26
1 ปีท่ 2 ฉบับที่ 13 สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�ร�ชบุรีเขต 1 ฉบับเดือน เม.ย.- พ.ค. 55

ratchaburi1 e-magazine

Embed Size (px)

DESCRIPTION

education ebook

Citation preview

Page 1: ratchaburi1 e-magazine

1

ปีที่ 2 ฉบับที่ 13

สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�ร�ชบุรีเขต 1

ฉบับเดือน เม.ย.- พ.ค. 55

Page 2: ratchaburi1 e-magazine

2

ตอนนี้สถานศึกษาก็เริ่มจะเปิดเทอมใหม่ๆ อากาศ ก็แปรปรวน ร้อนบ้างฝนตกบ้าง

แต่คุณครูก็จะต้องมีภาระกิจในการดูแลสภาพภูมิทัศน์ของอาคารเรียน ห้องเรียนและ

รอบๆบริเวณให้ดูเหมาะสม สะอาดตา เพื่อสร้างบรรยากาศให้แก่การเรียนการสอนใน

ปีการ ศึกษาใหม่ พร้อมทั้งยังคงต้องหาวิธีการที่จะรับมือ ในเรื่องการเรียนการสอนเพื่อ

ให้เด็กได้มีผลสัมฤิทธิ์ที่ดี น่าพอใจ มีหลายโครงการที่จะเข้ามาเพื่อช่วยเหลือเยาวชน

ของเราให้มีคุณภาพมายิ่งขึ้น จากหลายนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่คุณครูจะ

ต้องปฏิบัติ เช่น โครงการแท๊ปเล็ตให้กับเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ให้ได้เรียนรู้โดยใช้

เทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง คุณครูในฐานะผู้จัดการเรียนการสอนจะต้องเรียนรู้วิธีการและ

สามารถนำาเทคโนโลยีมาใช้ได้อย่างดีด้วย และเรื่องของภาษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เรา

ต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้ตนเองเพื่อที่จะนำาไปเป็นแบบอย่างให้เด็ก โดยการใฝ่คว้าหาความรู้

พัฒนา ตนเองให้มา การที่เราจะนำาเด็กของเราเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้คุณครูต้องเป็น

ผู้นำาที่มีคุณภาพ สุดท้ายคือเรื่องของการพัฒนาตนเอง ซึ่งตอนนี้ สพฐ.ทำาความร่วมมือกับ

มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคามจัด การอบรม e-traning ในระบบ UTQ ออนไลน์ ให้

กับคุณครู ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ หลายหลักสูตรซึ่งนำาไปเลือกใช้พัฒนาคุณภาพการเรียน

การสอนได้ หว้ังว่าคงจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำาหรับการพัฒนการเรียนการสอน.......

วินัย ศรีเจริญ

คุยกับผู้อำานวยการ

Page 3: ratchaburi1 e-magazine

3

CONTENTS

คลีนิคปฐมวัย 4

Tecnology For Teacher 6

English for life 8 Wellknow Asia 13

เก็บตกจ�กนักก�รศึกษ�ไทย 21

ข่�วกิจกรรมประช�สัมพันธ์ 22

เจ้าของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1

นายวินัย ศรีเจริญ ผู้อำานวยการ สพป.ราชบุรี เขต 1 ที่ปรึกษา

รองผู้อำานวยการ,ผู้อำานวยการกลุ่มทุกกลุ่ม คณะกรรมการ

นายไพรัช นวลขำา บรรณาธิการ

นางดวงตาเข็มทองและเครือข่ายประชาสัมพันธ์ กองบรรณาธิการ

งานประชาสัมพันธ์ กลุ่มอำานวยการ ผู้ผลิต.

โทร.032-321914 http//prcake1.wordpress.com

Page 4: ratchaburi1 e-magazine

4

การวัดและประเมินแบบสภาพจริง

เป็นการเก็บข้อมูลตามความเป็นจริงที่เกิด

ขึ้นจากการปฏิบัติของเด็ก แล้วนำาข้อมูลที่

เก็บรวบรวมมาวิเคราะห์ ซึ่งเป็นวิธีการที่

เหมาะสมกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยและเป็น

ประโยชน์กับการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีการ

พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ ทั้งด้านร่างกาย

อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา การ

ประเมินดังกล่าวสิ่งสำาคัญคือการประเมินว่า

เด็กรู้อะไรและสามารถทำาอะไรได้บ้าง หรือ

เด็กมีพฤติกรรมอย่างไร ลักษณะของการ

ประเมินสภาพจริง เช่น

ก�รประเมินคว�มส�ม�รถในก�รใช้กล้�ม

เนื้อใหญ่ โดยให้เด็กยืนทรงตัวขาเดียวด้วย

ขา ข้างใดข้างหนึ่ง กระโดดขาเดียวไปข้าง

หน้าด้วยขาที่ถนัด ส่วนการใช้กล้ามเนื้อเล็ก

กับการประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา

โดยให้เด็กหยิบจับกรรไกร ตัดกระดาษตาม

แนวที่กำาหนดให้

การประเมินความสามารถในการเขียน ครู

จะต้องเข้าใจในพัฒนาการการเขียนของเด็ก

ปฐมวัย ซึ่งความสามารถด้านการเขียนมี

ลำาดับขั้นดังนี้

ขั้นที่ 1 ขีดเขี่ยแทนเขียน

ขั้นที่ 2 เขียนตั้งชื่อผลงานด้วย

สัญลักษณ์

ขั้นที่ 3 เขียนโดยไม่มีแบบและกฎ

เกณฑ์

ขั้นที่ 4 เขียนโดยลอกเลียนแบบ

ขั้นที่ 5 เขียนในรูปของตัวอักษร

และวาดภาพ

ขั้นที่ 6 เขียนโดยสะกดคำาขึ้นเอง

การประเมินความสามารถในด้านการจำาแนก

เช่น การจำาแนกสิ่งของตามสี ขนาด รูป

ทรง เปรียบเทียบจำานวน ขนาด น้ำาหนัก

หรือบอกความสัมพันธ์ของตำาแหน่งที่อยู่

ของสิ่งของ ต่าง ๆ ตามที่ครูจัดหาอุปกรณ์

ประเภทต่าง ๆ เพื่อนำามาประเมินความ

สามารถดังกล่าว

คลีนิคปฐมวัย

Page 5: ratchaburi1 e-magazine

5

การประเมินตามสภาพจริง เป็นการวัดที่มีความสำาคัญและมีคุณค่ายิ่งสำาหรับเด็กปฐมวัย

เพราะเป็นวัยที่มีลักษณะเฉพาะ ต้องการคนที่มีความรู้ความเข้าใจในการร่วมกันอบรมเลี้ยง

ดูและประเมินพัฒนาเด็กในแนวทางที่เหมาะสมและสอดคล้องกับวัย วิธีการประเมินจึงเป็น

วิธีที่ ไม่เป็นทางการซึ่งพอกล่าวได้ดังนี้

1. การประเมินด้วยการสร้างความรู้จัก

2. การประเมินด้วยการสังเกต

3. การประเมินด้วยการพูดคุย

4. การประเมินด้วยพอตโฟลิโอ

5. การประเมินด้วยการปฏิบัติจริง

6. การประเมินด้วยสถานการณ์จำาลอง

7. การประเมินตนเอง

สิ่งสำาคัญของการประเมินตามสภาพจริง คือ ครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจใน

วิธีการประเมินที่หลากหลาย รู้จักการใช้เครื่องมือการประเมิน การสรุปและรายงานผล

การประเมิน ตลอดจนการนำาผลการประเมินใช้ ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กมี

คุณภาพอย่างเต็มศักยภาพ

ดารารัตน์ อุทัยพยัคฆ์

สพป.รบ.1

Page 6: ratchaburi1 e-magazine

6

BACK TO SCHOOL กระตุ้นหัวใจเด็กให้มาโรงเรียน

ในช่วงเปิดเรียนใหม่ๆเรามีกิจกรรมดีๆมาแนะนำากัน เป็นไอเดียเก๋ๆที่ ได้มาจากศึกษานิเทศก์

ของ สพป.น่าน2 เห็นว่าน่าจะเป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และมีความหมายสำาหรับการเตรี

ยมความพร้อมของนักเรียนในด้านของจิตภาวะเป็นอย่างยิ่งมานำาเสนอ

กิจกรรม back to school เป็นกิจกรรมที่ครูร่วมต้อนรับนักเรียนกลับสู่รั้วโรงเรียนในวันเปิด

เรียนวันแรกในแต่ละภาคเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่ง โดยมีแนวคิดว่าต้องการเห็นนักเรียน

รู้สึกตื่นเต้นและมีความสุขเมื่อย่างเท้าเข้าสู่รั้วโรงเรียนในวันแรกของการเปิดเรียน ซึ่งจะ

เป็นสิ่งหนึ่งกระตุ้นให้เด็กอยากที่จะเรียนหนังสือในครั้งต่อ ๆ ไป

กิจกรรม back to school แต่ละภาคเรียนจะปรับเปลี่ยนกิจกรรมไปตาม

แนวคิดและความต้องการของครูที่ต้องการจัดให้เด็ก เริ่มครั้งแรกเมื่อปี 2552 ครูจะช่วยกัน

ทำาซุ้มประตูสวยงามและให้เด็กลอดผ่าน พร้อมทั้งติดดอกไม้ ให้กับเด็กทุกคนด้วย ทำาแล้ว

เห็นสีหน้าและแววตาของเด็กทุกคนมีความสุข ครูก็พลอยปลื้มใจและสุขใจไปด้วย ต่อมาพบ

ว่า เปิดเรียนวันแรกแต่ละภาคเรียน เด็กนักเรียนรวมถึงผู้ปกครองตื่นเต้นที่จะมาโรงเรียน

และคอยรับการจัดกิจกรรม Back to School จากคุณครูทุกคน

BACK TO SCHOOL

กระตุ้นหัวใจเด็กให้ม�โรงเรียน

Page 7: ratchaburi1 e-magazine

7

สำาหรับปีนี้ครูเกิดแนวคิดใหม่ที่อยากให้นักเรียนประทับใจและต้องการเห็นคุณลักษณะที่พึง

ประสงค์ที่จะเกิดในตัวเด็ก จึงให้ชื่อว่า “สัญญาใจเปิดเทอมใหม่ พร้อมใจเรียน” โดยเมื่อ

เด็กนักเรียนย่างเข้าสู่รั้วโรงเรียน จะได้รับแจกหัวใจคนละดวง (ทำาจากกระดาษรีไซเคิล)

เพื่อนำาไปเขียนสิ่งที่นักเรียนตั้งใจจะทำาแล้วนำาหัวใจไปติดไว้บนป้ายกระดานที่ครูทุกคนต่าง

ช่วยกันตกแต่งไว้อย่างสวยงาม จากนั้นครูจะช่วยกันอ่านหัวใจแต่ละดวงของนักเรียน บาง

คนมีความตั้งใจที่จะเป็นคนดี บางคนตั้งใจที่จะเรียนหนังสือให้ดีกว่าเดิม บางคนบอกว่าจะ

ไม่ทำาตัวไม่ดีเหมือนปีก่อน ป้ายสัญญาใจซึ่งมีหัวใจทุกดวงของนักเรียนบ้านไร่ จะถูกนำาไปติด

ไว้ที่สมุดโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนได้อ่านสิ่งที่ตนเองเขียนไว้เป็นการเตือนใจในการกระทำา

เมื่อจบภาคเรียนครูทุกคนก็จะประเมินพฤติกรรมนักเรียนแต่ละคนว่าเป็นไปตาม

ที่ ได้เขียนสัญญาไว้หรือไม่ back to school จึงไม่ใช่แค่กิจกรรมที่สร้างแต่ความสุขเท่านั้น

แต่เป็นกิจกรรมที่สามารถประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ในตัวนักเรียนได้อย่างหนึ่ง นั่น

คือ ความซื่อสัตย์........

แหล่งที่มาข้อมูล นิเทศออนไลน์ ใต้ฟ้าน่าน 2

ฉบับวันพฤหัสบดีที่ 10 พ.ค.55 โดย.นางสดศรี สุทธการ ศน.สพป.น่าน 2

http://www.nan2.go.th

Page 8: ratchaburi1 e-magazine

8

มารู้จัก Tablet กันเถอะคำาว่า “แท็บเล็ต - Tablet” ที่วงการการศึกษากล่าวถึงและตื่นตัวกันอย่างมากมาย รัฐบาล

จะแจกให้เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทุกคนได้นำามาใช้ส่งเสริมการเรียนการสอน เรามารู้จัก

เจ้า”แท็บเล็ต - Tablet” ว่ามันคืออะไร แต่ถ้าพูดว่า iPad, Samsung Galaxy Tab แล้วล่ะ

ก็ต้องร้อง อ๋อ กันแน่นอนซึ่ง iPad และ Samsung Galaxy Tab นั้นจริงๆแล้วเป็นเพียงแค่

ชื่อรุ่นเท่านั้น แต่แท้ที่จริงแล้วตัวเครื่องเหล่านี้จะเรียกกันว่า “แท็บเล็ต - Tablet”

“แท็บเล็ต - Tablet” ในความหมายแท้จริงแล้วก็คือแผ่นจารึกที่เอาไว้บันทึกข้อความ

ต่างๆโดยการเขียน (อาจจะเป็นกระดาษ, ดิน, ขี้ผื้ง, ไม้) และมีการใช้กันมานานแล้วในอดีต

แต่ในปัจจุบันมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์ที่ ใช้แนวคิดนี้ขึ้นมาแทนที่ซึ่งมีหลายบริษัทได้ ให้คำา

นิยามที่แตกต่างกันไป หลักๆแล้วก็มี 2 ความหมายด้วยกันคือ “แท็บเล็ต พีซี - Tablet PC

(Tablet Personal Computer)” และ “แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ - Tablet Computer” หรือ

เรียกสั้นๆว่า “แท็บเล็ต - Tablet”

“แท็บเล็ต พีซี - Tablet PC (Tablet personal computer)” คือ “เครื่อง

คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่สามารถพกพาได้และใช้หน้าจอสัมผัสในการทำางานเป็นอันดับแรก

ออกแบบให้สามารถทำางานได้ด้วยตัวมันเอง” ซึ่งเป็นแนวคิดที่ ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก

หลังจากทาง Microsoft ได้ทำาการเปิดตัว Microsoft Tablet PC ในปี 2001 แต่หลังจาก

นั้นก็เงียบหายไปและไม่เป็นที่นิยมมากนัก

TECNOLOGY FOR TEACHERS

Page 9: ratchaburi1 e-magazine

9

“แท็บเล็ต พีซี - Tablet PC” ไม่เหมือนกับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะหรือ Laptops

ตรงที่อาจจะไม่มีแป้นพิมพ์ ในการใช้งาน แต่อาจจะใช้แป้นพิมพ์เสมือนจริงในการ

ใช้งานแทน (มีแป้นพิมพ์ปรากฎบนหน้าจอใช้การสัมผัสในการพิมพ์) “แท็บเล็ต

พีซี - Tablet PC” ทุกเครื่องจะมีอุปกรณ์ไร้สายสำาหรับการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต

และระบบเครือข่ายภายใน

แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ - Tablet Computer หรือ แท็บเล็ต - Tablet

“แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ - Tablet Computer” หรือเรียกสั้นๆว่า “แท็บเล็ต -

Tablet” คือ “เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ ในขณะเคลื่อนที่ ได้ขนาดกลางและ

ใช้หน้าจอสัมผัสในการทำางานเป็นอันดับแรก มีคีย์บอร์ดเสมือนจริงหรือปากกา

ดิจิตอลในการใช้งานแทนที่แป้นพิมพ์คีย์บอร์ด และมีความหมายครอบคลุมถึงโน๊

คบุ๊คแบบ convertible ที่มีหน้าจอแบบสัมผัสและมีแป้นพิมพ์คีย์บอร์ดติดมาด้วย

ไม่ว่าจะเป็นแบบหมุนหรือแบบสไลด์ก็ตาม”

ซึ่งทางบริษัท Apple ผู้ผลิต “ไอแพด - iPad” ได้เรียกอุปกรณ์ของตัวเองว่าเป็น

“แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ - Tablet Computer” เครื่องแรก

ความแตกต่างระหว่าง “แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ - Tablet computer” และ

“แท็บเล็ต พีซี - Tablet PC”เริ่มแรก “แท็บเล็ต พีซี - Tablet PC” จะใช้หน่วย

ประมวลผลกลางหรือ CPU ที่ ใช้สถาปัตยกรรม x86 ของ Intel เป็นพื้นฐาน

และมีการปรับแต่งนำาเอาระบบปฏิบัติการหรือ OS ของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน

บุคคลหรือ Personal Computer - PC มาทำาให้สามารถใช้การสัมผัสในการ

ทำางานได้ ตัวอย่างเช่น Windows 7 หรือ Ubuntu Linux แทนที่จะใช้แป้น

พิมพ์คีย์บอร์ดหรือเมาส์ และเนื่องจากเป็นการรวมกันระหว่างระบบปฏิบัติการ

Windows และหน่วยประมวลผลกลางหรือ CPU ของ Intel ทำาให้มีคนเรียกกัน

ว่า “Wintel”

Page 10: ratchaburi1 e-magazine

10

ต่อมาในปี 2010 ได้เกิดแท็บเล็ตที่แตกต่างจาก “แท็บเล็ต พีซี - Tablet PC” ขึ้นมา

โดยไม่มีการยึดติดกับ Wintel แต่ไปใช้ระบบปฏิบัติการของโทรศัพท์เคลื่อนที่แทนนั่นก็คือ

“แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ - Tablet Computer หรือเรียกสั้นๆว่า แท็บเล็ต - Tablet” ซึ่งจะใช้

หน้าจอแบบ capacitive แทนที่ resistive ทำาให้สามารถสัมผัสโดยการใช้นิ้วได้โดยตรงและ

สัมผัสพร้อมกันทีละหลายจุดได้หรือ multi-touch ประกอบกับการใช้หน่วยประมวลผลกลาง

หรือ CPU ที่ ใช้สถาปัตยกรรม ARM แทนซึ่งสถาปัตยกรรม ARM นี้ทำาให้แท็บเล็ตนั้นมี

การใช้งานได้ยาวนานกว่าสถาปัตยกรรม x86 ของ Intel หลายๆคนคงจะรู้จักแท็บเล็ตตัวนี้

กันเป็นอย่างดีนั้นก็คือ ไอแพด (iPad) นั้นเอง

** สรุปความหมายของแท็บเล็ตสั้นๆ ก็คือ คอมพิวเตอร์พกพาหรือคอมพิวเตอร์

ที่สามารถใช้งานขณะเคลื่อนที่ ได้ขนาดกลางที่มีหน้าจอแบบสัมผัสในการใช้งานเป็นหลัก

แหล่งข้อมูลจาก

•http://en.wikipedia.org/wiki/Tablet_personal_computer#cite_note-3

•http://en.wikipedia.org/wiki/Tablet_computer#cite_note-Editors_PC_Magazine-0

•http://en.wikipedia.org/wiki/X86

•http://en.wikipedia.org/wiki/Wax_tablet

Page 11: ratchaburi1 e-magazine

11

คำ�ทักท�ยสวัสดี Hello.

สวัสดีตอนเช้าจนถึงเวลา 12.00 น. Good morning.

สวัสดีตั้งแต่เวลาหลังเที่ยงจนถึง 17.00 น. Good afternoon.

สวัสดีตั้งแต่เวลา 18.00 น.จนถึงกลางคืน Good evening.

สวัสดี (แต่ใช้ทักทายอย่างเป็นกันเอง) Hi !

ราตรีสวัสดิ์ Good night.

สบายดีหรือ Are you well ? / How are you ?

สบายดี I’ m fine. / Very well.

ก็เรื่อยๆ O.K. , thanks. / Not so bad. / Quite well.

คุณชื่ออะไร What’ s your name ?

ดิฉันชื่อ....... , ผม ชื่อ.......... My name is........ .

ยินดีที่ ได้รู้จัก Pleased to meet you.

แล้วพบกันนะ Good bye./ Bye / See you.

ยินดีที่ ได้พบคุณอีก Nice to meet you again.

ตัวอย่างบทสนทนาที่ 1

Dang : Hello ! How are you ? สวัสดีครับ คุณสบายดีไหม

Ann : Fine, thank you. And you ? สบายดีค่ะ ขอบคุณแล้วคุณล่ะ

Dang : O.K. , thanks. ก็เรื่อยๆ ขอบคุณครับ

CONVERSATIONS ENGLISH FOR LIFE

Page 12: ratchaburi1 e-magazine

12

ตัวอย่�งบทสนทน�ที่ 2

Tom : Hi ! Jenny, what’ s up ? สวัสดีเจนนี่ เป็นอย่างไรบ้าง

Jenny : Not so bad, and how are you today ? ก็ไม่เลวหรอก แล้วคุณเป็น

อย่างไรบ้างล่ะวันนี้

Tom : I’ m all right. I have to go now. I’ ll see you tomorrow. ฉันต้องไปแล้วล่ะ

แล้วพบกันพรุ่งนี้นะครับ

Jenny : O.K. See you. ตกลง แล้วเจอกันค่ะ

ก�รแนะนำ�ตัวประโยคที่นิยมใช้ ในการแนะนำาตัวเอง เช่น

ฉันขอแนะนำาตัวเองค่ะ ฉันชื่อ.......... May I introduce myself ? I’ m ........... .

May I introduce myself ? My name is.......... .

สวัสดีครับ ผมชื่อ.......... Hi ! My name is........... .

ตัวอย่างบทสนทนาที่ 3

Rock : May I introduce myself ? I’ m Rock.

I’ m from Phattalung. I have an appointment to see Mrs. Manee, please.

ผมขอแนะนำาตัวเองนะครับ ผมชื่อร็อก ผมมาจากพัทลุง ผมมีนัดกับคุณมณีครับ

CONVERSATIONS

ENGLISH FOR LIFE

Page 13: ratchaburi1 e-magazine

13

ขอบคุณ Thank you./ Thanks.

ขอบคุณมาก Many thanks. Thank you very much.

ฉันรู้สึกซาบซึ้งเป็นอย่างมาก I’ m very grateful.

ฉันไม่ทราบจะขอบคุณคุณอย่างไรดี I don’ t know how to thank you.

ด้วยความยินดี It’ s a pleasure. You are welcome.

ไม่เป็นไรหรอก That’ s OK. That’ s all right. Not at all.

ตัวอย่�งบทสนทน�ที่ 4 Dome : Could you tell me the time, please ?คุณช่วยบอกเวลาให้ฉันหน่อยได้ไหมครับ

Anna : Sure, it’ s nearly nine. ได้สิค่ะ เกือบจะเก้าโมงแล้ว

Dome : Thank you. ขอบคุณครับ

Anna : That’ s all right. ไม่เป็นหรอก

CONVERSATIONS

ENGLISH FOR LIFE

Page 14: ratchaburi1 e-magazine

14

ม�รู้จักประเทศพม่� Myanmar

เมืองหลวง

เนปีดอ (Naypyidaw) (ภาษาพม่า: ) หรือบางครั้งสะกดเป็น เนปีตอ (Nay Pyi Taw)

เป็นเมืองหลวงและเมืองศูนย์กลางการบริหารของสหภาพพม่าที่ ได้ย้ายมาจากย่างกุ้งตั้งแต่

วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ตั้งอยู่ในหมู่บ้านจัตปแว (Kyatpyae) ทางทิศตะวันตก

ของตัวเมืองเปียนมานา (Pyinmana) ในเขตมัณฑะเลย์ สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาโดยรอบ

เมืองนี้เป็นเมืองเดียวของประเทศพม่าที่สามารถใช้ไฟฟ้าได้ตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งในขณะ

ที่เมืองหลวงเก่าย่างกุ้งจะไฟฟ้าดับอย่างน้อย 6 ชั่วโมง เมืองนี้อยู่ห่างย่างกุ้งไปทางเหนือ

ประมาณ 320 กิโลเมตร

อ�ณ�เขต

ทิศเหนือ ติดกับพรมแดนระหว่างพม่าและอินเดีย

ทิศใต้ ติดกับเทือกเขาอาระกันโยมากั้นเป็นแนวยาว

ทิศตะวันออก ติดกับเป็นที่ราบสูงชาน

ทิศตะวันตก ติดกับมีทิวเขาตะนาวศรี กั้นระหว่างไทยกับพม่า

ภูมิประเทศ

ส่วนใหญ่จะเป็นเทือกเขาสูงจากเหนือลงใต้ เพราะเป็นแนวเทือกเขาหิมาลัยสลับกับพื้นที่ที่

เป็นที่ราบสูงมียอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศ คือ ยอดเขาคากาโบ ราซี (Hkakabo Razi) มี

ความสูง 5,881 เมตร และมีที่ราบลุ่มแม่น้ำาที่สำาคัญคือ ที่ราบลุ่มแม่น้ำาอิระวดี (Ayeyar-

wady หรือ Irrawady) แม่น้ำาชินด์วินด์ (Chindwinh) แม่น้ำาสะโตง (Sittoung) แม่น้ำาสาละ

วิน (Salween) ซึ่งที่ราบลุ่มแม่น้ำาเหล่านี้กลายเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยทำาการเกษตรที่สำาคัญ

ของชาวพม่าจวบจนปัจจุบัน

Page 15: ratchaburi1 e-magazine

15

ประช�กร

ประชากรส่วนใหญ่ของพม่าจัดอยู่ในกลุ่มชาวทิเบต – พม่า (Tibeto-Burman) ซึ่งอพยพลง

มาจากดินแดนทิเบต โดยกลุ่มชนชาวพยู (Pyu) เป็นกลุ่มแรกที่เข้ามา ตั้งหลักแหล่งทำามา

หากินในพม่า ตั้งแต่ยุค 2,500 กว่าปีก่อน ปัจจุบันเชื้อสายของประชากรจึงมีความแตก ต่าง

กันมากมาย ประกอบไปด้วยชนเชื้อสายม่าน หรือเมียน หรือพม่า ประมาณ 65% ชาวไท

ใหญ่ 10% ชาวกะเหรี่ยง 7% ชาวยะไข่หรืออาระกันและชาวฉิ่น 4 % และชาติพันธุ์ที่เหลือ

แตกย่อยออก ไปเป็นกลุ่ม ชนอื่น ๆ มากมายถึง 135 ชาติพันธุ์ ได้แก่ พวกกะฉิ่น ว้า มอญ

ไต ม้ง และกลุ่มชาวอัสสัมเผ่าต่าง ๆ เป็นต้น

ระบอบก�รปกครอง

เพิ่งจะมีการเลือกตั้งและส่งเสริมการเป็นประชาธิปไตเปลี่ยนแปลงมาจากการปกครอง

แบบเผด็จการทหาร

เขต

เขตการปกครอง ประเทศพม่าแบ่งเป็น 7 เขต (divisions) และ 7 รัฐ (states) ได้แก่

1.เขตอิรวดี (Ayeyarwady) 2.เขตพะโค (Bago) 3.เขตมาเกว (Magway)

4.เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay) 5.เขตสะกาย (Sagaing) 6.เขตตะนาวศรี (Tanintharyi)

7.เขตย่างกุ้ง (Yangon)

รัฐ

ได้แก่ 1.รัฐรัฐชิน (Chin) 2.รัฐกะฉิ่น (Kachin) 3.รัฐกะเหรี่ยง (Kayin) 4.รัฐกะยา (Kayah)

5.รัฐมอญ (Mon) 6.รัฐยะไข่ (Rakhine) 7.รัฐฉาน หรือรัฐไทใหญ่ (Shan)

ภ�ษ�

ประชาชนส่วนใหญ่ใช้ภาษาพม่า กะเหรี่ยง และไทใหญ่ เพราะเป็นกลุ่มชนส่วนมาก และแม้

จะมีภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองสำาหรับใช้สื่อสารกับชาวต่างชาติ แต่ก็มีจำานวนน้อยที่พูด

ภาษาอังกฤษได้ดี แต่นักท่องเที่ยวสามารถใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารกับพนักงานโรงแรมหรือ

ตามแหล่งท่องเที่ยวที่สำาคัญได้

Page 16: ratchaburi1 e-magazine

16

เจดีย์ชเวมอดอร์ (พระธ�ตุมุเต� ) SHWEMAWDAW PAGODA

พระมห�เจดีย์ชเวด�กอง (SHWEDAGON PAGODA) หรือ เจดีย์ทองแห่งเมือง

ด�กอง หรือ ตะเกิง (ชื่อเดิมของเมืองย่�งกุ้ง) ไม่เคยเลือนห�ยจ�กจิตใจช�วมอญ

และพม่�แห่งลุ่มน้ำ�อิระวดี เป็นเวล�นับพันปีม�แล้ว แต่โบร�ณน�นม� ช�วมอญเรียก

มห�เจดีย์แห่งนี้ว่� “ธ�ตุศก” คนไทยเรียก “ พระเกศธ�ตุ” เนื่องจ�กภ�ยในพระมห�

เจดีย์บรรจุพระเกศ�แห่งองค์พระศ�สด�มห�เจดีย์ที่ ใหญ่ที่สุดของพม่� ซึ่งมีคว�มสูง

ถึง 326 ฟุตแห่งนี้ เมื่อแรกสร้�งนั้นมีคว�มสูงเพียง 27 ฟุตเท่�นั้น

ขน�ดและคว�มสูงขององค์เจดีย์ที่เพิ่มขึ้นกว่�สิบเท่� จึงสะท้อนแรงศรัทธ� อันสืบ

เนื่องย�ว น�นของกษัตริย์และประช�ชนช�วมอญและพม่�ได้เป็นอย่�งดี

ต�มประวัตินั้น ไม่มีหลักฐ�นระบุว่�รูปร่�งของเจดีย์ชเวด�กองเมื่อแรกสร้�งเป็น

อย่�งไร แต่เมื่อมีก�ร บูรณะและก่อเสริมในระยะหลัง มีหลักฐ�นว่�ได้รับอิทธิพลม�

จ�กมห�เจดีย์ชเวสิกอง เมืองพุก�ม ซึ่งนับเป็นพุทธ ศิลป์สกุลช่�งพุก�มยุคต้น ชเว

ด�กองจึงมีลักษณะเป็นเจดีย์ทรงระฆังกลม มียอดฉัตรเป็นกลีบบัวถล�

ก่อเป็นรูปกรวย แหลมกลมสูงไปจนถึงยอด ซึ่งเมื่อสืบค้นลึกลงไปก็พบว่�ศิลปะก�ร

ก่อสร้�งเจดีย์เช่นนี้ พุก�มก็รับเอ�ม�จ�กมอญ อีกทอดหนึ่งนั่นเอง

Page 17: ratchaburi1 e-magazine

17

พระเจดีย์สุเล (SULE PAGODA) ช�วพม่�ถือว่�เป็นพระเจดีย์ทองที่สวยที่สุดใน

พม่� และเป็นศูนย์กล�งของกรุงย่�งกุ้งเนื่องจ�กในช่วงเวล�ที่อังกฤษใช้ย่�งกุ้งเป็น

ศูนย์ศูนย์กล�งก�รปกครองพม่� ใน ฐ�นะเมืองขึ้น ได้มีก�รพัฒน�กรุงย่�งกุ้งโดย

สร้�งถนนหนท�งต�มระบบ “ Block System ”โดยใช้สุเลเจดีย์เป็นจุดเริ่มต้นสร้�ง

ถนนส�ยหลักพุ่งออกไปทุกทิศท�ง รอบ ๆ สุเลเจดีย์จึงเป็นที่ตั้งสถ�นที่ร�ชก�ร ศ�ล

ยุติธรรม ศ�ล�ว่�ก�รกรุงย่�งกุ้ง และกระทรวงทบวงกรมต่�ง ๆ ม�จนถึงปัจจุบัน

สมเด็จกรมพระย�ดำ�รงร�ช�นุภ�พ มีพระนิพนธ์ว่� ช�วพม่�เรียกสุเลเจดีย์ว่� “ชเว

สุเล” (Shwe Sule) หม�ยถึง “ จุลเจดีย์ทองคำ� ” เพร�ะคำ�ว่� “สุเล” เพี้ยนม�จ�ก

“จุละ” คือเป็นเจดีย์ทององค์เล็ก ประดิษฐ�นเคียงข้�ง “เชเวด�กอง” ซึ่งเป็น “มห�

เจดีย์” หรือเจดีย์ทององค์ ใหญ่ สุเลเจดีย์เป็นพุทธศิลป์แบบพระสถูปแปดเหลี่ยม ที่

มีทรวดทรงงดง�ม ช�วพม่�ถือ สุเลเจดีย์เป็น “หัวใจ” ของเมืองหลวงย่�งกุ้ง ส่วน

เจดีย์ชเวด�กองเป็น “หัวใจ” ของชนช�ติพม่�ทั้งมวล อย่�งไรก็ต�ม ดร.สุเนตร ชุ

ติณธร�นนท์ ผู้เชี่ยวช�ญพม่�ศึกษ� ให้ข้อมูลว่� “สุเล” เป็นชื่อของ “นัต” หรือภูติผี

วิญญ�ณ 1ใน 37 ตนที่ช�วพม่�นับถือคู่เคียงกับพุทธศ�สน� เนื่องจ�กเป็น “นัต” ที่

ช่วยปกป้องคุ้มครองแผ่นดินพม่�ไว้ ต�มตำ�น�นแล้ว สุเลเป็นยักษ์ตนหนึ่งที่สักก�

ระบูช�และเชื่อฟังคำ�สอนของพระพุทธเจ้� และนำ�ท�งน�ยว�นิชสองพี่น้องให้นำ�

พระเกศ�พระพุทธเจ้�ม�บรรจุในเจดีย์ชเวด�กอง ช�วพม่�จึงสร้�งสุเลเจดีย์ขึ้นเป็น

อนุสรณ์สถ�นแด่คุณคว�มดีของยักษ์สุเล ซึ่งถือเป็นนัตตนหนึ่งในจิตวิญญ�ณของ

ชนช�ติพม่�

Page 18: ratchaburi1 e-magazine

18

เจดีย์ก�บ�เอ (KABA AYE PAGODA)

เจดีย์ทรงกลมมีคว�มสูงและมีขน�ดเส้นผ่�ศูนย์กล�งวัดได้เท่�กัน คือ 34 เมตร สร้�ง

โดยน�ยอูนุน�ยกรัฐมนตรีคนแรกของพม่� เพื่อใช้เป็นสถ�นที่ชำ�ระพระไตรปิฎกครั้งที่

6 ในช่วงระหว่�งปี พ.ศ.2497 – 2499 และเพื่อให้บังเกิดสันติสุขแก่โลก ล่�สุดใช้เป็น

สถ�นที่ ใช้ ในก�รประชุมสงฆ์ โลกเมื่อเดือนธันว�คมพ.ศ. 2547ที่ผ่�นม�ที่สำ�คัญเป็น

ที่ประดิษฐ�น พระบรมส�รีริกธ�ตุ พร้อมทั้งพระธ�ตุของพระอัครส�วกพระส�รีบุตร

และพระโมคล�นะ

พระพุทธไสย�สน์เจ�ทัตยี (KYAUK HTAT GYI)

พระพุทธรูปองค์นี้ มีลักษณะพิเศษคือ ที่บริเวณพระบ�ทมีภ�พว�ดรูปสรรพสิ่ง อัน

ล้วนเป็นมิ่งมงคลสูงสุด เพร�ะประกอบด้วย ล�ยลักษณธรรมจักร ข้�งละองค์ ใน

บริเวณใจกล�งฝ่�พระบ�ท และล้อมด้วย รูปอัฏฐุตรสตกตมงคล 108 ประก�ร และ

พระบ�ทซ้อนกันซึ่งแตกต่�งกับศิลปะของไทย ซึ่งเป็นพระที่มีคว�มสวยง�มที่สุด มี

ขนต�ที่งดง�ม

Page 19: ratchaburi1 e-magazine

19

ตล�ด “สก๊อตม�ร์เก็ต”(SCOTT MARKET)

ตล�ดโป๊ะโจค หรือ “สก๊อตม�ร์เก็ต” ซึ่งตล�ดแห่งนี้ท่�นส�ม�รถเลือกซื้อของฝ�ก

ญ�ติมิตรได้น�น�ชนิดเป็นต้นว่� เครื่องเงิน, เครื่องเขิน, ไม้แกะสลักพระพุทธรูป

เทวรูปที่ทำ�ด้วยไม้จันทน์, เครื่องแกะสลัก, เครื่องลงรักปิดทองต่�งๆ, ถ้วยช�มกังไส

จีนโบร�ณ, โคมไฟแก้ว และแจกันเจียระไนโบร�ณ, น�ฬิก�ข้อมือเก่�, ผ้�ไหมล�ย

ต่�งๆ ไปจนถึงบรรด�ว่�นต่�งๆเช่น ว่�นหงส�วดีภ�พว�ดสีน้ำ�มันรูปทิวทัศน์ของพม่�

ฯลฯ

ภัตต�ค�รก�ระเวก

ภัตต�ค�รนี้สร้�งเลียนแบบเรือกัญญ�หัวเรือเป็นรูปนกก�ระเวกสัตว์ ในป่�หิมพ�นต์

พระเจดีย์เยเลพญ�

เป็นเจดีย์บนเก�ะกล�งน้ำ�อ�ยุนับพันปี เป็นที่สักก�ระของช�วสิเรียม ที่บริเวณท่�

เทียบเรือบนเก�ะส�ม�รถซื้ออ�ห�รเลี้ยงปล�ดุกตัวขน�ดใหญ่นับร้อยๆ ตัวที่ว่�ยวน

เวียนให้เห็นครีบหลังที่ โผล่เหนือผิวน้ำ�

Page 20: ratchaburi1 e-magazine

20

พระธ�ตุอินทร์แขวน

เมืองไจ้ โถ่ ตั้งอยู่ครึ่งท�งระหว่�งตะโถ่งกับแบ่กู มีเจดีย์สำ�คัญตั้งอยู่ท�งตะวันออก

สุดปล�ยท�งเดินย�ว 10 กิโลเมตร ชื่อเจดีย์ไจ้ที โย แปลว่�“ก้อนหินสีทอง” ลักษณะ

เป็นเจดีย์องค์เล็ก ๆ สูงเพียง 5.5 เมตรบนก้อนหินกลม ๆ ที่ตั้งอยู่บนยอดผ�อย่�ง

หมิ่นเหม่ดูแล้วให้หว�ดเสียวว่�จะกลิ้งตกลง ไปยังก้นหุบเข�เมื่อไหร่ก็ไม่รู้ แต่ช�วพม่�

มักยืนกร�นว่�ไม่มีท�งตก เพร�ะพระเกศธ�ตุศักดิ์สิทธิ์ที่บรรจุ อยู่ภ�ยในพระเจดีย์

ย่อมยังหินก้อนนี้ ให้ทรงตัวอยู่ได้อย่�งสมดุลเรื่อยไป ตำ�น�นเล่�ว่� ในศตวรรษที่ 11

มีกษัตริย์องค์หนึ่ง พระน�มว่�พระเจ้�ติสสะ ทรงเป็นโอรสของ ซอจีบิด�พญ�น�คัน

หนึ่งมีฤาษีเฒ่�นำ�พระเกศธ�ตุที่เก็บรักษ�ไว้ ในมุ่นมวยผมของตนน�นหล�ยร้อยปี ม�

ถว�ย โดยมีข้อแม้ว่�พระองค์จะต้องห�ก้อนหินที่มีรูปทรงสัณฐ�นคล้�ยศีรษะของ

ท่�น แล้วสร้�ง พระเจดีย์บรรจุพระเกศ ธ�ตุเอ�ไว้บนก้อนหินก้อนนั้น ร้อนถึงตะจ�

มิน(พระอินทร์)ร�ช�แห่งนัต ต้องลงม�ช่วยงมหินก้อนนั้นขึ้นม�ให้จ�กก้นทะเลจ�กนั้น

พระเจ้�ติสสะก็ใช้เรือบรรทุก ก้อนหินลำ�เลียงขึ้นไปไว้บนยอดเข� เมื่อม�ถึงที่หม�ย

เรือก็กล�ยเป็น หินไป ปัจจุบันยังปร�กฎ ให้เห็นโดยอยู่ห่�งจ�กเจดีย์ไจ้ที โยไปไม่กี่

ร้อยเมตรช�วบ้�นเรียกข�นกันว่�เจ้�ตัมปั่น แปลว่� “เจดีย์เรือหิน”ก่อนหน้�ที่จะมีก�ร

สร้�งท�งขึ้นเจดีย์ มีช�วต่�งช�ติเพียง ไม่กี่คนเท่�นั้น ที่เคยเดินท�งม�แสวงบุญที่

เจดีย์ไจ้ที โย (ไจ้ที โยพย� ไทยเรียก พระธ�ตุอินทร์แขวน) แต่ท�งก�รพม่�ก็ตระหนัก

ดีว่�ที่นี่มีศักยภ�พ ในก�รดึงดูดนักท่องเที่ยวสูง จึงได้สร้�งโรงแรมขึ้น ที่นี่แห่งหนึ่ง

และจัดทัวร์นำ�นักท่องเที่ยวขึ้นเข�ด้วย ถึงแม้นั่งรถม�จะสบ�ยกว่� แต่ก�รเดินเท้�

ขึ้นม�จ�กกิ่นปวนก็มีเสน่ห์ไปอีกแบบหนึ่ง พระเจดีย์องค์นี้อยู่สูง 1,200 เมตรเหนือ

ระดับน้ำ�ทะเล จ�กค่�ยพักที่กิ่นปวนเดินขึ้นม�ต้องใช้เวล�ห้�ชั่วโมงเต็ม ผู้ม�แสวงบุญ

ส่วนใหญ่จะเตรียมถุงนอนม� ค้�งแรมที่วัดใกล้ๆพระเจดีย์ด้วย สำ�หรับช�วพม่�แล้ว

ก�รเดินขึ้นไจ้ที โยถือ เป็นก�รชำ�ระจิตใจ และสั่งสมบุญอย่�งหนึ่ง

Page 21: ratchaburi1 e-magazine

21

สถ�นที่ท่องเที่ยวเมืองพุก�ม

พระเจดีย์ชเวสิกอง ( SHWEZIGON PAGODA)

เป็นศิลปะของที่ โดดเด่นงดง�มโดยแท้มีลักษณะเป็นสีทองอร่�มขน�ดใหญ่ที่เชื่อกันว่�

ภ�ยในนั้น ประดิษฐ�นพระทัตนธ�ตุของพระพุทธเจ้�

วัดอนันด�

เป็นวิห�รที่มีขน�ดใหญ่ที่สุดในพุก�ม มีรูปร่�งเป็นสี่เหลี่ยมจตุรัส มีมุขเด็จยื่นออกไป

ทั้ง 4 ด้�น แผนผังเหมือนไม้ก�งเขนแบบกรีก ซึ่งต่อม�เจดีย์แห่งนี้เป็นต้นแบบของ

สถ�ปัตยกรรมพม่� ในยุคต้นของพุก�ม และสิ่งที่น่�ทึ่งของวิห�รแห่งนี้ก็คือช่�งได้

ทำ�ก�รส่องแสงสว่�งเข้�ไป ในวิห�รเฉพ�ะให้ตรงองค์พระประธ�น

Page 22: ratchaburi1 e-magazine

22

มี โอก�สได้อ่�นบทคว�มของนักก�รศึกษ�ซึ่งเป็นผู้บริห�รระดับสูงของ กระทรวง

ศึกษ�ธิก�รได้เขียนไว้มีแง่คิดและมุมมองที่เป็นประโยชน์ต่อนักก�รศึกษ�จ�กบทคว�ม

ตอนหนึ่งที่ท่�น ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์ ตอนนั้นท่�นดำ�รงตำ�แหน่งปลัด กระทรวง

ศึกษ�ธิก�ร ได้เขียนไว้ว่�

“ ก�รเรียนรู้ ในยุคใหม่ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพ�ะในโรงเรียน แต่เกิดขึ้นได้อย่�งกว้�ง

ขว�งในหล�ยสถ�นที่ แม้แต่ในบ้�นของตนเองก็เป็นแหล่งเรียนรู้ ได้ ถ้�มีระบบสื่อส�ร

และข้อมูลข่�วส�รที่ดีพอ ก�รเรียนรู้จ�กกันและกันก็เป็นอีกวิธีก�รหนึ่งที่ช่วยให้คน

ได้รับคว�มรู้ ได้อย่�งดี ก�รเรียนรู้จึงไม่จำ�เป็นต้องเรียนในห้องเรียน (จ�กครูเท่�นั้น)

อีกต่อไป

โลกยุคใหม่ถูกเชื่อมโยงด้วยระบบเทคโนโลยีส�รสนเทศใหม่ที่ ใช้คอมพิวเตอร์

และระบบสื่อส�รผ่�นด�วเทียมและใยแก้วนำ�แสง ทำ�ให้ก�รส่งทอดข้อมูลข่�วส�ร

เป็นไปได้อย่�งรวดเร็วและกว้�งขว�งม�กเร�ส�ม�รถค้นคว้�ห�คว�มรู้ผ่�นเครือข่�ย

คอมพิวเตอร์ต่�งๆ ด้วยระบบ Internet ได้แม้อยู่คนละซีกโลกก็ต�ม ระบบเทคโนโลยี

ส�รสนเทศจะเปลี่ยนรูปแบบของก�รเรียนรู้และแหล่งคว�มรู้และจะทำ�ให้ทุกคนได้

เรียนรู้อย่�งกว้�งขว�งเท่�เทียมกัน “

นั่นหม�ยคว�มว่�องค์ประกอบต่�งๆเทคโนโลยีจะเข้�ม�มีส่วนช่วยเหลือใน

ก�รเรียนรู้เป็นอย่�งม�กถ้�มีคว�มพร้อม มิได้หม�ยคว�มว่�ครูจะหมดคว�มหม�ย

ไป เพียงแต่เทคโนโลยีจะเข้�ม�มีส่วนร่วมในก�รเรียนก�รสอน ครูเองนอกจ�กจะ

สอนต�มภ�ระหน้�ที่ ในห้องเรียนแล้ว จะต้องเป็นผู้แนะแนวท�งวิธีก�รและชี้ช่องท�ง

ให้เด็กได้แสวงห�แหล่งเรียนรู้ ได้เอง ปลูกฝังให้เด็ก ได้เป็นค้นคว้�และใช้เทคโนโลยี

ให้เป็นประโยชน์ม�กที่สุด ก็จะช่วยให้คุณภ�พก�รศึกษ�ไทยดีขึ้นและเด็กนักเรียนได้

มีท�งเลือกในก�รแสวงห�คว�มรู้ ได้อย่�งกว้�งขว�งแนวคิดแห่งบทคว�มนี้จึงเป็น

ประโยชน์ ในก�รคิดห�แนวท�งในก�รจัดก�รเรียนก�รสอนให้เหม�ะสมกับสภ�พก�ร

เปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่ ที่เร�ได้เก็บตกม�บอกล่�วกัน

คนชอบอ่�น ชอบคิด

เก็บตกจากนักการศึกษาไทย

Page 23: ratchaburi1 e-magazine

23

ผู้ตรวจราชการฯเยี่ยม ร.ร.วัดเขาวัง

น�งผ�นิตย์ มีสุนทร ผู้ครวจร�ชก�รกระทรวงศึกษ�ธิก�ร ได้เข้�เยี่ยมโรงเรียน

วัดเข�วัง (แสงช่วงสุวณิช) สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�ร�ชบุรีเขต

1 เมื่อปล�ยเดือน เมษ�ยน 55 ได้เข้�รับฟังถึงโครงก�รต่�งๆที่เป็นนโยบ�ยของรัฐ

และ กระทรวงศึกษ�ธิก�ร เช่น โครงก�รเรียนดีอย่�งมีคุณภ�พ,โครงก�รเรียนรู้

สู่ประช�คมอ�เซียน,โครงก�รป้องกันและแก้ ไขย�เสพติดในสถ�นศึกษ�,รวมไปถึง

โครงก�รที่ส่งเสริมอัจฉริยะภ�พและคว�มส�ม�รถ จ�กผู้ ให้ข้อมูลหล�ยฝ่�ยเช่น

นักเรียน,คณะครูผู้รับผิดชอบ,ผู้บริห�รโรงเรียน จ�กผลจ�กก�รดำ�เนินง�นต่�งๆของ

โรงเรียนและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนเป็นที่พึงพอใจ

ได้กล่�วถึงโครงก�รของรัฐบ�ลเกี่ยวกับก�รแจก “แท๊ปเล็ต” ให้กับเด็กชั้นประ

ถมศึกษ�ปีที่ 1 ท�งกระทรวงศึกษ�กำ�ลังรีบดำ�เนินก�ร ส่วนระยะเวล�นั้นท�งกระ

ทรวงศึกษ�ธิก�รกำ�ลังรีบดำ�เนินก�รโดยด่วนเพื่อเด็กนักเรียนได้ทันใช้ภ�ยในภ�คเรียน

แรกนี้พร้อมกับรอดูทิศท�งคว�มชัดเจนในเรื่องของค่�ซ่อมแซม ส่วนเรื่องค่�ใช้จ่�ย

ร�ยหัวเด็กนักเรียน ขณะนี้ สพฐ.กำ�ลังเตรียมตัวที่จะช่วยให้ปรับค่�ร�ยหัวให้เป็นไป

ต�มคว�มจริงของสภ�พปัจจุบัน ท�งผู้ครวจกระทรวงฯรับปัญห�เพื่อนำ�เข้�ที่ประชุม

ห�ท�งช่วยเหลือต่อไป

Page 24: ratchaburi1 e-magazine

24

นายวินัย ศรีเจริญ ผอ.สพป.ราชบุรีเขต1 พร้อม

คณะ เข้าร่วมพิธีวันฉัตรมงคล และลงนามในข้อตก

ลงความร่วมมือของจังหวัดราชบุรีในเรื่องของการ

ส่งเสริมประชาธิปไตยและการปรองดอง ณ อาคาร

ยิมเนเซียมจังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ 5 พ.ค.55 โดย

มีผู้ว่าราชการจังหวัดราชุบุรี นายชนม์ชื่น บุญญานุ

สาสน์ เป็นประธานในพิธี

Page 25: ratchaburi1 e-magazine

25

การฝึกประสบการณ์ศึกษานิเทศก์

ใหม่ของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ซึ่งได้

ดำาเนินการสอบคัดเลือกจากคุณผู้

สอนในตำาแหน่งที่ว่างอยู่จำานวน 7

ราย คือ น.ส.สพิชญ์นันท์ ทิมพิทักษ์

น.ส.สิริวรรณภา บุญเส็ง

นางนิกุล ใจดี

นายศิริชัย ทองหน้าศาล

น.ส.ศศิกานต์ แสวงลาภ

น.ส.วงศ์จินดา ฤกษ์เมือง

นายนิรุทธิ์ อาทาทิพย์

เข้าร่วมฟังคำาแนะนำาจากผู้อำานวย

การกลุ่มต่างๆ โดยมีนายอำานาจ

งามยิ่งยวด รองผู้อำานวยการฯผู้ดู

แลเป็นประธาน แนะนำาการทำางาน

ลักษณะของโครงสร้างและเครือข่าย

ในการทำางานทั้งนี้จะเข้ารับการฝึก

ประสบการณ์จริงตั้งแต่วันที่ 8 พ.ค.

55 ถึงวันที่ 6 มิ.ย.55 ก่อนที่จะเข้า

สู่ตำาแหน่งฯ

Page 26: ratchaburi1 e-magazine

ผลิตโดยกลุ่มง�นประช�สัมพันธ์ สพป.รบ.1

http//prcake1.wordpress.com