32
1 การสอบไลภาค 1 ปการศึกษา 2554 ขอสอบกระบวนวิชา LAW 1004 (LA 104) (LW 104) ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป คําสั่ง ใหนักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว (ขอสอบมีทั้งหมด 120 ขอ) 1. ระบบกฎหมายใดที่คําพิพากษาของศาสนาเปนที่มาของกฎหมาย และศาลจะไมบังคับใชกฎหมายลายลักษณ อักษรที่มีถอยคําไมชัดเจนหรือเคลือบแคลงสงสัย (1) ระบบคอมมอน ลอว (Commom Law) (2) ระบบซีวิล ลอว (Civil Law) (3) ระบบประมวลกฎหมาย (Code Law) (4) ระบบกฎหมายลายลักษณอักษร (Written Law) ตอบ 1 หนา 22,25 ระบบกฎหมายคอมมอน ลอว หรือระบบกฎหมายที่ไมเปนลายลักษณอักษร เปนกฎหมายทีเกิดจากจารีตประเพณีและคําพิพากษาของศาล กลาวคือ เมื่อมีคดีใดเกิดขั้น และศาลไดพิพากษาคดีนั้นไปแลว คํา พิพากษาของศาลยอมถือเปนบรรทัดฐานในการใชวินิจฉัยคดีที่เกิดขึ้นอยางเดียวกันไดในภายหลังอีก แตทั้งนี้คงมี บางเรื่องที่ไดมีการบัญญัติกฎหมายเอาไว ซึ่งถากฎหมายนั้นบัญญัติไวโดยชัดแจง ศาลก็ตองนํามาบังคับใชแกคดี แตถากฎหมายลายลักษณอักษรนั้นมีถอยคําที่ไมชัดเจน หรือเคลือบแคลงสงสัย ศาลจะไมนํามาบังคับใช 2. กฎหมายโรมันเปนรากฐานของระบบกฎหมายใด (1) ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (2) ระบบกฎหมายไมเปนลายลักษณอักษร (3) ระบบคอนมอน ลอว (Common Law) (4) ระบบซีวิล ลอว (Civil Law) ตอบ 4 หนา 21-22, (คําบรรยาย) ระบบกฎหมายซีวิล ลอว หรือระบบกฎหมายลายลักษณอักษรเปนระบบ กฎหมายที่ไดรับอิทธิพลมาจากกฎหมายโรมัน เนื่องมาจากในสมัยพระเจาจัสติเนียนแหงกรุงโรม (สมัยโรมัน) ได ทรงรวบรวมเอากฎหมายประเพณีซึ่งบันทึกไวในกฎหมายสิบสองโตะและหลักกฎหมายของนักนิติศาสตร นํามา บันทึกไวในประมวลกฎหมายของพระเจาจัสติเนียน ซึ่งถือเปนรากฐานในการจัดทําประมวลกฎหมายของ กฎหมายระบบซีวิล วอล 3. นักกฎหมายชาวตางประเทศชาติใดมีบทบาทในการจัดทํารางประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยของประเทศ ไทย (1) ประเทศฝรั่งเศส (2) ประเทศเยอรมัน (3) ประเทศอิตาลี (4) ประเทศญี่ปุตอบ 1 หนา 23-24 ประเทศไทยรับหลักกฎหมายและหลักปฏิบัติของอังกฤษเขามาใชบังคับในรัชสมัยรัชกาลที5 จนถึงปลายรัชกาลที6 จึงไดมีการเปลี่ยนแปลงในระบบของกฎหมายไทย โดยรัฐไดตัดสินใจทําประมวล กฎหมายขึ้นคือประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพที1 และบรรพที2 ซึ่งรางโดยที่ปรึกษากฎหมายชาว

Q&A Intro Law1

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Intro7763388

Citation preview

Page 1: Q&A Intro Law1

1

การสอบไลภาค 1 ปการศึกษา 2554 ขอสอบกระบวนวิชา LAW 1004 (LA 104) (LW 104) ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายท่ัวไป

คําส่ัง ใหนักศึกษาเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว (ขอสอบมีทั้งหมด 120 ขอ) 1. ระบบกฎหมายใดที่คําพิพากษาของศาสนาเปนที่มาของกฎหมาย และศาลจะไมบังคับใชกฎหมายลายลักษณ

อักษรที่มีถอยคําไมชัดเจนหรือเคลือบแคลงสงสัย (1) ระบบคอมมอน ลอว (Commom Law) (2) ระบบซีวิล ลอว (Civil Law) (3) ระบบประมวลกฎหมาย (Code Law) (4) ระบบกฎหมายลายลักษณอักษร (Written Law) ตอบ 1 หนา 22,25 ระบบกฎหมายคอมมอน ลอว หรือระบบกฎหมายที่ไมเปนลายลักษณอักษร เปนกฎหมายที่

เกิดจากจารีตประเพณีและคําพิพากษาของศาล กลาวคือ เม่ือมีคดีใดเกิดขั้น และศาลไดพิพากษาคดีนั้นไปแลว คํา

พิพากษาของศาลยอมถือเปนบรรทัดฐานในการใชวินิจฉัยคดีที่เกิดขึ้นอยางเดียวกันไดในภายหลังอีก แตทั้งนี้คงมี

บางเรื่องที่ไดมีการบัญญัติกฎหมายเอาไว ซ่ึงถากฎหมายนั้นบัญญัติไวโดยชัดแจง ศาลก็ตองนํามาบังคับใชแกคดี

แตถากฎหมายลายลักษณอักษรนั้นมีถอยคําที่ไมชัดเจน หรือเคลือบแคลงสงสัย ศาลจะไมนํามาบังคับใช 2. กฎหมายโรมันเปนรากฐานของระบบกฎหมายใด (1) ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (2) ระบบกฎหมายไมเปนลายลักษณอักษร (3) ระบบคอนมอน ลอว (Common Law) (4) ระบบซีวิล ลอว (Civil Law) ตอบ 4 หนา 21-22, (คําบรรยาย) ระบบกฎหมายซีวิล ลอว หรือระบบกฎหมายลายลักษณอักษรเปนระบบ

กฎหมายที่ไดรับอิทธิพลมาจากกฎหมายโรมัน เนื่องมาจากในสมัยพระเจาจัสติเนียนแหงกรุงโรม (สมัยโรมัน) ได

ทรงรวบรวมเอากฎหมายประเพณีซ่ึงบันทึกไวในกฎหมายสิบสองโตะและหลักกฎหมายของนักนิติศาสตร นํามา

บันทึกไวในประมวลกฎหมายของพระเจาจัสติเนียน ซ่ึงถือเปนรากฐานในการจัดทําประมวลกฎหมายของ

กฎหมายระบบซีวิล วอล 3. นักกฎหมายชาวตางประเทศชาติใดมีบทบาทในการจัดทํารางประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยของประเทศ

ไทย (1) ประเทศฝรั่งเศส (2) ประเทศเยอรมัน (3) ประเทศอิตาลี (4) ประเทศญ่ีปุน ตอบ 1 หนา 23-24 ประเทศไทยรับหลักกฎหมายและหลักปฏิบัติของอังกฤษเขามาใชบังคับในรัชสมัยรัชกาลที่

5 จนถึงปลายรัชกาลที่ 6 จึงไดมีการเปล่ียนแปลงในระบบของกฎหมายไทย โดยรัฐไดตัดสินใจทําประมวล

กฎหมายขึ้นคือประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพที่ 1 และบรรพที่ 2 ซ่ึงรางโดยที่ปรึกษากฎหมายชาว

Page 2: Q&A Intro Law1

2

ฝรั่งเศสและไดประกาศใชเปนเวลา 2 ป จึงไดมีการเปล่ียนแปลงอีกครั้งหนึ่ง โดยเปล่ียนจากการใชประมวล

กฎหมายตามอยางประมวลกฎหมายแพงฝรั่งเศสมาใชประมวลกฎหมายแบบเยอรมัน 4. ระบบกฎหมายใดศาลปฏิเสธที่จะไมนําจารีตประเพณีทองถ่ินมาใชในการอุดชองวางแหงกฎหมาย (1) ระบบคอมมอน ลอว (Common Law) (2) ระบบซีวิล ลอว (Civil Law) (3) ระบบประมวลกฎหมาย (Code Law) (4) ระบบกฎหมายลายลักษณอักษร (Written Law) ตอบ 1 หนา 25,93-94 การที่ศาลนําจารีตประเพณีแหงทองถ่ินมาใชในการอุดชองวางแหงกฎหมายนั้นเปนวิธี

อุดชองวางแหงกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 4 วรรคสอง ซ่ึงเปนกฎหมายที่ใชอยูใน

ประเทศไทย และเปนประเทศที่ใชกฎหมายซีวิล ลอว สวนในกฎหมายระบบคอมมอน ลอวนั้น ศาลจะไมนําจารีต

ประเพณีแหงทองถ่ินมาใชในการอุดชองวางแหงกฎหมาย เนื่องจากระบบนี้ไมนําหลักการเทียบเคียงกฎหมายหรือ

นําจารีตประเพณีแหงทองถ่ินมาใชในกรณีที่ไมมีกฎหมายบัญญัติไว แตจะตีความตามตัวอักษรโดยเครงครัด 5. วิวัฒนาการของกฎหมายยุคใดที่ศีลธรรมและจารีตประเพณีไมไดแยกกันเด็ดขาด หากแตกฎหมายศีลธรรม

และจารีตประเพณีเปนเรื่องเดียวกัน (1) ยุดกฎหมายประเพณี (2) ยุคกฎหมายชาวบาน (3) ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย (4) ยุคกฎหมายเทคนิค ตอบ 2 หนา 8 ยุคกฎหมายชาวบาน เปนยุคที่กฎหมายมีลักษณะเปนกฎเกณฑควบคุมความประพฤติที่ออกมาใน

รูปของขนบธรรมเนียมจารีตประเพณีที่มีอยูในความรูสึกนึกคิดของประชาชนโดยทั่วไป ซ่ึงมีวิวัฒนาการมาจาก

ศีลธรรมหรือความรูสึกผิดชอบช่ัวดีของมนุษยวาถาไมปฏิบัติตามแลวจะรูสึกวาเปนความผิด ดังนั้นในยุคนี้มนุษย

จึงยังไมสามารถแยกไดวาศีลธรรม ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี และกฎหมายแตกตางกันอยางไร กลาวคือ

กฎหมาย ศีลธรรม และจารีตประเพณี ยังคงเปนเรื่องเดียวกันนั่นเอง 6. ขอใดไมใชการมีสวนรวมของผูมีสิทธิเลือกตั้งในเขตองคการบริหารสวนตําบล (1) การทําประชามติขับไลนายกองคการบริหารสวนตําบล (2) การเขาช่ือเสนอรางขอบัญญัติตําบล (3) การเขาช่ือถอดถอนนายกองคการบริหารสวนตําบล (4) การเลือกตั้งสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ตอบ 1 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 286 ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีสิทธิ

เขาช่ือรองขอตอประธานสภาทองถ่ินเพ่ือใหสภาทองถ่ินพิจารณาออกขอบัญญัติทองถ่ินได, มาตรา 285

ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถ่ิน มีสิทธิเขาช่ือรองขอใหมีการลงคะแนนเสียงถอดถอน

สมาชิกสภาทองถ่ิน คณะผูบริหารทองถ่ินหรือผูบริหารทองถ่ิน ผูนั้นพนจากตําแหนง, มาตรา 165 การทํา

ประชามติที่เก่ียวกับตัวบุคคลหรือคณะบุคคลจะกระทํามิไดและมาตรา 72 บุคคลมีหนาที่ไปใชสิทธิเลือกตั้ง

Page 3: Q&A Intro Law1

3

7. ขอใดถูกตองเก่ียวกับพระราชบัญญัต ิ(1) ใชกําหนดงบประมาณของแผนดินเทานั้น (2) เปนกฎหมายนิติบัญญัติโดยแท (3) มีผลบังคับใชเม่ือผานความเห็นของรัฐสภา (4) มีเนื้อหาใดก็ได ตอบ 2 หนา 28-32 พระราชบัญญัติ เปนกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยผานนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ซ่ึงถือวาเปน

กฎหมายนิติบัญญัติโดยแท โดยผูที่มีอํานาจตรา คือ พระมหากษัตริย และมีนายกรัฐมาตรีเปนผูลงนามสนองพระ

บรมราชโองการ ซ่ึงเนื้อหาของพระราชบัญญัตินั้นจะกําหนดเนื้อหาในเรื่องใดก็ได แตตองไมขัดหรือแยงกับ

บทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญและมีผลใชบังคับเม่ือประกาศใหประชาชนทราบแลวในราชกิจจานุเบกษา 8. ผูลงนามสนองพระบรมราชโองการในพระราชบัญญัติ ไดแก (1) นายกรัฐมนตร ี(2) ประธานรัฐสภา (3) ประธานองคมนตร ี(4) ประธานวุฒิสภา ตอบ 1 ดูคําอธิบายขอ 7 ประกอบ 9. เรื่องใดตองตราเปนพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (1) คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ (2) ศาลรัฐธรรมนูญ (3) การเขาช่ือเสนอรางกฎหมาย (4) การเสนอขอประชามต ิตอบ 4 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 138 บัญญัติวา “ใหมีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ดังตอไปนี้

...(4) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามต”ิ และมาตรา 165 วรรคแรกและวรรค

ทายบัญญัติวา “ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งยอมมีสิทธิออกเสียงประชามติ... หลักเกณฑและวิธีการออกเสียง

ประชามติใหเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ...” (สําหรับขอ (1) (2) และ (3) นั้น มีบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญโดยตรงแลว) 10. กฎหมายใดแมพระมหากษัตริยจะทรงลงประปรมาภิไธยแลวแตรัฐสภาอาจไมอนุมัติใหใชมีผลบังคับตอไป

ได (1) พระราชบัญญัต ิ(2) พระราชกําหนด (3) พระราชกฤษฎีกา (4) พระบรมราชโองการ ตอบ 2 หนา 32-33,76 พระราชกําหนด คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริยทรงตราขึ้นตามคําแนะนําของ

คณะรัฐมนตรี จึงถือเปนกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยฝายบริหาร โดยผูเสนอรางคือรัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราช

กําหนดนั้น ซ่ึงการตราพระราชกําหนดนั้น จะตองมีเงื่อนไขในการตรา กลาวคือ จะตองเปนกรณีที่มีความจําเปน

Page 4: Q&A Intro Law1

4

รีบดวนในอันจะรักษาความปลอดภัยและความม่ันคงของประเทศ ดังนั้นจึงตองนําขึ้นทูบเกลาฯ ให

พระมหากษัตริยทรงลงปรมาภิไธย และประกาศใชบังคับเปนกฎหมายช่ัวคราวกอน จนกวาจะผานความเห็นชอบ

จากรัฐสภาจึงจะทําใหพระราชกําหนดนั้นมีผลใชบังคับเสมือนเปนพระราชบัญญัติตอไป แตถารัฐสภาไมอนุมัติ

ใหพระราชกําหนดนั้นตกไปแตไมกระทบกระเทือนกิจการที่ไดเปนไปในระหวางที่ใชพระราชกําหนดนั้น 11. ขอใดเปนกฎหมายตามแบบพิธี (1) พระราชบัญญัต ิ(2) พระราชกําหนด (3) พระราชกฤษฎีกา (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 (LW 104 เลขพิมพ 44289 หนา 40-41) กฎหมายตามแบบพิธี คือ กฎหมายที่ออกมาโดยวิธีบัญญัติ

กฎหมาย ทั้งนี้โดยมิไดคํานึงถึงวากฎหมายนั้นจะเขาถึงลักษณะเปนกฎหมายตามเนื้อความหรือไม ซ่ึงก็ไดแก

พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา และกฎหมายกระทรวงตางๆที่มิไดบัญญัติขึ้นมาเพ่ือควบคุม

ความประพฤติของมนุษย และไมไดกําหนดโทษไว เชน พ.ร.บ. งบประมาณรายจายประจําป เปนตน 12. ประเทศไทยรับหลักระบบกฎหมายคอมมอน ลอว จากประเทศอังกฤษอยางไร (1) เนื่องจากมีนักกฎหมายที่จบการศึกษาจากประเทศอังกฤษเปนจํานวนมาก (2) ศาลไทยนํามาปรับใชในการพิจารณาพิพากษาคด ี(3) เปนกฎหมายตนแบบที่ใชในการรางประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (4) ความจําเปนเพ่ือใหประเทศไทยพนจากการตกเปนอาณานิคมของประเทศอังกฤษ ตอบ 1 หนา 225-227 เนื่องมาจากในสมัยรัชการที่ 5 มีนักกฎหมายของไทยไปศึกษาตอและจบการศึกษาจาก

ประเทศอังกฤษเปนจํานวนมาก ซ่ึงหนึ่งในนั้นก็คือ พระเจาบรมวงศเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ (พระบิดาแหง

กฎหมายไทย) ซ่ึงพระองคไดทรงนําเอาหลักกฎหมายคอมมอน ลอว จากประเทศอังกฤษมาใชสอนและนิพนธ

สําหรับตํารากฎหมายขึ้นมากมายรวมทั้งทรงวางรากฐานการปฏิรูประบบกฎหมายไทยดวย 13. ขอใดถูกตองในการเรียงอัตราโทษตามประมวลกฎหมายอาญาจากสูงสุดไปเบาสุด (1) จําคุก ปรับ ริบทรัพยสิน (2) กักขัง ริบทรัพยสิน ปรับ (3) ริบทรัพยสิน กักขัง ปรับ (4) ปรับ ริบทรัพยสิน กักขัง ตอบ 1 หนา 16-17, (คําบรรยาย) สภาพบังคับของกฎหมายนั้น ถาเปนกฎหมายอาญา สภาพบังคับก็คือโทษ

นั่นเอง ซ่ึงเรียงจากหนักที่สุดไปเบาที่สุด ไดแก 1. ประหารชีวิต 2. จําคุก 3.กักขัง 4.ปรับ และ 5. ริบทรัพยสิน

สวนสภาพบังคับในทางกฎหมายแพง ไดแก การชดใชคาสินไหมทดแทน หรือความเปนโมฆะกรรม หรือ

โมฆียกรรม ซ่ึงเปนสภาพบังคับที่เปนผลราย สวนสภาพบังคับที่เปนผลดี เชน การไดรับลดหยอนภาษี เปนตน 14. ขอใดเปนเหตุผลสําคัญเก่ียวกับที่มาของหลักกฎหมายเรื่องอายุความ (1) เปนกฎหมายที่เกิดจากการประพฤติปฏิบัติเปนเวลานาน (2) เปนเหตุผลที่เกิดจากการประพฤติปฏิบัติขึ้นเพ่ือแกไขปญหาที่เกิดขึ้น (3) เปนกฎหมายที่ดีของบรรพบุรุษ (4) เปนกฎหมายที่เกิดขึ้นโดยใชเหตุผลทางกฎหมาย

Page 5: Q&A Intro Law1

5

ตอบ 4 หนา 8-9 เนื่องจากกฎหมายในยุคแรกคือกฎหมายชาวบานหรือกฎหมายประเพณีมีไมเพียงพอ ดังนั้น

นักกฎหมายซ่ึงเกิดขึ้นในยุคที่ 2 (ยุคนักกฎหมาย) จึงไดสรางหลักกฎหมายขึ้นมาเพ่ือเสริมกับกฎหมายประเพณี

ซ่ึงหลักกฎหมายของนักกฎหมายนี้จะเกิดจากการปรุงแตงเหตุผลในทางกฎหมายที่เกิดจากความคิดในทาง

กฎหมายของตน เรียกวา ใชเหตุผลทางกฎหมาย (Juristic Reason) ดังนั้นการจะทําความเขาใจจึงตองอาศัย

การศึกษาคนควาและเรียนรูเทานั้น ซ่ึงกฎหมายของนักกฎหมายดังกลาวที่ยังมีใชอยูในปจจุบัน ไดแก เรื่องสิทธิ

เรียกรองขาดอายุความเรื่องการครอบครองปรปกษ เปนตน 15. เหตุผลสําคัญที่นักกฎหมายมีบทบาทการสรางหลักกฎหมายในยุควิวัฒนาการกฎหมายของนักกฎหมาย (1) ไมมีจารีตประเพณีมาปรับใชได (2) จารีตประเพณีที่ใชบังคับไมเหมาะสม (3) จารีตประเพณีที่ใชบังคับอยูลาสมัย (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 8-9, (คําบรรยาย) เนื่องจากสังคมมนุษยมีขนาดใหญขึ้น เจริญขึ้นและมีการพัฒนาไปมาก

พอสมควร ขอพิพาทจึงเกิดขึ้นมากตามไปดวย ดังนั้นการที่จะนํากฎหมายประเพณีหรือกฎหมายชาวบานมาปรับ

ใชจึงไมเหมาะสม ไมพอใชบังคับกับชีวิตในสังคมที่เจริญแลวกฎหมายของนักกฎหมายจึงถูกพัฒนาขึ้นมาเพ่ือ

ตอบสนองความตองการของสังคม และเพ่ือแกไขปญหาที่เกิดในคดีซับซอน ทําใหเกิดกฎเกณฑขึ้นใหมเปนการ

เสริมกฎเกณฑเกา 16. องคกรที่ไมสามารถริเริ่มการเสนอรางพระราชบัญญัติได (1) ประธานองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญฯ (2) คณะรัฐมนตร ี(3) นายกรัฐมนตรี (4) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวา 20 คน ตอบ 3 หนา 29 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 142,163 รางพระราชบัญญัติจะเสนอไดก็แตโดย (1) คณะรัฐมนตรี (2) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวา 20 คน (3) ศาลหรือองคกรอิสระตาม

รัฐธรรมนูญเฉพาะกฎหมายที่เก่ียวกับการจัดองคกรและกฎหมายที่ประธานศาลและประธานองคกรนั้นเปนผู

รักษาการ (4) ผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไมนอยกวา 10,000 คนเขาช่ือรองขอตอประธานรัฐสภาเพ่ือใหรัฐสภา

พิจารณารางพระราชบัญญัติตามที่กําหนดไวในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5

แนวนโยบายพ้ืนฐานแหงรัฐได...ถารางพระราชบัญญัติซ่ึงมีผูเสนอตาม (2) (3) หรือ (4) เปนรางพระราชบัญญัติ

เก่ียวดวยการเงินจะเสนอไดก็ตอเม่ือมีคํารับรองของนายกรัฐมนตร ี17. ขอใดเปนสภาพบังคับในทางกฎหมายแพง (1) ปรับ (2) ริบทรัพยสินของกลาง (3) กักขังแทนคาปรับ (4) คาสินไหมทดแทน ตอบ 4 ดูคําอธิบายขอ 13.ประกอบ 18. การตรากฎหมายลําดับรองของฝายบริหารตองอาศัยอํานาจจากที่ใด (1) พระราชบัญญัต ิ

Page 6: Q&A Intro Law1

6

(2) พระราชกฤษฎีกา (3) ประกาศกระทรวง (4) กฎกระทรวง ตอบ 1 หนา 33 กฎหมายลําดับรองของฝายบริหาร เชน พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง หรือประกาศกระทรวง

นั้นสามารถตราขึ้นไดก็โดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายแมบทซ่ึงไดแกพระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนด 19. ถาหาหลักกฎหมายทั่วไปในตัวบทลายลักษณอักษรมาปรับแกคดีไมได ศาลจะหากฎหมายจากที่ไหนมา

ตัดสิน (1) ศาลจะปฏิเสธไมพิจารณาคดีได (2) ศาลจะยกประโยชนแหงความสงสัยใหจําเลย (3) ศาลนําหลักความยุติธรรมตามธรรมชาติมาพิจารณาคดีได (4) ศาลจะส่ังจําหนายคดีออกจากสารบบความ ตอบ 3 หนา 42 ในกรณีที่หาหลักกฎหมายทั่วไปมาปรับแกคดีไมได ศาลจะปฏิเสธไมพิจารณาคดีไมได ใน

กรณีเชนนี้ ศาลตองหาหลักกฎหมายทั่วไปจากหลักความยุติธรรมตามธรรมชาติมาปรับแกคดี ซ่ึงไดแก ความเปน

ธรรมหรือความรูสึกผิดชอบช่ัวดีที่อยูในจิตใจของมนุษย และจากหลักเหตุผลของเรื่อง 20. การกระทําโดยอาศัยขอใดอาจยกเวนความรับผิดทางอาญาได (1) จารีตประเพณีที่ยอมรับใหทําได (2) หลักปองกันตามกฎหมายอาญา (3) หลักเอกสิทธ์ิสมาชิกรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 39,55-56 แมวาการกระทําจะเขาลักษณะเปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาหรือตาม

พระราชบัญญัติอ่ืน แตถามีกฎหมายลายลักษณอักษรหรือกฎหมายจารีตประเพณีในกระทําการนั้นๆ ไดแลว การ

กระทํานั้นก็ไมเปนความผิดตอกฎหมายอาญา เชน การชกมวยแมจะทําใหคูชกบาดเจ็บหรือตายก็ไมเปนความผิด

(ป.อ. มาตรา 68) หรือหลักเอาเอกสิทธ์ิของสมาชิกรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญฯมาตรา 130 เปนตน 21. ผูพิพากษาในศาลประเทศอังกฤษใชกฎหมายใดในการวินิจฉัยคด ี(1) กฎหมายโรมัน (2) คําพิพากษาของศาลที่เปนบรรทัดฐาน (3) กฎหมายสิบสองโตะ (4) ประมวลกฎหมายของพระเจาจัสติเนียน ตอบ 2 หนา 22-23 กฎหมายคอมมอน ลอว (กฎหมายไมเปนลายลักษณอักษร) เปนกฎหมายที่ถือเอาคํา

พิพากษาของศาลเปนตัวบทกฎหมาย ดังนั้นบอเกิดของกฎหมายในระบบนี้จึงมาจากคําพิพากษาของศาล ซ่ึง

ประเทศที่นิยมใชกฎหมายระบบนี้ไดแก ประเทศอังกฤษ และเครือจักรภพอังกฤษ (ดูคําอธิบายขอ 1. ประกอบ) 22. ลักษณะประมวลกฎหมายแพงของประเทศฝรั่งเศสเหมือนกับประมวลกฎหมายกฎหมายแพงของพระเจาจัส

ติเนียนแหงกรุงโรมหรือไม เพราะเหตุใด (1) มีลักษณะเหมือนกัน เพราะใชช่ือประมวลกฎหมายเหมือนกัน (2) มีลักษณะเหมือนกัน เพราะเปนกฎหมายแพงเหมือนกัน (3) มีลักษณะไมเหมือนกัน เพราะไมมีการจัดแบงโครงสรางเนื้อหาเปนหมวดหมู

Page 7: Q&A Intro Law1

7

(4) มีลักษณะไมเหมือนกัน เพราะระบบกฎหมายตางกัน ตอบ 3 หนา 22 ประมวลกฎหมายแพงของประเทศฝรั่งเศสนั้นจัดทําขึ้นโดยแบงโครงสรางเนื้อหาเปนหมวดหมู

เปนเรื่องๆอยางเปนระบบ ซ่ึงตางกับประมวลกฎหมายแพงของพระเจาจัสติเนียนแหงกรุงโรม ซ่ึงถือแมจะเปนตน

กําเนิดของระบบกฎหมายซีวิล ลอว แตมีลักษณะเปนการรวบรวมเอากฎหมายตางๆมาบันทึกไวในประมวล

กฎหมายเดียวกันเทานั้นโดยมิไดแบงเนื้อหาออกเปนหมวดหมูหรือเปนเรื่องๆแตอยางใด 23. การที่นักศึกษาตองเสียคาปรับเนื่องจากขับรถฝาสัญญาณไฟแดง ดังนี ้(1) เปนความผิดอาญาที่เปนความผิดศีลธรรมดวย (2) เปนความผิดอาญาในทางเทคนิค (3) เปนความผิดอาญาที่ผิดทั้งศีลธรรมและผิดเพราะกฎหมายหาม (4) ไมเปนความผิดอาญาใดๆ ตอบ 2 (คําบรรยาย) ความผิดทางเทคนิค (Technical Offence) คือ ความผิดอาญาที่ไมผิดศีลธรรมแตผิด

เพราะกฎหมายหาม ซ่ึงกฎหมายดังกลาว คือกฎหมายเทคนิคที่เกิดขึ้นในยุคกฎหมายเทคนิค เชน กฎหมายจราจร

กฎหมายปาไม กฎหมายเก่ียวกับบัตรประชาชน เปนตน (การขับรถฝาสัญญาณไฟแดงถือเปนการฝาฝนกฎหมาย

จราจร) 24. ถาพิเคราะหบทบัญญัติในมาตรา 369 ที่บัญญัติวา “ในสัญญาตางตอบแทนนั้น คูสัญญาฝายหนึ่งจะไมยอม

ชําระหนี้จนกวาอีกฝายจะชําระหนี้หรือขอปฏิบัติการชําระหนี้ก็ได...” ทานจะไดหลักกฎหมายเรื่องใดจาก

บทบัญญัติในมาตรา 369 (1) หลักปฏิเสธไมตองผูกพันตามสัญญา (2) หลักบุคคลตองปฏิบัติตามสัญญา (3) หลักคุมครองบุคคลที่สามผูกระทําโดยสุจริต (4) หลักความเปนเพ่ือนบานที่ด ีตอบ 2 หนา 41-42 บทบัญญัติของมาตรา 369 เปนบทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยอาศัยหลักวา

“บุคคลตองปฏิบัติตามสัญญา” ซ่ึงเกิดจากหลักศีลธรรมที่วา “เม่ือพูดใหสัญญาแลวตองรักษาคําพูด” (กรณีหลัก

ปฏิเสธไมตองผูกพันตามสัญญานั้นจะตองเกิดจากพฤติการณหรือเหตุการณที่เปล่ียนแปลงไป เชน การชําระหนี้

กลายเปนพนวิสัย เปนตน) 25. ขอใดถูกตองเก่ียวกับศีลธรรม (1) เปนกฎเกณฑที่ควบคุมเฉพาะความประพฤติภายนอกของมนุษย (2) การฝาฝนกฎเกณฑมีสภาพบังคับจริงจังในปจจุบัน (3) ศีลธรรมเปนเพียงแตคิดในทางที่ไมชอบก็ผิดแลว (4) เปนกฎเกณฑของชนช้ันใดชนช้ันหนึ่งเทานั้น ตอบ 3 (LW 104 เลขพิมพ 44289 หนา 39), (คําบรรยาย) ศีลธรรม คือ ความรูสึกภายในจิตใจของมนุษย

วาการกระทําอยางไรเปนการกระทําที่ถูกหรือผิด ดังนั้นศีลธรรมจึงเปนกฎเกณฑที่ควบคุมความประพฤติภายใน

จิตใจมนุษย ซ่ึงจะตางกับกฎหมายเพราะกฎหมายจะกําหนดความประพฤติภายนอกของมนุษยที่แสดงออกมาให

เห็น แคศีลธรรมเปนเพียงแตคิดในทางที่ไมชอบก็ผิดศีลธรรมแลว 26. ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 การตราพระราชกําหนดเรื่องใดที่ตองกระทําโดยดวนและลับ (1) ปองปดภัยพิบัติสาธารณะ

Page 8: Q&A Intro Law1

8

(2) ความปลอดภัยของประเทศ (3) ภาษีอากร (4) ถูกทุกขอ ตอบ 3 หนา 32-33 พระราชกําหนด มี 2 ประเภท ไดแก 1.พระราชกําหนดทั่วไป เปนกรณีที่ตราพระราชกําหนดเพ่ือประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของ

ประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความม่ันคงทางเศรษฐกิจ หรือปองปดภัยพิบัติสาธารณะ และใหตราไดเฉพาะ

เม่ือคณะรัฐมนตรีเห็นวาเปนกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเปนรีบดวนอันมิอาจจะหลีกเล่ียงได (รัฐธรรมนูญฯ 2550

มาตรา 184) 2. พระราชกําหนดเก่ียวดวยภาษีและเงินตรา เก่ียวกับภาษีอากรหรือเงินตรา ซ่ึงตองพิจารณาโดยดวนและลับเพ่ือ

รักษาประโยชนของแผนดินในระหวางสมัยประชุมสภาเทานั้น (รัฐธรรมนูญฯ 2550 มาตรา 186) 27. ขอใดเปนบอเกิดของกฎหมาย (1) การครอบครองปรปกษ (2) หลักความไมรูกฎหมายไมเปนขอแกตัว (3) หลักความยินยอมไมเปนละเมิด (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 41-42, (คําบรรยาย) หลักกฎหมายทั่วไปเปนบอเกิดหรือมีที่มาอีกประการหนึ่งของกฎหมาย

โดยหลักกฎหมายทั่วไปอาจเปนหลักกฎหมายดั้งเดิม ซ่ึงเขียนเปนสุภาษิตกฎหมายภาษาละตินหรือเปนหลัก

กฎหมายที่แฝงอยูในบทกฎหมายตางๆ เชน หลักความไมรูกฎหมายไมเปนขอแกตัว หลักความยินยอมไมเปน

ละเมิด เปนตน 28. ขอใดถูกตอง (1) ระบบซีวิล ลอว จะตีความกฎหมายตามตัวอักษรโดยเครงครัด (2) ระบบซีวิล ลอว ถือเปนคําพิพากษาเปนบอเกิดของกฎหมายลําดับแรก (3) ระบบคอมมอน ลอว ศาลจะเปนผูสรางหลักกฎหมาย (4) ระบบคอมมอน ลอว คําพิพากษาเปนเพียงคําอธิบายการใชกฎหมาย ตอบ 3 หนา 22 ตามหลักของระบบกฎหมายคอมมอน ลอว นั้น 1. ถามีหลักกฎหมายซ่ึงเปนหลักกฎเกณฑทั่วไปอยูแลว ศาลหรือผูพิพากษาเปนแตเพียงผูแสดงหลักเกณฑนั้นๆ

แลวนํามาปรับแกคดีเทานั้น และ 2. ถาไมมีหลักกฎหมายดังกลาว ก็ใหศาลหรือผูพิพากษาเปนผูสรางหลักกฎหมายขึ้นโดยคําพิพากษาและคํา

พิพากษาของศาลดังกลาวถือเปนบรรทัดฐานของศาลตอๆมา ซ่ึงเรียกวา “Judge Made Law” 29. หลักกฎหมายใดที่ขัดกับศีลธรรม (1) การพยายามฆาตัวตายไมเปนความรับผิดทางอาญา (2) การที่สามีลักทรัพยภริยา มีความผิดฐานลักทรัพย (3) การเบิกความเท็จเพ่ือใหตนเองพนจากความรับผิด มีความผิดฐานเบิกความเท็จ (4) แมขโมยนมผงเพ่ือใหลูกกินเนื่องจากตนไมมีเงิน มีความผิดฐานลักทรัพย

Page 9: Q&A Intro Law1

9

ตอบ 4 (LW 104 เลขพิมพ 44289 หนา 39) กฎหมายกับศีลธรรมนั้นถึงแมจะมีอิทธิพลตอกันมาก เชน การ

ที่มีศีลธรรมสูง ยอมเปนที่เช่ือไดวาไมเคยทําการฝาฝนกฎหมาย แตบางครั้งกฎหมายกับศีลธรรมก็อาจขัดกันได

เชน แมขโมยนมผงเพ่ือใหลูกกินเนื่องจากตนไมมีเงิน ถือวาถูกศีลธรรมแตผิดกฎหมายฐานลักทรัพย เปนตน 30. กรณีใดไมอาจเปนทายาทผูรับพินัยกรรมได (1) คนสวนของเจามรดก (2) ภริยานอกกฎหมายของเจามรดก (3) ทวดของเจามรดก (4) ชมรมคนรักรา ตอบ 4 หนา 175-178, (คําบรรยาย) ทายาทที่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทผูรับพินัยกรรมนั้นกฎหมาย

มิไดกําหนดวาจะตองเปนใคร แตมีเงื่อนไขที่สําคัญคือ จะตองเปนบุคคลตามกฎหมาย(บุคคลธรรมดาและนิติ

บุคคล) เทานั้น และตองไมใชบุคคลที่กฎหมายหามมิใหเปนผูรับพินัยกรรม ซ่ึงไดแก ผูเขียนพินัยกรรม พยาน

รวมทั้งคูสมรสของบุคคลดังกลาวดวย (ชมรมคนรักรามไมมีสภาพเปนนิติบุคคล) 31. กรณีใดที่ไมสามารถเปนทายาทโดยธรรมได (1) ผูรับบุตรบุญธรรม (2) คูสมรสที่ชอบดวยกฎหมาย (3) บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแลว (4) พ่ีคนละแมแตพอเดียวกันกับเจามรดก ตอบ 1 หนา 173-175, (คําบรรยาย) ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1629 ทายาทโดยธรรมที่มีสิทธิรับมรดกมี 2

ประเภท คือ ทายาทโดยธรรมที่เปนญาติและทายาทโดยธรรมที่เปนคูสมรส ซ่ึงทายาทโดยธรรมที่เปนญาติมี 6

ลําดับ ไดแก 1. ผูสืบสันดาน (รวมถึงบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแลวและบุตรบุญธรรมดวย) 2. บิดามารดา

(ไมรวมถึงผูรับบุตรบุญธรรม ซ่ึงกฎหมายไมถือเปนทายาทโดยธรรมในลําดับที่ 2 ของบุตรบุญธรรมและไมมี

สิทธิรับมรดกของเจามรดกซ่ึงเปนบุตรบุญธรรมของตน) 3. พ่ีนองรวมบิดามารดาเดียวกัน 4. พ่ีนองรวมบิดา

หรือมารดาเดียวกัน 5. ปู ยา ตา ยาย 6. ลุง ปา นา อา 32. นายดําอยูกินกับนางแดง มีบุตรคือ นายดิน และนายดอน ซ่ึงนายดําไดใหบุตรทั้งสองใชนามสกุลตอมานาย

ดอนตาย เชนนี้บุคคลใดมีสิทธิรับมรดก (1) นายดําและนางแดง (2) นางแดงและนายดอน (3) นายดอน (4) นางแดง ตอบ 4 หนา 173-175 เม่ือนายดอนตายจะมีทายาทโดยธรรมอยู 2 คน คือ นางแดงซ่ึงเปนมารดาโดยชอบ

ธรรมตามกฎหมาย และเปนทายาทในลําดับที่ 2 สวนนายดินเปนทายาทในลําดับที่ 3 จึงไมมีสิทธิรับมรดกตาม ป.

พ.พ. มาตรา 1630 ซ่ึงมีหลักวา ทายาทโดยธรรมในลําดับกอนจะตัดทายาทโดยธรรมในลําดับหลัง ดังนั้นนาง

แดงจึงมีสิทธิรับมรดกของนายดอนแตเพียงผูเดียว สําหรับนายดํานั้นเปนบิดาที่ไมชอบดวยกฎหมายของนายดอน

จึงไมใชทายาทโดยธรรมและไมมีสิทธิรับมรดก (ดูคําอธิบายขอ 31.ประกอบ) 33. นายดําอยูกินกับนางแดง มีบุตรคือ นายดิน และนายดอน ซ่ึงนายดําไดใหบุตรทั้งสองใชนามสกุล ตอมานาง

แดงตาย เชนนี้บุคคลใดมีสิทธิรับมรดก

Page 10: Q&A Intro Law1

10

(1) นายดํา (2) นายดินและนายดอน (3) นายดอน (4) นางแดง ตอบ 2 หนา 173-175 เม่ือนางแดงตายจะมีทายาทโดยธรรมอยู 2 คน คือ นายดินและนายดอน ซ่ึงเปนบุตรที่

ชอบดวยกฎหมาย และเปนทายาทในลําดับที่ 1 นายดินและนายดอนจึงมีสิทธิรับมรดก สําหรับนายดํานั้นเปนคู

สมรสที่ไมชอบดวยกฎหมายของนางแดง จึงไมใชทายาทโดยธรรมและไมมีสิทธิรับมรดก (ดูคําอธิบายขอ 31.ประกอบ) 34. นายดําอยูกินกับนางแดง มีบุตรคือ นายดิน และนายดอน ซ่ึงนายดําไดใหบุตรทั้งสองใชนามสกุล ตอมานาย

ดําตาย เชนนี้บุคคลใดมีสิทธิรับมรดก (1) นางแดง (2) นายดินและนายดอน และนางแดง (3) นายดินและนายดอน (4) แผนดิน ตอบ 3 หนา 173-175 เม่ือนายดําตายจะมีทายาทโดยธรรมอยู 2 คน คือ นายดินและนายดอน ซ่ึงเปนบุตรนอก

กฎหมายที่นายดํารับรองแลว (ใหใชนามสกุล) และถือเปนทายาทในลําดับที่ 1 นายดินและนายดอนจึงมีสิทธิรับ

มรดก สําหรับนางแดงนั้นเปนคูสมรสที่ไมชอบดวยกฎหมายของนายดํา จึงไมใชทายาทโดยธรรมและไมมีสิทธิ

รับมรดก (ดูคําอธิบายขอ 31.ประกอบ) 35. ขอใดตอไปนี้มิใชทรัพย (1) จักรยาน (2) สิทธิบัตร (3) นาฬิกา (4) ตุกตาหมี ตอบ 2 หนา 181 “ทรัพย” หมายถึง วัตถุมีรูปราง ซ่ึงอาจมีราคาและอาจถือเอาได เชน จักรยาน นาฬิกา ตุกตา

หมี ฯลฯ สวน “ทรัพยสิน” หมายถึง ทรัพย และวัตถุไมมีรูปรางซ่ึงอาจมีราคาและอาจถือเอาได เชน พลังงาน

ปรมาณู แกส กรรมสิทธ์ิ ลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตร ฯลฯ 36. ส่ิงใดตอไปนี้เปนสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ (1) ยานอวกาศ (2) เรือแจว (3) รถยนต (4) แพที่ใชอยูอาศัย ตอบ 4 หนา 184-185 สังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ คือ ทรัพยอ่ืนนอกจากอสังหาริมทรัพยซ่ึงกฎหมายกําหนดให

เปนทรัพยในลักษณะพิเศษกวาสังหาริมทรัพยทั่วไป กลาวคือ เวลาจะจําหนายจายโอนจะตองทําเปนหนังสือและ

จดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ดวย ซ่ึงไดแก เรือที่มีระวางตั้งแต 5 ตนขึ้นไป แพที่ใชอยูอาศัย และสัตวพาหนะ

คือ ชาง มา โค กระบือ ลา ลอ 37. เงินปนผลจากบริษัท คือ

Page 11: Q&A Intro Law1

11

(1) ดอกผลธรรมดา (2) ดอกผลนิตินัย (3) เปนทั้งดอกผลธรรมดาและดอกผลนิตินัย (4) ไมใชดอกผล ตอบ 2 หนา 190-191 “ดอกผลนิตินัย” เปนดอกผลที่มิไดเกิดขึ้นตามธรรมชาติจากตัวของแมทรัพยแตเปน

ทรัพยหรือประโยชนอยางอ่ืนที่ไดมาเปนครั้งคราวแกเจาของทรัพยจากผูอ่ืน เพ่ือการที่ไดใชทรัพยนั้น และ

สามารถคํานวณและถือเอาไดเปนรายวันหรือตามระยะเวลาที่กําหนดไว เชน ดอกเบี้ย คาเชา เงินปนผลหรือ

ประโยชนในการใหเขาไปทํากินในที่ดิน 38. ขอใดถูกตองที่สุด (1) ดอกผลธรรมดาบางประเภทสามารถทดแทนดอกผลนิตินัยได (2) ทรัพยบางประเภทสามารถเปนไดทั้งอสังหาริมทรัพยและสังหาริมทรัพย (3) เจาของทรัพยสินยอมมีสิทธิไดดอกผลแหงทรัพยสินนั้น (4) ถูกทุกขอ ตอบ 3 หนา 191 ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1336 บัญญัติวา “ภายในบังคับแหงกฎหมายเจาของทรัพยสินมีสิทธิใช

สอยและจําหนายทรัพยสินของตนและไดซ่ึงดอกผลแหงทรัพยสินนั้น...” 39. บานทรงไทยที่ซ้ือขายกันโดยซ้ือเปนสวนๆไปประกอบในที่ดินอีกแหง คือ (1) อสังหาริมทรัพย (2) อุปกรณ (3) สวนควบ (4) สังหาริมทรัพย ตอบ 4 (คําบรรยาย) ทรัพยใดแมจะเปนอสังหาริมทรัพยแตก็อาจจะโอนกันในรูปสังหาริมทรัพยก็ได เชน บาน

ทรงไทยที่ซ้ือขายกันเปนสวนๆ ไมถือวาเปนการซ้ือขายทรัพยอันติดอยูกับที่ดินจึงไมเปนการซ้ือขาย

อสังหาริมทรัพย แตเปนการซ้ือขายทรัพยในสภาพของสังหาริมทรัพยทั่วไป 40. การไดมาซ่ึงกรรมสิทธ์ิโดยทางนิติกรรม คือ (1) การครอบครองปรปกษ (2) สัญญาเชาซ้ือ (3) การแยงสิทธิครอบครอง (4) คําพิพากษาของศาล ตอบ 2 หนา 195 การไดมาซ่ึงกรรมสิทธ์ิมี 2 กรณี คือ 1. การไดมาโดยทางนิติกรรม เชน การซ้ือขาย เชาซ้ือ แลกเปล่ียน ให เปนตน และ 2. การไดมาโดยทางอ่ืนนอกจากนิติกรรม เชน การไดมาโดยการครอบครองปรปกษ โดยพิพากษาของศาล โดย

อาศัยหลักสวนควบ หรือโดยทางมรดก เปนตน 41. ขอใดตอไปนี้มิใชทรัพยสิทธิ (1) สิทธิครอบครอง (2) ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย (3) กรรมสิทธ์ิ

Page 12: Q&A Intro Law1

12

(4) สวนควบ ตอบ 4 หนา 192 ทรัพยสิทธิ คือ สิทธิที่มีวัตถุแหงสิทธิเปนทรัพยสิน หรือสิทธิที่มีอยูเหนือทรัพยสินโดยตรง

เชน กรรมสิทธ์ิ สิทธิครอบครอง ภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเก็บกิน สิทธิเหนือพ้ืนดิน ภาระติดพันใน

อสังหาริมทรัพย สิทธิจํานอง สิทธิจํานํา สิทธิยึดหนวง ลิขสิทธ์ิ สิทธิในเครื่องหมายการคา เปนตน (สวนควบถือ

เปนสวนประกอบของทรัพย) 42. บิดามารดาของเด็กชายดํา ประสบอุบัติเหตุถึงแกความตาย ยายของเด็กชายดําตองการจะรองขอใหศาลส่ังให

เปนผูปกครองของเด็กชายดํา จะตองขอตอศาล (1) ศาลปกครอง (2) ศาลรัฐธรรมนูญ (3) ศาลแพง (4) ศาลเยาวชนและครอบครัว ตอบ 4 หนา 64, (คําบรรยาย) ศาลเยาวชนและครอบครัว คือ ศาลที่มีอํานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคําส่ังในคดี

ที่เก่ียวกับเด็กและเยาวชน (บุคคลที่มีอายุเกิน 7 ปแตยังไมถึง 18 ปบริบูรณ) โดยเฉพาะทั้งทางแพงและทางอาญา

เชน - คดีครอบครัว ไดแก คดีแพงที่ฟองหรือรองขอตอศาล หรือการกระทําใดๆในทางศาลเก่ียวกับผูเยาวหรือ

ครอบครัวแลวแตกรณีซ่ึงจะตองบังคับตาม ป.พ.พ. เชน การขอตั้งผูปกครองผูเยาวในกรณีที่บิดามารดาของผูเยาว

ถึงแกกรรม เปนตน - คดีอาญา ที่มีขอหาวาเด็กหรือเยาวชนกระทําผิด 43. ผูเสียหายที่มีสิทธิขอรับคาตอบแทนความเสียหาย จะตองเปนผูเสียหายในประเภทความผิด (1) ลักทรัพย ว่ิงราวทรัพย (2) ยักยอก ฉอโกง (3) ถูกขมขืนกระทําชําเรา (4) ปลอมแปลงเอกสาร ตอบ 3 ตาม พ.ร.บ. คาตอบแทนผูเสียหายและคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 มาตรา

17 ไดบัญญัติวา ความผิดที่กระทําตอผูเสียหาย อันอาจขอรับคาตอบแทนไดตองเปนความผิดตามประมวล

กฎหมายอาญา ไดแก 1. ความผิดเก่ียวกับเพศ 2. ความผิดตอชีวิต 3. ความผิดตอรางกาย 4. ความผิดฐานทําใหแทงลูก และ 5. ความผิดฐานทอดทิ้งเด็ก คนปวยเจ็บ และคนชรา 44. ผูกระทําความผิดคดีอาญาที่ถูกฟองตอศาลเยาวชนและครอบครัว จะตองมีอายุในวันที่กระทําความผิด (1) ไมเกิน 15 ป (2) ไมเกิน 17 ป (3) ไมถึง 18 ป (4) ไมถึง 20 ป ตอบ 3 ดูคําอธิบายขอ 42.ประกอบ 45. สามีทํารายภริยา ตามกฎหมาย (1) ไมมีความผิด

Page 13: Q&A Intro Law1

13

(2) มีความผิดแตไมตองรับโทษ (3) มีความผิดแตศาลลงโทษนอย (4) ไมมีขอใดถูก ตอบ 4 (คําบรรยาย) ความผิดฐานทํารายรางกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 เปนความผิดที่ไมอาจ

ยอมความได ไมวาผูใดกระทําตอผูใด สําหรับการกระทําระหวางสามีกับภริยา หรือระหวางผูบุพการีกับ

ผูสืบสันดาน ซ่ึงเปนความผิดแตกฎหมายยกเวนโทษให หรือลดหยอนโทษใหหรือใหยอมความไดนั้น จะตองเปน

การกระทําความผิดฐานใดฐานหนึ่งเฉพาะที่กฎหมายกําหนดไวเทานั้น เชน ความผิดฐานหลักทรัพย ยักยอกทรัพย

หรือทําใหเสียทรัพย เปนตน 46. โจรลอบปนเขาบานนายเอก ภริยานายเอกรองใหคนชวย โจรจึงเงื้อมีดจะฟน นายเอกจึงใชปนยิงถูกโจรถึงแก

ความตาย ดังนี ้(1) นายเอกกระทําดวยความจําเปน มีความผิดแตไมตองรับโทษ (2) นายเอกกระทําโดยบันดาลโทสะ ศาลลงโทษนอย (3) นายเอกกระทําการปองกันโดยชอบดวยกฎหมาย ไมมีความผิด (4) ถูกทุกขอ ตอบ 3 หนา 55-56 การกระทําของนายเอก เปนการกระทําเพ่ือปองกันสิทธิของผูอ่ืน คือ ภริยาใหพนภยันตราย

ซ่ึงเกิดจากการประทุษรายอันละเมิดตอกฎหมาย และเปนภยันตรายที่ใกลจะถึง เม่ือไดกระทําไปพอสมควรแกเหตุ

ถือวาการกระทํานั้นเปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมายผูกระทําไมมีความผิด (ป.อ. มาตรา 68) 47. นายโกยุสุนัขของตนใหกัดนางสาวแจวจนบาดเจ็บ ดังนี้นายโกตองรับผิดทางอาญาในฐาน (1) ประมาทเปนเหตุใหผูอ่ืนบาดเจ็บ (2) เจตนาทํารายรางกายผูอ่ืน (3) ไมมีความผิดเพราะเปนการกระทําของสุนัข (4) ทํารายรางกายโดยไมเจตนา ตอบ 2 (คําบรรยาย) การกระทําของนายโก ถือวามีเจตนาทํารายรางกายนางสาวแจวโดยอาศัยสุนัขเปนเครื่องมือ

นายโกจึงมีความผิดฐานเจตนาทํารายรางกายผูอ่ืน 48. นายเอกขับรถยนตโดยประมาทเปนเหตุใหทับลูกสุนัขของนางสาวจุมจิ๋มตาย ดังนี้นายเอกตองรับผิดทาง

อาญา (1) ประมาทเปนเหตุใหทรัพยผูอ่ืนเสียหาย (2) เจตนาทําใหทรัพยผูอ่ืนเสียหาย (3) ไมมีความผิดทางอาญา (4) ผิดทุกขอ ตอบ 3 หนา 54,58, (คําบรรยาย) การกระทําของนายเอกเปนความผิดในทางแพงฐานละเมิดเทานั้น ไมเปน

ความผิดทางอาญา เพราะการกระทําใหบุคคลอ่ืนเสียหายแกทรัพยสินและจะเปนความผิดฐานทําใหเสียทรัพยนั้น

ตองเปนการกระทําโดยเจตนาเทานั้น ถาเปนการกระทําโดยประมาทแลวกฎหมายอาญาไมไดบัญญัติไวเปน

ความผิดแตอยางใด 49. นายโกเดินผานรั้วบานนายเกง สุนัขในบานของนายเกงสงเสียงเหา นายโกรําคาญใชปนยิงสุนัขของนายเกง

ตาย นายโกตองรับผิดทางอาญาในความผิด

Page 14: Q&A Intro Law1

14

(1) ไมมีความผิดเพราะกฎหมายมิไดบัญญัติในความผิดฐานฆาสุนัขผูอ่ืน (2) ทําใหเสียทรัพย (3) ประมาททําใหทรัพยผูอ่ืนเสียหาย (4) ผิดทุกขอ ตอบ 2 หนา 54,57-58, (คําบรรยาย) การกระทําของนายโกเปนการกระทําโดยเจตนาเพ่ือใหบุคคลอ่ืนเสียหาย

ซ่ึงทรัพยสิน จึงมีความผิดฐานทําใหเสียทรัพย (ขอใหเปรียบเทียบกับขอเท็จจริงในขอ 48. ซ่ึงจะตางกัน) 50. นายเอกเล้ียงสุนัขตัวโตไมดูแลใหดี ปลอยใหหลุดออกจากประตูรั้วบานไปที่ถนนสาธารณะ สุนัขกัดแมวของ

ด.ญ.ตุกตาตาย ดังนี้นายเอกตองรับผิดทางอาญา (1) เจตนาทําใหผูอ่ืนเสียทรัพย (2) ประมาททําใหทรัพยผูอ่ืนเสียหาย (3) ไมมีความผิด (4) มีความผิดแตยอมความได ตอบ 3 หนา 54,58 การที่สุนัขของนายเอกไปกัดแมวของ ด.ญ.ตุกตาตาย ถือวาเปนการกระทําโดยประมาท

ของนายเอกที่ไมดูแลสุนัขใหดี แตนายเอกก็ไมมีความผิดทางอาญาฐานประมาททําใหผูอ่ืนเสียทรัพย เพราะการ

กระทําโดยประมาททําใหบุคคลอ่ืนเสียหายแกทรัพยสินนั้นกฎหมายอาญาไมไดบัญญัติไววาเปนความผิด ดังนั้น

นายเอกมีความผิดเฉพาะในทางแพงฐานละเมิดเทานั้น (ดูคําอธิบายขอ 48.ประกอบ) 51. ขอใดเปนการพยายามกระทําความผิดซ่ึงไมสามารถบรรลุผลไดอยางแนแท (1) ดําใชปนไมมีลูกกระสุนยิงขาวใหตกใจกลัว (2) ดําใชปนยิงขาวไดรับบาดเจ็บเล็กนอย (3) ดํายิงขาวแตลืมใสลูกกระสุน ขาวจึงไมไดรับอันตราย (4) ดํายิงขาว แตขาวพุงหลบ ขาวจึงไมไดรับอันตราย ตอบ 3 หนา 61-62, (คําบรรยาย) การพยายามกระทําความผิดซ่ึงไมสามารถบรรลุผลไดอยางแนแท เปนการ

กระทําความผิดที่ไดกระทําไปตลอดแลว แตการกระทํานั้นไมสามารถบรรลุผลไดอยางแนนอน ซ่ึงอาจจะเปน

เพราะเหตุปจจัยซ่ึงใชในการกระทํา (เชน ใชปนที่ไมมีลูกยิงโดยเจตนาฆา เปนตน) หรือเหตุแหงวัตถุที่มุงหมาย

กระทําตอก็ได (ขอใหสังเกตวา ขอ (1) ดําไมมีเจตนาฆาขาว ความผิดฐานพยายามจึงไมเกิดขึ้น) 52. นายย้ิมจางมือปนไปยิงนายเอกใหตาย มือปนรับเงินแลวไดเอายาพิษไปลอบใหนายเอกกินแลวตาย ดังนี้นาย

ย้ิม (1) ไมมีความผิดเพราะไมไดใชใหวางยาพิษ (2) มีความผิดเปนผูใชรับโทษ 1 ใน 3 (3) เปนผูใชรับโทษเสมือนตัวการ (4) เปนผูสนับสนุน ตอบ 3 หนา 62-63, (คําบรรยาย) การที่นายย้ิมจางมือปนใหไปยิงนายเอก แคมือปนไดเอายาพิษไปลอบใหนาย

เอกกินแลวตาย ยอมถือวาความผิดนั้นไดกระทําลงตามที่ไดมีการใชแลว ดังนั้นนายย้ิมซ่ึงเปนผูใชใหกระทํา

ความผิดตองรับโทษเสมือนตัวการ 53. นายโหดชวนนายเลวไปฆานายดี นายเลวไมมีปนแตไดรวมกับนายโหด เม่ือนายโหดยิงนายดีตายแลว นาย

เลวก็หลบหนีไปพรอมกับนายโหด ดังนี้นายเลวตองรับผิดรวมกับนายโหดในฐานะเปน

Page 15: Q&A Intro Law1

15

(1) ผูสนับสนุน (2) ผูใช (3) ตัวการ (4) ไมมีความผิดเพราะไมไดยิง ตอบ 3 หนา 62 ความผิดฐานตัวการ คือความผิดที่ไดเกิดขึ้นโดยการกระทําของบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป โดย

การรวมมือรวมใจกันกระทําความผิด และตางรูสึกถึงการกระทําของกันและกัน ซ่ึงกฎหมายใหถือวาผูรวมกัน

กระทําผิดเปนตัวการ และตองระวางโทษตามที่กฎหมายไดกําหนดไวสําหรับความผิดนั้น 54. นายโกดื่มสุราเขาไปจนเมาแลวนึกสนุกใชปนยิงเขาไปในรถยนตที่แลนผานมา ลูกกระสุนปนถูกนายเฮงถึง

แกความตาย ดังนี้นายโกมีความผิด (1) ฆาคนตายโดยไมเจตนา (2) ฆาคนตายโดยเจตนา (3) ฆาคนตายโดยประมาท (4) มีความผิดแตไดรับลดโทษเพราะกระทําขณะเมาสุรา ตอบ 2 หนา 57-58, (คําบรรยาย) การกระทําของนายโกเปนการกระทําโดยเจตนาโดยหลักยอมเล็งเห็นผล คือ

ไมไดประสงคตอผลของการกระทํา แตโดยลักษณะของการกระทํายอมเล็งเห็นไดวาการกระทําของตนจะเกิดผล

ขึ้นอยางไร คือยอมเล็งเห็นผลไดวาตองมีคนถูกลูกกระสุนปนตาย ดังนั้นนายโกจึงมีความผิดฐานฆาคนตายโดย

เจตนา 55. นางสาวติ๊นาเล้ียงสุนัขตัวโตไมดูแลใหดี สุนัขหลุดจากประตูรั้วบานออกไปกัด ด.ญ.ตุยนุยถึงแกความตาย

ดังนี้นางสาวติ๊นาตองรับผิดฐาน (1) ไมมีความผิดเพราะไมไดยุสุนัข (2) ฆา ด.ญ.ตุยนุยตายโดยเจตนา (3) ฆา ด.ญ.ตุยนุยโดยไมไดเจตนา (4) กระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอ่ืนถึงแกความตาย ตอบ 4 หนา 58 การที่นางสาวติ๊นาเล้ียงสุนัขตัวโตแลวไมดูแลใหดีนั้น ถือวานางสาวติ๊นากระทําโดยประมาท

กลาวคือเปนการกระทําความผิดซ่ึงผูกระทํานั้นมิไดเจตนา แตกระทําโดยปราศจากความระมัดระวัง ซ่ึงบุคคลใน

ภาวะเชนนั้นจักตองมีตามวิสัย และพฤติการณ และผูกระทําอาจใชความระมัดเชนวานั้นได แตหาไดใชใหเพียงพอ

ไม ดังนั้นนางสาวติ๊นาจึงตองรับผิดฐานกระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอ่ืนถึงแกความตาย 56. นายบกเรียนวิชาอยูยงคงกระพัน ยิงไมออก ฟนไมเขา แลวจิตใจฮึกเหิม ไดทาใหนายเดนทดลองฟนตนนาย

เดนรับคําทาใชมีดฟนนายบกคอขาดถึงแกความตาย ดังนี้นายเดน (1) ไมมีความผิดเพราะนายบกยอมใหฟน (2) มีความผิดฐานฆาคนตายโดยไมเจตนา (3) มีความผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล (4) ฆาคนตายโดยประมาท ตอบ 3 หนา 57-58, (คําบรรยาย) การกระทําของนายเดน ถือวาเปนการกระทําโดยรูสํานึกและแมจะไมได

ประสงคตอผลของการกระทํา แตโดยลักษณะของการกระทํา ยอมเล็งเห็นผลไดวาการกระทําของตนจะเกิดผลขึ้น

คือ นายบกคอขาดถึงแกความตาย ดังนั้นการกระทําของนายเดนจึงมีความผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล

Page 16: Q&A Intro Law1

16

57. โทษทางอาญาที่หนักที่สุด (1) กักกัน (2) กักขัง (3) ปรับ 1 แสนบาท (4) ริบทรัพยสิน ตอบ 2 ดูคําอธิบายขอ 13.ประกอบ 58. หลักเกณฑตีความกฎหมายอาญา (1) ตีความตามตัวอักษรและเจตนารมณ (2) ตีความตามเจตนารมณ (3) ตีความตามตัวอักษรโดยเครงครัด (4) ตีความขยายความลงโทษจําเลยได ตอบ 3 หนา 90 กฎหมายอาญาเปนกฎหมายพิเศษ การตีความจึงมีหลักเกณฑที่แตกตางกับกฎหมายทั่วไป คือ

1. ตองตีความตามตัวอักษรโดยเครงครัด 2. จะตีความหมายในทางขยายความใหเปนการลงโทษหรือเพ่ิมโทษ

ผูกระทําใหหนักขึ้นไมได และ 3. ในกรณีเปนที่สงสัย ศาลตองตีความใหเปนผลดีแกผูตองหาวาไมไดกระทํา

ความผิด 59. ความผิดตอสวนตัว หรือความผิดอันยอมความได (1) พนักงานอัยการฟองคดีไมไดตองใหผูเสียหายฟองเอง (2) ผูเสียหายฟองคดีเองไมได ตองใหพนักงานอัยการฟองให (3) พนักงานสอบสวนจะสอบสวนไดตอเม่ือผูเสียหายรองทุกข (4) ราษฎรฟองคดีสวนตัว ศาลไมตองไตสวนมูลฟอง ตอบ 3 หนา 67-68 ความผิดตอสวนตัว หรือความผิดอันยอมความได หมายถึง ความผิดที่ไมกระทบความสงบ

ของรัฐ และมีกฎหมายบัญญัติไวโดยชัดแจงวาเปนความผิดตอสวนตัว เชน ความผิดฐานหม่ินประมาท เปนตน ซ่ึง

ในกรณีที่เปนความผิดตอสวนตัวนั้น พนักงานสอบสวนจะสอบสวนไดก็ตอเม่ือผูเสียหายไดรองทุกขตามระเบียบ

แลว 60. นายดอย อายุ 18 ป หม้ันกับ น.ส.ก๊ิก อายุ 16 ป โดยบิดาและมารดาของ น.ส.ก๊ิก ใหความยินยอม เชนนี้การ

หม้ันของ น.ส.ก๊ิกกับนายดอยจะมีผลทางกฎหมายอยางไร (1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขื้นอยูกับดุลยพินิจของศาล ตอบ 3 หนา 155 กฎหมายไดกําหนดหลักเกณฑในเรื่องอายุของชายและหญิงที่ตะทําการหม้ันไววา จะหม้ันกัน

ไดชายและหญิงจะตองมีอายุ 17 ปบริบูรณแลว หากฝาฝน การหม้ันนั้นจะตกเปนโมฆะ (ป.พ.พ. มาตรา 1435) แมผูแทนโดยชอบธรรมจะใหความยินยอมก็ตาม 61. นายชาญ อายุ 30 ป ตองการหม้ันกับ น.ส.ดาว อายุ 25 ป แตกลับหม้ันกับ น.ส.เดือน คูแฝดของ น.ส.ดาว

โดยสําคัญผิด เชนนี้การหม้ันนั้นจะมีผลทางกฎหมายอยางไร (1) สมบูรณ

Page 17: Q&A Intro Law1

17

(2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลยพินิจของศาล ตอบ 2 หนา 159-160 เงื่อนไขที่จะทําใหการสมรสตกเปนโมฆียะ (การสมรสมิอาจสมบูรณ) มี 5 ประการ คือ

1. ชายและหญิงมีอายุไมครบ 17 ปบริบูรณ 2. ผูเยาวทําการสมรสโดยมิไดรับความยินยอมจากบิดามารดา หรือ

ผูปกครอง 3. การสมรสโดยสําคัญผิดตัวคูสมรส 4. สมรสโดยถูกกลฉอฉล 5. การสมรสเพราะถูกขมขู (ในเรื่องการหม้ันนั้นมิไดบัญญัติในเรื่องการสําคัญผิดตัว

คูหม้ันไว จึงตองนําบทบัญญัติในสวนของการสมรสมาบังคับใช) 62. น.ส.สวยหม้ันกับนายโดม โดยนายโดมมอบแหวนเพชรใหในเวลาทําสัญญาหม้ัน ตอมา น.ส.สวยกลับไม

ยอมสมรส เชนนี้นายโดมจะทําอยางไรไดบาง (1) ฟองบังคับให น.ส.สวยสมรสกับตน (2) ฟองเรียกเบี้ยปรับ (3) ฟองเรียกของหม้ันคืน (4) ถูกทั้ง 2 และ 3 ตอบ 3 หนา 157-158 ถาคูหม้ันฝายใดผิดสัญญาหม้ัน อีกฝายหนึ่งจะฟองบังคับเพ่ือใหมีการสมรสหรือเรียก

เบี้ยปรับไมได มีสิทธิก็แตเฉพาะเรียกคาทดแทนเนื่องจากมีการผิดสัญญาหม้ันเทานั้น และหากหญิงเปนฝายผิด

สัญญาหม้ันก็จะตองคืนของหม้ันใหแกฝายชายดวย 63. นายขิมตกลงจะไปหม้ันกับ น.ส.แคน แตกอนถึงวันหม้ัน น.ส.แคนไดขอใหนายขิมสงมอบทองคําแทง

ทั้งหมดที่เตรียมไวเปนของหม้ันแกตนกอน ตอมาอีกวันในเวลาทําสัญญาหม้ัน จึงไมมีของหม้ันสงมอบ เชนนี้

หากตอมา น.ส.แคนไมทําการสมรสกับนายขิม นายขิมจะทําอยางไร (1) เรียกทองคําแทงคืนทั้งหมด (2) เรียกทองคําแทงคืนไดครึ่งหนึ่ง (3) เรียกทองคําแทงคืน พรอมเบี้ยปรับ (4) เรียกทองคําแทงคืนไมไดเลย ตอบ 1 หนา 157 การหม้ันยอมสมบูรณเม่ือฝายชายไดสงมอบหรือโอนทรัพยสินอันเปนของหม้ันใหแกหญิง

เพ่ือเปนหลักฐานวาจะสมรสกับหญิงนั้น กลาวคือ สัญญาหม้ันยอมสมบูรณในวันที่มีการสงมอบหรือโอน

ทรัพยสินอันเปนของหม้ันแลว แมจะคนละวันกับวันหม้ันก็ตาม และหากฝายหญิงผิดสัญญาหม้ันก็ตองคืนของ

หม้ันใหแกฝายชาย 64. นายชัน อายุ 40 ป ผูรับบุตรบุญธรรมจดทะเบียนสมรสกับ น.ส.ย้ิม อายุ 25 ป บุตรบุญธรรมของตนเชนนี้

การสมรสนั้นมีผลทางกฎหมายอยางไร (1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลยพินิจของศาล ตอบ 1 หนา 160 ผูรับบุตรบุญธรรมจะสมรสกับบุตรบุญธรรมไมได ในกรณีที่มีการฝาฝน ใหถือวาการรับ

บุตรบุญธรรมเปนอันยกเลิกไป แตการสมรสยังมีผลสมบูรณ

Page 18: Q&A Intro Law1

18

65. นายดําลุงเขยของ น.ส.น้ํา เม่ือปาของ น.ส.น้ําตาย นายดําจึงมาจดทะเบียนสมรสกับ น.ส.น้ํา เชนนี้การสมรส

นั้นมีผลทางกฎหมายอยางไร (1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลยพินิจของศาล ตอบ 1 หนา 159-160 เงื่อนไขที่จะทําใหการสมรสตกเปนโมฆะ มี 4 ประการ คือ 1. สมรสกับบุคคลวิกลจริต หรือคนไรความสามารถตามคําส่ังศาล 2. สมรสกับญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไปลงมา หรือกับพ่ีนองรวมบิดาหรือมารดาเดียวกัน 3. สมรสโดยปราศจากความยินยอมของชายหญิงคูสมรส และ 4. สมรสในขณะที่ตนมีคูสมรสที่ชอบดวยกฎหมายอยูแลวหรือที่เรียกวา สมรสซอน (ลุงเขยไมถือวาเปนญาติสืบสายโลหิตโดยตรงหรือลงมาแตอยางใด และกรณีไมเปนสมรสซอนเพราะการสมรส

ครั้งแรกยอมส้ินสุดลงแลวเนื่องจากความตายของคูสมรส) 66. น.ส.อ่ิม อายุ 18 ป ซ่ึงไดจดทะเบียนไปเปนบุตรบุญธรรมของนายไก ไดสมรสกับนายแผน อายุ 25 ป โดย

นายไกมิไดใหความยินยอม แตบิดามารดาของ น.ส.อ่ิมยินยอม เชนนี้การสมรสนั้นมีผลทางกฎหมายอยางไร (1) สมบูรณ (2) โมฆียะ (3) โมฆะ (4) ขึ้นกับดุลยพินิจของศาล ตอบ 2 หนา 159-160 กรณีที่ผูเยาวเปนบุตรบุญธรรมของบุคคลใด เม่ือจะทําการสมรสก็ตองไดรับความ

ยินยอมจากผูรับบุตรบุญธรรมนั้น มิฉะนั้นการสมรสจะเปนโมฆียะ เพราะนับตั้งแตผูเยาวไปเปนบุตรบุญธรรม

อํานาจปกครองของบิดามารดายอมหมดไป ผูรับบุตรบุญธรรมจะตองเปนผูใชอํานาจปกครองแทน (ดูคําอธิบาย

ขอ 61.ประกอบ) 67. กรณีใดไมเปนเหตุใหการสมรสส้ินสุดลง (1) คูสมรสฝายหนึ่งสาบสูญ (2) คูสมรสฝายหนึ่งปวยตาย (3) คูสมรสจดทะเบียนหยา (4) ศาลพิพากษาเพิกถอนการสมรสเพราะถูกขมขู ตอบ 1 หนา 166-167 เหตุที่จะทําใหการสมรสส้ินสุดลง มีได 3 กรณี คือ 1. คูสมรสฝายใดฝายหนึ่งตาย 2. โดยการหยา และ 3. ศาลพิพากษาเพิกถอนการสมรส (การที่คูสมรสฝายหนึ่งสาบสูญเปนเพียงเหตุฟองหยาเทานั้น) 68. กรณีใดตอไปนี้ไมเปนสินสมรส (1) เงินเดือนของคูสมรส (2) เงินถูกรางวัลสลากกาชาดของคูสมรสฝายหนึ่ง (3) ดอกเบี้ยเงินฝากในธนาคารที่คูสมรสมีกอนสมรส (4) ถูกทั้งขอ 1 และ 2

Page 19: Q&A Intro Law1

19

ตอบ 3 หนา 163 สินสมรส ไดแก 1. ทรัพยสินที่คูสมรสไดมาระหวางสมรส เชน เงินเดือนหรือรางวัลที่ไดจากการถูกลอตเตอรี ่2. ทรัพยสินที่ฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยพินัยกรรมหรือการใหเปนหนังสือเม่ือมีพินัยกรรมหรือ

หนังสือยกใหระบุวาใหเปนสินสมรส 3. ดอกผลของสินสวนตัว ซ่ึงเกิดมีขึ้นเม่ือมีการสมรส เชน ลูกหมูซ่ึงแมหมูตกลูกเม่ือสมรสแลว (ดอกเบี้ยเงินฝาก

แมจะเปนดอกผลของสินสวนตัว แตไดมากอนสมรสจึงไมเปนสินสมรสแตเปนสินสวนตัว) 69. กรณีใดตอไปนี้ไมเปนมรดกตกทอดแกทายาท (1) หนี้เงินกูที่เจามรดกทําขึ้น (2) สัญญาหม้ันที่เจามรดกทําไว (3) เจามรดกเปนเจาของลิขสิทธ์ิงานเขียน (4) เจามรดกถูกรางวัลสลากกาชาดแตตายกอนขึ้นรางวัล ตอบ 2 หนา 171-172 “มรดก” หมายถึง ทรัพยสินทุกชนิดของผูตายตลอดทั้งสิทธิ หนาที่ และความรับชอบ

ตางๆดวย เวนแต ตามกฎหมายหรือวาโดยสภาพแลวเปนการเฉพาะตัวของผูตายโดยแท (สิทธิตามสัญญาหม้ัน

เปนสิทธิเฉพาะตัวของผูตาย) 70. การยุบสภาผูแทนราษฎรตองทําเปน (1) พระราชบัญญัติ (2) พระราชกําหนด (3) พระราชกฤษฎีกา (4) คําส่ังนายกรัฐมนตร ีตอบ 3 หนา 33 ตามรัฐธรรมนูญ การตราพระราชกฤษฎีกาของพระมหากษัตริยโดยคําแนะนําของ

คณะรัฐมนตรีนั้นจะเกิดขึ้นใน 3 กรณี คือ 1. รัฐธรรมนูญกําหนดใหตราขึ้นในกิจการที่สําคัญอันเก่ียวกับฝาย

บริหารและนิติบัญญัติ เชน พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา, พระราชกฤษฎีกายุบสภาผูแทนราษฎร หรือ

พระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ฯลฯ 2. โดยอาศัยอํานาจตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา

196 (เรื่องเงินประจําตําแหนง บําเหน็จบํานาญและประโยชนตอบแทน) 3. โดยอาศัยอํานาจตามกฎหมาย

แมบท (พระราชบัญญัติหรือพระราชกําหนด) ที่ใหอํานาจตราพระราชกฤษฎีกาได 71. ราชอาณาจักร หมายถึง ทะเลอันหางจากฝงที่เปนดินแดนของประเทศไทย ไมเกิน (1) 10 ไมลทะเล (2) 12 ไมลทะเล (3) 20 ไมลทะเล (4) 50 ไมลทะเล ตอบ 2 หนา 80-81 ราชอาณาจักรไทย หมายถึง 1.พ้ืนดินและพ้ืนน้ําซ่ึงอยูในอาณาเขตประเทศไทย 2. ทะเลอันเปนอาวไทย 3. ทะเลอันหางจากฝงที่เปนดินแดนของประเทศไทยไมเกิน 12 ไมลทะเล 4. อากาศ

เหนือ 1.,2. และ 3. 72. ขอใดที่อยูในอํานาจศาลไทยที่จะพิจารณาพิพากษาได (1) นายขะแมรชาวเขมรปลอมแปลงเงินไทยที่ประเทศลาว (2) นายโซกับพวกชาวโซมาเลียปลนเรือสินคาในทะเลหลวง

Page 20: Q&A Intro Law1

20

(3) นายขะแมรชาวเขมรฆาคนไทยตายที่ประเทศกัมพูชา (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 82 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 7 ไดบัญญัติใหอํานาจแกศาลไทยที่จะพิจารณาพิพากษาคดีที่แม

จะไดกระทํานอกราชอาณาจักร และผูกระทําความผิดจะมีสัญชาติใดก็ตาม ไดแก 1. ความผิดเก่ียวกับความม่ันคง

แหงราชอาณาจักร 2. ความผิดเก่ียวกับการปลอม และการแปลงเหรียญกษาปณ ธนบัตรหรือส่ิงอ่ืนใด 3. ความผิดฐานชิงทรัพย และปลนทรัพย ซ่ึงไดกระทําในทะเลหลวงและตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 8

ไดบัญญัติใหศาลไทยมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีเก่ียวกับความผิดที่เกิดขึ้นนอกราชอาณาจักรได ถาผูกระทํา

ความผิดเปนคนไทย หรือผูกระทําความผิดเปนคนตางดาว แตรัฐบาลไทยหรือคนไทยเปนผูเสียหาย และผูเสียหาย

ไดรองขอใหลงโทษ 73. นายหนุมไมทราบวาตนเกิดเม่ือใดทราบแตเพียงปเกิดคือป พ.ศ. 2530 ดังนี้ตามกฎหมายถือวานายหนุมเกิด

เม่ือใด (1) 1 มกราคม 2530 (2) 1 มิถุนายน 2530 (3) ณ วันที่นายหนุมแจงตอนายอําเภอทองที่ (4) วันไหนก็ไดแลวแตนายหนุมจะเลือก ตอบ 1 หนา 128, (คําบรรยาย) ในกรณีที่ไมรูวาบุคคลเกิดวันใด เดือนใด แตรูปเกิด ใหวาถือวาบุคคลนั้นได

เกิดวันตนป ซ่ึงเปนปที่บุคคลนั้นเกิด ในกรณีที่เกิดกอนวันที่ 18 ตุลาคม 2483 ใหถือเอา วันที 1 เมษายน เปนวัน

ตนป หากเกิดภายหลังจากนั้นใหถือเอาวันที่ 1 มกราคม เปนวันตนป ดังนั้นการที่นายหนุมไมรูวาเกิดเม่ือใดทราบ

แตเกิดป พ.ศ. 2530 ดังนี้ตามกฎหมายถือวานายหนุมเกิดเม่ือวันที่ 1 มกราคม 2530 74. ขอใดถือส้ินเปนสภาพบุคคล (1) การสาบสูญ (2) จิตฟนเฟอน (3) ตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก (4) พิการ ตอบ 1 หนา 140-141 สภาพบุคคลของบุคคลธรรมดายอมส้ินสุดลงเม่ือตาย ซ่ึงการตายนั้นมีได 2 กรณี คือ

1. ตายธรรมดา และ 2. ตายโดยผลของกฎหมาย คือ เม่ือบุคคลนั้นไดถูกศาลส่ังใหเปนคนสาบสูญ 75. ขอใดไมถูกตองเก่ียวกับทารกในครรภมารดา (1) มีสภาพบุคคลแลว (2) มีสิทธิรับมรดกถาคลอดแลวอยูรอดเปนทารก (3) ไมมีสภาพบุคคล (4) ผิดทุกขอ ตอบ 1 หนา 125-127 สภาพบุคคลยอมเริ่มแตคลอดแลวอยูรอดเปนทารก (โดยจะตัดสายสะดือหรือไมไม

สําคัญ) ซ่ึงการอยูรอดเปนทารกนั้น อาจจะดูที่การเตนของหัวใจ การเคล่ือนไหวของรางกาย หรือดูที่การหายใจ

ซ่ึงการหายใจนั้นไมจํากัดวาจะมีระยะเวลาเทาใด ดังนั้นทารกที่ยังอยูในครรภมารดาจึงยังไมมีสภาพบุคคล แต

Page 21: Q&A Intro Law1

21

ทารกในครรภมารดาอาจมีสิทธิตางๆได เชน สิทธิในการรับมรดก ถาหากวาภายหลังไดคลอดแลวอยูรอดเปน

ทารก 76. สภาพบุคคลเริ่มตนเม่ือใด (1) นางแดงแทงบุตรขณะตั้งครรภ (2) นางเหลืองตั้งครรภบุตรเปนเวลา 5 เดือนแลว (3) นางเขียวคลอดบุตรแลวโดยที่หมอยังมิไดตัดสายสะดือทารก (4) นางดําไปตรวจครรภแลวทราบวาบุตรเปนเพศชายกอนที่จะถึงกําหนดคลอด 1 เดือน ตอบ 3 ดูคําอธิบายขอ 75.ประกอบ 77. ขอใดถูกตองที่สุด (1) ทารกในครรภมารดาถือเปนทายาทแลว (2) สภาพบุคคลเริ่มแตเม่ือคลอด (3) เม่ือทารกคลอดแลวปรากฏวามีการเคล่ือนไหวรางกาย เชนนี้ ทารกมีสภาพบุคคล (4) เม่ือทารกคลอดแลวตองมีการหายใจอยางนอย 1 ช่ัวโมง จึงจะถือวามีสภาพบุคคล ตอบ 3 หนา 125-127 ทารกในครรภมารดายังไมมีสภาพบุคคล จึงไมอาจเปนทายาทได เพราะตามกฎหมาย

การเปนทายาทนั้น (ไมวาจะเปนทายาทโดยธรรมหรือทายาทในฐานะผูรับพินัยกรรม) จะตองมีสภาพบุคคลอยูใน

เวลาที่เจามรดกถึงแกความตายดวย (ดูคําอธิบายขอ 75.ประกอบ) 78. ขอใดไมถูกตอง (1) บุคคลใดถูกศาลส่ังใหเปนคนสาบสูญแลวกฎหมายนั้นถือวาบุคคลนั้นถึงแกความตาย (2) เม่ือบุคคลใดถูกศาลส่ังใหเปนคนสาบสูญ มรดกของบุคคลนั้นตกทอดถึงทายาท (3) เม่ือบุคคลใดถูกศาลส่ังใหเปนคนสาบสูญ ทําใหการสมรสขาดจากกัน (4) การเปนคนสาบสูญ ศาลอาจมีการเพิกถอนคําส่ังสาบสูญได ตอบ 3 หนา 146 ในกรณีที่ศาลมีคําส่ังใหบุคคลใดเปนคนสาบสูญแลวจะมีผลตามกฎหมายคือ 1. คูสมรสอีก

ฝายหนึ่งฟองหยาได (แตไมทําใหการสมรสส้ินสุดลง) 2. ถือเปนการส้ินสุดอํานาจปกครองบุตร 3. มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแกทายาท 4. ถือเสมือนวาบุคคลนั้นส้ินสภาพบุคคลหรือถึงแกความตาย อยางไรก็ตามหากคนสาบสูญยังมีชีวิตอยูหรือตาย

ในเวลาอ่ืนผิดไปจากเวลาที่กฎหมายสันนิษฐานไว ศาลก็อาจเพิกถอนคําส่ังใหเปนคนสาบสูญได 79. ขอใดเปนช่ือที่ไมไดรับการคุมครองตามกฎหมาย (1) ช่ือฉายา (2) นามปากกา (3) ช่ือเลน (4) ช่ือสกุล ตอบ 3 หนา 129-130, (คําบรรยาย) นอกจากกฎหมายจะใหการคุมครองช่ือสกุล (ช่ือตัว ช่ือรอง ช่ือสกุล)

แลว ยังใหการคุมครองไปถึงช่ืออ่ืนๆ เชน ช่ือฉายา นามแฝง ช่ือนิติบุคคล ช่ือการคา ช่ือยอสําหรับโทรเลข รวมทั้ง

นามปากกาดวย 80. บุคคลธรรมดาที่กฎหมายกําหนดภูมิลําเนา ไดแก (1) ผูเยาว

Page 22: Q&A Intro Law1

22

(2) คนตาบอด (3) บุคคลเสมือนไรความสามารถ (4) บุคคลวิกลจริต ตอบ 1 หนา 131-132 บุคคลที่กฎหมายกําหนดภูมิลําเนาให ไดแก 1. ผูเยาว 2. คนไรความสามารถ 3. สามีและภริยา 4. ขาราชการ 5. ผูที่ถูกจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดของศาล 81.นิติกรรมขอใดเปนโมฆะ (1) สมหญิง อายุ 9 ป ตกลงทําสัญญาประกันชีวิตกับนายสมชายตัวแทนประกันภัย (2) น.ส.แดง อายุ 20 ป ทําสัญญายอมรับเปนภริยานอยของนายดํา (3) วาสนา อาย 10 ป ตกลงทําสัญญาใหรถยนตของตนกับดวงดี อายุ 13 ป (4) นางหนึ่งตกลงซ้ือขายรถยนตของตนกับนางสองโดยไมไดทําสัญญา ตอบ 2 หนา 101-103 นิติกรรมใดก็ตามที่มีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมายเปนการพน

วิสัย หรือเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน นิติกรรมนั้นจะตกเปนโมฆะ (ป.

พ.พ. มาตรา 150) เชน นิติกรรมที่มีผลกระทบตอความสงบของสังคม หรือความม่ันคงของสถาบันครอบครัว

เปนตน ( ขอ(2) เปนนิติกรรมที่มีวัตถุประสงคขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชน) 82. บุคคลวิกลจริตทํานิติกรรมโดยที่คูกรณีอีกฝายหนึ่งไมรูวาวิกลจริต นิติกรรมจะมีผล (1) โมฆะ (2) โมฆียะ (3) สมบูรณ (4) ไมสมบูรณ ตอบ 3 หนา 137-138 บุคคลวิกลจริตซ่ึงศาลยังมิไดส่ังใหเปนคนไรความสามารถ ทํานิติกรรมใดๆมีผล

สมบูรณ เวนแตจะเปนโมฆียะก็ตอเม่ือไดทําในขณะวิกลจริต และคูกรณีอีกฝายหนึ่งไดรูแลววาผูทําเปนคน

วิกลจริต 83. บุคคลตามขอใดยังไมบรรลุนิติภาวะ (1) อายุ 17 ปบริบูรณและสมรสโดยชอบดวยกฎหมาย (2) อายุ 18 ปบริบูรณ (3) อายุ 16 ป ทําการสมรสโดยศาลอนุญาต (4) ไมบรรลุนิติภาวะทุกขอ ตอบ 2 หนา 133,159 บุคคลยอมพนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะเม่ือมีอายุครบ 20 ปบริบูรณ (ป.

พ.พ. มาตรา 19) แตอยางไรก็ตามผูเยาวอาจจะบรรลุนิติภาวะกอนนั้นได หากทําการสมรสและการสมรสนั้นได

ทําตามบทบัญญัติมาตรา 1448 คือ สมรสเม่ือชายและหญิงมีอายุครบ 17 ปบริบูรณแลว หรืออายุนอยกวา 17 ป

แตศาลอนุญาตใหทําการสมรสได 84. คนไรความสามารถทํานิติกรรมขอใดได หากผูอนุบาลยินยอม (1) นิติกรรมที่เปนการเฉพาะตัว (2) นิติกรรมที่เก่ียวกับสังหาริมทรัพย (3) นิติกรรมที่ไดไปซ่ึงสิทธิ

Page 23: Q&A Intro Law1

23

(4) ทํานิติกรรมใดๆก็ไมไดทั้งส้ิน ตอบ 4 หนา 137 คนไรความสามารถทํานิติกรรมใดๆนิติกรรมนั้นจะตกเปนโมฆียะทั้งส้ินไมวาจะไดทํานิติ

กรรมในขณะจริตวิกลหรือไมก็ตาม หรือไดทํานิติกรรมโดยผูอนุบาลจะไดยินยอมหรือไมก็ตาม นิติกรรมที่

เก่ียวกับคนไรความสามารถตองใหผูอนุบาลทําแทน เวนแตพินัยกรรมซ่ึงผูอนุบาลไมอาจทําแทนได เพราะการทํา

พินัยกรรมเปนสิทธิเฉพาะตัว ดังนั้นพินัยกรรมที่คนไรความสามารถไดทําขึ้น หรือใหผูอนุบาลทําแทนยอมตกเปน

โมฆะ 85. คนไรความสามารถตองอยูในความดูแลของใครตามกฎหมาย (1) ผูพิทักษ (2) ผูอนุบาล (3) ผูปกครอง (4) ผูแทนโดยชอบธรรม ตอบ 2 หนา 137 บุคคลที่ศาลส่ังใหเปนคนไรความสามารถ กฎหมายกําหนดใหอยูในความดูแลของ “ผู

อนุบาล” ซ่ึงเปนบุคคลที่ศาลตั้งขึ้นมาเพ่ือใหดูแลจัดการทรัพยสินของคนไรความสามารถนั้น เนื่องจากบุคคลไร

ความสามารถไมอาจทํานิติกรรมใดๆได จะตองใหผูอนุบาลทําแทน 86. คนเสมือนไรความสามารถตองอยูในความดูแลของใครตามกฎหมาย (1) ผูพิทักษ (2) ผูอนุบาล (3) ผูปกครอง (4) ผูแทนโดยชอบธรรม ตอบ 1 หนา 152 เม่ือศาลไดส่ังใหบุคคลใดเปนคนเสมือนไรความสามารถ กฎหมายกําหนดใหบุคคลนั้น

จะตองอยูในความดูแลของ “ผูพิทักษ” ซ่ึงการทํานิติกรรมบางประเภทของคนเสมือนไรความสามารถตาม ป.

พ.พ. มาตรา 34 จะตองไดรับความยินยอมจากผูพิทักษกอน มิฉะนั้นจะตกเปนโมฆียะ 87. ผูเยาวตองอยูในความดูแลของใครตามกฎหมาย (1) ผูพิทักษ (2) ผูอนุบาล (3) ผูแทนโดยชอบธรรม (4) ผิดทุกขอ ตอบ 3 หนา 133 เนื่องจากผูเยาวเปนบุคคลผูออนอายุ ออนประสบการณ และขาดการควบคุมสภาพจิตใจ ไม

อาจจัดการกิจการไดอยางรอบคอบ กฎหมายจึงใหความคุมครองโดยกําหนดใหผูเยาวจะตองอยูในความดูแลของ

“ผูแทนโดยชอบธรรม” กลาวคือ หากผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆจะตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบ

ธรรมกอน มิฉะนั้นจะตกเปนโมฆียะ เวนแตนิติกรรมบางประเภทที่ผูเยาวสามารถทําไดเองโดยลําพัง 88. ผูใดมิใช “ผูหยอนความสามารถ” ตามกฎหมาย (1) ชายมีภริยา (2) นายแดงอายุ 18 ป (3) คนเสมือนไรความสามารถ (4) คนไรความสามารถ

Page 24: Q&A Intro Law1

24

ตอบ 1 หนา 133, (คําบรรยาย) ผูหยอนความสามารถ คือ บุคคลบางประเภทที่กฎหมายไดจํากัดหรือตัดทอน

ความสามารถในการใชสิทธิ ซ่ึงมี 4 ประเภท คือ 1. ผูเยาว 2. คนไรความสามารถ 3. คนเสมือนไรความสามารถ 4. บุคคลวิกลจริต 89. นายมด อายุ 18 ป ไมสามารถทํานิติกรรมใดไดเองบาง (1) ทํานิติกรรมที่เปนการเฉพาะตัว (2) ทํานิติกรรมที่หลุดพนจากหนาที่โดยปราศจากเงื่อนไข (3) ทํานิติกรรมที่เก่ียวกับอสังหาริมทรัพย (4) ทํานิติกรรมที่สมควรตอฐานานุรูปและจําเปนตอการดํารงเล้ียงชีพ ตอบ 3 หนา 136-137 นิติกรรมที่ผูเยาวสามารถทําไดเอง ไดแก 1. นิติกรรมที่ทําใหผูเยาวไดซ่ึงสิทธิ หรือ

หลุดพนจากหนาที่ เชน การทํานิติกรรมรับการให โดยปราศจากเงื่อนไขหรือคําภาระติดพัน 2. นิติกรรมที่ผูเยาว

ตองทําเองเฉพาะตัว เชน การจดทะเบียนรับรองบุตร 3. นิติกรรมที่สมแกฐานานุรูปและจําเปนในการดํารงชีวิต

ตามสมควร เชน ซ้ืออาหารรับประทาน ซ้ือสมุดดินสอ เครื่องเรียน และปจจัยส่ี 4. ผูเยาวอาจทําพินัยกรรมได

เม่ืออายุครบ 15 ปบริบูรณ พินัยกรรมซ่ึงบุคคลที่มีอายุยังไมครบ 15 ปบริบูรณขึ้นนั้น เปนโมฆะ 90. ขอใดที่คนเสมือนไรความสามารถ ทํานิติกรรมไดดวยตนเอง (1) จํานอง (2) กูยืมเงิน (3) ใหกูยืมเงิน (4) เชาบานอยูอาศัยเปนระยะเวลา 1 ป ตอบ 4 หนา 138-139 คนเสมือนไรความสามารถ โดยหลักแลวสามารถทํานิติกรรมใดๆไดสมบูรณโดย

ลําพังตนเอง เวนแตนิติกรรมที่สําคัญบางอยางตองไดรับความยินจากผูพิทักษกอนมิฉะนั้นจะตกเปนโมฆียะ เชน

การนําทรัพยสินไปลงทุน การกูหรือใหกูยืมเงิน การค้ําประกัน จํานอง หรือการเชาหรือใหเชาสังหาริมทรัพยมี

กําหนดเวลาเกิน 6 เดือน หรืออสังหาริมทรัพยมีกําหนดเวลาเกิน 3 ป (บานเปนอสังหาริมทรัพย) 91. ผูปกครองของผูเยาวมีไดในกรณี (1) ผูเยาวไมมีบิดามารดา (2) บิดามารดาถูกถอนอํานาจการปกครอง (3) บิดามารดาหยาขาดจากกัน (4) ถูกเฉพาะขอ 1 และ 2 ตอบ 4 หนา 134 ผูปกครองของผูเยาวซ่ึงจะเปนผูแทนโดยชอบธรรม จะมีไดใน 2 กรณีคือ 1. ผูเยาวไมมี

บิดามารดา (กรณีบิดามารดาตายหรือไมปรากฏบิดามารดา) 2. บิดามารดาถูกถอนอํานาจปกครอง 92. ผูที่ไมมีสิทธิเขาทําสัญญากอนิติสัมพันธ (1) มูลนิธิเด็กดี (2) บริษัทรักษาความปลอดภัย (3) นายแดง อายุ 21 ป (4) ชมรมคายอาสาพัฒนา ตอบ 4 หนา 97,148-150 ผูที่มีสิทธิเขาทํานิติกรรมหรือสัญญาเพ่ือกอใหเกิดนิติสัมพันธขึ้นนั้นจะตองเปน

บุคคลตามกฎหมาย ซ่ึงอาจจะเปนบุคคลธรรมดา (ที่กฎหมายมิไดจํากัดความสามารถไว) หรืออาจเปนนิติบุคคล

Page 25: Q&A Intro Law1

25

เชน บริษัทจํากัด มูลนิธิ สมาคม เปนตน (ชมรมคายอาสาพัฒนาไมใชนิติบุคคลจึงไมมีสิทธิเขาทําสัญญากอนิติ

สัมพันธ) 93. ขอใดไมใชนิติกรรม (1) การซ้ือน้ําดื่มที่รานขายของ (2) การขอยืมเงินเพ่ือน (3) การนําเงินดอลลารไปแลกเปนเงินบาท (4) การเลนพนันฟุตบอล ตอบ 4 หนา 98 นิติกรรม หมายถึง การใดๆอันทําลงโดยชอบดวยกฎหมายและดวยใจสมัครมุงโดยตรงตอการ

ผูกนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคลเพ่ือกอ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรือระงับซ่ึงสิทธิ เชน การซ้ือของ การกูยืมเงิน

การน้ําเงินตราตางประเทศไปแลกเปนเงินไทย เปนตน (การเลนการพนันเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย

ยอมไมถือเปนนิติกรรม) 94. นิติกรรมที่เปนโมฆียะ คือ (1) นิติกรรมที่มีผลเปนอันสูญเปลาเม่ือถูกบอกลาง (2) นิติกรรมที่มีผลเปนอันสูญเปลาเม่ือถูกใหสัตยาบัน (3) นิติกรรมที่มีผลสมบูรณตามกฎหมาย (4) นิติกรรมที่ทําไมถูกตองตามแบบพิธีที่กฎหมายกําหนด ตอบ 1 หนา 105,107 นิติกรรมที่เปนโมฆียะ เปนนิติกรรมที่เม่ือทําขึ้นมาแลวจะมีผลใชบังคับกันไดตาม

กฎหมาย จนกวาจะมีการบอกลางใหตกเปนโมฆะซ่ึงจะทําใหนิติกรรมนั้นเปนอันสูญเปลาหรืออาจมีการให

สัตยาบันเพ่ือใหนิติกรรมนั้นมีผลใชบังคับไดอยางสมบูรณ (สวนนิติกรรมที่เปนโมฆะ เปนนิติกรรมซ่ึงเม่ือไดทํา

ขึ้นมาแลวจะมีผลเสียเปลาใชบังคับกันไมไดเสมือนหนึ่งมิไดทํานิติกรรมนั้นขึ้นมาเลย และจะใหสัตยาบันก็ไมได) 95. สาเหตุที่ทําใหนิติกรรมเปนโมฆะ ไดแก (1) ไมเปนไปตามแบบที่กฎหมายกําหนด (2) เกิดจากการขมขู (3) เกิดจากการสําคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคล (4) ถูกทุกขอ ตอบ 1 หนา 106 เหตุที่ทําใหนิติกรรมตกเปนโมฆะ ไดแก 1. นิติกรรมที่มีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย เปนการพนวิสัย หรือเปนการขัดตอความสงบ

เรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน 2. นิติกรรมที่ทําขึ้นไมถูกตองตามแบบที่กฎหมายบังคับไว 3. นิติกรรมที่บกพรองเก่ียวกับการแสดงเจตนา เชน นิติกรรมที่เกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาลวงหรือเกิดจากการ

แสดงเจตนาโดยสําคัญผิดในส่ิงซ่ึงเปนสาระสําคัญแหงนิติกรรม เปนตน 96. ขอใดเปนนิติกรรมที่มีสมบูรณ (1) นายเอจางนายบีใหไปทํารายรางกายนายซี (2) นายเอกซ้ือแหวนเพชรปลอมโดยถูกหลอกวาเปนเพชรจริง (3) นายหนึ่งขับรถชนรถของนายสองจึงตองชดใชคาเสียหายแกนายสอง (4) นายตรีเกรงใจนายโทเพราะเปนญาติผูใหญจึงจําใจขายรถยนตของตนใหแกนายโท

Page 26: Q&A Intro Law1

26

ตอบ 4 หนา 107 การที่นายตรีไดขายรถยนตใหแกนายโทเพราะเกรงใจที่นายโทเปนญาติผูใหญนั้น ถือวาเปน

การทํานิติกรรมเพราะความนับถือยําเกรง ซ่ึงตามกฎหมายไมถือวาเปนการขมขูที่จะทําใหนิติกรรมเปนโมฆียะ

ดังนั้นนิติกรรมซ้ือขายระหวางนายตรีและนายโทจึงมีผลสมบูรณ 97. ขอใดทําใหสิทธิระงับ (1) ขาดตัวผูทรงสิทธิ (2) การชําระหนี้ตามกําหนด (3) การสูญส้ินวัตถุแหงสิทธิ (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 122-123 สิทธิอาจจะระงับไดดวยเหตุตอไปนี้ คือ 1. การขาดตัวผูทรงสิทธิ 2. การระงับแหงหนี้ เชน การชําระหนี้ การปลดหนี้ เปนตน 3. การส้ินวัตถุแหงสิทธิ 4. การระงับแหงสิทธิโดยบทบัญญัติแหงกฎหมาย 98. ขอใดมิใชนิติเหต ุ(1) การเกิด (2) การตาย (3) การให (4) การละเมิด ตอบ 3 หนา 115-117 นิติเหตุ หรือเหตุที่กอใหเกิดผลทางกฎหมาย โดยอาจจะเปนเหตุที่เกิดจากพฤติการณ

ตามธรรมชาติ เชน การเกิด การตาย หรืออาจจะเปนเหตุที่เกิดจากการกระทําของบุคคลโดยปราศจากเจตนามุงผล

ในทางกฎหมาย ไดแก การจัดการงานนอกคําส่ัง ลาภมิควรไดและละเมิด หรืออาจจะเปนเหตุที่ไดมาตาม ป.พ.พ.

ลักษณะทรัพยและทรัพยสิน เชน การไดกรรมสิทธ์ิโดยหลักสวนควบ เปนตน (การใหเปนนิติกรรม) 99. การกระทําที่เปนโมฆียะจะมีผล คือ (1) ใหสัตยาบันได (2) การกลาวอางไมกําหนดระยะเวลา (3) บอกลางไมได (4) ผูมีสวนไดเสียทุกคนกลาวอางได ตอบ 1 ดูคําอธิบายขอ 94.ประกอบ 100. นิติกรรมที่เปนโมฆะ หมายถึงนิติกรรมที ่(1) ตกเปนอันเสียเปลาใชบังคับไมไดเสมือนหนึ่งมิไดมีอะไรเกิดขึ้นเลย (2) ตกเปนอันเสียเปลาใชบังคับไมได แตอาจไดรับสัตยาบันใหกลับสมบูรณได (3) มีผลในกฎหมายผูกพันกัน แตอาจถูกกลาวอางได (4) มีผลในกฎหมายผูกพันกัน แตอาจถูกบอกลางได ตอบ 1 ดูคําอธิบายขอ 94.ประกอบ 101. การแสดงเจตนาทํานิติกรรม ทําไดโดย (1) เปนลายลักษณอักษร (2) โดยวาจา (3) โดยกิริยาอาการ

Page 27: Q&A Intro Law1

27

(4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 104 ในการแสดงเจตนาทํานิติกรรมนั้น อาจเปนการแสดงเจตนาโดยชัดแจง คือ กระทําดวยวาจา

หรือเปนลายลักษณอักษร หรือดวยกิริยาอาการอยางใดอยางหนึ่ง หรือเปนการแสดงเจตนาโดยปริยาย หรือในบาง

กรณีอาจเปนการแสดงเจตนาโดยการนิ่งก็ได 102. สิทธิ หมายถึง (1) การที่บุคคลทุกคนตองปฏิบัติตามที่กฎหมายกําหนด (2) หนาที่ที่ทุกคนตองปฏิบัติตาม (3) ประโยชนที่กฎหมายรับรองคุมครองให (4) ถูกทุกขอ ตอบ 3 หนา 97 สิทธิ คือ ประโยชนที่กฎหมายรับรองและคุมครองให แบงออกเปน 1. สิทธิในตัวบุคคล เชน สิทธิในรางกาย อนามัย ช่ือเสียง ความคิดเห็น 2. สิทธิในทรัพยสิน เชน ทรัพยสิทธิ สิทธิเรียกรองใหชําระหนี ้3. สิทธิในครอบครัว เชน สิทธิในการรับมรดก 4. สิทธิในทางการเมือง เชน สิทธิเลือกตั้ง 103. ขอใดมีลักษณะเปน กฎเกณฑ (Norm) ของรัฐที่ใชควบคุมความประพฤติของมนุษย (1) การรณรงคใหผูขับรถเม่ือเกิดอาการงวงไมควรขับรถ (2) การขอความรวมมือใหสถานบันเทิงงดจําหนายสุราทุกวันพระ (3) การวางแผนรายไดเพ่ือใหคํานวณอัตราการเสียภาษีนอย (4) การปรับสถานบันเทิงที่ฝาฝนไมยอมปดตามเวลาที่กําหนด ตอบ 4 หนา 15 กรณีที่จะถือวาเปนกฎเกณฑ (Norm) นั้นจะตองเปนขอบังคับที่เปนมาตรฐานที่ใชวัดและใช

กําหนดความประพฤติของสมาชิกของสังคมไดวาถูกหรือผิด ใหกระทําการไดหรือหามกระทําการ ซ่ึงหากผูใดฝา

ฝนไมยอมปฏิบัติตามกฎเกณฑที่กําหนดไวถือเปนส่ิงที่ผิดและจะถูกลงโทษ เชน ผูมีเงินไดตองเสียภาษีใหรัฐบาล

หรือหามเปดสถานบันเทิงเกินเวลาที่กําหนด เปนตน 104. ขอใดมิใชคุณสมบัติผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (2) ไมสังกัดพรรคการเมือง (3) จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (4) ถูกเฉพาะขอ 2 และ 3 ตอบ 4 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 101 ไดกําหนดคุณสมบัติของผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปน

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรไว เชน 1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด 2. มีอายุไมต่ํากวา 25 ปบริบูรณในวันเลือกตั้ง 3. เปนสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแตเพียงพรรคเดียว... แตไมไดกําหนดไววาผูนั้นจะตองจบ

การศึกษาระดับปริญญาตรีแตอยางใด 105. ขอใดมิใชคุณสมบัติผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกวุฒิสภา (1) มีสัญชาติไทย (2) สังกัดพรรคการเมือง

Page 28: Q&A Intro Law1

28

(3) จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป (4) อายุไมต่ํากวา 40 ปบริบูรณ ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 115 กําหนดคุณสมบัติของผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิก

วุฒิสภาไวดังนี้ 1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด 2. มีอายุไมต่ํากวา 40 ปบริบูรณ 3. สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา 4. ไมเปนสมาชิกหรือผูดํารงตําแหนงใดในพรรคการเมือง 5. ไมเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกสภาทองถ่ินหรือผูบริหารทองถ่ิน 6. ไมเปนบุพการี คูสมรส หรือบุตรของผูดํารงตําแหนงสมาชิกผูแทนราษฎร... 106. รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550 แกไขปรับปรุงใหมใหสภาผูแทนราษฎรมีจํานวนสมาชิกแบบแบงเขต

เลือกตั้งจํานวน (1) 350 คน (2) 375 คน (3) 400 คน (4) 450 คน ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 93 แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2554 กําหนดใหมีสมาชิก

ผูแทนราษฎรแบบแบงเขต 375 คน และแบบบัญชีรายช่ือ 125 คน รวมทั้งส้ิน 500 คน 107. ขอใดเปนหลักการสําคัญในการพิจารณาคดีปกครอง (1) ตองฟงความทุกฝาย (2) ใชระบบไตสวน (3) ศาลตองใหเหตุผลประกอบคําพิพากษาหรือคําส่ัง (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 52 ในการพิจารณาคดีปกครองนั้นมีหลักการสําคัญไดแก 1. การพิจารณาคดีตองเปดเผย 2. ตองฟงความทุกฝาย 3. ศาลตองใหเหตุผล

ประกอบคําพิพากษาหรือคําส่ัง 4. ไมเนนระบบกลาวหา แตเนนระบบไตสวน ซ่ึงเปนระบบที่ใหผูพิพากษามี

บทบาทในการแสวงหาความจริงแหงคด ี108. ขอใดมิใชสาระสําคัญของกฎหมายอาญา (1) ไมมีกฎหมาย ไมมีความผิด ไมมีโทษ (2) กฎหมายอาญายอนหลังลงโทษไมได (3) ตีความกฎหมายขยายความลงโทษได (4) ถูกทุกขอ ตอบ 3 หนา 54,90 สาระสําคัญทางกฎหมายอาญา ไดแก 1. ตองมีกฎหมายบัญญัติวาการกระทําใดเปน

ความผิด และกําหนดโทษสําหรับความผิดนั้นๆไวดวย 2. ตองเปนกฎหมายซ่ึงมีผลบังคับใชอยู

ในขณะซ่ึงเกิดการกระทํานั้น 3. ตองไมมีผลยอนหลังไปลงโทษหรือเพ่ิมโทษบุคคลใหหนักขึ้นเปนอันขาด แต

อาจยอนหลังเปนคุณแกผูกระทําผิดได 4. ตองตีความตามตัวอักษรโดยเครงครัด และจะตีความในทางขยายความใหเปนการลงโทษหรือเพ่ิมโทษ

ผูกระทําใหหนักขึ้นไมได

Page 29: Q&A Intro Law1

29

109. ขอใดเปนลักษณะของกฎหมายเอกชน (1) วิธีการตองอาศัยความสมัครใจ (2) วัตถุประสงคเพ่ือประโยชนสวนตน (3) เนื้อหาใชกับเอกชนเฉพาะราย (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 44-45 กฎหมายเอกชน เปนกฎหมายที่ใชกับนิติสัมพันธที่ตองอาศัยความสมัครใจของผูกอนิติ

สัมพันธทั้ง 2 ฝาย เนื่องจากยึดถือหลักความเสมอภาคและเทาเทียมกัน โดยเอกชนสามารถตกลงผูกพันกันเปน

อยางอ่ืนนอกเหนือกฎหมายเอกชนบัญญัติไวได แตตองไมขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของ

ประชาชน ทําใหกฎหมายเอกชนมีลักษณะเปนกฎเกณฑเฉพาะเรื่องที่สรางขึ้นเพ่ือใชกับบุคคลเฉพาะราย และมี

วัตถุประสงคเพ่ือประโยชนสวนตน 110. ผูเสียหาย หมายถึง (1) ผูที่ถูกฟองคดีอาญาตอศาลวากระทําความผิดฐานใดฐานหนึ่ง (2) ผูที่ศาลพิพากษาใหชดใชคาเสียหาย (3) ผูที่กระทําความผิด (4) ไมมีขอใดถูก ตอบ 4 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 2(4) “ผูเสียหาย” หมายความถึง บุคคลที่ไดรับความ

เสียหายเนื่องจากการกระทําผิดฐานใดฐานหนึ่ง รวมทั้งบุคคลอ่ืนที่มีอํานาจจัดการแทนไดดังบัญญัติไวในมาตรา

4,5 และ 6 111. ขอใดมิใชสาขายอยในกฎหมายมหาชน (1) รัฐธรรมนูญ (2) กฎหมายมรดก (3) กฎหมายครอบครัว (4) ถูกเฉพาะขอ 2 และ 3 ตอบ 4 หนา 44-47,50,53 กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่กําหนดความสัมพันธระหวางรัฐหรือหนวยงาน

ของรัฐกับราษฎร หรือระหวางหนวยงานของรัฐดวยกันเอง เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมาย

อาญา ฯลฯ สวนกฎหมายเอกชน เปนกฎหมายที่กําหนดสิทธิหนาที่ระหวางเอกชนในฐานะเทาเทียมกัน เชน

กฎหมายแพง กฎหมายพาณิชย กฎหมายแรงงาน เปนตน (กฎหมายมรดกและกฎหมายครอบครัวเปนกฎหมาย

แพง) 112. ขอใดคือลักษณะสําคัญของการกระจายอํานาจทางปกครอง (1) มีการแยกหนวยงานเปนองคกรนิติบุคคล (2) มีอิสระที่จะดําเนินการตามอํานาจหนาที ่(3) มีการเลือกตั้งผูบริหารของตนเอง (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 51 ลักษณะสําคัญของการกระจายอํานาจทางปกครอง คือ 1. มีการแยกหนวยงานออกไปเปนองคกรนิติบุคคลอิสระจากองคกรของราชการบริหารสวนกลาง 2. องคกร

ของราชการบริหารสวนทองถ่ินจะประกอบดวยผูบริหารหรือเจาหนาที่ซ่ึงไดรับเลือกตั้งจากราษฎรในทองถ่ิน

Page 30: Q&A Intro Law1

30

3. องคกรตามหลักการกระจายอํานาจทางปกครองมีอํานาจดวยตนเอง คือ มีความอิสระที่จะดําเนินกิจการตาม

อํานาจหนาที่ไดเองโดยไมตองรับคําส่ังหรืออยูใตบังคับจากราชการสวนกลาง มีงบประมาณและเจาหนาที่เปน

ของตนเอง 113. ผูสืบสันดานที่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม ไดแก (1) บุตรนอกกฎหมายที่บิดาใหใชนามสกุล (2) บุตรบุญธรรมไดจดทะเบียน (3) บุตรที่เกิดจากบิดาและมารดาที่ไดจดทะเบียนสมรส (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 หนา 173-174 ผูสืบสันดานที่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม ไดแก บุตร หลาน เหลน ล้ือ

ของเจามรดก ซ่ึงทายาทช้ันบุตรที่จะมีสิทธิรับมรดกนั้นหมายถึงบุคคล 3 ประเภท คือ 1. บุตรที่ชอบดวยกฎหมาย

คือ บุตรที่เกิดจากบิดามารดาที่จดทะเบียนสมรสกัน 2. บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองโดยพฤติการณ เชน ใหใชนามสกุล แจงเกิดในสูติบัตรวาเปนบิดา เปนตน 3. บุตรบุญธรรมที่ไดจดทะเบียนตามกฎหมายแลว 114. คนเสมือนไรความสามารถทําพินัยกรรมโดยไมไดรับความยินยอมจากผูพิทักษ เชนนี้ พินัยกรรมจะมีผล

ทางกฎหมายอยางไร (1) สมบูรณ (2) ตกเปนโมฆียะ (3) ตกเปนโมฆะ (4) จะสมบูรณหากไดรับอนุญาตจากศาลดวย ตอบ 1 หนา 177 คนเสมือนไรความสามารถทําพินัยกรรมไดสมบูรณโดยลําพังตนเอง เพราะพินัยกรรมที่คน

เสมือนไรความสามารถไดทําขึ้นนั้น ไมมีกฎหมายบัญญัติหาม หรือวางเงื่อนไขไวแตอยางใด 115. คดีอุทลุม คือ คดีลักษณะใด (1) คดีที่หามมิใหหลานฟองลุงเปนคดีอาญา (2) คดีที่หามมิใหคูสมรสฟองกันเปนคดีอาญา (3) คดีที่หามมิใหหลานฟองรองยายเปนคดีแพง (4) คดีที่หามมิใหหลานฟองรองอาเปนคดีแพง ตอบ 3 หนา 168 ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1562 ผูใดจะฟองบุพการีของตนเปนคดีแพง

หรือคดีอาญามิได หากฟองจะถือวาเปนคดีอุทลุม ซ่ึงบุพการีของตนก็คือ บิดา มารดา ปู ยา ตา ยาย ทวด นั่นเอง

(อา ลุง และคูสมรสไมใชบุพการี) 116. เหตุใดประเทศไทยจึงจําตองพัฒนาระบบกฎหมายในสมัยรัชกาลที่ 5 (1) มีการกบฏบวรเดช (2) มีการเปล่ียนแปลงระบอบการปกครอง (3) ชาวตางชาติขอสงวนสิทธิสภาพนอกอาณาเขต (4) ถูกทุกขอ ตอบ 3 หนา 224 ในสมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศตะวันตกไมพอใจกฎหมายไทย และเริ่มใชอิทธิพลกอตั้งสิทธิ

สภาพนอกอาณาเขต โดยตั้งศาลของตนเองขึ้นในประเทศไทย ทําใหประเทศไทยตองพยายามหาทางแก ซ่ึงมีอยู

Page 31: Q&A Intro Law1

31

ทางเดียว คือ ตองปรับปรุงระบบกฎหมายและการศาลไทยใหอยูในระดับที่ตางประเทศยอมรับ ในสมัยรัชกาลที่ 5

จึงไดจัดใหมีการปรับปรุงกฎหมายหรือปฏิรูปกฎหมายและการศาลไทยขึ้นจนประสบความสําเร็จ 117. นายดําและนางแดงรวมกันดําเนินกิจการรานเสริมสวยตั้งแตกอนจดทะเบียนสมรส โดยนายดําลงทุน

100,000 บาท และนางแดงลงทุน 200,000 บาท ตั้งแตกอนจดทะเบียนสมรสและเม่ือจดทะเบียนสมรสก็ยังคง

รวมกันลงทุนตลอดมา เชนนี้กิจการรานเสริมสวยถือวาเปนทรัพยลักษณะใด (1) สินสวนตัว (2) สินสมรส (3) สินบริคณห (4) สินน้ําใจ ตอบ 1 หนา 162 สินสวนตัว ไดแก 1. ทรัพยสินที่ฝายใดฝายหนึ่งมีอยูกอนสมรส กลาวคือ ทรัพยสินทุกชนิดที่ชายหญิงมีอยูหรือไดมากอนวันจด

ทะเบียนสมรส 2. ทรัพยสินที่เปนเครื่องมือใชสอยสวนตัว เครื่องแตงกาย หรือเครื่องประดับกายตามควรแกฐานะหรือเครื่องมือ

เครื่องใชจําเปนในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพของคูสมรสฝายใดฝายหนึ่ง 3. ทรัพยสินที่ฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยการรับมรดก หรือโดยการใหโดยเสนหา(กิจการรานเสริม

สวยดําเนินมาตั้งแตกอนจดทะเบียนสมรสจึงเปนสินสวนตัวของทั้งนายดําและนางแดงตามสัดสวนของเงินลงทุน) 118. กรณีใดตอไปนี้ที่คูสมรสไมตองจัดการรวมกัน (1) การขายอสังหาริมทรัพย (2) ใหกูยืมเงิน (3) การทําพินัยกรรม (4) ขายฝาก ตอบ 3 หนา 163 นิติกรรมบางประเภทที่เก่ียวกับสินสมรสนั้นกฎหมายกําหนดใหคูสมรสจะตองจัดการ

รวมกันไดหรือไดรับความยินยอมจากอีกฝายหนึ่งกอน ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1476 เชน การขายฝากหรือขายฝาก

อสังหาริมทรัพย การใหกูยืมเงิน เปนตน สวนนิติกรรมอ่ืนนอกเหนือจากที่ ป.พ.พ. มาตรา 1476 กําหนดไว คู

สมรสก็ไมจําเปนตองจัดการรวมกันหรือตองไดรับความยินยอมจากอีกฝายหนึ่งกอนแตอยางใด เชน การทํา

พินัยกรรม การโอนสิทธิการเชา เปนตน 119. นายเหลืองจดทะเบียนสมรสกับนางศรี โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหนางศรีมีสิทธิไดรับบําเหน็จตกทอดโดย

ไมไดอยูกินกัน เชนนี้การสมรสนั้นจะมีผลทางกฎหมายอยางใด (1) โมฆะ (2) โมฆียะ (3) สมบูรณ (4) ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของศาล ตอบ 1 หนา 159 การจดทะเบียนสมรสกันหลอกๆ โดยไมมีเจตนาที่จะอยูกินกันฉันสามีภริยา เชน จะ

ทะเบียนเพ่ือใหคูสมรสมีสิทธิไดรับบําเหน็จตกทอด หรือจดทะเบียนเพ่ือใหสัญชาติยอมถือวาเปนการสมรสโดย

ปราศจากความยินยอมของคูสมรส การสมรสนั้นยอมมีผลเปนโมฆะ (ดูคําอธิบายขอ 65.ประกอบ)

Page 32: Q&A Intro Law1

32

120. นางแดงจดทะเบียนสมรสกับนายหนึ่ง ตอมาไดจดทะเบียนสมรสกับนายสอง ตอมานางแดงตั้งครรภและ

คลอดบุตร คือ ด.ญ.พลอย เชนนี้ ด.ญ.พลอยเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายของบุคคลใด (1) นางแดงและนายหนึ่ง (2) นางแดง (3) นางแดงและนายสอง (4) นางแดง นายสอง และนายหนึ่ง ตอบ 3 (คําบรรยาย) บุตรยอมเปนบุตรที่ชอบธรรมของมารดาเสมอ และในกรณีที่ชายหรือหญิงสมรสฝาฝน

ป.พ.พ. มาตรา 1452 (สมรสซอน) เด็กที่เกิดมากฎหมายใหสันนิษฐานไวกอนวาเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมาย

ของชายผูเปนสามีซ่ึงไดจดทะเบียนครั้งหลัง (ป.พ.พ. มาตรา 1538)

MY LECTURE ...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................... เอ็มเจ ชีทราม คลังดาวโหลดเฉลยขอสอบ มหาวิทยาลัยรามคําแหง http://www.mjsheetramfree.com