางแผนการตรวจสอบเนื้อหาสาระไวอยางไร การทดสอบมีวัตถุประสงคเพื่อพิจารณาความ

ถูกตองในเรื่องใด (ครบทุกวัตถุประสงคหรือไม)

Page 5: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

5

ช�วงระหว�างและหลังจากที่ผู�สอบบัญชีตรวจสอบหรือสอบทานงบการเงิน (ไตรมาสและประจําป�)

ประเด็น คําถาม

นโยบายบัญชี 1. นโยบายบัญชีหรือการประมาณการของบริษัทเปนอยางไรเม่ือเทียบกับบริษัทอ่ืนในอุตสาหกรรมเดียวกัน และบริษัทใชนโยบายใดที่ไมเปนไปตามอุตสาหกรรมหรือไม

2. บริษัทมีการเปล่ียนแปลงนโยบายบัญชีหรือไม อยางไร สงผลกระทบตอ งบการเงินอยางไร การเปลี่ยนแปลงเหมาะสมหรือไม

รายการทางบัญชีที่สําคัญ

3. มีรายการพิเศษที่มีสาระสําคัญ หรือรายการที่ผิดปกติธุรกิจหรือไม สงผลกระทบตองบการเงินอยางไร รายการดังกลาวไดมีการเปดเผยเหมาะสมแลวหรือไม

4. รายการสําคัญรายการใดท่ีเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินแลว แตผูใชงบการเงินอาจไมเขาใจ ควรตองเปดเผยเพิ่มเติมหรือไม อยางไร

5. รายการบัญชีใดที่จําเปนตองใชดุลยพินิจของผูบริหารอยางเปนสาระสําคัญ (ประมาณการรายได ตนทุน คาเผื่อฯ) ผูสอบบัญชีสอบทานหรือตรวจสอบรายการดังกลาวอยางไรใหเปนที่พอใจ มีประเด็นที่ผูสอบบัญชีไมเห็นดวยกับผูบริหารหรือไม ประเด็นดังกลาวมีขอสรุปอยางไร

6. บริษัทมีรายการระหวางกันที่มีสาระสําคัญหรือไม รายการดังกลาวไดถูกเปดเผยครบถวนแลวหรือไม (และคําถามอ่ืนๆ ในหัวขอรายการระหวางกัน)

7. ผูสอบบัญชีพบประเด็นที่มีความซับซอน ตองการหารือผูเชี่ยวชาญหรือไม ถามีการใชผูเชี่ยวชาญ ผูสอบบัญชีตรวจสอบผลงานของผูเชี่ยวชาญอยางไร

8. ผูสอบบัญชีมีขอสงสัยเกี่ยวกับการดําเนินงานตอเนื่องของบริษัทหรือไม

รายการขอผิดพลาด หรือความขัดแยงกับผูบริหาร

9. มีรายการขอผิดพลาด หรือการเปดเผยขอมูลท่ียังไมไดปรับปรุงหรือไม อยางไร 10. มีรายการใดท่ีไมถูกตอง แตยังไมไดแกไขปรับปรุง เนื่องจากไมมีสาระสําคัญ แตในอนาคตอาจจะมี

สาระสําคัญหรือไม 11. ผูสอบบัญชีพบขอบกพรองของระบบการควบคุมภายในหรือไม อยางไร12. ผูสอบบัญชีพบกรณีผูบริหารขามขั้นตอนของระบบการควบคุมระบบใดหรือไม อยางไร13. ผูสอบบัญชีตรวจพบรายการใดที่มีขอสงสัยวาอาจเปนรายการทุจริตหรือไม มกีารตรวจรายการดัง

กลาว อยางไร

กรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบตองการลงรายละเอียดในเรื่องที่เกี่ยวกับรายการระหวางกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวของกัน

14. ผูสอบบัญชีตรวจสอบอยางไรเพื่อใหแนใจวา รายการระหวางกันกับกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวของกันเปนไปตามปกติธุรกิจ (มีเงื่อนไขไมแตกตางจากรายการที่บริษัททํากับกิจการหรือบุคคลที่ไมเกี่ยวของกัน)

15. ผูสอบบัญชีตรวจพบการทํารายการกับกิจการหรือบุคคลที่ไมเกี่ยวของกัน แตไมเปนไปตามปกติธุรกิจหรือไม เปนการทํารายการกับใคร ไมพบความสัมพันธวาเปนกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวของกันใชหรือไม

16. การเปดเผยขอมูลรายการระหวางกันในหมายเหตุประกอบงบการเงินเรื่องใดท่ีผูสอบบัญชีอยากใหเปดเผยเพิ่มเติมเพื่อใหสะทอนขอเท็จจริงท่ีเกิดขึ้นหรือใหผูใชงบการเงินเขาใจมากขึ้น โดยเฉพาะเงื่อนไขของรายการวาเปนไปตาม ปกติธุรกิจหรือไมเปนไปตามปกติธุรกิจอยางไร

กรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบตองการลงรายละเอียดในรายการธุรกิจท่ีสําคัญของบริษัท

17. ในการทดสอบระบบการควบคุม ขอใหผูสอบบัญชีอธิบายวา ผูสอบบัญชีวางแผนการเลือกตัวอยางเพื่อใหเปนตัวแทนที่เหมาะสมอยางไร ทําไมจึงคิดวาเพียงพอแลว และผลจากการทดสอบระบบการควบคุม มีประสิทธิผลหรือไม อยางไร

18. ในการตรวจสอบเน้ือหาสาระ ขอใหผูสอบบัญชีอธิบายวา ผูสอบบัญชีวางแผนการเลือกตัวอยางเพื่อใหเปนตัวแทนที่เหมาะสมอยางไร ทําไมจึงคิดวาเพียงพอแลว และหลักฐานการตรวจสอบเพียงพอที่จะสรุปวาบัญชี ดงักลาวถูกตองแลวหรือไม

Special TOPIC

Page 6: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

6

ทั้งนี้ ในการสื่อสารกับผูสอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบควรพิจารณาปรับเปลี่ยนคําถามที่จะใชสื่อสารกับผูสอบบัญชีใหเหมาะสมกับธุรกิจและสถานการณของแตละบริษัท เนื่องจากไมมีชุดคําถามที่สามารถใชไดกับทุกบริษัทหรือทุกสถานการณ

ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.sec.or.th/TH/Pages/Trainings-Seminars.aspx

The International Accounting Standards Board (IASB หรือ คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ) อยูระหวางหาขอสรุปของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (IFRS) ฉบับใหมซึ่งไมกําหนดการจัดประเภทของสัญญาเชาเปนสัญญาเชาดําเนินงานและสัญญาเชาการเงิน แตกําหนดใหกิจการผูเชาตองรับรูสินทรัพยและหนี้สินที่เกิดจากสัญญาเชาทุกประเภทในงบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) ปจจุบันคณะกรรมการฯ ไดเผยแพรเอกสารเกี่ยวกับผลกระทบในทางปฏิบัติที่อาจเกิดขึ้นจากมาตรฐานสัญญาเชาฉบับใหม รวมถึงเผยแพรรายละเอียดของความเหมือนและความแตกตางระหวางขอกําหนดของ IASB และขอกําหนดของ US Financial Accounting Standards Board (FASB หรือ คณะกรรมการมาตรฐานบัญชีการเงินของสหรัฐอเมริกา)

ขอพิจารณาของ IASB สําหรับโมเดลใหมทางบัญชีสําหรับสัญญาเชาจะเสร็จสมบูรณในเดือนนี้และกําหนดที่จะออกเปนมาตรฐานภายในปนี้ และเพื่อเปนการตอบรับคํารองขอจากผูมีสวนไดเสียตางๆ ที่จะใหมีขอมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับผลกระทบที่เปนไปไดจากมาตรฐานใหมนี้ IASB Staff ไดจัดทําเอกสารแสดงการเปรียบเทียบขอกําหนดทางบัญชีใหมและขอกําหนดทางบัญชีปจจุบัน

IASB และ FASB ไดทํางานรวมกันในโครงการมาตรฐานบัญชีสัญญาเชา และไดขอสรปุตรงกันในหลายๆ แงมุม รวมถึงการกําหนดใหแสดงรายการสัญญาเชาในงบดุล การใหคําจํากัดความของสัญญาเชา และการวัดมูลคาของหนี้สินสัญญาเชา อยางไรก็ตาม ยังมีขอแตกตางบางอยางระหวางโมเดลของคณะกรรมการทั้งสองชุด ซึ่งเอกสารเผยแพรไดใหภาพรวมของผลกระทบในทางปฏิบัติที่อาจเกิดขึ้นจากขอแตกตางเหลานี้ไวดวย

นอกจากการเปล่ียนแปลงตองบดุลแลว มาตรฐานสัญญาเชาฉบับใหมอาจจะทําใหเกิดความแตกตางที่สําคัญในงบกําไรขาดทุน ซึ่งไดแกการรายงานกําไรจากการดําเนินงานที่สูงขึ้นเมื่อเทียบกบัขอกําหนดปจจุบันและเมื่อเทียบกับโมเดลของ FASB ทั้งนี้ จะไมมีการเปล่ียนแปลงตอกระแสเงินสดรวม แตในงบกระแสเงินสดจํานวนเงินสดจากการดําเนินงานจะเพ่ิมขึ้น ขณะท่ีจํานวนเงินสดจากการจัดหาเงินจะลดลง

การวิเคราะหของ IASB สรุปไดวาตนทุนของกิจการในการใชมาตรฐานฉบับใหมตามโมเดลของ IASB และ FASB จะเหมือนกัน

เอกสารเผยแพรยังระบุถึงนัยในทางปฏิบัติอื่นที่อาจเกิดขึ้นไดสําหรับโมเดลทางบัญชีของสัญญาเชา เชนผลกระทบที่เปนไปไดตอตนทุนการกูยืม มาตรฐานฉบับใหมจะใหขอมูลที่โปรงใสขึ้นเก่ียวกับขอผูกมัดทางการเงินของกิจการแตไมไดเปลี่ยนแปลงขอผูกมัดเหลานั้น ดังนั้น ถามาตรฐานมีผลกระทบตอตอทุนการกูยืมของกิจการ ก็จะเปนเพราะการรายงานที่ไดรับการปรับปรุงใหดีขึ้นใหขอมูลใหมแกผูใหกูยืมซึ่งเกี่ยวของและสําคัญตอการตัดสินใจของผูใหกูยืม

ที่มา: www.ifrs.org

IASB sets out practical effects of bringing leases onto the balance sheet

IFRS Update

6

Page 7: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

7

IFRS Update

Regulatory interest in impairment reviews

ในชวง 2-3 ปที่ผานมา สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจตองเผชิญกับความทาทายอยางมากและเปนที่คาดวาการดอยคายังคงเปนเร่ืองท่ีตองใหความสําคัญ หนวยงานกํากับดูแลยังคงใหความสนใจในเรื่องนี้และยังคงผลักดันตอไปที่จะทําใหมีความโปรงใสเพ่ิมขึ้นในการเปดเผยขอมูล ทําใหกลุม(กิจการ)ที่มีคาความนิยมและสินทรัพยไมมีตัวตนจํานวนมาก มีความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นจากการถูกหนวยงานกํากับดูแลเรียกรองใหทําการประเมินการดอยคาและเปดเผยขอมูลที่เก่ียวของ ประเด็นสําคัญในการทดสอบการดอยคาไดแก

การพิจารณาปจจัยที่ทําใหเกิดการดอยคา (ทั้งปจจัยภายในและภายนอก) ตัวอยางเชนเมื่อมูลคาตลาด (Market Capitalization) ของกิจการท่ีเปนบริษัทจดทะเบียนตํากวามูลคาทางบัญชีของสินทรัพยสุทธิอยางมีนัยสําคัญ

สําหรับการใชโมเดลมูลคาจากการใช (Value in use) สมมติฐานท่ีสําคัญควรไมถูกกระทบจากขอมูลตลาดภายนอก สมมติฐานการเติบโตของกระแสเงินสดควรจะเทียบเคียงไดกับประมาณการทางเศรษฐกิจที่เปนปจจุบัน

โมเดลมูลคายุติธรรมตองใชสมมติฐานของผูมีสวนรวมในตลาดแทนที่จะใชประมาณการของฝายจัดการ

ขอกําหนดใหเปดเผยขอมูลตาม IAS 36 (มาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศเร่ืองการดอยคาของสินทรัพย) มีมาก แตก็มีความสําคัญตอผูใชงบการเงิน โดยเฉพาะอยางยิ่งการกําหนดใหเปดเผยขอมูลของสมมติฐานที่สําคัญและการวิเคราะหความไวท่ีเกี่ยวของ

ที่มา: www.pwc.com

Page 8: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

8

FRUpdate@SET Volume 2/2014 ไดนําเสนอเร่ืองเกี่ยวกับโครงการนําสงงบการเงินผานทางอิเล็กทรอนิกสหรือ e-Filing ของกรมพัฒนาธุรกิจการคา (DBD) กระทรวงพาณิชย โดยโครงการ e-Filing เปนนวัตกรรมใหมที่มีการประยุกตใชเทคโนโลยี XBRL มาสนับสนุนการใหบริการในการรับงบการเงินเปนครั้งแรกของประเทศไทย เพื่อทดแทนการรับงบการเงินรูปแบบเดิมท่ีเปนเอกสาร

ทุกปบริษัทมหาชนจํากัดตองนําสงงบการเงินตอ DBD ภายใน 1 เดือนนับแตวันที่งบการเงินนั้นไดรับอนุมัติจากที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุน ซึ่งภายหลังจากที่บริษัทมหาชนจํากัดไดนําสงงบการเงินตอ DBD แลว งบการเงินดังกลาว (รวมถึงงบการเงินของนิติบุคคลอื่นๆ ที่มีหนาที่นําสงตอ DBD) ซึ่งอยูในรูปแบบของเอกสาร (Hard Copy) จะถูกแปลงใหเปนเอกสารอิเล็กทรอนิกส และจัดเก็บขอมูลในรูปเอกสารภาพ (IMAGE) และปอนขอมูล (Re-key) เพื่อเก็บขอมูลที่ตองการกอนนําไปประมวลผลตอในฐานขอมูลอยางเปนระบบ เพื่อนําไปเผยแพร บริการขอมูลงบการเงินใหแกประชาชนผูสนใจ กระบวนการเหลานี้ใชระยะเวลาในการดําเนินการไมตํากวา 5-6 เดือน สงผลใหผูใชงบการเงินภาครัฐ ภาคเอกชน และธุรกิจไมสามารถนําขอมูลไปวิเคราะห วางแผนตัดสนิใจทางธุรกิจไดทันตอเหตุการณ

ปจจุบัน DBD ไดพัฒนาระบบ e-Filing แลวเสร็จ โดยเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2558 DBD ไดเปดตัวและเริ่มใหบริการรับงบการเงินผานทางอิเล็กทรอนิกส หรือที่เรียกวา “DBD e-Filing” ซึ่งจะเปนการอํานวยความสะดวกและเพิ่มชองทางการนําสงงบการเงินแกนิติบุคคลตาง ๆ ที่มีหนาที่นําสงงบการเงินตามกฎหมาย ในขณะท่ี DBD สามารถนําขอมูลงบการเงินมาประมวลผล วิเคราะห และเผยแพรใหแกหนวยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนทั้งในรูปแบบของเอกสารภาพและขอมูลสถติิไดรวดเร็วขึ้น เพื่อใหผูประกอบการ นักลงทุน สถาบันการเงิน หนวยงานภาครัฐและเอกชนผูสนใจสามารถนําขอมูลไปวิเคราะหฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานในรอบปที่ผานมาของนิติบุคคล อันจะกอใหเกิดประโยชนในดานตางๆ รวมทั้งเปนการเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการขอมูลงบการเงินของประเทศไทยใหมีความถูกตองและรวดเร็วยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาธุรกิจการคา จึงขอเชิญชวนใหผูประกอบการนําสงงบการเงินผานระบบอิเล็กทรอนิกส (e-Filing) ซึ่งระบบดังกลาวจะชวยใหไดรับความสะดวกในการนําสงงบการเงิน ลดการใชกระดาษ ประหยัดเวลาและคาใชจายในการเดินทางมาติดตอราชการ โดยกรมตั้งเปาหมายจะมีผูประกอบการนําสงงบการเงินผานระบบ e-Filing 100% ภายในป 2560

ทั้งนี้ผูประกอบการท่ีสนใจ สามารถสมัครลงทะเบียนขอใชงานระบบ e-Filing ไดที่เว็บไซต www.dbd.go.th เลือกหัวขอ “บริการออนไลน” >> เลือก “ระบบการนําสงงบการเงินทางอิเล็กทรอนิกส (DBD e-Filing) >> ลงทะเบียนใชระบบ e-Filing เพื่อขอรับรหัสผูใชงาน (Username) และรหัสผาน(Password) (เขาใชงานระบบไดตลอดการประกอบธุรกิจ) และจัดเตรียมเอกสารหลักฐานเพื่อแสดงตน ขอรับรหัสผาน ณ กรมพัฒนาธุรกิจการคา สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาเขต 1 -6 หรือ สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัดและสาขาซึ่งเมื่อนําสงงบการเงินผานระบบ e-Filing ผูประกอบการไมตองเสียเวลาและคาใชจายเดินทางมายื่นงบการเงินดวยกระดาษอีกตอไป

กรมพัฒนาธุรกิจการค�าเริ่มให�บริการรับงบการเงินด�วยระบบ e-Filing แล�ว

TFRS Progress

Page 9: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

9

TFRS Progress

เมื่อวันท่ี 15 มกราคม 2558 IFAC ไดเผยแพรมาตรฐานการสอบบัญชีหมวด 700 Auditor’s report, ISA 260 (Revised), Communication with Those Charged with Governance และ ISA 570 (Revised), Going Concern ซึ่งเปนรายงานของผูสอบบัญชีแบบใหมที่ใหขอมูลเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานตรวจสอบมากขึ้นแกผูใชรายงานผูสอบบัญชี ผูลงทุน และนักวิเคราะห โดยเฉพาะอยางยิ่ง สําหรับการตรวจสอบงบการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย รายงานของผูสอบบัญชีจะมีการระบุถึง “เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ” (Key Audit Matters) โดยอธิบายถึงเรื่องสําคัญที่ผูสอบบัญชีใหความสนใจเปนพิเศษในการตรวจสอบ เชน ความเสี่ยงที่มีนัยสําคญั บัญชีประมาณการซึ่งผูสอบบัญชีตองใชดุลยพินิจอยางมากในการตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ และผลของการตรวจสอบในเรื่องดังกลาว สําหรับเนื้อหาที่ไดเพิ่มเติมในรายงาน ไดแก เรื่องการดําเนินงานตอเนื่อง และเรื่องขอมูลอื่น ผูสอบบัญชีตองระบุเรื่องการจัดทํางบการเงินตามเกณฑการดําเนินงานตอเนื่องและใหขอมูลเกี่ยวกับความไมแนนอนที่มีสาระสําคัญเกี่ยวกับการดําเนินงานตอเนื่องไวในรายงานดวย นอกจากนี้ ในรายงานใหม รูปแบบรายงานจะเปลี่ยนแปลงไปโดยการจัดเรียงวรรคตางๆ เปลี่ยนไปจากเดิม วรรคความเห็นจะเปนวรรคแรกในรายงาน และวรรคความรับผิดชอบของผูสอบบัญชีจะเปนวรรคสุดทาย เนื้อหาแตละวรรคจะมีความชัดเจนมากขึ้น เชน เรื่องความเปนอิสระ ความรับผิดชอบของผูบริหารและของผูสอบบัญชีโดยรายละเอียดมากขึ้น

มาตรฐานการสอบบัญชีระหวางประเทศขางตนจะมีผลบังคับใชสําหรับการตรวจสอบงบการเงินที่มีรอบบัญชีสิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เปนตนไป

สาํหรับในประเทศไทย สภาวิชาชีพบัญชีฯ อยูระหวางพิจารณาวันที่จะมีผลบังคับใช และมีแผนเผยแพรเรื่องนี้ใหกับผูสอบบัญชีและผูใชรายงานทางการเงินไดทราบทางชองทางตาง ๆ ตอไป

ผูสนใจสามารถอานขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับมาตรฐานการสอบบัญชีระหวางประเทศขางตนไดทางเว็บไซตของ IFAC http://www.ifac.org/auditing-assurance/new-auditors-report

ที่มา: www.fap.or.th

New auditor’s Report

Related ISSUE

9

Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to Breach the Fundamental Principles

International Ethics Standards Board for Accountants1 (IESBA หรือ คณะกรรมการมาตรฐานจรรยาบรรณนานาชาติสําหรับนักบัญชี) ไดจัดทําคูมือประมวลจรรยาบรรณสําหรับผูประกอบวิชาชีพบัญชี (Handbook of the Code of Ethics for Professional Accountants) ซึ่งประกอบดวยเนื้อหา 3 สวนหลักไดแก Part A ซึ่งกําหนดหลักการพ้ืนฐานของจรรยาบรรณวิชาชีพสําหรับผูประกอบวิชาชีพบัญชีและใหกรอบแนวคิดเพื่อผูประกอบวิชาชีพบัญชีนําไปประยุกตใช สําหรับ Part B และ Part C อธิบายถึงการนํากรอบแนวคิดไปประยุกตใชในสถานการณตางๆ โดยอธิบายตัวอยางของมาตรการปองกันซึ่งอาจถือวาเหมาะสมตอสถานการณ เพื่อใหการปฏิบัติของผูประกอบวิชาชีพบัญชีเปนไปตามหลักการพื้นฐาน

1 คณะกรรมการอิสระที่แตงตั้งโดยสหพันธนักบัญชีนานาชาติ (IFAC)

Page 10: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

10

ของจรรยาบรรณ นอกจากน้ี ยงัไดอธบิายถึงสถานการณในกรณีทีไ่มสามารถหามาตรการปองกนัเพือ่แกไขปญหาและอุปสรรค ซึ่งผูประกอบวิชาชีพบัญชีควรหลีกเลี่ยงสภาพแวดลอมและความสัมพันธที่ทําใหเกิดปญหาและอุปสรรคในกรณีดังกลาว สําหรับ Part B สามารถประยุกตใชกับผูประกอบวิชาชีพบัญชีที่ใหบริการทางวิชาชีพ (Professional Accountants in Public Practice) ในขณะที่ Part C ประยุกตใชกับผูประกอบวิชาชีพบัญชีในหนวยงานธุรกิจ (Professional Accountants in Business หรือ PAIB)

ปจจุบัน IESBA อยูระหวางขอรับฟงความเห็นรางประมวลจรรยาบรรณ ในสวนของ Part C ซึ่งเปนคําชี้แจงเกี่ยวกับการประยุกตใชหลักการพื้นฐานของจรรยาบรรณในสถานการณตาง ๆ สําหรับ PAIB เรื่อง “Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to Breach the Fundamental Principles” ซึ่งเปนการปรับปรุงจากคูมือฉบับป 2014 ทั้งนี้ ขอเสนอของรางประมวลจรรยาบรรณเปนการตอบสนองความจําเปนที่จะตองมีแนวทางปฏิบัติงานที่มั่นคงและปฏิบัติไดมากขึ้น เพื่อชวย PAIB ในการจดัการกับเรื่อง 2 เรื่องที่ PAIB ตองการคําแนะนําบอยท่ีสุดนั่นคือ ความรับผิดชอบในการจัดทํารายงานทางการเงินซึ่งเปนตัวแทนอันเที่ยงธรรมของรายการทางเศรษฐกิจตางๆ และความกดดันที่จะตองละเมิดหลักการพื้นฐานของจรรยาบรรณ

เนื่องจาก PAIB เปนผูมีบทบาทสําคัญในหวงโซรายงานทางการเงินและอาจตองเผชิญหนากับความกดดันใหตองปฏิบัติงานท่ีไมเปนไปตามจรรยาบรรณ รางแนวทางปฏิบัติงานที่นําเสนอนี้จะชวยให PAIB เขาใจถึงทางเลือกที่มี ซึ่งจะชวยสนับสนุนในการทํางานใหบรรลุผลตามความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่เพื่อประโยชนของสาธารณะ นอกจากนี้ ยังทําใหเขาใจชัดเจนดวยวาในการจัดทําขอมูลทางการเงิน การใชความระมัดระวังรอบคอบในลักษณะที่จงใจทําใหเขาใจผิด (เชน การเลือกวิธีการทางบัญชี) นั้นเปนเรื่องที่ยอมรับไมได

ในรางประมวลจรรยาบรรณท่ีขอรับฟงความคิดเห็นนี้ เสนอประเด็นที่เปลี่ยนแปลงคือ

แนวทางปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบของ PAIB ในการนําเสนอสารสนเทศที่มีความครบถวนและชัดเจนยิ่งข้ึน

แนวทางปฏิบัติงานที่มีเขมงวดขึ้นสําหรับ PAIB ในการที่จะยุติการเก่ียวของกับสารสนเทศที่กอใหเกิดความเขาใจผิด

ขยายความคําอธิบายเก่ียวกับความกดดันที่อาจนําไปสูการละเมิดหลักการพ้ืนฐานของประมวลจรรยาบรรณ รวมไปถึงตัวอยางในทางปฏิบัติที่แสดงใหเห็นสถานการณตาง ๆ ที่ความกดดันอาจเกิดขึ้น และ

แนวทางปฏิบัติงานใหมที่ชวยให PAIB ระบุและตอบสนองตอความกดดันที่จะมีผลใหละเมิดหลักการพ้ืนฐาน

สําหรับประเทศไทย สภาวิชาชีพบัญชีฯ ไดกําหนดจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพบัญชีโดยออกเปนขอบังคับจรรยาบรรณเพ่ือใหผูประกอบวิชาชีพบัญชีปฏิบัติตาม และไดจัดทําคําชี้แจงขอบังคับสภาวิชาชีพบัญชีเรื่องจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพบัญชี (ฉบับ พ.ศ. 2553) ซึ่งมีเนื้อหาของคูมือประมวลจรรยาบรรณสําหรับผูประกอบวิชาชีพบัญชีที่กําหนดโดยสหพันธนักบัญชนีานาชาติ โดยแปลจาก Handbook of the Code of Ethics for Professional Accountant 2012 ปจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีฯ อยูระหวางรวบรวมความเห็นตอรางประมวลจรรยาบรรณที่ IFAC เสนอนี้ ทานผูประกอบวิชาชีพบัญชีในประเทศไทยหรือมีความสนใจในวิชาชีพบัญชี สามารถศึกษารางประมวลจรรยาบรรณนานาชาติสําหรับนักบัญชี และรวมใหความเห็นไดที่ https://www.ifac.org/publications-resources/proposed-changes-part-c-code-addressing-presentation-information-and-pressure ซึ่ง IESBA จะรับฟงความเห็นตอรางประมวลจรรยาบรรณจนถึงวันที่ 15 เมษายน 2558

Page 11: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

11

Financial Reporting QUIZ

ตามท่ีมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 การวัดมูลคายุติธรรม ไดกําหนดหลักการสําคัญเกี่ยวกับเทคนิคการประเมินมูลคา (Valuation Techniques) ลําดับชั้นของมูลคายุติธรรม การเปดเผยขอมูล ดังนั้นในฉบับนี้จึงขอนําเสนอคําถาม-คําตอบ เพ่ือเปนการทบทวนเก่ียวกับการวัดมูลคายุติธรรมในกรณีตอไป ดังนี้

บริษัท X ไดมาซึ่งโรงงานผลิตสุราซึ่งตั้งอยูในพื้นที่ซึ่งเพิ่งจะถูกจัดสรรพื้นที่ใหมีทั้งสวนของเขตท่ีอยูอาศัยและเขตอุตสาหกรรม บริษัท X เห็นวาผูรวมตลาด (market participants) จะพิจารณาถึงความเปนไปไดที่จะพัฒนาบริเวณที่ตั้งของโรงงานผลิตสุราสําหรับใชเปนเขตที่อยูอาศัยในการตั้งราคาที่ดินซึ่งโรงงานผลิตสุราตั้งอยูในปจจุบันบริษัท X ควรวัดมูลค�ายุติธรรมของที่ดินอย�างไร

บริษัท X ควรวัดมูลคายุติธรรมของที่ดินโดยอางอิงราคาที่สูงกวาระหวาง มูลคาที่ดินตามสภาพที่จะมีการพัฒนาเปนโรงงานผลิตสุรา และ มูลคาท่ีดินตามสภาพท่ีเปนท่ีดินวางเปลาสําหรับใชเปนท่ีอยูอาศัย โดยพิจารณาถึงตนทุนการร้ือถอนโรงงานผลิต

สุราและตนทุนอื่นที่จําเปนเพื่อเปลี่ยนแปลงที่ดินเปนที่ดินวางเปลา บริษัท B ไดมาซึ่งตราสินคา Z จากการรวมธุรกิจ บริษัท B ตัดสินใจที่จะไมใชประโยชนจากตราสินคา Z บนสมมุติฐานวาการเอาตราสินคา Z ออกจากตลาดจะทําใหเกิดมูลคาเพิ่มมากกวาอันเปนผลมาจากการมีรายไดจากตราสินคาของบริษัท B เองที่มีอยูบริษัท B ควรวัดมูลค�ายุติธรรมของตราสินค�า Z อย�างไร

มูลคายุติธรรมของตราสินคา Z ขึ้นอยูกับการใชประโยชนตอไปจากการท่ีผูรวมตลาดจะเลือกใชตราสินคา Z ตอไป แมวาการตัดสินใจของบริษัท B ที่จะไมใชประโยชนจากตราสินคา Z จะใหผลประโยชนตอบริษัท B มากกวา

การใช�ให�เกิดประโยชน�สูงสุดและดีที่สุด (Highest and best use)

ที่มา: Insights into IFRS – KPMG’S Practical guide to International Financial Reporting Standards, 11th Edition 2014/15

จากตัวอย�างสถานการณ�ต�อไปนี้ กิจการ ก มีสวนไดเสียในกิจการ ข 10% หุนของกิจการ ข ไมไดมีการซื้อขายในตลาดซื้อขายคลอง (Active market) กิจการ ข สามารถเปรียบเทียบกันไดกับกิจการที่มีหุนซื้อขายในตลาดซื้อขายคลองกิจการ ก ควรใช�เทคนิคใดในการประเมินมูลค�ายุติธรรมของส�วนได�เสียในกิจการ ข

โดยท่ัวไป วิธีราคาทุนไมเหมาะสมท่ีจะนํามาใชในการประเมินมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารทุน วิธีราคาตลาดและวิธีรายไดเปนเทคนิคท่ัวไปท่ีใชในการประเมินมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารทุนท่ีไมได

มีการซ้ือขายสาธารณะ ไมจําเปนตองใชท้ังวิธีราคาตลาดและวิธีรายได – ข้ึนอยูกับขอเท็จจริงและสถานการณเฉพาะ

เทคนิคการประเมินมูลค�า (Valuation Techniques)

Page 12: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

12

ที่มา: Deloitte Forum 1/2014 - Workshop for practical issues in Thai Financial Reporting Standards 15 July 2014

ตัวอยางเชน หากไมมีการปรับปรุงที่มีนัยสําคัญสําหรับวิธีราคาตลาด (เชน ขอมูลระดับ 2) กิจการ สามารถใชวิธีราคาตลาดเพียงวิธีเดียวในการประมาณมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารทุน จากตัวอย�างสถานการณ�ต�อไปนี้ กิจการ ก ซื้อกลุมของสินทรัพยหนึ่ง ซึ่งประกอบดวย ซอฟแวรที่พัฒนาเพ่ือใชภายในกิจการและเพ่ือใหสิทธิการใชกับลูกคา

สมมติวาการนํามาใชที่ใหประโยชนสูงสุดและดีที่สุดคือการใชงานในปจจุบัน ไมมีขอมูลเกี่ยวกับรายการคาสําหรับซอฟแวรที่สามารถเปรียบเทียบกันได ผูมีสวนรวมในตลาดไมสามารถพัฒนาซอฟแวรที่มีประโยชนเทียบเคียงกันไดกิจการ ก ควรใช�เทคนิคใดในการประเมินมูลค�ายุติธรรมของซอฟแวร�ดังกล�าว

วิธีราคาตลาดไมเหมาะสมท่ีจะนํามาใชในสถานการณน้ีเน่ืองจากไมมีขอมูลเก่ียวกับรายการคาสําหรับซอฟแวรท่ีสามารถเปรียบเทียบกันได

วิธีราคาทุนไมเหมาะสมท่ีจะนํามาใช เน่ืองจากผูมีสวนรวมในตลาดไมสามารถพัฒนาซอฟแวรท่ีมีประโยชนเทียบเคียงกันได

วิธีรายไดมีความเหมาะสมท่ีจะนํามาใชในการประเมินมูลคาซอฟแวรดังกลาว

ทั้งนี้ เทคนิคการประเมินมูลคา (Valuation Techniques) มี 3 วิธีที่นํามาใชอยางแพรหลายไดแก

(1) วิธีราคาตลาด (Market approach) : ใชราคาและขอมูลที่เก่ียวของอื่นๆ ซึ่งเปนขอมูลของตลาดสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินที่มีลักษณะเหมือนกันหรือเปรียบเทียบได

(2) วิธีราคาทุน (Cost approach) : จํานวนเงินที่ตองใชในปจจุบัน เพื่อนํามาเปลี่ยนแทนกําลังการผลิตของสินทรัพย (ตนทุนการเปลี่ยนแทนปจจุบัน)

(3) วิธีรายได (Income approach) : การแปลงมูลคาในอนาคต (เชน กระแสเงินสดหรือรายไดและคาใชจาย) มาเปนมูลคาปจจุบัน

ลําดับชั้นของมูลค�ายุติธรรม (Fair value hierarchy)

จากตัวอย�างสถานการณ�ต�อไปนี้ กิจการ ก มีอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ซึ่งวัดมูลคายุติธรรมตาม TAS 40 จากรายงานการประเมินมูลคา มูลคายุติธรรมถูกกําหนดจากมูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยท่ีเปรียบเทียบกันไดในทําเลที่ตั้งและที่คลายคลึงกันกิจการ ก ควรจัดประเภทการวัดมูลค�ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย�เพื่อการลงทุนดังกล�าวตามลําดับชั้นของมูลค�ายุติธรรมอย�างไร (ระดับที่ 1, 2 หรือ 3)

จัดเปนขอมูลระดับ 2 เน่ืองจากมูลคายุติธรรมถูกกําหนดจากขอมูลท่ีสังเกตไดจากตลาดซ่ึงมีนัยสําคัญตอการวัดมูลคายุติธรรม (ราคาตลาดของอสังหาริมทรัพยท่ีเปรียบเทียบกันไดในทําเลท่ีต้ังท่ีคลายคลึงกัน) ไมมีขอมูลท่ีสังเกตไมไดหรือการปรับปรุงท่ีจะมีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญมีการซ้ือขายสาธารณะ

Page 13: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

13

จากตัวอย�างสถานการณ�ต�อไปนี้ กิจการ ก ทําสัญญาซื้อขายไฟฟาราคาคงที่ 3 ป โดยจะขายไฟฟา 50 MW ในนิคม กขค ตั้งแต วันที่

1 มกราคม 25X1 ถึง 31 ธันวาคม 25X3 ณ วันท่ี 31 มีนาคม 25X1 กิจการ ก พิจารณามูลคายุติธรรมของสัญญาดังกลาว มีขอมูลราคาท่ีเสนอในตลาดซ้ือขายคลอง สําหรับสัญญาซื้อขายไฟฟาลวงหนาที่นิคม กขค ระยะเวลา 1 ป จาก 31 มีนาคม 25X1 ถึง 31 มีนาคม 25X2

กิจการ ก ใชขอมูลราคาซื้อขายลวงหนา 1 ปที่สังเกตไดและประมาณการเพ่ิมเติมเติม สําหรับระยะเวลาท่ีเหลือ 1 ป 9 เดือน

กิจการ ก ควรจัดประเภทการวัดมูลค�ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายไฟฟ�าราคาคงที่ 3 ป�ดังกล�าวตามลําดับชั้นของมูลค�ายุติธรรมอย�างไร (ระดับที่ 1, 2 หรือ 3)

จัดเปนขอมูลระดับ 3 เน่ืองจากราคาซ้ือขายลวงหนาสามารถสังเกตไดเพียง 12 เดือน จาก 33 เดือน (รอยละ 36) จึงไมเขาเกณฑของขอมูลระดับท่ี 2 ท่ีวาขอมูลท่ีนํามาใชตองสังเกตได สําหรับเง่ือนไขสวนใหญของสินทรัพยหรือหน้ีสิน

ที่มา: Deloitte Forum 1/2014 - Workshop for practical issues in Thai Financial Reporting Standards 15 July 2014

ทั้งนี้ ลําดับชั้นของมูลคายุติธรรมใน TFRS 13 ใชกับทั้งสินทรัพยที่เปนตัวเงินและไมเปนตัวเงิน โดยลําดับชั้นของมูลคายุติธรรมใหความสําคัญสูงสุดกับราคาท่ีเสนอซื้อขาย (quoted price) ในตลาดซื้อขายคลอง (active market) สําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินที่เหมือนกัน และใหความสําคัญนอยสุดกับขอมูลที่สังเกตไมได (unobservable inputs) ทั้งนี้การวัดมูลคายุติธรรมจะถูกจัดประเภทในระดับเดียวกันกับขอมูลในระดับที่ตําที่สุดที่มีนัยสําคัญตอการวัดมูลคาทั้งหมด นอกจากนี้ ลําดับชั้นของมูลคายุติธรรม ใหความสําคัญกับขอมูลที่นํามาใช ไมใชเทคนิคการประเมินมูลคาที่ใชในการวัดมูลคายุติธรรม

ลําดับชั้นของมูลคายุติธรรม แบงเปน 3 ระดับ ดังนี้

ขอมูลระดับ 1 ราคาที่เสนอซ้ือขาย (quoted price) ในตลาดซื้อขายคลอง(active market) สําหรับ สินทรัพยหรือหนี้สินที่มีลักษณะเหมือนกัน โดยตลาดซื้อขายคลอง คือ ตลาดธุรกรรมสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินที่เกิดขึ้นดวยความถี่และปริมาณอยางเพียงพอเพื่อใหขอมูลราคาอยางตอเน่ือง

ขอมูลระดับ 2 ขอมูลอื่นที่สังเกตได (observable inputs) นอกเหนือจากราคาท่ีเสนอซื้อขาย ซึ่งรวมอยูในระดับที่ 1 โดยหากสินทรัพยหรือหนี้สินมีเงื่อนไข (ตามสัญญา) เฉพาะขอมูลระดับ 2 ตองสังเกตได สําหรับเงื่อนไขสวนใหญของสินทรัพยหรือหนี้สิน ทั้งนี้ ขอมูลที่นาํมาใชระดับท่ี 2 รวมรายการดังตอไปนี้ ไดแก ราคาที่เสนอสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินที่คลายคลึงกันในตลาดซื้อขายคลอง และราคาที่เสนอสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินที่มีเหมือนกันหรือคลายคลึงกันในตลาดที่ไมมีการซื้อขายคลอง หรือขอมูลอื่นที่สังเกตได เชน อัตราดอกเบี้ย, implied volatilities, credit spread เปนตน

ขอมูลระดับ 3 ขอมูลที่สังเกตไมได (unobservable inputs) โดยการวัดมูลคายุติธรรมมีวัตถุประสงคเหมือนเดิม ตองเปนราคาขายออก (exit price) ณ วันที่วัดมูลคา และกิจการควรเลือกขอมูลที่สังเกตไมไดที่นาเชื่อถือมากที่สุดที่มีอยูในสถานการณ รวมทั้งขอมูลที่ใชในการวัดมูลคาระดับที่ 3 ควรรวมความเส่ียงสืบเนื่องจากการนําเทคนิคการวัดมูลคายุติธรรมมาใช และความเสี่ยงสืบเน่ืองจากขอมูลที่นํามาใช

ตัวอยางของขอมูลระดับท่ี 3 เชน การประมาณการกระแสเงินสดเพื่อกําหนดมูลคายุติธรรมของหนวยที่กอใหเกิดเงินสดนั้น เชน งบกระแสเงินสด หรือประมาณการ กําไรขาดทุน เปนตน

Page 14: Volume 1/2015 : January - March · Volume 1/2015 : January - March. ... Related ISSUE Proposed Changes to Part C of the Code Addressing Presentation of Information and Pressure to

14

Training & Seminar UPDATE

• จัดสัมมนาโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (มีคาใชจาย) วันสัมมนา ชื่อหลักสูตรสัมมนาที่นาสนใจ

25 เมษายน – 30 พฤษภาคม 2558 (09.00-16.00 น)

Fundamental Practice For CFO รุนที่ 1/58 (Young CFO รุนที่ 4)

22 พฤษภาคม 2558 (9.00 – 12.15 น.)

เสวนา ประเด็นปญหาจากการนํา Pack 5 มาใชในทางปฏิบัติ

29 พฤษภาคม 2558(9.00 – 16.30 น.)

สรุปการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของ TFRS (ฉบับปรับปรุง 2558)

4-28 มิถุนายน 2558 (9.00 – 16.30 น.)

TFRS ทุกฉบับ ป 2558 รุนที่ 1/58 และรุนที่ 2/58

5-6 มิถุนายน 2558(9.00 – 16.30 น.)

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี: หลักบัญชีและภาษีอากรความเหมือนที่แตกตาง

5 มิถุนายน – 3 กรกฎาคม 2558(09.00-16.00 น)

Professional Controller รุนที่ 5

16 มิถุนายน 2558(9.00 – 16.30 น.)

ภาพรวมมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รุนที่ 1/58

19 มิถุนายน 2558(9.00 – 16.30 น.)

ตรวจสุขภาพกิจการผานงบการเงิน รุนที่ 1/58

รายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.fap.or.th

ฝายกํากับบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 E-mail : [email protected]