20
บทที4 เรื่อง การสร้างออบเจ็กต์ 1. เครื่องมือที่ใช้ในการสร้างออบเจ็กต์ ออบเจกต์ คือ เส้นและรูปทรงต่าง ๆ ที่เราสร้างขึ้นใน PageMaker 7.0 เพื่อเพิ่มสีสันในงาน ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพ โดยการใช้เครื่องมือที่มีอยู่ใน Toolbox แสดงเป็นปุ่มต่าง ๆ ได้เรียกใช้ ร่วมกับ คาสั่งอื่น ๆ บ่อยที่สุด หากไม่ปรากฏบนหน้าจอ ดังรูปที4.1 สามารถเรียกใช้งานได้ทีShow Tools จากเมนูคาสั่ง Window และถ้าไม่อยากให้แสดงบนหน้าจอภาพ ก็สามารถจัดเก็บได้โดยเลือกทีHide Tools รูปที4.1 แสดงการเรียกใช้กล่องเครื่องมือจากคาสั่ง Window > Show Tools ออกมาใช้งาน (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ , 2553) รูปที4.2 แสดงการจัดเก็บกล่องเครื่องมือจากคาสั่ง Window > Hide Tools (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ , 2553)

Unit 4

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Unit 4

บทที่ 4 เร่ือง การสร้างออบเจ็กต์

1. เครื่องมือที่ใช้ในการสร้างออบเจ็กต์ ออบเจกต์ คือ เส้นและรูปทรงต่าง ๆ ที่เราสร้างขึ้นใน PageMaker 7.0 เพ่ือเพ่ิมสีสันในงาน

ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพ โดยการใช้เครื่องมือที่มีอยู่ใน Toolbox แสดงเป็นปุ่มต่าง ๆ ได้เรียกใช้ ร่วมกับค าสั่งอ่ืน ๆ บ่อยท่ีสุด หากไม่ปรากฏบนหน้าจอ ดังรูปที่ 4.1 สามารถเรียกใช้งานได้ท่ี Show Tools จากเมนูค าสั่ง Window และถ้าไม่อยากให้แสดงบนหน้าจอภาพ ก็สามารถจัดเก็บได้โดยเลือกท่ี Hide Tools

รูปที่ 4.1 แสดงการเรียกใช้กล่องเครื่องมือจากค าสั่ง Window > Show Tools ออกมาใช้งาน (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

รูปที่ 4.2 แสดงการจัดเก็บกล่องเครื่องมือจากค าสั่ง Window > Hide Tools (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 2: Unit 4

รูปที่ 4.3 แสดงลักษณะรูปร่างของปุ่มเครื่องมือที่มีอยู่ใน Toolbox (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

1.1 ชนิดและการใช้งานของเครื่องมือในการสร้างออบเจ็กต์ ภายในกล่องเครื่องมือจะประกอบไปด้วยเครื่องมือที่ให้เราได้ใช้งานเกี่ยวกับ การจัดการกับ

ข้อความและรูปภาพ และสามารถสร้างรูปทรงต่าง ๆ ขึ้นมาใช้ในการจัดหน้าสิ่งพิมพ์ เพื่อให้สิ่งพิมพ์ออกมาโดดเด่นสวยงามและน่าสนใจ เครื่องมือแต่ละชนิดมีชื่อเรียกเฉพาะ และมีขีดความสามารถ ใช้งานที่แตกต่างกัน

เมื่อต้องการน าเครื่องมือใด ๆ มาใช้จ าเป็นต้องเลือกเครื่องมือเหล่านั้นก่อน โดยเลือกคลิกที่ต าแหน่งของเครื่องมือที่ต้องการในกล่องเครื่องมือ Toolbox จากนั้นตัวชี้เมาส์ก็จะเปลี่ยนไป ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องมือที่เลือก ดังต่อไปนี้

Pointer Tool ใช้ส าหรับเลือกภาพหรือกรอบการพิมพ์ข้อมูลเพื่อเคลื่อนย้าย

ต าแหน่ง หรือเพ่ือการเปลี่ยนขนาด เพื่อการคัดลอกหรือลบทิ้ง โดยที่ตัวชี้เมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูปลูกศร

Text Tool เป็นอุปกรณ์ที่ใช้กับตัวอักษรเท่านั้น เช่น ส าหรับพิมพ์หรือแก้ไข

ข้อความต่าง ๆ โดยที่ตัวชี้เมาส์จะเปลี่ยนเป็นเครื่องหมาย (I – Beam)

Cropping Tool ใช้ซ่อนบางส่วนของภาพ ใช้ส าหรับลบชิ้นส่วนของภาพออก โดยที่เมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูปเครื่องหมาย Cropping Tool

Rotating Tool ใช้หมุนวัตถุหรือข้อความ

Page 3: Unit 4

Line Tool ใช้ส าหรับลากเส้นในแนวตั้งฉาก โดยที่เมาส์จะเปลี่ยนเป็นเครื่องหมายกากบาท (+)

Constrained – Line Tool เมาส์จะเปลี่ยนเป็นเครื่องหมายกากบาท (+) ใช้ลากเส้นตรง ทั้งแนวนอนและแนวตั้ง และเส้นที่ท ามุมเอียง 45 องศา

Rectangle Tool ใช้ในการสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เมาส์จะเปลี่ยนเป็นเครื่องหมายกากบาท (+) ถ้าต้องการสี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้กด Shift ค้างไว้ในขณะที่ลากเมาส์

Rectangle Frame Tool ใช้สร้างกรอบรูปสี่เหลี่ยมเพ่ือพิมพ์ข้อความ

Ellipse Tool ใช้สร้างรูปวงกลมหรือวงรี เมาส์จะเปลี่ยนเป็นเครื่องหมาย

กากบาท (+) ส าหรับวงกลมให้กด Shift ขณะลากเมาส์

Ellipse Frame Tool ใช้สร้างกรอบรูปวงกลมหรือวงรีเพ่ือพิมพ์ข้อความ

Polygon Tool ใช้สร้างรูปหลายเหลี่ยม Polygon Frame Tool ใช้สร้างกรอบรูปหลายเหลี่ยมเพ่ือพิมพ์ข้อความ

Hand Tool ใช้เลื่อนพ้ืนที่หน้ากระดาษบนพ้ืนที่หน้าจอในขณะท างาน

Zoom Tool ใช้ก าหนดขนาดในการมองภาพ

Page 4: Unit 4

2. การวาดรูปเส้นตรง การวาดรูปเส้นตรงบนหน้ากระดาษด้วยโปรแกรม PageMaker 7.0 มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่มเครื่องมือส าหรับวาดรูปเส้นตรง Constrained – Line Tool

ตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนไปเป็นรูปกากบาท (+) ดังรูปที่ 4.4

รูปที่ 4.4 แสดงการวาดเส้นตรง ข้ันตอนท่ี 1 ตัวช้ีเมาส์เปลี่ยนเป็นรูปกากบาท (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 2 เลือกรูปแบบเส้นด้วยค าสั่ง Element > Stroke > Costom

รูปที่ 4.5 แสดง การเลือกรูปแบบเส้น

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 5: Unit 4

ขั้นตอนที่ 3 เลือกรูปแบบเส้น (คลิกเลือกรูปแบบเส้นตรง)

รูปที่ 4.6 แสดงขั้นตอนการเลือกก าหนดค่าของเส้นใน Custom Stroke (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 4 ที่ Stroke Weight ใส่ตัวเลขเพื่อก าหนดความหนาของเส้น

ขั้นตอนที่ 5 เลือก Transparent background (ปกติตัวเลือกนี้ถูกเลือกอยู่ก่อนแล้ว) ขั้นตอนที่ 6 คลิก OK

ขั้นตอนที่ 7 เริ่มลากเส้นตรงด้วยการคลิกเมาส์ลากไปตรง ๆ จากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสิ้นสุดตามท่ีต้องการ แล้วปล่อยเมาส์ ก็จะได้เส้นตรง ดังรูปที่ 4.7

รูปที่ 4.7 แสดงการลากเมาส์เพื่อวาดเส้นตรง (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 6: Unit 4

2.1 การเปลี่ยนสีให้กับเส้น สามารถเปลี่ยนสีให้กับเส้นเพื่อความสวยงามได้ ตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิก คลิกท่ีเส้น และ คลิกค าสั่ง Window ขั้นตอนที่ 2 คลิกท่ี Show Colors

รูปที่ 4.8 แสดงการเลือกค าสั่งเพื่อเปลี่ยนสีให้กับเส้น

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

จะปรากฏแท็บสีให้เลือกรายการต่าง ๆ ดังรูปที่ 4.9 ขั้นตอนที่ 3 คลิกปุ่มเส้นขอบ

ขั้นตอนที่ 4 คลิกเลือกสีที่ต้องการ ขั้นตอนที่ 5 คลิกปุ่มเพ่ือเลือกเปอร์เซ็นต์ความเข้มจางของสีเส้น

รูปที่ 4.9 แสดงขั้นตอนการก าหนดค่าต่าง ๆ ให้กับเส้น (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

รูปที่ 4.10 แสดงตัวอย่างเส้นและสีเส้นท่ีได้วาดขึ้น

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 7: Unit 4

2.2 การรวมกลุ่มเส้นด้วย Element > Group หลังจากท่ีได้วาดรูปเส้นขึ้นมาเป็นรูปของตารางแล้ว สังเกตุได้ว่ามีเส้นประกอบเข้าด้วยกันจ านวนหลาย ๆ เส้น เราควรกรุ๊ป (Group) คือ การรวมเส้นเหล่านั้นให้ป็นเนื้อเดียวกันได้ด้วยเครื่องมือ ตามขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิก ขั้นตอนที่ 2 คลิกเมาส์ลากคลุมพื้นที่ตารางทั้งหมด

รูปที่ 4.11 แสดงการคลิกเมาส์ลากคลุมเส้นท่ีเป็นตารางทั้งหมด (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 3 คลิกท่ี เมนู Elements > Group ก็จะได้ ตารางที่ประกอบด้วยเส้นรวมกันเป็นเนื้อเดียวกัน ดังรูปที่ 4.12

รูปที่ 4.12 แสดงการกรุ๊ป (Group) เส้นเพื่อรวมเป็นเส้นเดียวกัน (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 8: Unit 4

3. การวาดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก วาดรูปสี่เหลี่ยมได้โดยการใช้เครื่องมือจากปุ่ม Rectangle Tool ตามขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่มเครื่องมือส าหรับวาดรูปสี่เหลี่ยม ตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะ

เปลี่ยนไปเป็นรูปกากบาท (+) ดังรูปที่ 4.13

รูปที่ 4.13 แสดงการวาดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ข้ันตอนท่ี 1 ตัวช้ีเมาส์เปลี่ยนเป็นรูปกากบาท (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 2 วางตัวชี้เมาส์ในจุดที่เริ่มต้นสร้างรูปสี่เหลี่ยมบนหน้าจอภาพ คลิกเมาส์ลากในแนวเฉียงจะได้รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขึ้นมา หากต้องการวาดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้กดปุ่ม Shift จาก คีย์บอร์ด กดค้างเอาไว้ขณะที่ท าการลากเมาส์ ก็จะได้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดเท่ากันทั้งสี่ด้าน ดังรูปที่ 4.14

รูปที่ 4.14 แสดงวิธีการวาดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ในข้ันตอนท่ี 2 (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 9: Unit 4

3.1 การเปลี่ยนขนาดของรูปสี่เหลี่ยม หลังจากท่ีได้วาดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขึ้นมาแล้ว หากต้องการที่จะเปลี่ยนขนาดของรูปสี่เหลี่ยม

ที่ได้สร้างไว้แล้วให้มีขนาดที่โตขึ้นหรือเล็กลง สามารถท าได้ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกท่ีปุ่มเครื่องมือ Pointer Tool ส าหรับเลือกรูปภาพ ตัวชี้เมาส์ก็จะ

เปลี่ยนเป็นรูปลูกศร ให้เราชี้ไปที่เส้นของรูป จะปรากฏจุด Handie เห็นเป็นจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ สีด า อยู่ที่มุมทั้ง 4 มุม และที่จุดตรงกลางของด้านแต่ละด้าน (อาการอย่างนี้ เรียกว่า เกิดอาการ Active) ดังรูปที่ 4.15

รูปที่ 4.15 แสดงขั้นตอนของการใช้เครื่องมือ Pointer Tool เลือกรูปภาพ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 2 กดตัวชี้เมาส์ไว้ที่จุดใดจุดหนึ่งของจุด Handle ลูกศรจะเปลี่ยนเป็น ลูกศรชี้สองทิศ (Double Head Arrow) ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการย่อ – ขยาย ให้กดเมาส์ลากเข้าไปในรูปจะเป็นการย่อ และลากเมาส์ออกจะเป็นการขยาย หากต้องการย่อ/ขยายให้เป็นสัดส่วนกับรูปเดิม ให้กดปุ่ม Shift ที่คีย์บอร์ด ไว้ขณะที่ท าการย่อหรือขยายรูป ดังรูปที่ 4.16

รูปที่ 4.16 แสดงการย่อหรือขยายรูป (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 10: Unit 4

3.2 การเปลี่ยนขนาดเส้นให้กับรูปด้วยค าสั่ง Stroke การวาดรูปโดยทั่ว ๆ ไป โปรแกรมจะก าหนดความหนาของเส้นขอบมาให้เท่ากับ 1pt. หากต้องการให้เส้นรอบรูปเป็นเส้นหนาหรือบาง สามารถท าได้ด้วยค าสั่ง Stroke ซึ่งเป็นค าสั่งที่ท างานเกี่ยวกับเส้น ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่มเครื่องมือ Pointer Tool ส าหรับเลือกรูปภาพ คลิกเมาส์ที่เส้นรอบรูปของสี่เหลี่ยม ขั้นตอนที่ 2 คลิกค าสั่ง Element > Stroke ก็จะมีรายการของ Stroke ให้เราได้เลือกระดับขนาดของเส้นที่ต้องการ ดังรูปที่ 4.17

รูปที่ 4.17 แสดงรายการของค าสั่ง Stroke ให้เราได้เลือกรายการขนาดของเส้นได้ตามต้องการ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 3 คลิกเลือกขนาดของ เส้น (Stroke) ตามท่ีต้องการแล้ว ขนาดเส้นของรูปสี่เหลี่ยมก็เปลี่ยนเป็นเส้นหนากว่าเดิมตามท่ีเลือก คือ 6 pt ตามท่ีต้องการ ดังรูปที่ 4.18

รูปที่ 4.18 แสดงรูปสี่เหลี่ยมที่ได้เปลี่ยนขนาดของเส้นตามที่ต้องการ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 11: Unit 4

3.3 การเปลี่ยนมุมให้กับรูปสี่เหลี่ยมด้วยค าสั่ง Rounded Corners บางครั้งเราต้องการให้รูปสี่เหลี่ยมที่เราสร้างขึ้นเป็นสี่เหลี่ยมที่มีมุมโค้งเพ่ือเพ่ิมความสวยงามให้กับภาพ สามารถท าได้ ตามข้ันตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่มเครื่องมือ Pointer Tool ส าหรับเลือกรูปภาพ คลิกเมาส์ที่เส้นรอบรูปของสี่เหลี่ยม

ขั้นตอนที่ 2 คลิกค าสั่ง ด้วยค าสั่ง Element > Rounded Corners ดังรูปที่ 4.19

รูปที่ 4.19 แสดงการคลิกเมนู Element > Rounded Corners (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

คลิกท่ี Rounded Corners ก็จะปรากฏเป็นไดอะล็อกบ็อกซ์ของ Rounded Corners ให้เราเลือกรูปแบบของมุมได้ ดังรูปที่ 4.20

รูปที่ 4.20 แสดงการเลือกรปูแบบของมุมจาก Rounded Corners (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 12: Unit 4

ขั้นตอนที่ 3 คลิกเลือกรูปแบบของมุมตามท่ีต้องการ แล้วคลิก OK ก็จะได้มุมของรูปสี่เหลี่ยมเปลี่ยนไปเป็นมุมมนตามที่เลือก ดังรูปที่ 4.21

รูปที่ 4.21 แสดงมุมของสี่เหลี่ยมได้เปลี่ยนไปเป็นมุมมนดังท่ีเลือก (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

4. การจัดกลุ่มออบเจ็กต์ 4.1 การรวมกลุ่มออบเจ็กต์ หลังจากท่ีได้สร้างออบเจ็กต์ขึ้นมาหลาย ๆ ชิ้น สามารถน าออบเจ็กต์เหล่านั้นมารวมกลุ่มกันให้เป็นออบเจ็กต์ชิ้นเดียว เพื่อต้องการท างานให้รวดเร็วขึ้น สามารถรวมกลุ่มออบเจ็กต์เข้าด้วยกันได้ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม

ขั้นตอนที่ 2 กด Shift ที่คีย์บอร์ดค้างไว้ แล้วเลือกออบเจ็กต์ที่ต้องการน ามารวมกัน ทีละตัวจนครบจ านวนของออบเจ็กต์ที่จะน ามารวมกันทุกตัว แล้วถึงปล่อยมือจากปุ่ม Shift

ขั้นตอนที่ 3 เลือกคลิกท่ี เมนู Element > Group

Page 13: Unit 4

รูปที่ 4.22 แสดงการเลือกและรวมกลุ่มออบเจ็กต ์(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

4.2 การยกเลิกกลุ่มออบเจ็กต์ ยกเลิกการจัดกลุ่มออบเจ็กต์สามารถยกเลิกได้ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม ขั้นตอนที่ 2 คลิกเลือกกลุ่มออบเจ็กต์ที่ต้องการแยกออกจากกัน

ขั้นตอนที่ 3 เลือกคลิกท่ี เมนู Element >Ungroup

4.3 การล็อกออบเจ็กต์ ในกรณีที่ได้จัดต าแหน่งที่วางออบเจ็กต์เป็นที่เรียบร้อยแล้วและไม่ต้องการให้ออบเจ็กต์เปลี่ยนต าแหน่งหรือไม่ให้มีการเคลื่อนย้ายสามารถท าได้ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม ขั้นตอนที่ 2 คลิกเลือกกลุ่มออบเจ็กต์ที่ต้องการล็อก

ขั้นตอนที่ 3 เลือกคลิกท่ี เมนู Element > Lock Position จากนั้นทดลองเคลื่อนย้ายออบเจ็กต์ จะพบว่าไม่สามารถเคลื่อนย้ายออบเจ็กต์ได้

Page 14: Unit 4

4.4 การยกเลิกการล็อกออบเจ็กต์ ยกเลิกการล็อกออบเจ็กต์สามารถยกเลิกได้ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม ขั้นตอนที่ 2 คลิกเลือกกลุ่มออบเจ็กต์ที่ต้องการปลดล็อก

ขั้นตอนที่ 3 เลือกคลิกท่ี เมนู Element >Unlock

4.5 การจัดต าแหน่งการวางออบเจ็กต์ ในกรณีที่มีออบเจ็กต์ตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป และต้องการจัดวางต าแหน่งออบเจ็กต์เหล่านั้นไว้ด้วยกันสามารถท าได้ตามข้ันตอนต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม

รูปที่ 4.23 แสดงการคลิกปุ่ม Text Tool

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 2 คลิกเลือกกลุ่มออบเจ็กต์ที่ต้องการจัดวางต าแหน่ง ตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป

รูปที่ 4.24 แสดงการเลือกออบเจ็กต ์(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 15: Unit 4

ขั้นตอนที่ 3 เลือกคลิกท่ี เมนู Element > Align Object จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ ดังรูปที่ 4.23

รูปที่ 4.25 แสดงไดอะล็อกบอกซ์ของ Align Object (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 4 เลือกต าแหน่งท่ีต้องการแล้วคลิก OK จะได้ผลลัพธ์ที่เลือกได้ดังรูปที่ 4.24

รูปที่ 4.26 แสดงต าแหน่งของการวางออบเจ็กต์ตามที่เลือก (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

4.6 การลบวัตถุและรูปทรง วัตถุท่ีสร้างไว้แล้วถ้าไม่ต้องการสามารถลบออกไปได้ 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 คลิกปุ่ม จาก Toolbox เลือกที่ขอบของวัตถุท่ีต้องการ เมื่อกรอบรูปปรากฏจุด

Hendle สีด าเล็ก ๆ อยู่รอบชิ้นงาน ก็สามารถลบออกได้ด้วย การคลิกขวาที่กรอบภาพแล้วเลือก Cut หรือกดปุ่ม Delete ที่คีย์บอร์ด

วิธีที่ 2 โดยการคลิกเมาส์ลากคลุมสร้างกรอบสี่เหลี่ยมเส้นประให้คลุมรูปหรือชุดข้อความที่ต้องการลบ จากนั้นปล่อยเมาส์ที่กดไว้ คลิกขวาที่เส้นกรอบภาพแล้วเลือก Cut หรือกดปุ่ม Delete ที่คีย์บอร์ด

Page 16: Unit 4

รูปที่ 4.27 แสดงการสร้างกรอบสี่เหลี่ยมเส้นประคลุมวัตถุที่ต้องการเลือกเพื่อลบ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

5. การคัดลอกออบเจ็กต์ สามารถคัดลอกออบเจ็กต์ต่าง ๆ ได้โดยใช้ค าสั่ง Copy จาก เมนูค าสั่ง Edit ดังนี้ 5.1 การใช้ค าสั่ง Copy คัดลอกออบเจ็กต์

สามารถท าได้ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม เพ่ือเลือกออบเจ็กต์ที่ต้องการคัดลอก ขั้นตอนที่ 2 คลิกที่ Edit > Copy

รูปที่ 4.28 แสดงการคัดลอกออบเจ็กต ์(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 17: Unit 4

5.2 การใช้ค าสั่ง Paste วางออบเจ็กต์ น าออบเจ็กต์ที่ได้จากการ Copy มาวางหรือแทรกในเอกสารสิ่งพิมพ์ที่ก าลังจัดอยู่ สามารถท า

ได้ดังนี ้

รูปที่ 4.29 แสดงการวางออบเจ็กต ์(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

5.3 การใช้ค าสั่ง Paste Multiple…

เป็นการน าข้อความหรือวัตถุออกมาหลาย ๆ ชิ้นหรือหลาย ๆ ข้อความ มาวางในหน้าสิ่งพิมพ์ หลังจากท่ีได้ คัดลอกข้อความหรือรูปภาพมาแล้ว ต้องการที่จะวางเป็นจ านวนหลาย ๆ ชิ้นสามารถท าได้ด้วยวิธีการ ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 คลิกที่ Edit ขั้นตอนที่ 2 เลือกที่ Paste Multiple ขั้นตอนที่ 3 คลิกเลือกจ านวนของออบเจ็กต์ที่ต้องการวางบนหน้ากระดาษ ขั้นตอนที่ 4 คลิก OK

รูปที่ 4.30 แสดงขั้นตอนการ ใช้ค าสั่ง Paste Multiple (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 18: Unit 4

5.4 การหมุนรูปภาพด้วย Rotating Tool ในกรณีที่ต้องการหมุนวัตถุตามรูปแบบที่ต้องการสามารถท าได้ โดยคลิกปุ่ม จาก Toolbox เลือกวัตถุท่ีต้องการ และท าตามข้ันตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม Rotating Tool จาก Toolbox ขั้นตอนที่ 2 คลิกท่ีรูปภาพที่ต้องการหมุนเพื่อก าหนดจุดหมุนค้างไว้แล้วลากเมาส์ออกเพ่ือท าการหมุน ปรับองศาการวางได้เป็นอิสระ ถ้าหาดเรากดปุ่ม Shift ที่คีย์บอร์ดค้างไว้ขณะที่ลากเมาส์หมุน ก็จะเป็นการหมุนไปทีละ 45 องศา

รูปที ่4.31 แสดงการหมุนรูปภาพด้วยเครื่องมือ Rotating Tool (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 19: Unit 4

ใบงานที่ 4.1 ก าหนดเวลาในการปฏิบัติงาน 180 นาที

จุดประสงค์ของงาน

1. น าเครื่องมือออบเจ็กต์มาใช้งาน 2. พิมพ์อักษรและข้อความได้ 3. ตกแต่งสีตัวอักษรและข้อความได้ 4. มีความคิดสร้างสรรค์ผลงานได้

กิจกรรม ค าสั่ง ให้นักศึกษาท าสมุดบันทึก ดังนี้

สมุดบันทึก

1. คลิกเมนู File > new ก าหนด Document Setup ตามท่ีก าหนด 2. ให้ก าหนดแบ่งครึ่งหน้าโดยลากเส้น Guide ที่ต าแหน่ง เลขท่ี 4.1 ให้เลือกเครื่องพิมพ์ตัวอักษรขนาด 18 พิมพ์ตามตัวอย่างให้ปรับให้พอดีกับช่องท่ีแบ่ง 3 ให้ตกแต่งโดยลากเส้นตั้งฉาก เพ่ือตกแต่งโดยลากใต้ชื่อแล้วให้คลิกเลือกท่ีเส้นให้คัดลอกเส้นคลิก Edit>copy และ Edit>Paste multiple ก าหนดตามตัวอย่าง คลิก OK จะได้เส้น 3 เส้นให้ลากล้อมวัตถุทั้งหมด แล้วคลิกเมนู Element เลือก Group ตัวข้อความและเส้นเป็นวัตถุเดียวกัน 4 ท าการคัดลอกเพ่ิม คลิก Edit>copy และ Edit>Paste multiple โดยเพิ่มจ านวน 6 Copies จะได้ข้อความเพ่ิม ลากล้อมท้ังหมด คลิกเมนู Element เลือก Group ให้คัดลอกมาไว้ทางด้านขวา 5. คลิกเมนู Edit>Copy คลิก Edit>Paste ลากย้ายมาทางด้านขวา เพื่อจัดวางแนวให้ตรงกัน 6. ลากล้อมท้ังหมด คลิกเมนู Element>Align Objects เลือกตามแนวที่วาง ให้ตกแต่งหัวข้อใส่รูปภาพตามต้องการ ให้ท าหน้า 2 ตามต้องการ ตามตัวอย่าง ให้ท าการบันทึกงาน File>Save จะได้งาน 2 หน้า

Page 20: Unit 4

เกณฑ์การพิจารณา

1. สะกดค าถูกต้อง 2. ใช้แบบตัวอักษรถูกต้อง 3. ใช้ขนาดของตัวอักษรถูกต้อง 4. ตกแต่งสีข้อความสวยงาม 5. ปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่ก าหนด