13
967 การศึกษาการออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสของสารสกัดจากต้นมะขามป้อม The Study of Glucose Decrease Level of Phyllanthus emblica Linn. Extraction สุภาภรณ์ เนื่องกันทา 1 และ ชญาดา กลิ่นจันทร์ 2 Supaporn Neuangkanta 1 and Chayada Klinchan 2 1 นักศึกษาโปรแกรมวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร 2 อาจารย์โปรแกรมวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร บทคัดย่อ แทนนินเป็นสารสาคัญที่มีฤทธิ์ในการรักษาโรคต่างๆ เช่น โรคในระบบหายใจ ระบบทางเดินอาหาร แผล ในลาไส้ ลดไขมันและนาตาลในเลือด กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ในงานวิจัยนี้ได้สกัดสารแทนนินจากต้นมะขาม ป้อมโดยใช้ตัวทาละลาย 95% เอทานอล เวลา 24 ชั่วโมง พบว่าในอัตราส่วนต้นมะขามป้อม 10 กรัมต่อตัวทา ละลายเอทานอล 100 มิลลิลิตรให้ปริมาณสารแทนนินมากที่สุด คือ 57.27 มิลลิกรัม/กรัมและผลการทดสอบการ ออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสจากสารสกัดตัวอย่างต้นมะขามป้อม ด้วยการทดสอบจากสารละลายมาตรฐานของกลูโคสทีความเข้นข้น 100, 200, 300 และ 400 พีพีเอ็ม พบว่าการออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสของสารสกัดต้นมะขามป้อมคือ ร้อยละ 36.52, 44.04, 45.61 และ 46.64 ตามลาดับ คาสาคัญ: แทนนิน / กลูโคส / มะขามป้อม / ภาวะน้าตาลในเลือด Abstract Tannins are immortal substance effective in treating diseases such as respiratory diseases, gastrointestinal tract disease, ulcer, reducing fat and sugar in the blood stimulate blood circulation. In this research, tannins was extracted from Phyllanthus emblica Linn. With 95% ethanol for 24 h. It was found that the ratio of 10 g: 100 ml ethanol gave the most tannins 57.27 mg/g. In addition, the activity of sample was found that the concentration of 100, 200, 300, and 400 ppm. The activity of glucose decrease level from Phyllanthus emblica Linn. extracted were 36.52, 44.04, 45.61 and 46.64, respectively. Keywords: Tannin / Glucose/ Phyllanthus emblica Linn. / Hypoglycemic ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา มะขามป้อม ( Phyllanthus emblica Linn.) เป็นสมุนไพรที่พบทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทุกภาคของประเทศไทย นิยมนามาเป็นอาหารและยาสมุนไพรเนื่องจากมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ ปัจจุบันมะขามป้อมกาลังเป็นที่นิยมในแง่อุตสาหกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ เครื่องสาอางและยาสมุนไพร คุณสมบัติ ที่สาคัญในต้นมะขามป้อมคือ มีวิตามินซีและแทนนินสูง แต่ปริมาณวิตามินซีในแต่ละต้นจะแตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ตามวิตามินซีจากมะขามป้อมมีประสิทธิภาพสูงกว่าวิตามินซีสังเคราะห์ประมาณ 12 เท่า (ณพัฐอร บัวฉุน, 2558, หน้า 1-8) สารแทนนิน ( tannin) เป็นสารที่มีโมเลกุลใหญ่และโครงสร้างซับซ้อน มีสถานะเป็นกรดอ่อน รสฝาดพบได้ในพืชหลายชนิด สารแทนนินมี 2 ชนิด คือ คอนเดนส์แทนนิน ( condensed tannins) หรือเรียก อีกอย่างว่า โปรแอนโทรไซยานิน ( proanthrocyanin) พบได้ในส่วนเปลือกต้นและแก่นไม้เป็นส่วนใหญ่ และ สารไฮโดรไลซ์แทนนิน (hydrolysable tannins) คือ แบบที่สามารถถูกแยกออกเป็นโมเลกุลเล็กๆได้ พบมากในส่วน ใบ ฝักของพืช (ชลธิชา นิวาส และคนอื่นๆ, 2556, หน้า 78 -82) สารแทนนินมีอยู่ทุกส่วนของลาต้นมะขามป้อม แทนนินในมะขามป้อมเป็นสารสาคัญซึ่งใช้เป็นยารักษาโรค ต่าง ๆ เช่น โรคระบบหายใจ ระบบทางเดินอาหาร แผลในลาไส้ ลดไขมันและนาตาลในเลือด กระตุ้นการไหลเวียน ของโลหิต (Bosso et al., 2016, pp. 162–169) ซึ่งในงานวิจัยนี้ต้องการศึกษาการออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสของสาร The 4th Kamphaeng Phet Rajabhat Univercity National Conference

Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

967

การศึกษาการออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสของสารสกัดจากต้นมะขามป้อม The Study of Glucose Decrease Level of Phyllanthus emblica Linn. Extraction

สุภาภรณ์ เนื่องกันทา1และ ชญาดา กลิ่นจันทร์2

Supaporn Neuangkanta1 and Chayada Klinchan2

1นักศึกษาโปรแกรมวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร 2อาจารย์โปรแกรมวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยัราชภฏัก าแพงเพชร

บทคัดย่อ

แทนนินเป็นสารส าคัญที่มีฤทธิ์ในการรักษาโรคต่างๆ เช่น โรคในระบบหายใจ ระบบทางเดินอาหาร แผลในล าไส้ ลดไขมันและน้ าตาลในเลือด กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ในงานวิจัยนี้ได้สกัดสารแทนนินจากต้นมะขามป้อมโดยใช้ตัวท าละลาย 95% เอทานอล เวลา 24 ช่ัวโมง พบว่าในอัตราส่วนต้นมะขามป้อม 10 กรัมต่อตัวท าละลายเอทานอล 100 มิลลิลิตรให้ปริมาณสารแทนนินมากที่สุด คือ 57.27 มิลลิกรัม/กรัมและผลการทดสอบการออกฤทธ์ิลดระดับกลูโคสจากสารสกัดตัวอย่างต้นมะขามป้อม ด้วยการทดสอบจากสารละลายมาตรฐานของกลูโคสที่ความเข้นข้น 100, 200, 300 และ 400 พีพีเอ็ม พบว่าการออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสของสารสกัดต้นมะขามป้อมคือ ร้อยละ 36.52, 44.04, 45.61 และ 46.64 ตามล าดับ ค าส าคัญ: แทนนิน / กลูโคส / มะขามป้อม / ภาวะน้ าตาลในเลือด

Abstract

Tannins are immortal substance effective in treating diseases such as respiratory diseases, gastrointestinal tract disease, ulcer, reducing fat and sugar in the blood stimulate blood circulation. In this research, tannins was extracted from Phyllanthus emblica Linn. With 95% ethanol for 24 h. It was found that the ratio of 10 g: 100 ml ethanol gave the most tannins 57.27 mg/g. In addition, the activity of sample was found that the concentration of 100, 200, 300, and 400 ppm. The activity of glucose decrease level from Phyllanthus emblica Linn. extracted were 36.52, 44.04, 45.61 and 46.64, respectively. Keywords: Tannin / Glucose/ Phyllanthus emblica Linn. / Hypoglycemic ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

มะขามป้อม (Phyllanthus emblica Linn.) เป็นสมุนไพรที่พบทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และทุกภาคของประเทศไทย นิยมน ามาเป็นอาหารและยาสมุนไพรเนื่องจากมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ ปัจจุบันมะขามป้อมก าลังเป็นที่นิยมในแง่อุตสาหกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ เครื่องส าอางและยาสมุนไพร คุณสมบัติ ที่ส าคัญในต้นมะขามป้อมคือ มีวิตามินซีและแทนนินสูง แต่ปริมาณวิตามินซีในแต่ละต้นจะแตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ตามวิตามินซีจากมะขามป้อมมีประสิทธิภาพสูงกว่าวิตามินซีสังเคราะห์ประมาณ 12 เท่า (ณพัฐอร บัวฉุน, 2558, หน้า 1-8) สารแทนนิน (tannin) เป็นสารที่มีโมเลกุลใหญ่และโครงสร้างซับซ้อน มีสถานะเป็นกรดอ่อน รสฝาดพบได้ในพืชหลายชนิด สารแทนนินมี 2 ชนิด คือ คอนเดนส์แทนนิน (condensed tannins) หรือเรียก อีกอย่างว่า โปรแอนโทรไซยานิน (proanthrocyanin) พบได้ในส่วนเปลือกต้นและแก่นไม้เป็นส่วนใหญ่ และ สารไฮโดรไลซ์แทนนิน (hydrolysable tannins) คือ แบบท่ีสามารถถูกแยกออกเป็นโมเลกุลเล็กๆได้ พบมากในส่วนใบ ฝักของพืช (ชลธิชา นิวาส และคนอ่ืนๆ, 2556, หน้า 78 -82)

สารแทนนินมีอยู่ทุกส่วนของล าต้นมะขามป้อม แทนนินในมะขามป้อมเป็นสารส าคัญซึ่งใช้เป็นยารักษาโรคต่าง ๆ เช่น โรคระบบหายใจ ระบบทางเดินอาหาร แผลในล าไส้ ลดไขมันและน้ าตาลในเลือด กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต (Bosso et al., 2016, pp. 162–169) ซึ่งในงานวิจัยนี้ต้องการศึกษาการออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสของสาร

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 2: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

968

สกัดแทนนินจากต้นมะขามป้อมเพื่ อ ใ ช้ เป็นยารั กษาระดับน้ าตาลในเลือดของผู้ป่ วยโรคเบาหวาน ซึ่งสามารถลดระดับกลูโคสหรือน้ าตาลในเลือดได้โดยเร่งการหลั่งอินซูลิน ดังนั้น จึงสามารถใช้มะขามป้อมเป็น ยารักษาโรคเบาหวานได้ นอกจากนี้ยังพบว่าถ้ารับประทานมะขามป้อมในปริมาณที่สูงมาก พบว่าอาจมีพิษต่อตับและไตได้ ดังนั้น จึงมีความส าคัญอย่างยิ่งที่ควรจะมีการสกัดและทดสอบการออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสของสารสกัดจากต้นมะขามป้อมเพื่อหาสภาวะเหมาะสมในการออกฤทธ์ิลดระดับกลูโคสได้

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อวิเคราะห์หาสารแทนนินในต้นมะขามป้อม (Phyllanthus emblica Linn.) 2. เพื่อศึกษาการออกฤทธ์ิลดระดับกลูโคสจากสารสกัดแทนนิน

ขอบเขตการวิจัย ในการศึกษาการออกฤทธ์ิลดระดับกลูโคสของสารสกัดจากต้นมะขามป้อม ได้ก าหนดขอบเขตของงานวิจัย

ดังนี ้1. ขอบเขตเชิงเนื้อหา งานวิจัยนี้ใช้รูปแบบเชิงทดลอง (Experimental research) โดยศึกษาการสกัดสารแทนนินใน

ต้นมะขามป้อม (Phyllanthus emblica Linn.) โดยวิธีการสกัดด้วยตัวท าละลาย เฮกเซนและเอทานอล และศึกษาการออกฤทธ์ิลดระดับกลูโคสของสารสกัด

2. ขอบเขตเชิงตัวแปร 2.1) ตัวแปรที่ศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 2.1.1) ตัวแปรต้น คือ

2.1.1.1) ชนิดของตัวท าละลาย (เอทานอลและเฮกเซน) 2.1.1.2) อัตราส่วนระหว่างตัวอย่างต้นมะขามป้อมต่อตัวท าละลายอินทรีย์ (10:100,

10:150, และ 10:200 กรัม/มิลลิลิตร) 2.1.1.3) เวลาทีใ่ช้ในการสกัด (6, 12 และ 24 ช่ัวโมง) 2.1.2) ตัวแปรตาม คือ ปริมาณสารแทนนินที่สกัดได้ 2.2) ตัวแปรที่ศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 2.2.1) ตัวแปรต้น คือ สารแทนนินในมะขามป้อม 2.2.2) ตัวแปรตาม คือ การลดระดับกลูโคส

กรอบแนวความคิด ต้นมะขามป้อม (Phyllanthus emblica Linn.)

เป็นไม้ยืนต้นขนาด กลาง สูง 8-12 เมตร ล าต้นมักคดงอ เปลือกนอกสีน้ าตาลอบเทา ผิวเรียบหรือค่อนข้างเรียบ เปลือกในสีชมพูสด ใบเดี่ยว มีลักษณะคล้ายใบประกอบคล้ายใบมะขาม รูปขอบขนานติดเรียงสลับ กว้าง 0.25-0.5 เซนติเมตร ยาว 0.8-12 เซนติเมตร สีเขียวอ่อนเรียงชิดกัน ใบสั้นมาก เส้นแขนงใบ ไม่ชัดเจนส าหรับแทนนินมีอยู่ทุกส่วนของล าต้นมะขามป้อม

ภาพที่ 1 ต้นมะขามป้อม

ที่มา : (ชลธิชา นวิาส และคนอื่นๆ, 2556, หน้า 78 -82)

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 3: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

969

เป็นสารที่มีโมเลกุลใหญ่และโครงสร้างซับซ้อน มีสถานะเป็นกรดอ่อนรสฝาด เป็นสารให้ความฝาดในพืชพบได้ในพืชหลายชนิด มีหมู่ -OH, อีเทอร์ และวงอะโรมาติกเป็นหมู่ฟังก์ชัน

แทนนินมี 2 ชนิด คือ คอนเดนส์แทนนิน (condensed tannins) และ สารไฮโดรไลซ์เซเบิลแทนนิน (hydrolysable tannins)

ภาพที่ 2 โครงสร้างแทนนิน ที่มา : (O’Connell, 2000, pp. 93-98)

1. คอนเดนส์แทนนิน (condensed tannins) เป็นโครงสร้างของแอนโซไซยานิน ซึ่งเป็นองค์ประกอบ

ของโพวานอยคอนแดนส์แทนนินจะพบได้ในส่วนเปลือกต้นและแก่นไม้ เป็นส่วนใหญ่ การทดสอบคอนเดนส์ แทนนิน (condensed tannins) เบื้องต้นโดยการทดสอบกับ FeCl3 ให้ผลเป็นตะกอนสีเขียวหรือสีเขียวแกมน้ าตาล

ภาพที่ 3 โครงสร้างของคอนเดนส์แทนนิน ที่มา : (Deshpande et al., 1986, pp. 401-449)

2. ไฮโดรไลเซเบิลแทนนิน (Hydrolysable tannins) มีคุณสมบัติในการละลายน้ าได้แบ่งเป็น 2 กลุ่ม

ย่อย คือ แทนนินที่เกิดมาจากกรดแกลิกจะมีกรดเป็นองค์ประกอบและแทนนินที่เกิดจากกรดเอลละจิค จะมี เอสเทอร์เป็นหมู่ฟังก์ชัน การทดสอบไฮโดรไลเซเบิลแทนนิน (Hydrolysable tannins) เบื้องต้นโดยทดสอบกับ FeCl3 ใหผ้ลเป็นตะกอนสีน้ าเงิน สีน้ าเงินคล้ า สีน้ าเงินม่วง

ภาพที่ 4 โครงสร้างของแทนนินที่เกิดจากกรดแกลิก ภาพที่ 5 โครงสร้างของแทนนินที่เกิดจากกรดเอลละจิค ที่มา : (Deshpande et al., 1986, pp. 401-449) ที่มา : (Deshpande et al., 1986, pp. 401-449)

วิธีด าเนินงานวิจัย

1. การเตรียมตัวอย่างต้นมะขามป้อม น าเนื้อไม้ต้นมะขามป้อม 100 กรัม หั่นเป็นช้ินๆ น าไปตากแดดจนแห้งจากนั้นบดให้ละเอียดได้ 80 กรัม

เก็บไว้ในถุงซิปล็อคปิดให้สนิทเพื่อน าไปทดลองในขั้นตอนต่อไป 2. การสกัดตัวอย่างต้นมะขามป้อม

วิธีการสกัดสารแทนนินจากพืชต้นมะขามป้อมเป็นการสกัดโดยแช่แบบครั้งเดียวด้วยตัวท าละลาย 2 ชนิด คือ 95% เอทานอล และเฮกเซน มีขั้นตอนการด าเนินการวิจัยดังนี้

2.1 น าตัวอย่างต้นมะขามป้อมมาช่ัง 10 กรัม 2.2 แช่ในตัวท าละลาย 95% เอทานอล ในอัตราส่วนระหว่างตัวอย่างต้นมะขามป้อมต่อตัวท าละลาย

10:100, 10:150 และ 10:200 กรัม/มิลลิลิตร

OHO

OH

OH

OH

OH

HO

HO

HO

COOH

HO

HO

O

O

O

OH

OH

O

O

O

HO

HO

OH

OH

OH

OH

OH

OH

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 4: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

970

2.3 น าไปเขย่าด้วยเครื่องเขย่า (Shaker) เป็นระยะเวลา 30 นาที 2.4 จากนัน้แช่ที่อุณหภูมิห้องเป็นระยะเวลา 6, 12 และ 24 ช่ัวโมง

2.5 กรองด้วยผ้าขาวบางและกระดาษกรองเบอร์ 1 2.6 น าไประเหยเอาสารละลายออกให้หมดด้วยเครื่องระเหยสุญญากาศ (rotary evaporator) 2.7 เก็บสารสกัดไว้ในขวดแก้วปิดฝาให้สนิท เก็บไว้ในท่ีมืดเพื่อท าการวิเคราะห์ในขั้นตอนต่อไป 2.8 ท าการทดลองตั้งแต่ข้อ 2.2-2.7 ใหม่ โดยเปลี่ยนจาก 95% เอทานอลเป็นเฮกเซน

3. การหาปริมาณแทนนินโดยเทคนิคสเปกโทรโฟโตเมตริก 3.1. เตรียมสารละลายมาตรฐานแทนนินเข้มข้น 100 พีพีเอ็ม เพื่อสร้างกราฟมาตรฐานแทนนิน

3.1.1) ช่ังสารแทนนินมาตรฐาน 0.01 กรัม ละลายใน 95% เอทานอลและปรับปริมาตรให้เป็น 100 มิลลิลิตรในขวดปรับปริมาตรจากนั้นน ามาเจือจางด้วยเอทานอลให้มีความเข้มข้นเป็น 1 , 2, 4 และ 6 พีพีเอ็ม ปรับปริมาตรด้วย 95% เอทานอลให้เป็น 25 มิลลิลิตร 3.1.2) จากนั้นน าสารละลายที่เตรียมได้ในแต่ละความเข้มข้นไปวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่อง UV-vis Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 280 นาโนเมตร เพื่อสร้างกราฟมาตรฐานสารแทนนิน

3.2 วิเคราะห์ปริมาณสารแทนนินในสารสกัดต้นมะขามป้อม 3.2.1) ปิเปตสารสกัดตัวอย่างของต้นมะขามป้อมที่สภาวะต่างๆในตัวท าละลาย 95%เอทานอล

0.05 มิลลิลิตร เจือจางด้วย 95% เอทานอล 5 มิลลิตร ลงในหลอดทดลองเขย่าให้เข้ากัน 3.2.2) จากนั้นน าสารสกัดตัวอย่างต้นมะขามป้อมมาวิเคราะห์ปริมาณสารแทนนินทั้งหมดด้วยเครื่อง UV-Vis Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 280 นาโนเมตร เพื่อเปรียบเทียบกับกราฟมาตรฐานสารแทนนิน

4. การวิเคราะห์ทางเคมีเบื้องต้น 4.1 ศึกษาคุณสมบัติของแทนนินที่สกัดได้ด้วย 1% FeCl3 ปิเปตตัวอย่างสารที่สกัดได้จาก 95% เอทานอล

และเฮกเซน 1 มิลลิลิตร ลงในหลอดทดลอง หยด 1% FeCl3 ลงไป 1 หยด เขย่าให้เข้ากันและสังเกตผล 4.2 การแยกและท าสารแทนนินให้บริสุทธิ์ด้วยเทคนิคโครมาโทกราฟี โดยน าสารละลายตัวอย่าง

ต้นมะขามป้อมท่ีสกัดได้และสารละลายแทนนินมาตรฐานมา spot บนแผ่น TLC จากนั้นใส่แผ่น TLC ลงในบีกเกอร์ ที่มีวัฏภาคเคลื่อนที่ (Mobile Phase) ซึ่งประกอบด้วย คือ เอทิลอะซิเตต : กรดอะซิติก (20 : 4) ตั้งทิ้งไว้จนกว่า วัฏภาคเคลื่อนที่ (Mobile Phase) จะเคลื่อนถึงจุดที่ก าหนด เป็นระยะทาง 6 เซนติเมตร จากนั้นน าแผ่น TLC ตรวจดูแถบสารภายใต้รังสียูวี ความยาวคลื่น 254 นาโนเมตร ด้วยเครื่อง UV Lamps

5. ศึกษาหมู่ฟังก์ชันของแทนนินจากสารสกัดด้วยเคร่ือง FT-IR spectroscopy เตรียมตัวอย่างท่ีจะน ามาวิเคราะห์ด้วยเครื่อง FT-IR spectroscopy ที่อยู่ในสถานะของแข็ง

5.1 ช่ังสารตัวอย่าง 1 มิลลิกรัม (0.001 กรัม) รวมกับผงโพแทสเซียมโบรไมด์ (KBr) 100 มิลลิกรัม (0.100 กรัม) แล้วน ามาบดผสมกันด้วยโกร่งให้มีขนาดอนุภาคเล็กกว่า 5 ไมครอน

5.2 ช่ัง KBr 100 มิลลิกรัม (0.100 กรัม) ที่ไม่ผสมกับตัวอย่าง แล้วน ามาบดด้วยโกร่งให้มีอนุภาคเล็กกว่า 5 ไมครอน เพ่ือเอาไว้ส าหรับท า background

5.3 น าผง KBr จากข้อ 5.1) และข้อ 5.2) ที่บดแล้วมาอัดให้เป็นแผ่น KBr-pellet โดยใช้ชุดอัดแบบใช้มือ (handy quick) โดยให้ใช้ KBr-pellet ที่มีลักษณะใสและบาง มีความโปร่งแสง

5 .4 จากนั้นน าแผ่น KBr-pellet ที่ เป็น sample ใส่ ในช่องใส่ตัวอย่าง แล้ววัด Collect sample เปรียบเทียบ peaks ที่ได้จากสเปกตรัมทั้งสองพร้อมทั้งช้ีด้วยว่าแต่ละพีคเป็น stretching หรือ bending ของ Functional group ประเภทใด และมีเลขคลื่นเท่าใด

6. การวิเคราะห์การออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสของสารสกัดจากตัวอย่างต้นมะขามป้อม ซึ่งข้ันตอนดงัต่อไปนี ้(Estevinho et al., 2013, pp. 43 - 49) 6.1 เตรียมสารละลายมาตรฐานกลูโคสที่ความเข้มข้น 100, 200, 300 และ 400 พีพีเอ็ม โดยเจือจางกับน้ ากลั่นและปรับปริมาตรที่ 25 มิลลิลิตรในขวดปรับปริมาตร

6.2 จากนั้นน าสารละลายที่เตรียมได้ในแต่ละความเข้มข้นไปวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่อง UV-vis Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร เพื่อสร้างกราฟมาตรฐานของกลูโคส

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 5: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

971

6.3 ปิเปตสารสกัดตัวอย่างต้นมะขามป้อมที่ดีที่สุด 5 มิลลิลิตร เจือจางและปริมาตรด้วยกลูโคสที่ ความเข้มข้น 100, 200, 300 และ 400 พีพีเอ็ม ลงในขวดปรับปริมาตร 10 มิลลิลิตร จากนั้นเขย่าให้เข้ากัน

6.4 น ามาวิเคราะห์หาการออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสเพื่อเปรียบเทียบกับกราฟมาตรฐานของกลูโคสด้วยเครื่อง UV-vis Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร

ผลการวิจัย

1. ผลของการหาปริมาณแทนนนิ โดยเทคนิคสเปกโทรโฟโตเมตริก 1.1 ผลการสร้างกราฟมาตรฐานของสารแทนนินที่ความเข้มข้น 1, 2, 4 และ 6 พีพีเอ็ม มีสมการเชิงเสน้

y = 0.0509x – 0.0366 ที ่R² = 0.9994

ภาพที่ 6 กราฟมาตรฐานของสารแทนนนิ ที่ความยาวคลื่น 280 นาโนเมตร

1.2. ผลของปริมาณสารแทนนินในสารสกัดต้นมะขามป้อมด้วย 95% เอทานอล ปริมาณสารแทนนินใน

สารสกัดต้นมะขามป้อมด้วย 95% เอทานอล พบว่าเวลาที่สกัด 24 ช่ัวโมง ในอัตราส่วน 10 กรัม: 100 มิลลิลิตร มีปริมาณสารแทนนินมากที่สุดคือ 57.27 มิลลิกรัม/กรัม และเวลาที่สกัด 12 ช่ัวโมง ในอัตราส่วน 10 กรัม: 100 มิลลิลิตร มีปริมาณสารแทนนินน้อยที่สุด คือ 9.69 มิลลิกรัม/กรัม ดังภาพที่ 7 ส่วนปริมาณของสารแทนนินใน สารสกัดต้นมะขามป้อมด้วยเฮกเซนนั้นไม่พบปริมาณสารแทนนิน

ภาพที่ 7 ปริมาณสารแทนนินในสารสกดัต้นมะขามป้อมดว้ย 95%เอทานอล

y = 0.0509x - 0.0366R² = 0.9994

0

0.05

0.1

0.15

0.2

0.25

0.3

0 1 2 3 4 5 6 7

ค่ากา

รดูดก

ลืนแส

ความเข้มข้นของสารมาตรฐานแทนนิน (ppm)

29.65 25.2817.71

9.69

51.7939.61

57.2747.13

26.61

0

20

40

60

80

10g : 100ml 10g : 150ml 10g : 200ml

ปริมา

ณแทน

นิน (m

g/g)

อัตราส่วนระหว่างตัวอย่างต้นมะขามป้อมต่อตัวท าละลาย 95%เอทานอล

6 ชั่วโมง 12 ชั่วโมง 24 ชั่วโมง

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 6: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

972

2. ผลของการวิเคราะห์ทางเคมีเบื้องต้น 2.1. ผลของการทดสอบสมบตัิของแทนนินที่สกัดไดด้้วย FeCl3

ภาพที ่8 สารสกัดแทนนินจาก 95% เอทานอล ภาพที่ 9 สารสกัดแทนนินจาก 95% เอทานอล กอ่นทดสอบสมบัติแทนนินด้วย FeCl3 หลงัทดสอบสมบัติแทนนินด้วย FeCl3

ภาพที ่10 สารสกัดแทนนินจากเฮกเซน ภาพที่ 11 สารสกัดแทนนินจากจากเฮกเซน ก่อนทดสอบสมบัตแิทนนินด้วย FeCl3 หลังทดสอบสมบัติแทนนินด้วย FeCl3 ตารางที่ 1 ผลของการทดสอบสมบัติของแทนนินที่สกัดไดด้้วย FeCl3

อัตราส่วนระหว่างตัวอย่างต้นมะขามป้อมต่อตัว

ท าละลาย (กรัม/มิลลลิิตร)

เวลาที่ใช้สกัด (ชั่วโมง)

ผลของการทดสอบด้วย FeCl3

สกัดด้วย 95% เอทานอล สกัดด้วยเฮกเซน

10 : 100 6 เป็นแทนนินกลุ่มไฮโดรไลเซเบลิแทนนิน ไม่เกดิปฏิกิรยิากับ FeCl3

10 : 150 6 เป็นแทนนินกลุ่มไฮโดรไลเซเบลิแทนนิน ไม่เกดิปฏิกิรยิากับ FeCl3

10 : 200 6 เป็นแทนนินกลุ่มไฮโดรไลเซเบลิแทนนิน ไม่เกดิปฏิกิรยิากับ FeCl3

10 : 100 12 เป็นแทนนินกลุ่มไฮโดรไลเซเบลิแทนนิน ไม่เกดิปฏิกิรยิากับ FeCl3

10 : 150 12 เป็นแทนนินกลุ่มไฮโดรไลเซเบลิแทนนิน ไม่เกดิปฏิกิรยิากับ FeCl3

10 : 200 12 เป็นแทนนินกลุ่มไฮโดรไลเซเบลิแทนนิน ไม่เกดิปฏิกิรยิากับ FeCl3

10 : 100 24 เป็นแทนนินกลุ่มไฮโดรไลเซเบลิแทนนิน ไม่เกดิปฏิกิรยิากับ FeCl3

10 : 150 24 เป็นแทนนินกลุ่มไฮโดรไลเซเบลิแทนนิน ไม่เกดิปฏิกิรยิากับ FeCl3

10 : 200 24 เป็นแทนนินกลุ่มไฮโดรไลเซเบลิแทนนิน ไม่เกดิปฏิกิรยิากับ FeCl3

สารแทนนินมาตรฐาน เป็นแทนนินกลุ่มไฮโดรไลเซเบลิแทนนิน

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 7: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

973

จากตารางที่ 1 ผลของการทดสอบสมบัติของแทนนินที่สกัดได้ด้วย FeCl3 พบว่าสารตัวอย่างที่สกัดด้วย 95% เอทานอลและสารแทนนินมาตรฐาน เป็นแทนนินกลุ่มไฮโดรไลเซเบิลแทนนิน (เปรียบเทียบได้ดังภาพที ่8 และ ภาพที่ 9) ส่วนสารตัวอย่างที่สกัดด้วยเฮกเซนไม่เกิดปฎิกิริยากับ FeCl3 (เปรียบเทียบได้ดังภาพที ่10 และ 11)

2.2 ผลของการแยกและท าสารแทนนินให้บริสุทธ์ิด้วยเทคนิคโครมาโทกราฟี

ภาพที่ 12 ระยะที่พบแทนนินจากการสกัดด้วย 95% เอทานอล

ค าอธิบาย A, 2A และ 3A คือ อัตราส่วนตัวอย่างต่อตัวท าละลาย 10:100, 10:150 และ10:200 g/ml ตามล าดับ เวลาสกัด 6 ชั่วโมง ให้ 4A, 5A และ 6A คืออัตราส่วนตัวอย่างต่อตัวท าละลาย 10:100, 10:150 และ10:200 g/ml ตามล าดับ เวลาสกัด12 ชั่วโมง ให้ 7A, 8A และ 9A คืออัตราส่วนตัวอย่างต่อตัวท าละลาย 10:100 , 10:150 และ10:200 g/ml ตามล าดับ เวลาสกัด 24 ชั่วโมงและ S คือ สารแทนนินมาตรฐาน

ภาพที่ 13 ระยะที่พบแทนนินจากการสกัดด้วยเฮกเซน

ค าอธิบาย A, 2A และ 3A คือ อัตราส่วนตัวอย่างต่อตัวท าละลาย 10:100, 10:150 และ10:200 g/ml ตามล าดับ เวลาสกัด 6 ชั่วโมง ให้4A, 5A และ 6A คืออัตราส่วนตัวอย่างต่อตัวท าละลาย 10:100, 10:150 และ10:200 g/ml ตามล าดับ เวลาสกัด12 ชั่วโมง ให้ 7A, 8A และ 9A คืออัตราส่วนตัวอย่างต่อตัวท าละลาย 10:100, 10:150 และ10:200 g/ml ตามล าดับ เวลาสกัด 24 ชั่วโมง และ S คือ สารแทนนินมาตรฐาน ตารางที่ 2 ค่า Rf ของสารสกดัจากต้นมะขามป้อมที่มีปรมิาณสารแทนนินมากท่ีสุด

ตัวอย่างต้นมะขามป้อมต่อตัวท าลาย 95% เอทานอล (กรัม/มิลลิลิตร)

เวลาที่ใช้สกัด (ชั่วโมง)

ระยะทางการเคลื่อนที่ของสาร (R

f)

10 : 200 24 0.29 สารแทนนินมาตรฐาน 0.3

จากการวิเคราะห์สารสกัดตัวอย่างมะขามป้อมที่สกัดจาก 95% เอทานอล เมื่อเปรียบเทียบกับ

สารแทนนินมาตรฐาน ระยะที่พบสารแทนนินได้ ดังภาพที่ 12 และตารางที ่2 เมื่อค านวณหาค่า Rf ของสารสกัดจากต้นมะขามป้อมที่มีปริมาณสารแทนนินมากที่สุด พบว่ามีระยะทางการเคลื่อนที่ของสาร (Rf) คือ 0.29 และ สารแทนนินมาตรฐาน พบว่ามีระยะทางการเคลื่อนที่ของสาร (Rf) คือ 0.3 ส่วนสารตัวอย่างมะขามป้อมที่สกัด จากเฮกเซน เมื่อเปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐานไม่พบสารแทนนิน ดังภาพที่ 13

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 8: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

974

3. ผลของการศึกษาหมู่ฟังก์ชนัของแทนนินจากสารสกัดด้วยเคร่ือง FT-IR spectroscopy ตารางที่ 3 แสดงหมู่ฟังก์ชันทางเคมี

หมู่ฟังก์ชัน เลขคลืน่ (cm-1) O-H Stretching ของแอลกอฮอล ์ 3,600 - 3,200

C=O stretching ของคีโตน 1,780 – 1,535 C-H bending ของ CH2 1,465 – 1,450 C-H bending ของ CH3 1,450 – 1,375

C-O stretching ของอีเทอร์และเอสเทอร ์ 1,00 – 1,300 C-H bending ของ แอลคีน 1000 – 650

ภาพที่ 14 สเปกตรัมของสารแทนนินมาตรฐาน

จากตารางที่ 3 สเปกตรัมของสารแทนนินมาตรฐานพบหมู่ฟังก์ชัน O-H Stretching ของแอลกอฮอล์ ที่ความยาวคลื่น 3,398.57 cm-1 พบ C=O stretching ของคีโตนที่ความยาวคลื่น 1,708.93 และ 1,612.49 cm-1

พบ C-H bending ของ CH2 ที่ความยาวคลื่น 1,450.47 cm-1 พบ C-O stretching ของอีเทอร์และเอสเทอร์ ที่ความยาวคลื่น 1,203.58 และ 1,029.99 cm-1 พบ C-H bending ของแอลคีน ที่ความยาวคลื่น 867.97 และ 759.95 cm-1 ดังภาพท่ี 14

ภาพที ่15 สเปกตรัมของสารตัวอยา่งที่สกัดจาก ภาพที ่16 สเปกตรัมของสารตัวอยา่งที่สกัดจาก 95% 95% เอทานอลที่อัตราสว่น 10:100 ในเวลา 6 ชั่วโมง เอทานอลที่อัตราส่วน 10:100 ในเวลา 6 ชั่วโมง เปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐาน

จากตารางที่ 3 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:100 ในเวลา 6 ช่ัวโมง พบ O-H Stretching ของแอลกอฮอล์ที่ความยาวคลื่น 3,375.43 cm-1 พบ C=O stretching ของคีโตน ที่ความยาวคลื่น 1,708.93 และ 1,608.63 cm-1 พบ C-H bending ของ CH2 ที่ความยาวคลื่น 1,450.47 cm-1 พบ C-O stretching ของอีเทอร์และเอสเทอร์ ที่ความยาวคลื่น 1,284.59 cm-1 พบ C-H bending ของแอลคีน ที่ความยาวคลื่น 775.38 cm-1 ดังภาพท่ี 15 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐานจะมีสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงเดียวกัน ดังภาพที่ 16

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 9: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

975

ภาพที่ 17 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% ภาพที่ 18 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก เอทานอลที่อัตราส่วน 10:150 ในเวลา 6 ชั่วโมง 95% เอทานอลที่อัตราส่วน10:150ในเวลา 6 ชั่วโมง เปรียบเทียบกบัสารแทนนินมาตรฐาน

จากตารางที่ 3 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:150 ในเวลา 6 ช่ัวโมง พบ O-H Stretching ของแอลกอฮอล์ที่ความยาวคลื่น 3,383.14 cm-1 พบ C=O stretching ของคีโตน ความยาวคลื่น 1,712.79 และ 1,612.49 cm-1 พบ C-H bending ของ CH2 ที่ความยาวคลื่น 1,454.33 cm-1 พบ C-O stretching ของอีเทอร์และเอสเทอร์ ที่ความยาวคลื่น 1,280.73 และ 1,111 cm-1 พบ C-H bending ของ แอลคีน ที่ความยาวคลื่น 767.67 cm-1 ดังภาพท่ี 17 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐานจะมีสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงเดียวกัน ดังภาพที่ 18

ภาพที่ 19 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% ภาพที่ 20 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% เอทานอลที่อัตราสว่น 10:200 ในเวลา 6 ชั่วโมง เอทานอลที่อัตราส่วน 10:200 ในเวลา 6 ชั่วโมง เปรยีบเทียบกับสารแทนนนิมาตรฐาน

จากตารางที่ 3 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:200 ในเวลา 6 ช่ัวโมง พบ O-H Stretching ของแอลกอฮอล์ที่ความยาวคลื่น 3,383.14 cm-1 พบ C=O stretching ของคีโตน ที่ความยาวคลื่น 1,712.79 และ 1,612.49 cm-1 พบ C-H bending ของ CH2 ที่ความยาวคลื่น 1,454.33 cm-1 พบ C-O stretching ของอีเทอร์และเอสเทอร์ ที่ความยาวคลื่น 1,037.70 cm-1 พบ C-H bending ของแอลคีน ที่ความยาวคลื่น 767.67 cm-1 ดังภาพท่ี 19 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐานจะมีสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงเดียวกัน ดังภาพที่ 20

ภาพที่ 21 สเปกตรัมของสารตัวอยา่งที่สกัดจาก 95% เอทานอล ภาพที่ 22 สเปกตรัมของสารตัวอย่างทีส่กัดจาก 95%เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:100 ในเวลา 12 ชั่วโมง ที่อัตราส่วน 10:100 ในเวลา 12 ชั่วโมงเปรียบเทียบกับ สารแทนนินมาตรฐาน

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 10: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

976

จากตารางที่ 3 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:100 ในเวลา 12 ช่ัวโมง พบ O-H Stretching ของแอลกอฮอล์ที่ความยาวคลื่น 3,394.72 cm-1 พบ C=O stretching ของคีโตนที่ความยาวคลื่น 1,712.79 และ 1,612.49 cm-1 พบ C-H bending ของ CH2 ที่ความยาวคลื่น 1,450.47 cm-1 พบ C-O stretching ของอีเทอร์และเอสเทอร์ ที่ความยาวคลื่น 1,284.59 cm-1 พบ C-H bending ของแอลคีน ที่ความยาวคลื่น 763.81 cm-1 ดังภาพท่ี 21 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐานจะมีสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงเดียวกัน ดังภาพที่ 22

ภาพที่ 23 สเปกตรัมของสารตัวอยา่งที่สกัดจาก 95% เอทานอล ภาพที่ 24 สเปกตรัมของสารตัวอยา่งที่สกัดจาก 95% เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:150 ในเวลา 12 ชั่วโมง ที่อัตราสว่น 10:150 ในเวลา 12 ชั่วโมง เปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐาน

จากตารางที่ 3 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:150 ในเวลา 12 ช่ัวโมง พบ O-H Stretching ของแอลกอฮอล์ที่ความยาวคลื่น 3,383.14 cm-1 พบ C=O stretching ของคีโตนที่ความยาวคลื่น 1,708.93 และ 1,612.49 cm-1 พบ C-H bending ของ CH2 ที่ความยาวคลื่น 1,450.47 cm-1 พบ C-O stretching ของอีเทอร์และเอสเทอร์ที่ความยาวคลื่น 1,284.59 และ 1,157.29 cm-1 พบ C-H bending ของแอลคีนที่ความยาวคลื่น 767.67 cm-1 ดังภาพที่ 23 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐานจะมีสเปกตรัม ที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงเดียวกัน ดังภาพที่ 24

ภาพที่ 25 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% เอทานอล ภาพที่ 26 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95%เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:200 ในเวลา 12 ชั่วโมง ที่อัตราส่วน 10:200 ในเวลา 12 ชั่วโมง เปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐาน

จากตารางที่ 3 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:200 ในเวลา 12 ช่ัวโมง พบ O-H Stretching ของแอลกอฮอล์ที่ความยาวคลื่น 3,348.42 cm-1 พบ C=O stretching ของคีโตนที่ความยาวคลื่น 1,712.79 และ 1,612.49 cm-1 พบ C-H bending ของ CH2 ที่ความยาวคลื่น 1,450.47 cm-1 พบ C-O stretching ของอีเทอร์และเอสเทอร์ที่ความยาวคลื่น 1,28.73 cm-1 ดังภาพที่ 25 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐานจะมีสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงเดียวกัน ดังภาพที่ 26

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 11: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

977

ภาพที่ 27 สเปกตรัมของสารตัวอยา่งที่สกัดจาก 95%เอทานอล ภาพที ่28 สเปกตรัมของสารตัวอย่างทีส่กัดจาก 95%เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:100 ในเวลา 24 ชั่วโมง ที่อัตราส่วน 10:100 ในเวลา 24 ชั่วโมง เปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐาน

จากตารางที่ 3 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:100 ในเวลา 24 ช่ัวโมง พบ O-H Stretching ของแอลกอฮอล์ที่ความยาวคลื่น 3,383.14 cm-1 พบ C=O stretching ของคีโตนที่ความยาวคลื่น 1,712.79 และ 1,612.49 cm-1 พบ C-H bending ของ CH2 ที่ความยาวคลื่น 1,450.47 cm-1 พบ C-O stretching ของอีเทอร์และเอสเทอร์ ที่ความยาวคลื่น 1,280.73 cm-1 พบ C-H bending ของแอลคีน ที่ความยาวคลื่น 767.67 cm-1 ดังภาพท่ี 27 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐานจะมีสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงเดียวกัน ดังภาพที่ 28

ภาพที่ 29 สเปกตรัมของสารตัวอยา่งที่สกัดจาก 95% เอทานอล ภาพที่ 30 สเปกตรัมของสารตัวอยา่งที่สกัดจาก 95% เอทานอลที่อัตราส่วน 10:150 ในเวลา 24 ชั่วโมง ที่อัตราส่วน 10:150 ในเวลา 24 ชั่วโมง เปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐาน

จากตารางที่ 3 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:150 ในเวลา 24 ช่ัวโมง พบ O-H Stretching ของแอลกอฮอล์ที่ความยาวคลื่น 3,379.29 cm-1 พบ C=O stretching ของคีโตนที่ความยาวคลื่น 1,708.93 และ 1,608.63 cm-1 พบ C-H bending ของ CH2 ที่ความยาวคลื่น 1,450.47 cm-1 พบ C-O stretching ของอีเทอร์และเอสเทอร์ ที่ความยาวคลื่น 1,280.73 cm-1 พบ C-H bending ของแอลคีน ที่ความยาวคลื่น 763.81 cm-1 ดังภาพท่ี 29 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐานจะมีสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงเดียวกัน ดังภาพที่ 30

ภาพที่ 31 สเปกตรัมของสารตัวอยา่งที่สกัดจาก 95%เอทานอล ภาพที ่32 สเปกตรัมของสารตัวอย่างทีส่กัดจาก 95%เอทานอลที่อัตราส่วน 10:200 ในเวลา 24 ชั่วโมง ที่อัตราส่วน 10:200 ในเวลา 24 ชั่วโมง เปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐาน

จากตารางที่ 3 สเปกตรัมของสารตัวอย่างที่สกัดจาก 95% เอทานอล ที่อัตราส่วน 10:200 ในเวลา 24 ช่ัวโมง พบ O-H Stretching ของแอลกอฮอล์ที่ความยาวคลื่น 3,360 cm-1 พบ C=O stretching ของคีโตน ที่ความยาวคลื่น 1,712.79 และ 1,608.63 cm-1 พบ C-H bending ของ CH3 ที่ความยาวคลื่น 1,446.61 cm-1 พบ C-O stretching ของอีเทอร์และเอสเทอร์ ที่ความยาวคลื่น 1,284.59 cm-1 พบ C-H bending ของแอลคีนที่

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 12: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

978

ความยาวคลื่น 763.81 cm-1 ดังภาพที่ 31 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐานจะมีสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงเดียวกัน ดังภาพที่ 32 4. ผลการวิเคราะห์การออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสจากสารสกัดตัวอย่างต้นมะขามป้อม

4.1 ผลการสร้างกราฟมาตรฐานของกลูโคส

ภาพที่ 33 กราฟของสารมาตรฐานกลูโคส ที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร

สารละลายมาตรฐานของกลูโคสที่ความเข้นข้น 100, 200, 300 และ 400 ppm มีสมการเชิงเส้น y = 0.0003x + 0.0991 ที ่R² = 0.9995

4.2. ผลของการออกฤทธ์ิลดระดับกลูโคสจากสารสกดัตัวอย่างต้นมะขามป้อมที่ดีที่สดุ

ภาพที่ 34 เปอร์เซ็นต์การออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสจากสารสกัดตัวอยา่งต้นมะขามป้อม

ผลการศึกษาฤทธิ์การลดระดับกลูโคสจากสารสกัดตัวอย่างต้นมะขามป้อมที่ดีที่สุดโดยทดสอบจากสารละลายมาตรฐาน ของกลูโคสที่ความเข้นข้น 100, 200, 300 และ 400 พีพีเอ็ม (ดังภาพที่ 33) พบฤทธ์ิลดระดับกลูโคสจากสารสกัดตัวอย่างต้นมะขามป้อม คือ ร้อยละ 36.52, 44.04, 45.61 และ 46.64 ตามล าดับ (ดังภาพท่ี 34)

สรุปและอภิปรายผลการวิจัย

จากการทดสอบแทนนินที่แยกได้จากต้นมะขามป้อม และวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีเบื้องต้นของ สารแทนนิน สารแทนนินสามารถละลายได้ดีในสารละลายแบบมีขั้วน้ันคือ แทนนินจะสามารถละลายได้ในเอทานอลทั้งนี้ เนื่องจากโครงสร้างโมเลกุลของแทนนิน มีหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) จึงสามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนได้ดีกับสารละลายมีขั้ว เมื่อทดสอบการท าปฏิกิริยากับสารละลายเฟอร์ริคคลอไรด์เปรียบเทียบกับสารแทนนินมาตรฐาน พบว่าสารสกัดจากต้นมะขามป้อมเป็นสารแทนนิน (ซรินทร โมฬี , 2551, หน้า 1-9) พบว่าปริมาณสารแทนนิน

y = 0.0003x + 0.0991R² = 0.9995

0

0.05

0.1

0.15

0.2

0.25

0 100 200 300 400 500

ค่ากา

รดูดก

ลืนแส

ความเข้มข้นของสารมาตรฐานกลูโคส (ppm)

36.52%44.04% 45.61% 46.64%

0

10

20

30

40

50

100 200 300 400

ฤทธิ์ล

ดระดั

บกลูโ

คส(%

)

ความเข้มข้นของสารกลูโคส (ppm)

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence

Page 13: Phet Rajabhat Univercity · ยารักษาโรคเบาหวานได นอกจากนี้ยังพบวาถารับประทานมะขามปอมในปริมาณที่สูงมาก

979

ที่สกัดเป็นระยะเวลา 24 ช่ัวโมง ในอัตราส่วน 10 กรัม : 100 มิลลิลิตร มีปริมาณสารแทนนินมากที่ สุด คือ 57.27 มิลลิกรัม/กรัม

จากการวิเคราะห์การออกฤทธิ์ลดระดับกลูโคสจากสารสกัดจากต้นมะขามป้อมที่ดีที่สุด คือ การวิเคราะห์ด้วยสารสกัดต้นมะขามป้อมที่เวลา 24 ช่ัวโมง ในอัตราส่วน 10 กรัม : 100 มิลลิลิตร เมื่อทดสอบกับสารละลายกลูโคสที่ความเข้นข้น 100, 200, 300 และ 400 พีพีเอ็ม พบว่ามีฤทธิ์ลด-ระดับกลูโคสจากสารสกัดจากต้นมะขามป้อมเท่ากับร้อยละ 36.52, 44.04, 45.61 และ 46.64ตามล าดับ สารแทนนินสามารถใช้เป็นยาลดระดับกลูโคสหรือลดระดับน้ าตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานเพื่อช่วยควบคุมสมดุลการหลั่งฮอร์โมนได้ ข้อเสนอแนะ

1) ควรศึกษาวิธีหรือเทคนิคท่ีดีที่สุดที่สามารถท าให้สารแทนนินบริสุทธ์ิ 2) ควรน าวิจัยนี้ไปศึกษาต่อเพื่อน าไปยารักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน 3) ควรเลือกใช้สารเคมีในการทดลองที่ไม่เป็นสารมีพิษ และมีอันตรายต่อร่างกาย 4) ควรศึกษาปัจจัยอื่นๆในวิธีการสกัด เช่น อุณหภูมิ และเวลา เป็นต้น

เอกสารอ้างอิง

ชลธิชา นิวาสประกฤติ, ไมตรี มัณยานนท์, ยามาระตี จัยสิน และปิยานี รัตนช านอง. (2556). การศึกษาลักษณะทางกายภาพปริมาณสารไฮโดรไลซ์แทนนินและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของมะขามป้อมจากจังหวั ด กาญจนบุรี. ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล. 78-82.

ซรินทร โมฬี และณกัญภัทร จินดา. (2551). สารสกัดแทนนินจากเปลือกเงาะเพ่ือเป็นสีย้อมในพลาสติกชีวภาพ. ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 1-9.

ณพัฐอร บัวฉุน. (2558). องค์ประกอบทางเคมี และฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบที่สกัดจากตัวอย่างมะขามป้อม. หลักสูตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 1-8.

Bosso, A., Guaita, M. & Petrozziello, M. (2016). Influence of solvents on the composition of condensed tannins in grape pomace seed extracts. Food Chemistry, 207, 162–169.

Deshpande, S. S., Cheryan, M., & Salunkhe, D. K. (1986). Tannin analysis of food products. Crit. Rev Food Sci Nutr, 24(4), 401-449.

Estevinho, B., Ferraz, A., Santos, L., Rocha, F. & Alves, A., (2013). Uncertainty in the determination of glucose and sucrose in solutions with chitosan by enzymatic methods. J. Braz. Chem. Soc, 24(6), 931 - 938.

O’ Connell, J. E. (2000). Food Chemistry. University College, Cork, Ireland: Product Technology Department, NIZO Food Research. 93-98

The 4

th Ka

mphae

ng Ph

et Ra

jabha

t Univ

ercity

Natio

nal C

onfer

ence