30
มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ มกอช. 2502-2548 THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARD TACFS 2502-2005 การปฏิบัติทางการเกษตรที ่ดีสําหรับพริก GOOD AGRICULTURAL PRACTICES FOR PEPPERS สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ ICS 65.020.20 ISBN 974-403-318-5

THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ มกอช. 2502-2548

THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARD TACFS 2502-2005

การปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดีสําหรับพริก GOOD AGRICULTURAL PRACTICES FOR PEPPERS

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ICS 65.020.20 ISBN 974-403-318-5

Page 2: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ มกอช. 2502 - 2548

THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARD TACFS 2502 - 2005

การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับพริก

GOOD AGRICULTURAL PRACTICES FOR PEPPERS

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ถนนราชดําเนินนอก เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 0 2283 1600 www.acfs.go.th

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลม 122 ตอนพิเศษ 117 ง วันที่ 20 ตุลาคม2 พุทธศักราช 2548

Page 3: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจพิจารณารางมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับหนอไมฝร่ัง พริก กระเจี๊ยบเขียว

1. ประธานอนุกรรมการ นายมาโนช ทองเจียม ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานพืชสวน กรมวิชาการเกษตร

2. ผูแทนกรมวิชาการเกษตร นางปยรัตน เขียนมีสุข นางสาวอรุณี วงษกอบรัษฎ นายกอบเกียรติ์ บันสิทธิ์ นางสาวอรพรรณ วิเศสสังข

3. ผูแทนกรมสงเสริมการเกษตร นายโอฬาร พิทักษ นางอรสา ดิสถาพร

4. ผูแทนกรมสงเสริมการสงออก นายนิษณะ ทวีพาณิชย

5. ผูแทนกรมสงเสริมสหกรณ นางวัชรี กล่ินสอน นายอิทธิพล โตรส 6. ผูแทนสํานักมาตรฐานสินคาและระบบคุณภาพ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

นางสาวเมทนี สุคนธรกัษ นางอรทัย ศิลปนภาพร นายพิศาล พงศาพิชณ

7. ผูแทนคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผศ.สุเทวี ศุขปราการ นางสิริกุล วะสี

8. ผูแทนคณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน รศ.สุชีลา เตชะวงคเสถียร

9. ผูทรงคุณวุฒิ นางอรนุช กองกาญจนะ ผูเชี่ยวชาญดานศัตรูพืช นางลัดดา ธนาลัย ผูแทนบริษัท สวิฟท จํากัด นายสมเกียรติ สุนทรอาํไพ ผูแทนภาคการผลิต

10. ผูแทนสํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ นางสาวนลินทิพย เพณี อนุกรรมการและเลขานุการ นางสาวมนทิชา สรรพอาสา อนุกรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 4: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

(2)

พริกเปนสินคาเกษตรที่ประเทศไทยมีศักยภาพในการเปนผูผลิตและสงออก ทั้งในรูปแบบผลิตผลและแปรรูปเปนผลิตภัณฑตางๆ ดังนั้นเพื่อใหพริกของไทยเปนท่ียอมรับในระดับชาติและระดับสากล จึงควรมีการจัดการระบบการผลิตที่ถูกตองในระดับเกษตรกร เพื่อใหไดพริกที่มีความปลอดภัยตอผูบริโภคและสงเสริมการสงออก กระทรวงเกษตรและสหกรณ จึงเห็นสมควรจัดทํามาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดีสําหรับพริกข้ึน

มาตรฐานนี้กําหนดขึ้นโดยอาศัยขอมูลจากเอกสารตอไปนี้เปนแนวทาง

กรมวิชาการเกษตร. 2545 .เกษตรดีที่เหมาะสมสําหรับพริกและมะเขือเทศ. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 29 หนา.

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ. 2546. มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ มกอช. 9001-2546. การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับพืชอาหาร. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลม 120 ตอนพิเศษ 145 ง. วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2546.

FAO/WHO. 2003. Code of Hygienic Practice for Fresh Fruits and Vegetables (ALINORM 03/13, Appendix II) adopted by the 26th Session of the Codex Alimentarius Commission (CAC). Report of the 26th Session of the CAC, Rome, 30 June – 7 July 2003.

EUREPGAP. 2004. EUREPGAP Control Points & Compliance Criteria Fruit and Vegetables Version 2.0 – Jan 04. EUREPGAP c/o FoodPLUS GmbH, Cologne, Germany.

Page 5: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห
Page 6: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ การปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดีสําหรับพริก

1 ขอบขาย

1.1 มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาตินี้ ครอบคลุมระบบการผลิตและการตรวจประเมินระบบการผลิตพริก (chili) ซ่ึงมีช่ือวิทยาศาสตรวา Capsicum spp. วงศ Solanaceae ในทุกข้ันตอนต้ังแตการผลิตในแปลงจนถึงจุดรวบรวม (collecting house) เพื่อใหไดพริกสดที่ปลอดภัยและมีคุณภาพเหมาะสมตอการบริโภค

1.2 การปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดีสําหรบัพรกิน้ี ใหใชรวมกบัมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ เรื่อง พริก

2 บทนิยาม

ความหมายของคําท่ีใชในมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาตินี้ มีดังตอไปน้ี

2.1 แปลงปลูก หมายถึง พ้ืนท่ีท่ีใชปลูกพืชพันธุท่ีมีอาณาเขตไมตอเน่ืองกบัพ้ืนท่ีอื่น หรอืในกรณีท่ีอาณาเขตตอเน่ืองกนักับพืน้ท่ีอ่ืน แตมีการจัดการกระบวนการผลิตแตกตางกันอยางเห็นไดชัด ทั้งการจัดการปจจัยการผลิต การจัดทําแผนการดูแลรักษา และการจัดการบุคลากรในแปลงปลูก

2.2 ปุยอินทรีย หมายถึง ปุยท่ีไดจากวัสดุอินทรีย ซ่ึงผลิตดวยกรรมวิธีทําใหช้ืน สับ บด หมัก รอน หรือกรรมวิธีอื่น แตไมใชปุยเคมี และปุยชีวภาพ

2.2.1 ปุยหมัก หมายถึง ปุยอินทรียชนิดหนึ่งท่ีผานการยอยสลายเสร็จสมบูรณแลวจนแปรสภาพจากรูปเดิม เม่ือนําไปใหแกพืชจะใหธาตุอาหารที่จําเปนแกพืช

2.2.2 ปุยคอก หมายถึง ปุยอินทรียท่ีไดจากการนําส่ิงขับถายสัตวมาผานกระบวนการยอยสลายของจุลินทรียจนเสร็จสมบูรณแลว

2.3 ปุยชีวภาพ หมายถึง ปุยท่ีไดจากการนาํจุลินทรียท่ีมีชีวิตมาใชในการปรับปรุงบาํรุงดิน ทางชีวภาพ ทางกายภาพ และทางชีวเคมี และใหหมายความรวมถึงหัวเช้ือจุลินทรีย

Page 7: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

2มกอช. 2502-2548

2.4 วัตถุอันตราย หมายถึง วัตถุดังตอไปนี้ - วัตถุระเบิดได

- วัตถุไวไฟ

- วัตถุออกซิไดซและวัตถุเปอรออกไซด

- วัตถุมีพิษ

- วัตถุที่ทําใหเกิดโรค

- วัตถุกัมมันตรังสี

- วัตถุที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

- วัตถุกัดกรอน

- วัตถุที่กอใหเกิดการระคายเคือง

- วัตถุอยางอ่ืน ไมวาจะเปนเคมีภัณฑหรือส่ิงอื่นใด ที่อาจทําใหเกิดอันตรายแกบุคคล สัตว พืช ทรพัยหรือส่ิงแวดลอม

(ท่ีมา : พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535)

2.5 วัตถุอันตรายทางการเกษตร หมายถึง วัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเปนผูรับผิดชอบตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535

2.6 สุขลักษณะ หมายถึง ลักษณะที่ถูกตองตามหลักปฏิบัติที่ดี ไดแก ภาวะและมาตรการตาง ๆ ที่จําเปนในกระบวนการผลิต เพ่ือใหผลิตผลท่ีมีความปลอดภัยและเหมาะสมตอการบริโภค

2.7 ศัตรูพืช (pest) หมายถึง ชนิดหรือสายพันธุของพืช สัตว หรือส่ิงมีชีวิตท่ีทําใหเกิดโรค ซึ่งเปนอันตรายตอพืชหรือผลิตผลพืช

3 ลําดับขอกําหนด เกณฑท่ีกําหนด และวิธีตรวจประเมิน

ลําดับขอกําหนด เกณฑท่ีกําหนด และวิธีตรวจประเมิน การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับพริก ใหเปนไปตามตารางที่ 1

Page 8: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

3 มกอช. 2502-2548

ตารางท่ี 1 ลําดับขอกําหนด เกณฑที่กําหนด และวิธีตรวจประเมิน (ดูรายละเอียดคําแนะนําในภาคผนวก ค)

ลําดับขอกําหนด เกณฑท่ีกําหนด วิธีตรวจประเมิน 1.แหลงนํ้า

-แหลงนํ้าตองอยูในสภาพแวดลอมท่ีไมกอใหเกิดการปนเปอน

-ตรวจพินิจสภาพแวดลอม หากอยูในภาวะเส่ียง ใหตรวจวเิคราะหคุณภาพน้าํ

2. พื้นที่ปลูก -ตองเปนพื้นที่ท่ีไมมีวัตถุอันตรายที่จะทําใหเกิดการตกคางหรือปนเปอนในผลิตผล

-ตรวจพินิจสภาพแวดลอม หากอยูในภาวะเส่ียงใหตรวจวิเคราะหคุณภาพดิน

-หากจําเปนตองใช ใหใชตามคําแนะนํา หรืออางอิงคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ หรอืตามคําแนะนําในฉลากที่ขึ้นทะเบียนอยางถูกตองกับกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

3. การใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร

-ในกรณีท่ีผลิตเพ่ือสงออก หามใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรท่ีประเทศคูคาหามใช

-ตรวจสอบสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายทางการเกษตร -ตรวจบันทึกขอมูลการสํารวจศัตรูพืชและการปองกันกําจัด -กรณีที่มีหลักฐานหรือมีเหตุอันควรสงสัยวามีการใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรไมตรงตามคําแนะนํา ใหสุมวิเคราะหสารพิษตกคางในผลิตผล

4. กระบวนการผลิตกอนการเก็บเกี่ยว

4.1 การปองกันกําจัดศัตรูพืช

-ตองสํารวจศัตรูพืชในแปลง หากพบการระบาดในระดับที่ทําความเสียหาย ตองปองกันกําจัด หากใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร ใหใชตามขอกําหนดขอ 3

-ตรวจบันทึกขอมูลการสํารวจและการปองกันกําจัดศัตรูพืช

4.2 การใชปุยอนิทรยี เชน ปุยหมัก และปุยคอก

-ปุยอินทรียที่นํามาใช ตองผานกระบวน การหมักหรือยอยสลายโดยสมบูรณ รวมทั้งวิธีและลักษณะในการใชตองดูแลเพื่อไมใหเกิดการปนเปอนของวัตถุอันตรายหรือจุลินทรียท่ีทําใหเกิดโรคในระดับที่เปนอันตรายตอผูบริโภค -หามใชสิ่งขับถายจากคนในแปลงพริก

-ตรวจบันทึกขอมูลการไดมาและการใชปุย หากอยูในสภาวะเส่ียงใหตรวจ วิเคราะหปุย

5. การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังเก็บเก่ียว

Page 9: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

4มกอช. 2502-2548

ลําดับขอกําหนด เกณฑท่ีกําหนด วิธีตรวจประเมิน 5.1 อุปกรณและภาชนะที่ใชในการเก็บเกี่ยว

-อุปกรณและภาชนะที่ใชในการเก็บเกี่ยวตองสะอาด ไมกอใหเกิดความเสียหายตอคุณภาพของผลิตผล และไมกอใหเกิดการปนเปอนที่มีผลตอความปลอดภัยของผูบริโภค

-ตรวจพินิจอุปกรณและภาชนะ

5.2 วิธีเก็บเกี่ยว -สุขลักษณะของการเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเก่ียว ตองไมทําใหเกิดการปนเปอนที่สงผลตอความปลอดภัยในการบริโภค

-ตรวจพินิจพริกที่ผานการเก็บเกี่ยวและปฏิบัติเก็บเกี่ยวแลว

5.3 วิธีปฏิบัติหลังเก็บเกี่ยว

-มีการคัดแยกผลพริกท่ีมีตําหนิหรือดอยคุณภาพ และเนาเสียเปนโรคออก และคัดแยกชั้นคุณภาพ และขนาดกอนจําหนาย โดยอางอิงตามขอกําหนดในมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ เรื่อง พริก (มกอช. 1502-2547) หรือตามขอกําหนดของคูคา

-ตรวจพินิจขั้นตอนการคัดแยก และหรอื ผลิตผลท่ีคัดแยกแลว

6. การพักผลิตผล การขนยายในบริเวณพื้นที่ปลูก การเก็บรักษา และการรวบรวมผลิตผล

6.1 การขนยาย การเก็บรักษา และการรวบรวมผลิตผล

-อุปกรณ ภาชนะบรรจุ และพาหนะในการขนยายตองสะอาด ไมมีการปนเปอนที่สงผลตอความปลอดภัยในการบริโภค -สถานที่เก็บรักษาตองถูกสุขลักษณะ ไมถูกแสงแดดโดยตรง มีการหมุนเวียนอากาศดี ไมเกิดความรอนสะสม และสามารถปองกันการปนเปอนจากวัตถุแปลกปลอม วัตถุอันตราย สัตวพาหะนําโรค รวมทั้งสัตวเลี้ยง

-ตรวจพินิจสถานท่ี อุปกรณ ภาชนะบรรจุ พาหนะ ขั้นตอน วิธีการขนยาย การเก็บรักษาและรวบรวมผลิตผล

6.2 การสอบกลับผลิตผล

-ผลิตผลที่อยูในระหวางการเก็บรักษาและขนยายจะตองมีการระบุใหสามารถตรวจสอบแหลงท่ีมาได

-ตรวจการติดรหัส เครื่องหมาย หรอืบันทึกขอมูลท่ีแสดงแหลงท่ีมาของผลิตผล

Page 10: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

5 มกอช. 2502-2548

ลําดับขอกําหนด เกณฑท่ีกําหนด วิธีตรวจประเมิน 7. สุขลักษณะสวนบุคคล

-ตองดูแลสุขลักษณะสวนบุคคลเพื่ อป อ งกัน ไม ใหพริ ก เกิ ดก ารปนเป อนจุลินทรียท่ีทําใหเกิดโรคจากผูท่ีสัมผัสกับพริกโดยตรง โดยเฉพาะในข้ันเก็บเกี่ยวและปฏิบัติหลังเก็บเก่ียว

-ตรวจพินิจการปฏิบัติงานในขั้นเก็บเก่ียวและปฏิบัติหลังเก็บเก่ียว และ/หรือจากการสัมภาษณผูปฏิบัติงาน

8. การบันทึกขอมูล ตองบันทึกขอมูลที่เกี่ยวกับ -การสํารวจและการปองกันกําจัดศัตรูพืช -การไดมาและการใชปุย ตามตัวอยางแบบบันทึกในภาคผนวก ก และ ข

-ตรวจบันทึกขอมูล

4. คําแนะนําหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับพริก

คําแนะนํานี้ มีไวใหเกษตรกรใชปฏิบัติในการผลิตพริก รายละเอียดอธิบายไวในภาคผนวก ค

Page 11: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

6

ภาคผนวก ก ตัวอยางแบบบันทึกขอมูลการสํารวจและการปองกันกําจัดศัตรูพืช

ชื่อเจาของแปลงปลูก นาย/นาง/นางสาว…………………………………นามสกุล…………………………………………

เลขทะเบียนเจาของแปลงปลูก หรือ หมายเลขบัตรประจําตวัเกษตรกร ������������� หมายเลขประจําแปลงปลูก …………………………….

พืชที่ปลูก......................................................................พันธุที่ปลูก……….………………………แปลงปลูกที…่………………จํานวนไร…….………………ไร จํานวนตน……………………ตน ปที่ดําเนินการ……………………………………….. ชวงระยะเวลาเกบ็เกีย่ว....................................................

การสํารวจศัตรูพืช การใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร

ผลการสํารวจ ขั้นตอนการ

ผลิต วัน/ เดือน/ปที่

สํารวจ รายชื่อศัตรูพืช

ไมพบ/ พบ(ปริมาณ)

วัน/เดือน/ปที่ใช

ชื่อสาร

%สารออกฤทธิ์

และสูตรที่ใช

อัตราสวนการใช

(มล./20 ล.)

ปริมาณสารที่ใชทั้งแปลง

เพาะปลูก

การปองกันดวยวิธีอื่น

(ระบุ) ชื่อผูปฏิบัติ

ระยะพักตน

ระยะเก็บเกี่ยว

Page 12: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

7

ภาคผนวก ข ตัวอยางแบบบันทึกขอมูลแหลงที่มาของปุยและการใชปุย

ขอมูลแหลงที่มาของปุย

ชื่อเจาของแปลงปลูก นาย/นาง/นางสาว..................................นามสกุล.........................................

เลขทะเบียนเจาของแปลงปลูก หรือหมายเลขบัตรประจําตัวเกษตรกร

รายการปุย วัน เดือน ป ที่จัดซื้อ

ปริมาณ แหลงที่ไดมา

รายละเอียดเฉพาะ 1/ ผูบันทึก

1/ รายละเอียดเฉพาะของปุยที่จัดซื้อมา เชน ผูผลิต ประเภท และในกรณีของปุยอินทรียหรือปุยชีวภาพ ใหระบุผูผลิต ประเภทของปุย รวมทั้งกรรมวิธีการผลิตปุยนั้น

Page 13: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

8ขอมูลการใชปุย

วันที่

ชนิดปุย ปริมาณปุยที่ใช

วิธีการใช ชวงระยะของการปลูก

2/

2/ ชวงระยะของการปลูก เชน ระยะพักตน ระยะเก็บเกี่ยว

Page 14: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

9

ภาคผนวก ค คําแนะนําหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสําหรับพริก

(Good Agricultural Practices for Peppers)

1 แหลงน้ํา

1.1 น้ําท่ีใชในกระบวนการเพาะปลูก ควรเปนน้ําท่ีมาจากแหลงนํ้าท่ีไมอยูในสภาพแวดลอมท่ีเส่ียงตอการปนเปอน และน้ํามีคุณภาพเหมาะสมกับการใชในการเกษตร ไมใชน้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม หรือน้ําท่ีกอใหเกิดการปนเปอนส่ิงท่ีเปนอันตรายตอสุขภาพ เชน วัตถุอันตรายทางการเกษตร โลหะหนัก จุลินทรียท่ีทําใหเกิดโรค กรณีจําเปนตองใชน้ําดังกลาว ตองมีหลักฐาน หรือขอพิสูจนท่ีชัดเจนวาน้ํานั้นไดผานการบําบัดน้ําเสียมาแลว และสามารถนํามาใชในการเกษตรได

1.2 ในระยะเริ่มจัดระบบการเกษตร ควรมีการเก็บตัวอยางน้ําอยางนอย 1 ครั้ง สงหองปฏิบัติการของทางราชการหรือหองปฏิบัติการท่ีไดรับการรับรองความสามารถ เพื่อวิเคราะหการปนเปอนส่ิงอันตรายตามสภาพความเส่ียงของแหลงน้ํา และบันทึกรายละเอียดตามตัวอยางแบบบันทึกท่ี 1 (ผลการวิเคราะหดินและน้ํา) รวมทั้งเก็บใบแจงผลการวิเคราะหน้ําไวเปนหลักฐาน

1.3 แหลงน้ําสําหรับการเกษตรควรเปนแหลงน้ําถาวร และมีการอนุรักษแหลงน้ําและสภาพแวดลอม

2 พ้ืนท่ีปลูก

2.1 จัดทําขอมูลประจําแปลงปลูก โดยระบุชื่อเจาของพื้นที่เพาะปลูก สถานท่ีติดตอ ชื่อผูดูแลแปลง (ถามี) สถานท่ีติดตอ ท่ีต้ังแปลงปลูก แผนผังท่ีต้ังแปลงปลูก แผนผังแปลงปลูก ชนิดพืชและพันธุที่ปลูก ประวัติการใชท่ีดินยอนหลังอยางนอย 3 ป และรายละเอียดอื่นๆ ตามตัวอยางแบบบันทึกท่ี 2 (ขอมูลท่ัวไปของเจาของพ้ืนท่ีเพาะปลูก)

2.2 ในกรณีพื้นท่ีปลูกอยูใกลหรืออยูในแหลงอุตสาหกรรมหรือพื้นท่ีที่มีความเส่ียง ในระยะเริ่มจัดระบบการเกษตร ควรมีการวิเคราะหดินเพื่อตรวจสอบคุณภาพดิน และการปนเปอนจากส่ิงอันตรายตามสภาพความเส่ียงของพื้นท่ีอยางนอย 1 ครั้ง โดยเก็บตัวอยางดินสงหองปฏิบัติการท่ีไดรับการรับรองความสามารถตรวจวิเคราะห และบนัทึกขอมูลตามตัวอยางแบบบันทึกท่ี 1 (ผลการวิเคราะหดินและน้ํา) รวมท้ังเก็บใบแจงผลการวิเคราะหไวเปนหลักฐาน

Page 15: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

10

3 การใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร

3.1 หากมีการใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรใหใชตามคําแนะนํา หรืออางอิงคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร หรือตามคําแนะนําในฉลากท่ีข้ึนทะเบียนอยางถูกตองกับกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ การใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรตองสอดคลองกับศัตรูพืชท่ีสํารวจพบ หยุดใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรกอนการเก็บเกี่ยวตามชวงเวลาท่ีระบุไวในฉลากกํากับการใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรแตละชนิด หรือใหเปนไปตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และบันทึกขอมูลในแบบบันทึกตามภาคผนวก ก (ตัวอยางแบบบันทึกขอมูลการสํารวจและการปองกันกําจัดศัตรูพืช)

3.2 การใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรตองใชวัตถุอันตรายที่ขึ้นทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย มีเลขทะเบียนวัตถุอันตราย และมีคําแนะนําบนฉลากใหใชกับพืชนั้นๆ ไมใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรท่ีหามผลิต นําเขา สงออก หรือการมีไวในครอบครอง ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และในกรณีท่ีปลูกเพื่อการสงออกหามใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรที่ประเทศคูคาหามใช

3.3 อานคําแนะนําที่ฉลากเพื่อใหทราบคุณสมบัติ และวิธีการใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรกอนนําไปใช

3.4 ผูประกอบการและแรงงานท่ีปฏิบัติงานดานการปองกันกําจัดศัตรูพืช ควรรูจักศัตรูพชื การเลือกชนิดและอัตราการใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร การเลือกใชเครื่องพนสารเคมีและอุปกรณหัวฉีด รวมทั้งวิธีการพนสารเคมีท่ีถูกตอง โดยตรวจสอบเครื่องพนสารเคมีใหอยูในสภาพพรอมที่จะใชงานตลอดเวลา เพื่อปองกันสารพิษเปอนเสื้อผาและรางกาย ผูปฏิบัติงานควรสวมเส้ือผามิดชิด มีอุปกรณปองกันสารพิษ ไดแก หนากาก หรือผาปดจมูก ถุงมือ หมวก และสวมรองเทาเพื่อปองกันอันตรายจากสารพิษ

3.5 เตรียมวัตถุอันตรายทางการเกษตรใหมีความเขมขนท่ีถูกตอง กอนนําไปพนใหปรับปริมาตรน้ําและคนใหเปนเนื้อเดียวกัน พนวัตถุอันตรายทางการเกษตรในชวงเชาหรือเย็นขณะลมสงบ หลีกเลี่ยงการพนในเวลาแดดจัดหรือลมแรง และขณะปฏิบัติงานผูพนตองอยูเหนือลมตลอดเวลา

3.6 เตรียมวัตถุอันตรายทางการเกษตรในปริมาณที่ใชใหหมดในคราวเดียว ไมควรเหลือติดคางในถังพน

3.7 เมื่อใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรหมดแลว ใหลางภาชนะบรรจุวัตถุอันตรายทางการเกษตรนั้นๆ ดวยนํ้า 2-3 ครั้ง เทน้ําลงในถังพนสาร เพื่อนําไปใชตอไป

3.8 ภาชนะบรรจุวัตถุอันตรายทางการเกษตรที่ใชหมดแลว ตองทําใหชํารุดเพื่อปองกันการนํากลับมาใชอีก แลวจึงนําไปทิ้งในสถานที่ที่จัดสําหรับทิ้งภาชนะบรรจุวัตถุอันตรายทางการเกษตรโดยเฉพาะ หรือทําลายโดยการฝงดินหางจากแหลงน้ํา ใหมีความลึกมากพอท่ีสัตวไมสามารถคุยข้ึนมาได และหามเผาทําลาย

Page 16: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

11

3.9 หลังการพนวัตถุอันตรายทางการเกษตรทุกครั้ง ใหอาบน้ํา สระผม และเปล่ียนเส้ือผาทันที เส้ือผาท่ีสวมใสขณะพนสารควรนําไปซักใหสะอาดทุกครั้ง

3.10 ภาชนะบรรจุวัตถุอันตรายทางการเกษตรที่ใชไมหมดในคราวเดียว ใหปดฝาภาชนะบรรจุใหสนิทเม่ือเลิกใช และนําไปเก็บในสถานที่เก็บวัตถุอันตรายทางการเกษตร

3.11 ใหจัดเก็บวัตถุอันตรายทางการเกษตรชนิดตางๆ ที่ใชในกระบวนการผลิตในสถานที่ที่มิดชิด ปลอดภัย ปองกันแดดและฝนได และมีอากาศถายเทไดสะดวก

3.12 ใหแยกสถานที่เก็บวัตถุอันตรายทางการเกษตรใหเปนสัดสวน เพื่อปองกันการปนเปอนของวัตถุอันตรายทางการเกษตรสูผลิตผล อาหาร และส่ิงแวดลอม

3.13 ใหจัดเก็บวัตถุอันตรายทางการเกษตรในภาชนะปดมิดชิด แสดงปายใหชัดเจน และแยกเก็บเปนหมวดหมู ไมปะปนกับปุย สารควบคุมการเจริญเติบโตพืช และอาหารเสริมตางๆ สําหรับพชื วัตถุอันตรายทางการเกษตรที่เปดใชแลวหามถายออกจากภาชนะบรรจุเดมิ

3.14 มีเครื่องมือและวัสดุปองกันอุบัติเหตุ เชน น้ํายาลางตา น้ําสะอาด ทราย และอุปกรณดับเพลิง เปนตน ในสถานที่เก็บหรือสถานที่ใชวัตถุอันตรายทางการเกษตร

3.15 ไมมีวัตถุอันตรายท่ีหามผลิต นําเขา สงออก หรือมีไวในครอบครอง ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 เก็บรักษาอยูในสถานที่เก็บสารเคมี หรือภายในแปลงเพาะปลูก

3.16 ผูใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรควรไดรับการฝกอบรมวธิีการใชวัตถุอันตรายอยางถูกตองเหมาะสม

4 กระบวนการกอนเก็บเก่ียว

4.1 การปองกันกําจัดศัตรูพืช

4.1.1 เกษตรกรควรรูจักชนิด วงจรชีวิตของศัตรูพืชท่ีสําคัญ ตลอดจนวิธีปองกันกําจัดท่ีเหมาะสม โดยคํานึงถึงสภาพแวดลอมและระบบนิเวศ รายละเอียดศัตรูพืชที่สําคัญของพริก ดูขอมูลตามภาคผนวก ง

4.1.2 ติดตามการระบาดของศัตรูพืชในระยะตางๆ หากตรวจพบในปริมาณท่ีเกิดความเสียหายในระดับเศรษฐกิจใหปองกันกําจัดศัตรูพืชนั้นอยางเหมาะสมตามคําแนะนําของทางราชการ และบันทึกขอมูลตามตัวอยางแบบบันทึกขอมูลในภาคผนวก ก (ตัวอยางแบบบันทึกขอมูลการสํารวจและการปองกันกําจัดศัตรูพืช)

Page 17: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

12

4.1.3 ควรใชวิธีปองกันกําจัดศัตรูพืช ดังตอไปน้ีอยางใดอยางหน่ึงหรือรวมกัน ไดแก

4.1.3.1 วิธีท่ัวไป เชน การใชกับดักกาวเหนียว ถอนตนท่ีเปนโรคแลวทําลาย การกําจัดวัชพืชโดยใชแรงงานขณะท่ีวัชพืชยังเล็กหรือยังไมออกดอก และการคลุมดินในแถวปลูก

4.1.3.2 วิธีใชศัตรูธรรมชาติ เชน สารชีวินทรีย ตัวหํ้า ตัวเบียน

4.1.3.3 วิธีใชสารสกัดจากธรรมชาติ เชน สารสกัดจากสะเดา

4.1.3.4 วิธีใชสารเคมี เชน วัตถุอันตรายทางการเกษตรที่มีประสิทธิภาพ และอยูในคําแนะนําของทางราชการ

4.2 ปจจัยการผลิต

4.2.1 จัดทํารายการปจจัยการผลิต แหลงท่ีมา และรายละเอียดเฉพาะของปจจัยการผลิตท่ีสําคัญ ไดแก เมล็ดพันธุ ปุย วัตถุอันตรายทางการเกษตร ท่ีใชในกระบวนการผลิต พรอมทั้งระบุ รายการ ปริมาณ วัน เดือน ป ท่ีจัดซ้ือ และบันทึกขอมูล

4.2.2 เมล็ดพันธุ 4.2.2.1 เลือกใชพันธุที่มีคุณภาพดีตรงกับความตองการของตลาด

4.2.2.2 เลือกใชเมล็ดพันธุท่ีมีคุณภาพ ตรงตามมาตรฐานเมล็ดพันธุ มีความตานทานศัตรูพืชจากแหลงผลิตเมล็ดพันธุท่ีมีประวัติการผลิตที่นาเชื่อถือ หรือเลือกเก็บเมล็ดพันธุจากแปลง/ตนท่ีมีคุณภาพดี

4.2.2.3 ถาเก็บเมล็ดพันธุเอง ตองเลือกเก็บเมล็ดจากตนท่ีไมเปนโรค และ หรือถาเปนเมล็ดพันธุท่ีซ้ือมา ควรคลุกเมล็ดดวยสารปองกันกําจัดศัตรูพืช

4.2.2.4 การเตรียมเมล็ดกอนปลูกใหแชน้ําอุน (อุณหภูมิ 50-55 องศาเซสเซียส นาน 15-20 นาที) หรือคลุกเมล็ดดวยสารปองกันกําจัดศัตรูพืช

4.2.2.5 บันทึกรายละเอียดท่ีเกี่ยวของ เชน ช่ือพันธุ บริษัทจําหนาย วัน เดือน ปท่ีผลิต หรือแปลงท่ีเลือกเก็บเมล็ดพันธุ เปนตน ตามตัวอยางแบบบันทึกท่ี 2 (ขอมูลท่ัวไปของเจาของแปลงปลูก)

4.2.2.6 การคลุกเมล็ดพันธุดวยวัตถุอันตรายทางการเกษตร ใหใชตามวิธีการและอัตราท่ีแนะนําบนฉลากของวัตถุอันตรายทางการเกษตรที่ขึ้นทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย

4.2.3 การใชปุยอินทรีย ควรมีการจัดการท่ีดีท่ีจะปองกันไมใหเกิดการปนเปอนท้ังในดานจุลินทรีย เคมี และกายภาพสูผลิตผล ในระดับที่จะทําใหไมปลอดภัยตอการบริโภค โดยมีแนวทางท่ีควรปฏิบัติ ดังน้ี

4.2.3.1 ปุยอินทรีย ควรผานกระบวนการหมัก หรือยอยสลายโดยสมบูรณ หรือกระบวนการอื่นอยางเพียงพอท่ีจะลดปริมาณเช้ือจุลินทรียท่ีทําใหเกิดโรคตอคนลงได ไมใชส่ิงขับถายของมนุษยมาเปนปุย

4.2.3.2 ไมควรใชตะกอนน้ําเสียมาเปนวัสดุผลิตปุยอินทรีย หรือหากใช ควรมีขอมูลท่ีแสดงวาปุยอินทรียนั้น ไมมีสารปนเปอนประเภทโลหะหนักในระดับที่เปนอันตราย

Page 18: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

13

4.2.3.3 หากซื้อปุยอินทรีย จากผูจําหนายมาใช ควรมีขอมูลประเภทหรือกระบวนการท่ีผูผลิตปุยใชในการลดเช้ือจุลินทรีย และหากเปนไปไดควรมีเอกสารยืนยันจากผูผลิต แสดงถึงคุณลักษณะ เชน ผลการตรวจวิเคราะหปุย รายละเอียดคุณลักษณะทางจุลินทรียและเคมี

4.2.3.4 วิธีการใชปุยอินทรีย ไมควรใหปุยสัมผัสโดยตรงกับสวนท่ีจะเก็บเก่ียว

4.2.3.5 บริเวณหมัก ยอยสลาย หรือเก็บรักษาปุยอินทรีย ควรอยูหางจากแปลงพริก และอยูในบริเวณท่ีจะไมทําใหเกิดการปนเปอนลงสูแปลงพริก จากการชะลางของฝน หรือน้ําทวม

4.2.3.6 บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับการไดมาและการใชปุย เชน วันท่ี ชนิด ปริมาณ และวิธีการใชปุยอินทรีย รวมท้ังชวงระยะของการปลูกพริกท่ีมีการใชปุย ตามตัวอยางแบบบันทึกในภาคผนวก ข (ตัวอยางแบบบันทึกขอมูลแหลงท่ีมาของปุยและการใชปุย) และเก็บรักษาไวเพื่อการตรวจสอบ

4.2.4 การใชปุยเคมี เลือกใชเฉพาะปุยเคมีท่ีข้ึนทะเบียนอยางถูกตองกับกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ เลือกใชชนิดท่ีเหมาะสมตอพืชท่ีปลูกในอัตราตามคําแนะนําบนฉลาก ท้ังนี้ควรใชรวมกับปุยอินทรีย

4.3 เครื่องมือและอุปกรณการเกษตร

4.3.1 จัดทํารายการและการจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณการเกษตร

4.3.2 จัดใหมีอุปกรณการเกษตรที่เหมาะสมและเพียงพอตอการปฏิบัติงาน

4.3.3 จัดใหมีสถานที่เก็บรักษาเครื่องมือและอุปกรณการเกษตรเปนสัดสวน ปลอดภัย งายตอการนําไปใชงาน

4.3.4 จัดทําแผนการซอมบํารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณการเกษตร และมีการบํารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณการเกษตรตามแผนที่กําหนดไว พรอมบันทึกขอมูลการบํารุงรักษาทุกครั้ง

4.3.5 ตรวจสภาพเครื่องมือและอุปกรณการเกษตร เชน เครื่องพนสารเคมี อุปกรณการเก็บเกี่ยว กอนนําออกไปใชงาน เครื่องมือและอุปกรณการเกษตรที่ตองอาศัยความเท่ียงตรงในการปฏิบัติงาน เชน หัวฉีดพนวัตถุอันตรายทางการเกษตร ควรมีการตรวจสอบความเที่ยงตรงอยางสม่ําเสมอ หากพบวามีความคลาดเคลื่อนใหปรับปรุงซอมแซมหรือเปลี่ยนใหม ใหมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานเมื่อนํามาใชงาน

4.3.6 มีการทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณการเกษตร รวมทั้งภาชนะที่ใชในการบรรจุและขนสงผลิตผลทุกครั้งกอนการใชงานและหลังใชงาน กอนนําไปเก็บ

4.4 การจัดการของเสียและวัสดุเหลือใช

4.4.1 แยกประเภทของขยะใหชัดเจน เชน กลองกระดาษ พลาสติก แกว น้ํามัน สารเคมี และเศษซากพืช เปนตน รวมท้ังควรมีถังขยะใหเพียงพอ หรอืระบุประเภท และจุดท้ิงขยะใหชัดเจน

Page 19: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

14

4.4.2 เผาสวนของก่ิงพืชท่ีมีโรคนอกแปลงปลูก

4.4.3 เศษพืชหรือกิ่งที่ตัดแตงจากตนและไมมีโรค สามารถนํามาทําเปนปุยหมัก หรือปุยพืชสดได

5 การเก็บเก่ียวและการปฏิบัติหลังเก็บเก่ียว

5.1 อุปกรณที่ใชเก็บเกี่ยวพริก เชน มีด ตองคมและสะอาด เม่ือใชงานเสร็จแลวใหทําความสะอาดกอนนําไปเก็บ

5.2 ภาชนะบรรจุผลิตผลระหวางเก็บเกี่ยวตองสะอาด และทําความสะอาดทุกครั้งกอนการใชงาน

5.1.1 อุปกรณและภาชนะที่ใชในการเก็บเกี่ยว (ถามีการใช) เชน มีด กรรไกร ควรสะอาด และเหมาะสมกับการเก็บเกี่ยว ไมมีการปนเปอนสิ่งอันตรายที่สงผลตอความปลอดภัยในการบริโภค และคุณภาพของพริก และควรมีการรักษาความสะอาดอุปกรณและภาชนะอยางถูกสุขลักษณะ ทั้งกอนและหลังการใชงาน

5.3 วิธีเก็บเกี่ยวพริก ควรปฏิบัติดังนี้

5.3.1 เก็บเกี่ยวผลิตผลท้ังกานอยางระมัดระวัง ไมทําใหผลิตผลเสียหาย และใหนําพริกเขาท่ีรม หรือพักในที่มีการระบายอากาศดี และไมวางสุมทับซอน เพราะจะทําใหเกิดการเนาเสียได

5.4 การปฏิบัติหลังเก็บเกี่ยวพริก ควรปฏิบัติดังนี้

5.4.1 สุขลักษณะของการเก็บเก่ียวและการปฏิบัติหลังการเก็บเก่ียว ไมทําใหเกิดการปนเปอนจากวัตถุอันตรายที่สงผลตอความปลอดภัยในการบริโภค

5.2.5 คัดแยกพริกที่มีตําหนิหรือดอยคุณภาพออก คัดแยกชั้นคุณภาพและขนาด ตามขอกําหนดในมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ เรื่อง พริก (มกอช 1502-2547) หรือตามขอตกลงท่ีทํากับผูซ้ือ และบันทึกขอมูลผลการปฏิบัติ

6 การพักผลิตผล การขนยายในบริเวณแปลงปลูก การเก็บรักษา และการรวบรวมผลิตผล

6.1 ภาชนะบรรจุพริกตองสะอาด ถูกสุขลักษณะ มีคุณสมบัติถายเทอากาศและทนทานตอการขนสง ปราศจากกลิ่นและวัตถุแปลกปลอม

Page 20: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

15

6.2 แยกภาชนะที่ใชในการบรรจุผลิตผลจากภาชนะที่ใชในการขนยายหรือขนสงวัตถุอันตรายทางการเกษตร หรือปุย เพื่อปองกันการปนเปอน ท่ีเปนอันตรายตอการบริโภคและสรางความเสียหายแกผลิตผล ในกรณีท่ีไมสามารถแยกภาชนะบรรจุผลิตผลจากภาชนะขนยายสารเคมีหรือปุยได ควรทําความสะอาดภาชนะบรรจุอยางระมัดระวัง เพื่อปองกันการปนเปอนดวย

6.3 อุปกรณและพาหนะในการขนยายตองสะอาด

6.4 สถานที่เก็บรักษาหรือที่พักชั่วคราวตองสะอาดถูกสุขลักษณะ เชน ไมอยูใกลแหลงปฏิกลู มีการหมุนเวียนอากาศด ี ไมเกิดความรอนสะสม ปองกันไมใหเกิดอันตรายจากสัตวพาหะนําโรค รวมท้ังสัตวเล้ียงอื่น และตองปองกันไมใหพริกถูกแสงแดด

6.5 ไมควรขนยายผลิตผลรวมกับวัตถุอันตราย หากจําเปนตองมีการปองกันไมใหเกิดการปนเปอน

6.6 หากยังไมมีการขนสงไปถึงผูรับซื้อ ควรเก็บรักษาพริกในที่รมและเย็น ไมวางสุมทับกัน

6.7 ผลิตผลท่ีอยูระหวางการเก็บรักษาและขนยาย ควรมีการติดรหัสหรือเครื่องหมายแสดงแหลงของเกษตรกรและแปลงปลูก หรือวันท่ีเก็บเกี่ยวในภาชนะบรรจุ เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบแหลงท่ีมา และการหมุนเวียนผลิตผลอยางมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน

7 สุขลักษณะสวนบุคคล

7.1 ผูท่ีจะสัมผัสกับพริกโดยตรง โดยเฉพาะหลังการเก็บเกี่ยวควรดูแลสุขลักษณะสวนบุคคลเพื่อปองกันไมใหเกิดการปนเปอนสูผลิตผล

7.2 จัดใหมีส่ิงอํานวยความสะดวกดานสุขลักษณะสวนบุคคลใหเพียงพอและอยูใกลแหลงผลิตเพื่อใหสามารถขจัดของเสียตางๆ และหลีกเล่ียงการปนเปอนสูแหลงเพาะปลูกผลิตผลและปจจัยการผลิต

7.3 หามบุคคลท่ีเจ็บปวยและอาจนําโรคสูผลิตผล เชน โรคติดตอทางระบบทางเดินอาหาร อุจจาระรวง บดิ เขาไปในบริเวณที่ปฏิบัติงาน ผูประกอบการหรือแรงงานที่เจ็บปวยใหรายงานใหผูจัดการดูแลการผลิตทราบ

8 การบันทึกขอมูล

8.1 จัดทําเอกสารข้ันตอนการปฏิบัติงาน รายการเอกสารท่ีสําคัญตางๆ และบันทึกขอมูล เพื่อประโยชนในการตรวจสอบรับรองระบบการผลิตพริก

Page 21: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

16

8.2 แบบบันทึกและเอกสารควรจัดทําใหเปนปจจุบันสําหรับการผลิตในฤดูกาลนั้นๆ และในกรณีท่ีมีแปลงผลิตมากกวา 1 แปลง ใหมีการแยกบันทึกขอมูลเปนรายแปลง ควรลงชื่อผูปฏิบัติงานหรือผูบันทึกทุกครั้งท่ีมีการบันทึกขอมูล

8.3 เก็บบันทึกขอมูลอยางนอย 3 ปของการผลิตติดตอกัน หรือตามท่ีผูประกอบการคูคาตองการ เพื่อใหสามารถตรวจสอบได แบบบันทึกและรายการเอกสารท่ีควรจัดทํา มีดังตอไปน้ี

8.3.1 แบบบันทึกขอมูลการสํารวจและการปองกันกําจัดศัตรูพชื ตามภาคผนวก ก

8.3.2 แบบบันทึกขอมูลแหลงท่ีมาของปุยและการใชปุย ตามภาคผนวก ข โดยมีรายละเอียดของ วัน เดือน ป ปริมาณ รานคา/บริษัทที่จัดจําหนายปุย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ปุยอินทรีย รวมทั้งปุยชีวภาพ กรณีท่ีปุยท่ีไดมาไมสามารถตรวจสอบแหลงท่ีมาได หรือไมนาเชื่อถือ ใหสงปุยน้ันไปยังหนวยงานหรือหองปฏิบัติการท่ีเช่ือถือไดเพื่อตรวจวิเคราะหการปนเปอน เชน วัตถุอันตราย สารปนเปอนประเภทโลหะหนัก หรือจุลินทรียที่ทําใหเกิดโรค รวมทั้งเก็บใบแจงผลการวิเคราะหไวเปนหลักฐาน

8.3.3 เอกสารแสดงรายการการจัดเก็บปจจัยการผลิตและอุปกรณ โดยมีรายละเอียดของสถานที่จัดเก็บ วิธีการจัดเก็บ หรือกรณีไมมีการบันทึกเอกสาร ควรมีการจัดการสถานที่จัดเก็บ เชน มีปายแสดงรายการไว ชัดเจน แยกปจจัยการผลิตและอุปกรณเปนสัดสวนหรือหมวดหมู สะอาด ปลอดภัย งายตอการนําไปใชงาน

8.3.4 เอกสารหรือหลักฐานแสดงผลการตรวจวิเคราะห ดิน น้ํา ปจจัยการผลิตตางๆ

Page 22: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

17

ภาคผนวก ง ศัตรูพืชที่สําคัญของพริก

รายชื่อศัตรูพืช ลักษณะอาการและการเขาทําลาย วิธีและเกณฑการสาํรวจ

โรคกุงแหง หรือแอนแทรคโนส

เกิดจุดฉ่ําน้ําเล็กๆ บนผลพริก ตอมาแผลขยายขนาดออกไปในลักษณะเปนวงรีหรือกลม เกิดเปนวงซอนๆ กันเปนชั้นๆ บรเิวณกลางแผลมีสวนขยายพันธุของเช้ือสีดํา หรือสีสมออน ขึ้นอยูกับชนิดของเช้ือสาเหตุ ในสภาพที่มีการระบาดของโรครุนแรงมากๆ เชื้อสาเหตุจะเขาทําลายกิ่ง เกิดอาการก่ิงแหงได

-สํารวจการเขาทําลายของโรคกุงแหงหรือแอนแทรคโนส ถาพบใหปองกันกําจัด

โรคผลพริกแหงสีนํ้าตาล

อาการขาดธาตุแคลเซี่ยมบนผล อาการฉ่ําน้ําบนผลพริกในสวนที่ใกลๆ ปลายผล บริเวณที่เกิดอาการฉ่ําน้ํานั้น ตอมาเนื้อเยื่อจะเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลออนแหงคลายๆ หนงั เปนแถบสีขาวเทา ดานขางผลพบมากในผลพริกสียังเขียวอยู

-สํารวจการเขาทําลายของโรคผลพริกแหงสีน้ําตาล ถาพบใหปองกันกําจัด

โรคตากบ เกิดบนใบ แผลมีลักษณะกลม ตรงกลางแผลมีสีขาวอมเทา ขอบแผลมีสีน้าํตาลเขมรอบๆ แผล เนื้อใบอาจจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองหรือไมเปลี่ยนก็ไดและรวงหลนไป นอกจากนี้โรคตากบยังสามารถระบาดไปตามกิ่งและกานผลไดแตไมรุนแรงเหมือนบนใบ

-สํารวจการเขาทําลายของโรคตากบ ถาพบใหปองกันกําจัด

โรคราแปง โรคน้ีจะเกิดท่ีใบแกท่ีอยูสวนลางๆ ของลําตน หรอืใบที่ในๆ ของทรงพุม แลวคอยลามไปยังสวนบน อาการที่สังเกตไดงายคือดานหนาใบมีสีเหลือง เม่ือพลิกดานใตใบสวนที่ตรงกับสีเหลือง ดานหนาใบจะมีผงละเอียดสีขาวคลายผลแปงเกาะอยูบางๆ หรอืจะมองไมเห็นผงใตใบ แตจะเห็นเปนรอยขีดเล็กๆ สีน้ําตาลออน กระจายเปนหยอมๆ ซึ่งใบที่เปลี่ยนเปนสีเหลืองจะรวงหลนไปในที่สุด ทําใหตนทรุดโทรมอยางรวดเร็ว

-สํารวจการเขาทําลายของโรคราแปง ถาพบใหปองกันกําจัด

Page 23: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

18

รายชื่อศัตรูพืช ลักษณะอาการและการเขาทําลาย วิธีและเกณฑการสาํรวจ

โรคเหี่ยว

โรคเหี่ยวของพริกอาจจะเกิดไดจากหลายสาเหตุดวยกัน เชน เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย และไสเดือนฝอย อาการเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อรา ตนแสดงอาการเห่ียวอยางชาๆ ใบที่อย ูท่ีสวนโคนตนเปล่ียนเปนสีเหลือง และรวง ตอมาจะเหี่ยวท้ังตนและแหงตาย อาการเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ตนพริกแสดงอาการเหี่ยวโดยเริ่มจากใบสวนยอดสลดกอน ตอมาอาการเหี่ยวเพิ่มมากขึ้นอยางรวดเร็วโดยไมมีอาการใบเหลืองเกิดขึ้น ในที่สุดจะเห่ียวท้ังตนภายในเวลาไมก่ีวัน อาการเหี่ยวที่เกิดขึ้นจากไสเดือนฝอย อาการเหี่ยวที่สังเกตเห็นไดนั้น จะมีลักษณะเหมือนอาการเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อรา ใบสวนลางเหลืองรวง เมื่อถอนตนดูจะพบวารากของตนพริกมีปม เนื่องจากไสเดือนฝอย Meloidogyne sp. จึงเรียกโรคนี้เฉพาะเจาะจงลงไปวา โรครากปม ตามอาการที่สังเกตเห็นที่ราก

-สํารวจการเขาทําลายของโรคเห่ียว ถาพบใหปองกันกําจัด

โรคใบดางและใบหงิก

พริกแสดงอาการใบดาง ใบหงิก บิดเบี้ยวลดรูป ผลดางบิดเบี้ยว ตนแคระแกรน และใหผลิตผลตํ่า ไวรัสนี้แพรระบาดไดงายและรวดเร็ว โดยมีเพล้ียออนหลายชนิดเปนพาหะ

-สํารวจการเขาทําลายของโรคใบดางและใบหงิก ถาพบใหปองกันกําจัด

Page 24: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

19

รายชื่อศัตรูพืช ลักษณะอาการและการเขาทําลาย วิธีและเกณฑการสาํรวจ

เพลี้ยไฟพริก ตัวเต็มวัยของเพลี้ยไฟวางไขตามเสนใบตัวออนเมื่อฟกออกจากไขจะอาศัยดูดกินน้ําเลี้ยงจากสวนของพืชเชนเดียวกับตัวเต็มวัย มักจะพบอยูโดยทั่วไปบนตนพืชโดยเฉพาะท่ีใบ ดอก ผล หรือสวนที่ออนๆ ของตนพริก ตัวออนและตัวเต็มวัยทําลายใบพริก โดยดูดกินน้ําเลี้ยง ใบออน หรือยอดออน ทําใหใบหรือยอดออนหงิก และมวนงอขึ้นดานบนทั้งสองขาง ใบที่ถูกทําลายจะเห็นเปนรอยสีน้ําตาล ถาการระบาดรนุแรงพืชจะชะงักการเจริญเติบโต หรือแหงตายในท่ีสุด ถาเกิดกับใบออนหรือยอดออนก็จะทําใหใบหรือยอดออนหงิก ขอบใบหงิกและมวนงอขึ้น ดานบนท้ังสองขาง ใบที่ถูกทําลายมากจะเห็นเปนรอยดานสีน้ําตาล ถาเกิดในระยะพริกกําลังออกดอกก็จะทําใหดอกพริกรวง ถาระบาดในชวงพริกติดผลแลวจะทําใหรูปทรงของผลบดิงอ หากเปนชวงที่มีอากาศแหงแลงอาจจะทําความเสียหายมากกวา 80 เปอรเซ็นต เพล้ียไฟระบาดไดดีในสภาพอุณหภูมิสูง ความชื้นต่ํา และแสงแดดจัด กระแสลมเปนปจจัยชวยใหเพล้ียไหแพรกระจายไปไดอยางรวดเร็ว

-สํารวจการเขา ทําลายของเพล้ียไฟพริก ถาพบตัวออนและตัวเต็มวัย 5 ตัวตอยอด ใหปองกันกําจัด

ไรขาวพริก

ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ําเลี้ยงจากตาดอกและยอดออนทําใหใบออนของตนพริกหงิกขอบใบมวนงอลงดานลางทําใหใบมีลักษณะเรียวแหลม กานใบยาว อาการขั้นรุนแรงจะพบวาสวนยอดหงิกเปนฝอย และมีสีน้ําตาลแดงไรขาวพริกมักระบาดในชวงที่มีอากาศชื้นฝนตกพราํ ๆ ตลอดเวลา

-สํารวจการเขาทําลายของไรขาวพริก ถาพบมากกวา 5-10 ตัวตอใบ ใหปองกันกําจัด

หนอนเจาะสมอฝาย

ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อกลางคืน วางไขเปนฟองเดี่ยว ๆ ตามยอดออนของพืช หนอนจะกัดกินทําลายภายในผล

-สํารวจการเขา ทําลายของหนอนเจาะสมอฝาย ถาพบไขมากกวา 1 กลุมตอตน หรือหนอนมากกวา 1 ตัวตอ 2 ตน ใหปองกันกําจัด

Page 25: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

20

รายชื่อศัตรูพืช ลักษณะอาการและการเขาทําลาย วิธีและเกณฑการสาํรวจ

วัชพืชฤดูเดียว เปนวัชพืชท่ีขยายพันธุดวยเมล็ด วัชพืช ประเภทใบแคบ ไดแก หญาตีนนก หญานกสีชมพู หญาตีนกา และหญาดอกขาว เปนตน วัชพืชประเภทใบกวาง ไดแก ผักเบี้ยหิน ผักเบี้ยใหญ ผักบุงยาง ผักโขม และสาบแรงสาบกา เปนตน วัชพืชประเภทกก ไดแก กกทราย และหนวดปลาดุก เปนตน

-สํารวจวัชพืช ถาพบใหปองกันกําจัด

วัชพืชขามป เปนวัชพืชท่ีขยายพันธุดวยตน ราก เหงา หัว ไหล ไดดีกวาการขยายดวยเมล็ดพันธุ และวัชพืชขามปที่พบมาก ไดแก แหวหมู

-สํารวจวัชพืช ถาพบใหปองกันกําจัด

Page 26: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

21

ตัวอยางแบบบันทึกที่ 1 ผลการวิเคราะหดินและน้ํา

ชื่อเจาของแปลงปลูก นาย/นาง/นางสาว............................ นามสกุล.....................................

เลขทะเบียนเจาของแปลงปลูก หรือหมายเลขบัตรประจําตัวเกษตรกร

วัน เดือน ปที่เก็บตัวอยาง

วัน เดือน ป หมายเลขแปลงปลูก

ดิน น้ํา

รายละเอียดที่ตองการ ผูเก็บตัวอยาง

ชื่อหนวยงานที่สงวิเคราะหสงตัวอยาง

รับผลวิเคราะห

หมายเหตุ ตองเก็บใบแจงผลการวิเคราะหดินและน้ําไวเปนหลักฐานทุกครั้ง

Page 27: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

22

ตัวอยาง แบบบันทึกท่ี 2 (หนา 1/4)

ขอมูลท่ัวไปของเจาของแปลงปลูก ขอมูลประจําป ..............................

ชื่อเจาของแปลงปลูก (นาย/ นาง/นางสาว).......................................นามสกุล...........................................

เลขทะเบียนเจาของแปลงปลูก หรอื หมายเลขบัตรประจําตัวเกษตรกร � � � � � � � � � � � � � จํานวน ........... ไร แยกเปน ................ แปลงปลูก ท่ีอยู ชื่อหมูบาน.....................................................หมูท่ี..........เลขท่ี....................................................... ถนน.........................................................ตรอก/ซอย......................................................................... แขวง/ตําบล..........................................เขต/อําเภอ.......................จังหวัด............................................. รหัสไปรษณีย.............................................โทรศัพท........................โทรสาร........................................... e-mail...............................................................website..................................................................... ช่ือผูติดตอหรือผูแทน (นาย/ นาง/นางสาว)..................................................นามสกุล............................................................. ท่ีอยู ชื่อหมูบาน......................................หมูท่ี................เลขท่ี............................................................... ถนน................................................................ตรอก/ซอย................................................................... แขวง/ตําบล......................................เขต/อําเภอ.............................จังหวัด........................................... รหัสไปรษณีย...........................................โทรศัพท...............................โทรสาร...................................... e-mail..............................................................website......................................................................

ลงชื่อผูประกอบการ.............................................. (..........................................................) ลงช่ือผูติดตอหรือผูแทน........................................ (.............................................................)

Page 28: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

23

ตัวอยาง แบบบันทึกท่ี 2 (หนา 2/4)

ขอมูลท่ัวไปของเจาของแปลงปลูก

ชื่อเจาของแปลงปลูก นาย/นาง/นางสาว..............................นามสกุล...........................................

เลขทะเบียนเจาของแปลงปลูก หรอื หมายเลขบัตรประจําตัวเกษตรกร ������ ������� ท่ีต้ังแปลงปลูก เลขท่ี...................หมูท่ี.................... ตําบล.........................อําเภอ............................

จังหวัด................................................................รหัสไปรษณีย.....................................................

รวมท้ังส้ิน จํานวน .........................................แปลงปลูก จํานวน............................................... ไร

แผนผังท่ีต้ังแปลงปลูก แสดงเสนทางคมนาคม และสถานท่ีสําคัญในบรเิวณใกลเคียง เพื่ออํานวยความสะดวกใน การเดินทางไปยังแปลงปลูก

N

Page 29: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

24

ตัวอยาง แบบบันทึกท่ี 2 (หนา 3/4)

ขอมูลท่ัวไปของเจาของแปลงปลูก

แปลงปลูกที่..................ปที่ดาํเนินการ............................. ที่ตั้งแปลงปลูก หมูที.่......................ตําบล...................................อําเภอ.......................................................... จังหวัด......................................................................................พื้นที่........................................................ไร 1.1 พันธุท่ีปลูก พันธุ...................................ระยะปลูก.............................จํานวนตน............... วันท่ีปลูก(อายุตน)................... พันธุ...................................ระยะปลูก.............................จํานวนตน............... วันท่ีปลูก(อายุตน)................... พันธุ...................................ระยะปลูก.............................จํานวนตน............... วันท่ีปลูก(อายุตน)................... พันธุ...................................ระยะปลูก.............................จํานวนตน............... วันท่ีปลูก(อายุตน)................... 1.2 ระบบนํ้าท่ีใช......................................................อัตราการจายนํ้า..............................................ลิตร/ช่ัวโมง 1.3 ประเภทดิน.........................................................................................................................................

1.4 ประวัติการใชพื้นที่การผลติ กอนปลูกพืชปจจุบันยอนหลัง 3 ป

� พื้นที่ไมเคยใชประโยชนทางการเกษตร � พื้นที่ใชประโยชนทางการเกษตร ชนิดของพืชที่เคยปลูกมากอน ปที่ 1.......................................... ปที่ 2 .......................................... ปที่ 3 .......................................... 1.5 ประวัติการแพรระบาดของศัตรูพืช และการกําจัด ชื่อ ศัตรูพืช ..........................ปท่ีระบาด.........พ้ืนท่ีระบาด รอยละ ..........การกําจัด........................................ ชื่อ ศัตรูพืช ..........................ปท่ีระบาด.........พ้ืนท่ีระบาด รอยละ ..........การกําจัด........................................ ชื่อ ศัตรูพืช ..........................ปท่ีระบาด.........พ้ืนท่ีระบาด รอยละ ..........การกําจัด........................................ ชื่อ ศัตรูพืช ..........................ปท่ีระบาด.........พ้ืนท่ีระบาด รอยละ ..........การกําจัด........................................ ชื่อ ศัตรูพืช ..........................ปท่ีระบาด.........พ้ืนท่ีระบาด รอยละ ..........การกําจัด........................................

1.6 ขอมูลอื่น ๆ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

Page 30: THAI AGRICULTURAL COMMODITY AND FOOD STANDARDgap.doa.go.th/web_manual/doc/SD/SD64.pdf · 2018-09-21 · มาตรฐานสินค าเกษตรและอาหารแห

มกอช. 2502-2548

25

ตัวอยาง แบบบันทึกท่ี 2 (หนา 4/4)

ขอมูลท่ัวไปของเจาของแปลงปลูก แปลงปลูกท่ี......................ปที่ดําเนินการ..................................

แผนที่ภายในแปลงปลูก (ระบุ แหลงนํ้า อาคารที่ปรากฏในแปลงปลูก)

N