28
สรุปผลโครงการ การบริหารจัดการขับเคลื่อนนโยบาย การจัดระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) จังหวัดน่าน ประจาปีงบประมาณ 2558

Step up Service Plan - Ministry of Public Health · Ruptured appendicitis แยกตามอ าเภอ, การเสียชีวิตด้วย Traffic Injury, การได้รับยา

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • สรุปผลโครงการ การบริหารจัดการขับเคลื่อนนโยบาย

    การจัดระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) จังหวัดน่าน ประจ าปีงบประมาณ 2558

  • ประเด็นการน าเสนอ

    2

    ๑. ความเป็นมาและความส าคัญ

    ๒.วัตถุประสงค์ของโครงการ

    3 กิจกรรมด าเนินการ และผลสัมฤทธิ์ โครงการ

    ๔. กรอบแนวคิด และทศิทางการด าเนินงานต่อไป

  • กลุ่มงานพัฒนายทุธศาสตร์สาธารณสุข

    บทบาทมีหน้าที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลสุขภาพเชิงระบบของจังหวัด และแปลงนโยบายยุทธศาสตร์ รัฐบาล กระทรวงสาธารณสุข ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มจังหวัดและจังหวัด ประสานและจัดท าแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ สู่การปฏิบัติเพื่อให้สามารถก าหนดเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ ในการพัฒนาระบบสุขภาพของจังหวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

  • โครงสร้างองค์กรและกลไกการจัดการระบบบริการสุขภาพจังหวัดน่าน

    4

  • กระบวนการประสาน/ตดิตอ่สือ่สาร

    กจิกรรมเพือ่ใหก้ารบงัคบัใช ้

    มผีล(การตดิตามผล)

    ลกัษณะของหน่วยงานโครงสรา้งองคก์ร

    บรรทัดฐานวตัถปุระสงค์ของนโยบาย

    ทรัพยากร

    สภาวะเศรษฐกจิและสงัคม

    สภาวะทางการเมอืง

    ผลการน านโยบายไปปฏบิตั ิทัศนคตขิอง

    ผูป้ฏบิตังิาน

    ตวัแบบท ัว่ไป (General Model)

    5

  • สรุปประเด็นส าคัญและจ าเป็นต้องด าเนินการ

    1. เห็นควรให้มีการด าเนินการปรับกระบวนทัศน์ (Paradigm)เรื่องระบบสุขภาพ และสนับสนุนให้มีกิจกรรมการจัดท าแผนงานโครงการของหน่วยบริการทุกระดับให้ชัดเจน

    ๒. เห็นควรให้มีการจัดโครงสร้างองค์กร และกลไกเพ่ือการขับเคลื่อนในรูปแบบคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการในระดับจังหวัด(Chief service officer = CSO) ท่ีมีAuthority ในการร่วมก าหนดนโยบาย การจัดบริการ และการตัดสินใจสูงสุด

    ด้านแผนงานตามนโยบาย(Service plan)

    ด้านการสื่อสารนโยบายสู่ผู้ปฏิบัติยังไม่ทั่วถึง

    ด้านการจัดโครงสร้างองค์กรที่เหมาะสม

    ด้านการสนับสนุนทรัพยากร

    ด้านทัศนคติของผู้ปฏิบัติ

    W

  • โครงการบริหารจัดการขับเคลื่อนนโยบาย การจัดระบบบริการสุขภาพ(SP) จังหวัดน่าน

    ประจ าปีงบประมาณ 2558

    วัตถุประสงค์โครงการ 2.1 เพื่อปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการและขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพService plan(SP) ให้สอดคล้องบริบทพื้นที่จงัหวัดน่าน 2.2 เพื่อจัดท าแผนพัฒนาบริการของแต่ละสาขา(16 สาขา) ให้สามารถน าไปปฏิบัติได้จริง

    SERVICE SERVICE PLAN

    BETTER SERVICE

  • 8

    วิเคราะห์ข้อมูล

    จัดท าแผน

    ด าเนินการตามแผน

    รายงานและการประเมินผล

  • กลไกการน านโยบายยุทธ์ 2 สูก่ารปฏิบัติ

    แผนพัฒนาระบบบริการฯ

    ทบทวน/ปรับกลยุทธ์

    วิเคราะห์องค์ประกอบและจดัท าแผนโดยใช้ 6 BB ให้ครบองค์ประกอบระบบสุขภาพ

    สังคม/โลกเปลี่ยนแปลงความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน

    นโยบายปรับเปลี่ยน

    แผนปฏิบัติการ กระบวนการปฏิบัติงาน

    ควบคุม ก ากับ ติดตาม ประเมินผล

    เวลา โครงการ/กิจกรรม ผู้ปฏิบัติ งบประมาณ

    9

  • Step up Service Plan

    วิธีการจัดท า

    Service Plan

    1. จัดต้ังคณะกรรมการ

    2. วิเคราะห์ข้อมูลและ

    สถานการณ์ด้านสุขภาพ

    3. จัดระดับสถานบริการ/ บทบาทหน้าที่ และพัฒนา

    เครือข่าย

    4. จัดท า Gap analysis และท าแผนพัฒนาสถาน

    บริการ

    10

  • Source: World Health Organization. Everybody’s Business: Strengthening health systems to improve health outcomes—WHO’s Framework for Action. Geneva: WHO, 2007, page 3.

    SERVICE DELIVERY

    HEALTH WORKFORCE

    INFORMATION

    MEDICAL PRODUCTS,VACCINES

    & TECHNOLOGIES

    FINANCING

    LEADERSHIP/GOVERNMENT

    IMPROVED HEALTH (LEVEL AND EQUITY)

    RESPONSIVENESS

    SOCIAL AND FINANCIAL RISK

    PROTECTION

    IMPROVED EFFICIENCY

    การใช้ concept Six Building Blocks ในการจดัท า Service

    Plan

    11

  • องค์ประกอบของ Service

    Plan

    แผน

    พัฒนาบริการ

    แผน พบส. (Share

    Resource)

    แผนลงทุน

    Invest

    ment Plan

    แผนพัฒนาก าลังคน

    HRP / HRD

    12

    แผน

    ก ำลงัคน แผนงำน

    แผนเงิน

    แผนงบ

    ลงทนุ

  • การจัดโครงสรา้งองค์กรระดับจังหวัดเพือ่ขบัเคลื่อน Service Plan M๑

    13

  • 14

  • สรุปงบประมาณและการเบิกจ่าย (Service Plan ๒๕๕๘)

    0

    20,000

    40,000

    60,000

    80,000

    100,000

    120,000

    140,000

    160,000

    180,000

    200,000

    จดัสรร

    เบิกจ่าย

    มะเร็ง ๑๘๙,๔๐๐

    อายุรกรรม สูตกิรรม

  • การประเมินผล

    Input

    • ด้านทรัพยากร

    • การสนบัสนนุอย่างเพียงพอ

    Process

    • กิจกรรมตามผงัก ากบังาน

    • การบริหารจดัการโครงการ

    Output

    • ผลลพัธ์การบรรลุกิจกรรมตามเป้าหมาย

    • วตัถปุระสงค์โครงการ

  • สรุป /ข้อเสนอแนะ

    • ด้านการจัดการ (Management) การขับเคลื่อน Service plan ในจังหวัดต้องด าเนินการโดยแต่งตั้งคณะกรรมการ CSO ในทุกระดับ(CSOอ าเภอ,CSO โซน,CSOจังหวัด) และประธานCSO จังหวัด ควรมาจากคณะกรรมการ CSO Node ผู้แทนของประธานอนุกรรมการสาขาในระดับจังหวัด ผู้แทนองค์กรแพทย์ ผู้แทนของหัวหน้ากลุ่มงานในส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ผู้แทนกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลน่าน โดยมีนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และผู้อ านวยการโรงพยาบาลน่านเป็นที่ปรึกษา ให้กรรมการชุดน้ี ท าหน้าที่แทนคณะกรรมการ Service Provider Board เดิม

  • การจดัโครงสร้างระดบัจงัหวดัเพื่อขบัเคล่ือน Service Plan

    19

    M๒

  • การจัดบริการ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องมีการวิเคราะห์ตนเอง และประเมินตนเอง ได้แก่ CSO พื้นที่ CSO Node CSO จังหวัด, service plan ทุกสาขา และสถานบริการทุกระดับ (S-P) ดังนี้

    1) ทบทวนโครงสร้าง กรรมการ ให้ครอบคลุมทั้งด้านบริหาร บริการ วิชาการ และระดับผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ ทุกสาขา ทั้งระดับจังหวัด และระดับอ าเภอ

    2) วิเคราะห์ส่วนขาด (Gap analysis) ของแต่ละสาขา และของแต่ละระดับโรงพยาบาลโดยใช้ 6 Building Block ว่าแต่ละสาขา/แต่ละระดับ มีส่วนขาดและแนวทางจัดการอย่างไร

    3) บูรณาการ CSO จังหวัด & CSO Node ท้ัง 1๗ สาขา กับหน่วยบริการทุกระดับ S-P

    4) เชื่อมโยงข้อมูลของ CSO หรือ service plan กับ CIO, CFO, CHRO

    5) นิเทศ ติดตาม ประเมินผล ภาพรวมจังหวัด ตามกรอบการนิเทศของเขต

  • 21

    M๓

  • 22

    สนับสนุน ปฏิบัติการ

    M๑

    M๒ M๓

  • ๓.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1) CSO ระดับจังหวัด ควรมีบทบาทในการก าหนดทิศทางระดับจังหวัดให้ชัดเจนและบทบาทในการสนับสนุนด้าน วิชาการ รวมถึงการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ที่เชื่อมโยงกับการจัดบริการระดับ 2) CSO ระดับจังหวัด ควรเชื่อมโยงกับนโยบายระดับเขต และขับเคลื่อน service plan ทั้ง 1๗ สาขา ทุกระดับสถานบริการในจังหวัด โดยสนับสนุนงบประมาณ และจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับจังหวัด 3) CSO ระดับNode (๓ Node เหนือ กลาง ใต้ )ควรได้รับการสนับสนุนงบประมาณครอบคลุมทุกสาขา มี แผนจัดสรรที่ชัดเจน และควรจัดสรรให้ช่วงต้นปีงบประมาณเพื่อให้สามารถด า เนินการได้ทันเวลาและมี ประสิทธิภาพ ๔) การติดตามความก้าวหน้าและการด าเนินงานในพื้นที่ควรมีแผนและแนวทางที่ชัดเจนไมกระทบต่อผู้ป่วยและการปฏิบัติงานของแพทย์ และพยาบาล มากเกินไปควรใช้การติดตามช่องทางอื่น เช่น รายงานผล ในระบบออนไลน์ หรือช่องทางอื่นที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ ๕) รูปธรรมการปฏิบัติย่อมเกิดภาระงานหนักของหน่วยบริการระดับปฐมภูมิและชุมชนจากนโยบายสู่การปฏิบัติที่มีจ านวนมาก ทุกสาขา ดังนั้นจะต้องมีการศึกษาผลกระทบของภาระงานและความพึงพอใจตลอดจน สวัสดิการและผลตอบแทนที่ตอบสนองผู้ปฏิบัติให้ครอบคลุมทุกสาขา จึงควรมีการบูรณาการที่ดี และหาแนวทางลดภาระงานระดับปฐมภูมิและ ชุมชนให้น้อยลง

    การจัดการความรู้

    การสื่อสาร

    การสนับสนุนทรัพยากร

    การติดตามประเมินผล

    ขวัญก าลังใจ

  • ประชากร

    เครือข่าย โซนใต้ จังหวัดน่าน

    ปี 2558-2559

    12x,xxx คน

  • สรุปกิจกรรม 2558

    8 ก.ย. 2558

    14 ก.ย.2558

    Plan 2559

    - รับฟังความคาดหวังจากผู้บริหาร - ระดมสมองสร้างเครือข่าย (World Café)

    - ยกร่างทิศทาง นโยบาย แผน จุดเน้น - Service plan / DHS

  • Gap Service Delivery 59

    Service plan 17 สาขา : DHS

    เวียงสา รับ C/S, Gyn

    elective

    Thal Clinic HIV Clinic Sick Ped/NB

    Pain & Palliative clinic

    COCเครือข่ายกายภาพ/แผนไทย

    นาน้อย รับส่งต่อ ATR Warfarin

    นาหมื่น

    คณะกรรมการ CSO วางทิศทางระบบ บริหาร บริการ อ านวยการ ประสานงาน คณะกรรมการ CIO พัฒนาระบบบริหารข้อมูลโซน / South area Dataset

    ก าหนดจุดเน้นของโซนแต่ละสาขารวม 29 ตัวชี้วัด (จาก 101 ข้อ)

  • สิ่งที่เครือข่ายต้องการสนับสนุน

    1. ข้อมูลส าคัญตาม Dataset เพื่อวิเคราะห์ และพัฒนาเชิงระบบ เช่น Ruptured appendicitis แยกตามอ าเภอ, การเสียชีวิตด้วย Traffic Injury, การได้รับยา SK, r-TPA เป็นต้น

    2. ข้อมูลเพื่อการพฒันา รพ.เวียงสา เป็นแม่ข่าย ได้แก่ จ านวนผู้ป่วยในภูมิล าเนา อ าเภอเวียงสา นาน้อย นาหมื่น ที่ รพ.น่าน (แยกตามการวินิจฉัยตามสาขาที่สามารถดูแลได้เมื่อมีแพทย์เฉพาะทางสาขาละ 1 คน / สาขาละ 2 คน)

    3. ทิศทางและนโยบายการสนับสนุนโรงพยาบาลเวียงสาเป็นโรงพยาบาลแม่ข่าย ก) จาก สสจ.น่าน : การมอบหมาย รอง นพ.สสจ./หัวหน้ากลุ่มงานรับผิดชอบร่วมในการ

    ขับเคลื่อนที่ชัดเจน, การบริหารการเงินการคลัง

    ข) จาก รพ.น่าน : การมอบหมายทีมร่วมผลักดันการพัฒนาระบบบริการโซนใต้