75
ข้อเสนอ แผนงานสร้างเสริมการเรียนรู้กับสถาบันอุดมศึกษาไทย เพื่อการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.) Thai Universities for Healthy Public Policy (TUHPP) นาเสนอโดย ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด และคณะ 8 พ.ย. 53

Proposal54 mk 8_nov10(final)

Embed Size (px)

Citation preview

ข้อเสนอแผนงานสร้างเสริมการเรียนรู้กับสถาบันอุดมศึกษาไทย

เพื่อการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.) Thai Universities for Healthy Public Policy (TUHPP)

น าเสนอโดยศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด และคณะ

8 พ.ย. 53

2

ประเด็นการน าเสนอ

1. ความส าคัญและที่มา2. วิสัยทัศนแ์ละยุทธศาสตร์3. ความสัมฤทธิ์ผลในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา4. ข้อเสนอแผนงานใน 3 ปี พ.ศ. 2554-2556

1. ความส าคัญและที่มา

4

ความส าคัญ

ถ้าประเทศจะหลุดจากวิกฤตการณ์ปัจจุบันไปได้

อุดมศึกษาไทยจะต้องปฏิวัติตัวเอง

มาเป็นหัวรถจักรทางปัญญา

ที่ดึงสังคมไทยออกจากความมืด

วิถีทางหนึง่คือ สรา้งความสามารถ

ในการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี ให้ได้โดยรวดเรว็

ศ.นพ.ประเวศ วะสี

5

ความต้องการการพัฒนานโยบายสาธารณะของประเทศไทย

• ปฏิรูปประเทศไทย• การก าหนดให้กระบวนการมสี่วนร่วมของประชาชนเป็นส่วน

หนึ่งของการบริหารกิจการบา้นเมืองที่ดี• พรรคการเมืองกับการใช้นโยบายสาธารณะในการหาเสียง• ภาคีนโยบายกบัการจัดท าข้อเสนอนโยบายต่อรัฐบาล• การมีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดีระดับ

ท้องถิ่น• ภาคี สสส. กับความต้องการในการพัฒนาทักษะด้านนโยบาย

สาธารณะ

ก าเนิดแผนงานนสธ.

โดยการสนับสนุนจาก สสส. เริ่มก่อตั้งเมื่อ พฤศจิกายน 2551สังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ภายใต้สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ

2

วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย หลักการ และ วิสัยทัศน์

2.1 วัตถุประสงค์ (purpose)

1. สนับสนุนให้เกิดกลุ่มศึกษานโยบายสาธารณะในสถาบันอุดมศึกษา

2. สนับสนุนให้เครือข่ายชุมชนสามารถเข้าถึงเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา

3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเวทีนโยบายสาธารณะ 4. รวบรวมและสังเคราะห์องค์ความรู้ให้สามารถ

ถ่ายทอดประสบการณ์ และแนวทางปฏิบัติที่ดี

2.2 กลุ่มเป้าหมาย

• สถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันวิชาการ หรือสถาบันวิจัยที่จดทะเบียนเป็นมูลนิธิทีม่ีความพร้อม

• บุคลากรเป้าหมาย คือ คณาจารย์และนักศึกษาในสถาบันการศึกษาระดับต่างๆ องค์กรเอกชน บุคคลที่สนใจ รวมทั้งผู้ก าหนดนโยบายระดับชาติ ผู้บริหารในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

10

2.3 หลักการและแนวคิดการพัฒนานโยบายสาธารณะ

เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะของสังคม

11

“จะต้องประกอบด้วย กระบวนการทางปัญญา กระบวนการทางศีลธรรม และกระบวนการทางสังคม และการสร้างสังคมก็เปรียบเสมือนการสร้างเจดีย์ ต้องสร้างจากฐานรากให้เข้มแข็ง”

(ศ.นพ.ประเวศ วะสี)

หลักการในการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี

12

แนวคิดนโยบายสาธารณะที่ดีต้องมี P4

Participatory Public Policy Processes

13

สรา้งความรู้

สาธารณะสื่อมวลชน

กฎหมายการเมือง

ชุมชนพ้ืนที่ประเด็น

= จัดการความรู้ เรื่องที่มผีลต่อคนจ านวนมาก

แบบจ าลองสามเหล่ียมเขยือ้นภูเขากับการจัดการความรู้เพ่ือพัฒนานโยบายสาธารณะ

วิจารณ์ พานิช (2548)

ชุมชนประเด็นพื้นที่

2.4 กรอบแนวคิดการด าเนินงานร่วมกับสถาบันอุดมศึกษา

15

ให้ความส าคัญกับการพัฒนาระบบการท างานร่วมกัน ภาคีเครือข่ายเป็นรถพ่วง ซึ่งบางครั้งมหาวิทยาลัยที่เคยเป็นหัวรถจักรในประเด็นหนึ่งก็อาจไปเป็นรถพ่วงในอีกรางหนึ่งก็ได้

ท าหน้าที่จัดให้ขบวนต่างๆมาเทียบท่าอย่างเป็นระบบ และถึงที่หมายอย่างถูกต้อง

มหาวิทยาลัยเปรียบเป็นหัวรถจักร

ทีมงานส่วนกลางเปรียบเหมือนนายสถานี

16

ประสานระหว่างภาคีอุดมศึกษา ภาคีประชาชน และภาคียุทธศาสตร์ ในลักษณะของการเป็นหุ้นส่วน เพื่อการเสริมสร้างศักยภาพและพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี และเพื่อใช้ทรัพยากรบุคคลและเงินทุนให้เกิดประโยชน์สูงสุด

แนวคิดของการท างานร่วมกับภาคีเครือข่าย

17

กลุ่มเป้าหมายมีศกัยภาพในการเชื่อมประสานเป็นเครือข่าย

เพื่อการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี ที่ตอบสนองสุขภาวะสังคมในทุกระดับ

2.5 วิสัยทัศน์

2.6 ขอบเขตการด าเนินงานจะเน้นหนักในประเด็นนโยบายสาธารณะเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี

(Healthy Public Policy) หรือนโยบายสาธารณะอื่นๆ ที่ต้องค านึงถึงสุขภาวะ แต่ไม่เน้นนโยบายสุขภาพ (Health Policy) โดยตรง

สิ่งแวดล้อมยัง่ยืน

สังคมปลอดภยัและมีสุข

เศรษฐกิจม่ันคง

ขอบเขตการศึกษา/ขับเคลื่อน

1. พัฒนานโยบายและศักยภาพภาคีเครือข่าย

3. เพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารนโยบายสาธารณะ

2. สนับสนุนการออกแบบขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดีส าหรับท้องถิ่น

ยุทธศาสตร์แผนงาน นสธ.

21

ก าหนดกรอบยุทธศาสตร์ในการพัฒนานโยบายสาธารณะ โดยแบ่งการด าเนินงานออกเป็น 2 ระดับ

1.นโยบายสาธารณะระดับชาติ2.นโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่น

แผนงาน นสธ.

ฝ่ายสนับสนุน ฝ่ายวิชาการนโยบายสาธารณะ

ฝ่ายกลยุทธ์นโยบายสาธารณะ

- งานธุรการ- งานพัสดุ- งานการเงิน/บัญชี- งานงบประมาณ- งานแผนงาน- งานประสานการพัฒนา นโยบายสาธารณะฯลฯ

- การพัฒนาข้อเสนอ โครงการ- งานสนบัสนนุการวิจัย นโยบายสาธารณะ- งานสรุปรวบรวมผลงาน วิชาการ- งานพัฒนาศักยภาพของ นักวิจัยนโยบายสาธารณะ- ฯลฯ

- วางแผนและสนบัสนนุ การขับเคลื่อน- จัดท าสื่อเพื่อการสื่อสาร นโยบายสาธารณะ- งานพัฒนาและสร้างการ เรียนรู้กับสื่อในประเด็น นโยบายสาธารณะ- งานจัดท าสื่อเพื่อการ เรียนการสอน- ฯลฯ

การบริหารทีมงานของแผนงาน นสธ

23

ความสัมฤทธิ์ผลในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา

3.

สรุปตัวชี้วัดผลการด าเนินการในภาพรวม

รายการ ปีที่ 1 ปีที่ 2 รวม

จ านวนโครงการวิจัย 46 71 117

ภาคีอุดมศึกษา 18 22 40

อาจารย์และนักวิจัย 119 184 303

หน่วยงานราชการส่วนกลาง

15 24 39

หน่วยงานส่วนท้องถิ่น 24 98 122

องค์กรอิสระและเครือข่าย 9 12 21

กระบวนการด าเนินงานของ แผนงานนสธ.

การหาโจทย์วิจัยและพัฒนาข้อเสนอโครงการ

การด าเนินการวิจัยเพื่อออกแบบนโยบายสาธารณะ

การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ

ขั้นต้นน้ า ขั้นกลางน้ า ขั้นปลายน้ า

• focus group

• public policy knowledge management

•expert group /stakeholder meeting

• review literatures

• policy gap analysis

•etc.

• expert group /stakeholder meeting

• capacity building

• networking

• academic forum

• public policy discussion

• etc.

Ou

tpu

t (ผลผ

ลิต)

Pro

cess

(แผน

งานน

สธ)

Stag

e (นักว

ิจัย)

• public policy forum

• policy brief/policy poll

• Q&A/documents

• meet the presses

• public policy lobbying

• Multimedia/mass media

• etc.

การจัดการงานวิจัยนโยบายสาธารณะ (นสธ.) ข้อเสนอโครงการ

ทบทวนข้อเสนอโครงการ

ท าสัญญา

ปรับแก้ไขเพิ่มเติม

ด าเนินงานโครงการ

วิเคราะห์ช่องว่างนโยบาย

ทบทวนร่างรายงาน (2-4 ครั้ง)

รายงานฉบับสมบูรณ์

สรุปย่อข้อเสนอนโยบายสาธารณะเพือ่การสื่อสาร

ผ่าน

ไม่ผ่านไม่ผ่าน

LMS

27

พัฒนานโยบายและศักยภาพภาคีเครือข่าย

ผลสัมฤทธิ์ ยุทธศาสตร์ที่ 1

โครงการเด่น

ร่าง พ.ร.บ มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม (ผ่านมติครม. 12 ต.ค.53)

ร่าง พ.ร.ฏ. ภาษีมลพิษทางน้ า

และมลพิษทางอากาศ

โครงการเด่นระดบัของงานนโยบาย

สาธารณะสัญลักษณ์ โครงการเด่น

พัฒนาโจทย์วจิัย • นโยบายสาธารณะเพื่อแก้ไขปัญหามาบตาพุดอยา่งมีส่วนร่วม

ด าเนินการวิจัย • นโยบายการกระจายอุตสาหกรรมไปสู่ภมูิภาค• นโยบายส่งเสรมิการลงทุนของไทย• การเปลี่ยนแปลงชนบทไทย

ได้องค์ความรู้เพื่อพฒันานโยบาย

• ข้อเสนอระบบเฝ้าระวังการน าเข้าอาหาร และระบบการเฝ้าระวังอาหารอย่างมีส่วนรว่ม

• ยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนาเกษตรอย่างยั่งยืนภายใต้ภาวะโลกร้อน

• ก าหนดยุทธศาสตรใ์นการจัดการปัญหาการเผาในที่โล่ง จ.เชียงใหม่• ชุดข้อมูลความรู้การเปลี่ยนแปลงของชวีิตคนไทยในรอบ 20 ปี

ข้อเสนอนโยบายสาธารณะ

• ก าหนดยุทธศาสตรก์ารจัดการปัญหาการเผาในที่โล่งและมลพิษอากาศ

หน่วยงานรับไปด าเนินการ

• ร่าง พ.ร.ฎ. ภาษมีลพษิทางน้ า และ ร่าง พ.ร.ฎ. ภาษมีลพษิทางอากาศ• ร่าง พ.ร.บ มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม (ผ่านมติครม. 12 ต.ค.53)

เวทีปฏิรูปประเทศไทยช าแหละภาษีสิ่งแวดล้อม ตอบโจทย์จริงหรือ

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2553 ณ สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย

ที่ ผลผลิต หน่วย

ตัวชี้วัดร้อยละของความส าเร็จเป้า ผล

1. อาจารย์ นักวิชาการ ที่เข้าร่วมโครงการ (เพ่ิมขึ้นร้อยละ 20 ต่อปี)

คน 213ฐาน 178

299 140

2. อาจารย์ นักวิชาการ ที่ได้รับทุน (เพ่ิมขึ้นร้อยละ 20 ต่อปี)

คน 55ฐาน 46

71 129

3. อาจารย/์นักวิชาการที่เป็นเครือข่ายเพ่ิมขึ้น (เพ่ิมขึ้นร้อยละ 20 ต่อปี)

คน 588ฐาน 490

997 169

4. จ านวนข้อเสนอเชิงนโยบายที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนาเพิ่มขึ้น

ข้อเสนอนโยบาย

1 2 200

ตัวชี้วัดผลผลิต (ข้อมูล 30 กันยายน 2553) ของยุทธศาสตร์ที่ 1

การสร้างนักวิชาการ Champion ด้านนโยบายสาธารณะ

• เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม

• สังคม

• สิ่งแวดล้อม และอาหาร

• ท้องถิ่น

Champion นักวิชาการนโยบายสาธารณะด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม

Champion ด้านสังคม (ชนบท สงัคมสูงวัย การศึกษา)

Champion ด้านสิ่งแวดล้อม

Champion ด้านอาหาร และเกษตร

โครงการสร้างศักยภาพและเครือข่ายนักนโยบายสาธารณะ

(Young Leaders in Public Policy Research)

- Foresight & Scenario Planning- Public Policy Process- Stakeholders Analysis & Lobby- Public Policy Discussion- Etc.

Case Writing and Teaching on Public Policies

วันที่ 2-3 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมอิมพีเรียล แม่ปิง จังหวัดเชียงใหม่

1. การพัฒนาศักยภาพด้านการสอนนโยบายสาธารณะ

ในสถาบันอุดมศึกษาไทย

LKYPPI

2. เวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อเสริมทักษะนักวิจัยในการวิเคราะห์นโยบายและกระบวนการทางสังคม

เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะในสังคมสูงวัย

40

ผลสัมฤทธิ์ยุทธศาสตร์ที่ 2

สนับสนุนการออกแบบ

ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ

ที่ดีส าหรับท้องถิ่น

ที่ ผลผลิต หน่วยตัวชี้วัด ร้อยละของ

ความส าเร็จเป้า ผล

1. อาจารย์ และนักวิชาการที่เข้าร่วมโครงการและได้รับความร่วมมือจาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 ต่อปี)

คน 5 18 360

2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีคู่คิด (เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 ต่อป)ี

แห่ง 5 18 360

ตัวชี้วัดผลผลิต (ข้อมูล 30 กันยายน 2553) ของยุทธศาสตร์ที่ 2

Champion นักวิชาการนโยบายสาธารณะระดับพื้นที่

นักวิจัยในโครงการคู่คิด มิตรแท้ อปท. รุ่น 2

ผศ.ดร.นัยนา หนูนิลได้รับรางวัลชนะเลิศในการน าเสนอผลงานวิจัยด้านการสร้างเสริมสุขภาพ

เรื่องกระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนในชุมชนจังหวัดนครศรีธรรมราช

44

ผลสัมฤทธิ์ยุทธศาสตร์ที่ 3

เพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารนโยบาย

สาธารณะ

* 1.ตะวันออก-ตะวันตก 2.นโยบายความสุข 3.หมอกควันและมลพิษทางอากาศในจงัหวัดเชียงใหม่ 4.นโยบายสาธารณะเพื่อรองรบัการเปล่ียนแปลงสภาพภมูิอากาศ5. Q&A ภาษีสิง่แวดล้อม แนวคิด หลักการ และกฎหมาย 6. นโยบายการคลังสาธารณะ 7. โลกาภิวัตน์ ท้องถิ่นภิวัตน์ นโยบายภิวัตน์ 8. เปล่ียนกระบวนทัศน์ของอุดมศึกษา

** ข้อมูลประเมินความพงึพอใจของผู้เข้าร่วมประชมุเวทีนโยบายสาธารณะร่วมกับภาคี

ตัวชี้วัดผลผลิต (ข้อมูล 30 กันยายน 2553) ของยุทธศาสตร์ที่ 3

ที่ ผลผลิต หน่วยตัวชี้วัด

เป้า ผลร้อยละของความส าเร็จ

1. ผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์เพ่ิมขึ้น 50% ต่อปี

ครั้ง 6,507ฐาน 4,338

18,799 288

2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีสาธารณะเพ่ิมขึ้น 20% ต่อปี

คน 1,672ฐาน 1,394

1,450 86

3. เอกสารเพ่ิมขึ้น 100% ต่อปี เร่ือง 10(ฐาน) 5

8 80

4. ความพึงพอใจของภาคี ร้อยละ ไม่ต่ ากว่า 80 92.5** 115

เวทีขับเคลื่อนนโยบาย : อาหารปลอดภัย และนโยบายนมโรงเรียน

มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ - เพื่อรายงานสถานการณ์อาหารและสร้างความตระหนักในระบบการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารที่ผลิตภายในประเทศและน า เ ข้ า จ ากต่ า งประ เทศให้ เ กิ ดประสิทธิผล - เพื่อขับเคลื่อนและสนับสนุนกลไกการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารอย่ างมีส่วนร่วม ให้สามารถดูแลคุ้มครองสุขภาพของประชาชนทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่นอย่างแท้จริง

เวทีรับฟังความคิดเห็นจากส่วนราชการต่อ (ร่าง) พระราชกฤษฎีกาก าหนดหลักเกณฑ์

วิธีการ เงื่อนไข และอัตราการจัดเก็บภาษีการปล่อยมลพิษทางอากาศ

จากค่าซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน และฝุ่นละอองรวม พ.ศ. ...

เวทีขับเคลื่อนนโยบาย: ภาษีสิ่งแวดล้อม

เวทีขับเคลื่อนนโยบาย : HIA มาบตาพุด

การเสริมสร้างสุขภาวะของชุมชนตามกลไกการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA)

การจัดประชุมครั้งน้ีเพื่อผลักดันหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการท า EIA และ HIA ไปสู่การเผยแพร่ความรู้ให้กับประชาชนได้รับทราบข้อมูลในการจัดท ารายงานฯของบริษัท

ที่ปรึกษา รวมถึงการเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจในการเข้าร่วมกระบวนการ Public Scoping และ Public Review

จดหมายขา่ว (newsletter) จ านวน 3 ฉบบั ประจ าเดือนธันวาคม 2552 เดือนกุมภาพันธ์ และเดือนเมษายน 2553

เผยแพร่ผลงานต่อสื่อ :- หนังสือพิมพ์ อาทิ กรงุเทพธุรกิจ คมชัด ประชาชาติธุรกิจ ลึก มติชน ไทยรัฐ เดลินิวส์ สยามรัฐ ข่าวสด ฯลฯ- โทรทัศน์ อาทิ ทีวีไทย ส านักขา่วไทย ช่องเจ็ด เนชั่น สทท. ฯลฯ- วิทยุ และผู้สนใจทั่วไป

เวทีนโยบายสาธารณะ : จับตานโยบายรัฐบาล (POLICY WATCH)

กลุ่ม Policy Watch ด าเนินกิจกรรม จบัตานโยบายรฐับาลแถลงข่าวผ่านสื่อ ครั้งที่ 6-10 รวมจ านวน 5 ครั้ง ได้แก่1.“การประมูล 3 G: ใครได้ใครเสีย” (9 พ.ย. 2552)2.“โครงการสินเชื่อเพ่ือปลดหนี้นอกระบบ” (12 ธ.ค.2552)3. “ไทยควรท าอะไรหลงั Copenhagen Climate Change Talks” (11 ม.ค. 2553)4. “1 ปีรัฐบาล กา้วไมพ่้นประชานิยม ไปไม่ถงึรัฐสวัสดิการ” (15 ก.พ. 2553)5. “บทเรียนการด าเนนินโยบายภายใต้เศรษฐกิจสังคมทวิลักษณ์” (8 เม.ย. 2553)6. เดือนพฤษภาคม งดเว้นเนื่องจากสถานการณ์เมือง

เวทีขับเคลื่อนนโยบาย : หมอกควันเชียงใหม่

ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ พื่ อ

น าเสนอองค์ความรู้ของ

การจั ดการและแก้ ไข

ปั ญ ห า หม อ ก ค วั น ใ น

จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อการ

ขั บ เ ค ลื่ อ น เ พื่ อ แ ก้ ไ ข

ปัญหาหมอกควัน”

เวทีวิชาการนโยบาย

การประชุมหารือแนวทางการผลักดัน

นโยบายสาธารณะเพื่อควบคุมการ

ก่อสร้างอาคารสูงในเขตเทศบาลต าบล

ช้างเผือก อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

เวทีผังเมอืง

เวทีโลกร้อน

การประชุมเพื่อระดมสมองระดับ

ผู้เชี่ยวชาญ ในหัวข้อยุทธศาสตร์การ

วิจัยเกษตรเพื่อรองรับโลกร้อน”

เวทีวิชาการนโยบาย: พัฒนาร่างกฎหมายวิธีพิจารณาคดี

สิ่งแวดล้อมของไทยเปรียบเทียบกับแนวทางปฏิบัติของศาล

สิ่งแวดล้อมออสเตรเลีย

จดหมายข่าว POLICY WATCH

สื่อสิ่งพิมพข์องแผนงาน นสธ.

จุดแข็งของแผนงาน นสธ.

• งานเสร็จตามเป้าหมายทุกโครงการ

• โซ่ข้อกลาง

• บริการวิชาการแก่นักวิจัย

• เอื้อต่อการผลิตนวัตกรรมการจัดการการวิจัยนโยบาย

- การฝึกอบรมประเมนินโยบายสาธารณะ

- โครงการฝึกอบรมเพือ่เสริมสร้างศักยภาพ นักวิจัยนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมรุน่ใหม่

บทเรียน

• ขาดการรวมกลุ่มภาคีวิชาการที่มีความเข้าใจ+ศักยภาพ

• ขาดการประสานภาคี

• ขาดฐานข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ/อปท.

• รอบระยะเวลาของการบริหารโครงการ

57

ข้อเสนอแผนงานใน 3 ปี พ.ศ. 2554-25564.

• มหาวิทยาลัยกับการปฏิรูปประเทศไทย• ริเริ่มการวิจัยระดับพื้นที่ (area-based)• นโยบายสาธารณะเพื่อปฏิรูปการศึกษา• เน้นกระบวนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ

4.1 การด าเนินโครงการต่อเนื่อง (40%) และโครงการใหม่ (60%)

การปฏิรูปการศึกษา

แผนการด าเนินงานในระยะต่อไป

(การจัดการความรู้เพื่อเตรียมการส าหรับอนาคต)

มาบตาพุด

• นโยบายสาธารณะเพื่อการปรับตัวในอุตสาหกรรม• นโยบายส่งเสริมการลงทุน• นโยบายการเจริญเติบโตของประเทศไทย

ยุทธศาสตร์ 1: พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของภาคีเครือข่าย

1. กลุ่มเศรษฐกิจ

• ชุดโครงการนโยบายด้านการเปลี่ยนแปลง สังคมการเมืองเศรษฐกิจ

2. กลุ่มสังคม

การเปลี่ยนแปลงสังคมชนบทไทย

ใคร ท าไมเป็น “เสื้อแดง”

การปฏิรูปและเข้าถึงกระบวนการออกกฎหมายโดยฝ่ายนิติบัญญัติ

3. กลุ่มสิ่งแวดล้อมและอาหาร

ชุดโครงการหมอกควัน โซ่ข้อกลาง รัฐ ท้องถิ่น อุดมศึกษา เติมเต็มช่องว่างความรู้ในระดับจังหวัด

ชุดโครงการนโยบายมาตรการทางการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม ชุดโครงการนี้เป็นการด าเนินงานต่อเนื่อง มีเป้าหมายเพื่อศึกษาหา

ข้อมูลประกอบการร่าง พ.ร.ฎ.

ชุดโครงการนโยบายวธิีพิจารณาคดีสิ่งแวดลอ้ม

ชุดโครงการนี้มีเป้าหมาย เพื่อศึกษาและแก้ไขข้อจ ากัดของกระบวนการยุติธรรมด้านสิ่งแวดล้อม

ชุดโครงการนโยบายเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายหาด

ขับเคลื่อนกระบวนการก าหนดนโยบายสาธารณะและการประเมินผลกระทบของนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนของภาครัฐเพื่อการป้องกันการกัดเซาะ

ชุดโครงการนโยบายด้านอาหารปลอดภัย

• ยกระดับโครงการระดับภูมิภาค เป็นระดับชาติ

• ส่วนที่สอง เป็นการขับเคลื่อนกลไกเฝ้าระวังอาหาร ปลอดภัยของเครือข่ายอาสาสมัคร อปท. โดยเริ่มที่ กทม.

4 พัฒนาสื่อการเรียนการสอนนโยบายสาธารณะที่ดี

และ E-learning for Public Policy Studies

โดยน าเนื้อหาจากการจัดฝึกอบรมและการสัมมนามาจัดท าเป็นสื่อ electronic และน ามาเผยแพร่ทางเว็บไซต์ เพื่อให้นักศึกษาและผู้สนใจเข้าถึงได้ง่าย

ยุทธศาสตร์ที่ 2 สนับสนุนการออกแบบและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดีส าหรับท้องถิ่น

1. Area-based (Strategic Environmental Assessment : SEA)

2. สนับสนุนนักวิจัยให้ท างานร่วมกับท้องถิ่น3. ส่งเสริมและผลักดันข้อบัญญัติท้องถิ่น

พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการเพื่อการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นทีม่าบตาพุด

วันจันทร์ที่ 6 กันยายน 2553ณ โรงแรมปทุมวันปริ๊นเซส กรุงเทพมหานคร

ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารสาธารณะของสถาบันฯ เครือขา่ย เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงความรู้นโยบายสาธารณะไปสู่ภาคีเครือข่ายต่างๆ ในสังคม

ร่วมกระบวนการปฏิรูปประเทศไทย สื่อสารนโยบายสาธารณะ และขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ

4.2 ตัวชี้วัดผลส าเร็จ

แผนปฏิบัตกิาร ตัวชี้วัดและผลผลิต ยทุธศาสตร์ที่ 1

กิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด

ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของภาคีเครือข่าย

1.1 สนับสนุนและสร้างแรงจูงใจให้ภาคีเครือข่ายมีความสนใจจัดการองค์ความรู้ และการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดี โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่

จ านวนชุดความรู้ไม่ต่ ากว่า 8 เรื่องต่อปี

จ านวนชุดความรู้เพิ่มขึ้น 20% ทุกปี

1.2 ส่งเสริมวิจัยนโยบายสาธารณะอย่างมีส่วนร่วม

อาจารย์ นักวิชาการ ที่ได้รับทุน 30 คน/ปี

อาจารย์ นักวิชาการ ที่ได้รับทุนเพิ่มขึ้น 20% ต่อปี (ฐาน 184 คน)

นักวิจัยที่ติดต่อเพิ่มขึ้น นักวิจัยที่ติดต่อเพิ่มขึ้น 20% ต่อปี (ฐาน 299 คน)

จ านวนภาคีสถาบันอุดมศึกษา ภาคีสถาบันเพิ่มขึ้น 10% (ฐาน 22 สถาบัน)

จ านวนข้อเสนอนโยบายไม่ต่ ากว่า 5 ประเด็นต่อปี

จ านวนข้อเสนอที่มีการรับไปขับเคลื่อน เพิ่มขึ้น 10% ต่อปี

แผนปฏิบัตกิาร ตัวชี้วัดและผลผลิต ยทุธศาสตร์ที่ 1 (ต่อ)

กิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของภาคีเครือข่าย

1.3 พัฒนาศักยภาพนักวิจัยและภาคีเครือข่าย

นักวิจัยที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 10 คน/ปี

ความพึงพอใจของนักวิจัยที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ไม่ต่ ากว่า 80%

เกิด e-learning ด้านนโยบายสาธารณะ

ผู้เข้าชมเว็บไซต์มีความพึงพอใจไม่ต่ ากว่า 80% ต่อปี

ชุดความรู้นโยบายที่สามารถพัฒนาให้เข้าเป็นหลักสูตร 5 เรื่อง/ปี

ชุดความรู้นโยบายที่สามารถพัฒนาให้เข้าเป็นหลักสูตร เพิ่มขึ้นปีละ 10%

กิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 2 สนับสนุนการออกแบบและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดีส าหรับท้องถิ่น

2.1ร่วมกับภาคีสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาข้อบัญญัติและระเบียบปฏิบัติในระดับท้องถิ่น ตลอดจนแนวทางพัฒนาในด้านต่างๆ ให้เอื้อต่อการเสริมสร้างสุขภาวะในชุมชน

2 .2 วิจั ยนโยบายสาธารณะในท้องถิ่น ตลอดจนแสวงหาและถอดบทเรียนเพื่อให้ได้แนวทางปฏิบัติที่ดี

อาจารย์ และนักวิชาการที่เข้าร่วมโครงการและได้รับความร่วมมือจาก อปท. จ านวน 15 คน/ปี

อปท. ที่ได้รับบริการ มีความพึงพอใจในบริการไม่ต่ ากว่า 80%

แผนปฏิบัติการ ตัวชี้วัดและผลผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 2

แผนปฏิบัติการ ตัวชี้วัดและผลผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 3

กิจกรรม ผลผลติ/ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารสาธารณะของสถาบันฯ เครือข่าย

3.1สร้างศักยภาพเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะร่วมกับสื่อมวลชน

จ านวนผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ไม่ต่ ากว่า 50,000 คน ใน 3 ปี

จ านวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ไม่ต่ ากว่า 20% ต่อปี (ฐาน 18,799 คน)

3.2 สื่อสารและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบไตรภาคีร่วมกับแกนน าประชาชน / ผู้น าท้องถิ่น / อปท. และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีสาธารณะไม่ต่ ากว่า 800 คน/ปี

ผู้ เข้ าร่ วมกิจกรรม เวทีน โยบายสาธารณะ เพิ่มขึ้น 20% ต่อปี

ความพึงพอใจของภาคีไม่ต่ ากว่า 80%

3.3สื่อสารและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะโดยใช่สื่อรูปแบบต่างๆ เช่น วีดิทัศน์ เว็บไซต์ ฯลฯ

จ านวนเอกสาร วีดิทัศน์เผยแพร่ไม่ต่ ากว่า 10 ชิ้น/ปี

จ านวนเอกสาร วีดิทัศน์ เผยแพร่ เพ่ิมขึ้น 20% ทุกปี

ฐานข้อมูลที่ภาคีและประชาชนเข้าถึง 2 ฐานข้อมูล/ปี

ขอบคุณค่ะ