18
c o'J Fin1su S nrsd nnrsfi ru r $ ouns: ?n (ou ninrsu nruu) THATLAND GREENHoUSE GAs MANA6EMENT 0BGANrzATroN [puBLrc oBGANtzATroN] 4uusrunrs.r o1R'rs B u'u g ravfi l20nuuri'u5ruu. r,ra-nd'to2to [ns. o 2141 gTgolnsarso 214galoo The Govemment Complex, Building B, gth Floor, 120 Chasngwatlana Rd., t-aksi. BKK 1021O Tel.+66214 1 9790 Fax.+66 21 43 8400 ww,il,tgo.or.th yl OUfl oo/oss\ bo nrnrfiud uaau I o a I ' )t i I u 4vv t:0{ :'lU{lUzuAnl:91'lLuu{1U:'lULrl:lJ1fi (Ln:ill4v o) Fl0lStJUFl:tJ:nUlnl:41}J1'{:v:'ltnqUnnl - { ' d a u @ d \ Qqn{odnn1:u:141:0nn1:nlt[:0un:s0n (0{nn1:}J14''rtu) Yr.fl. bddo rirJu il#nn:vm:xvriflu1n:5::ilflrfi$ava.imndoil d$eir:r6'ru ronffr::1ullurinnlir{1rfiumurJ:vs;rflwr.J:vrr{u il.fl. bddb tn:rrafi o (o Qffln}r - *o ffulr nil teddd) flo.ro{Finl:uivr:6'rr nr:ff'rtGoun:vo n (orvinr::rultu) y a a v v a i 9t?u ttu?yt't{fl15u514't:"tj0{nfusn::!n1:o{nn15!141tu Fl'ltJl\:v5''ttufurun0{nn15 9u d a a a t.l:nU1 n1:n1ilY'l:s:1lJfl qul nlAon{0.:nn1:t]141fl u n { u rrufinr uI : su uui14 1 : lvr:rr'llf o bodo c(dod - c( Iyr:at: o lsoden d6'tdo rrfi1ru fl.fi.bddl.e tdrit,tuoruyruryrufirfilprutfi:ruvrue,ranl:e{1rfiurru:ruln:rraqioYoru tunr:fl o.:rinT :uiur:6'onr:ffrtrioun:vqn (orrinr:rurtu) tri6'erlir:ru{1urianr: rirrflurruil:vsirfl.:!il:nJ'rru y{.fl. bddb tn:rrafi o (o Qfirn}.r - ro fiutrnr badd) (:ruastduel srud.rfidrursira) 6ruflu:'rarrufrTunr:fiovdn ttasdrunr:riu aril:.r'rFr:1 6'/ tonv{:s:rtnqufrnr 6'n frio.r dn r :rira r :6'or n r : fr rt ti o un : s a n (o.i ri n 1 :il 14 ltJu ) fl . Pl. l.o ddo 6.rriuuttrrfioIil:oru:rrunvrirriuufoluni'irn1:n:uvr:'r{vfiryarn:s::rt1fiu ! , v J , fr .: ur ordar rfr oil:1u riotilov?Jouqru8't v d t0ttan{nl1rJu!fl0 * -ft- (urtrl:vrigat ou:lru) y o t a a o 4 :0{r.r01u? un1:0{ nnl:u:14"r:0fl n1:n1fl [:0un:v0 n U v 9 o 6 a u o 4 : nu1 n1 : tJ 0'lu'l un1 : 0{ Fl n1 :u :141 : ann1 : n1fl [5 0u n: u { n U

o'J Fin1su S nrsd nnrsfi ru r $ ouns: ?n (ou ninrsu nruu)conference.tgo.or.th/download/tgo_or_th/progress_rep/2013/TGO...๑ รายงานด านภารกิจหลัก

  • Upload
    hakhanh

  • View
    217

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

c o'J Fin1su S nrsd nnrsfi ru r $ ouns: ?n (ou ninrsu nruu)THATLAND GREENHoUSE GAs MANA6EMENT 0BGANrzATroN [puBLrc oBGANtzATroN]

4uusrunrs.r o1R'rs B u'u g ravfi l20nuuri'u5ruu. r,ra-nd'to2to [ns. o 2141 gTgolnsarso 214galooThe Govemment Complex, Building B, gth Floor, 120 Chasngwatlana Rd., t-aksi. BKK 1021O Tel.+66 214 1 9790 Fax.+66 21 43 8400

w w , i l , t g o . o r . t h

yl OUfl oo/oss\

bo nrnrfiud uaauI o a I

' ) t i I u 4 v v

t:0{ :'lU{lUzuAnl:91'lLuu{1U:'lULrl:lJ1fi (Ln:ill4v o) Fl0lStJUFl:tJ:nUlnl:41}J1'{:v:'ltnqUnnl- { ' d a u @ d \

Qqn{odnn1:u:141:0nn1:nlt[:0un:s0n (0{nn1:}J14''rtu) Yr.fl. bddo

rirJu il#nn:vm:xvriflu1n:5::ilflrfi$ava.imndoil

d$eir:r6'ru ronffr::1ullurinnlir{1rfiumurJ:vs;rflwr.J:vrr{u il.fl. bddb tn:rrafi o (o Qffln}r- *o ffulr nil teddd) fl o.ro{Finl:uivr:6'rr nr:ff'rtGoun:vo n (orvinr::rultu)

y a a v v a i

9t?u ttu?yt ' t{f l15u514't:"t j0{nfusn::!n1:o{nn15!141tu Fl ' l tJl \ :v5' ' t tufurun0{nn15

9 u d a a a

t.l:nU1 n1:n1ilY'l:s:1lJfl qul nlAon{0.:nn1:t]141fl u

n { u r r ufinr u I : su u ui14 1 :lvr:rr'llf o bodo c(dod - c(Iyr:at: o lsoden d6'tdo

rrfi1ru fl.fi. bddl.e tdrit,tuoruyruryrufirfilprutfi:ruvrue,ranl:e{1rfiurru:ruln:rraqioYoruni

tunr:fl o.:rinT :uiur:6'onr:ffrtrioun:vqn (orrinr:rurtu) tri6'erlir:ru{1urianr:rirrflurruil:vsirfl.:!il:nJ'rru y{.fl. bddb tn:rrafi o (o Qfirn}.r - ro fiutrnr badd) (:ruastduel

srud.rfidrursira) 6ruflu:'rarrufrTunr:fiovdn ttasdrunr:riu aril:.r'rFr:1 6'/ tonv{:s:rtnqufrnr

6'n fri o.r dn r :rira r :6'or n r : fr rt ti o u n : s a n (o.i ri n 1 :il 14 ltJu ) fl . Pl. l.o ddo

6.rr iuuttrr f ioI i l :oru:rrunvrirr iuufoluni ' i rn1:n:uvr: ' r{vf iryarn:s::r t1f iuav! , v J ,fr .: ur ordar rfr oil:1u riotil ov?Jouqru8't

v d

t0ttan{nl1rJu!fl0

* -ft-

(urtrl:vrigat ou:lru)y o t a a o 4

:0{r.r01u? u n1:0{ nnl:u:14"r:0fl n1:n1fl [:0un:v0 nU

v 9 o 6 a u o 4

: nu1 n 1 : tJ 0'lu'l u n 1 : 0 { Fl n 1 :u :141 : a n n 1 : n 1fl [5 0 u n : u { nU

รายงานดานภารกิจหลัก

ภารกิจที่ ๑ : การวิเคราะห กลั่นกรอง และใหคํารับรองโครงการลดกาซเรือนกระจก

๑. การวิเคราะหกลั่นกรองโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM) ในชวงไตรมาสที่ ๑ มีโครงการ CDM ที่ผานการพิจารณาใหคํารับรอง ๗ โครงการ ซึ่งจะนําไปสูการลดกาซเรือนกระจกประมาณ ๐.๓๙ ลานตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทาตอป ทําใหปจจุบัน ประเทศไทยมีโครงการ CDM ที่ไดรับหนังสือใหคํารับรองแลว ๒๑๘ โครงการ คิดเปนปริมาณกาซเรือนกระจกที่จะลดได ๑๒.๐๙ ลานตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทาตอป (MtCO2e) ในจํานวนดังกลาวเปนโครงการที่ไดรับการอนุมัติจาก คณะกรรมการบริหารกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM EB) ใหขึ้นทะเบียนเปนโครงการ CDM จํานวน ๘๘ โครงการ ปริมาณกาซเรือนกระจกที่คาดวาจะลดได ๔.๑๔ MtCO2e/y และมีโครงการที่ไดรับ CERs จํานวน ๒๑ โครงการ สามารถลดกาซเรือนกระจกไดรวม ๑.๙๗ MtCO2e

๒. การติดตามและประเมินผลโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM) อบก. ไดมีการติดตามประเมินผลโครงการที่ไดรับคํารับรองแลว จํานวน ๑๖ โครงการ โครงการ เปนโครงการที่ยื่นขอขึ้นทะเบียนจาก CDM EB จํานวน ๑๓ โครงการ และโครงการที่ยื่นขอรับรอง CERs จํานวน ๓ โครงการ

๓. การสงเสริมการพัฒนาโครงการลดกาซเรือนกระจก

๓.๑ โครงการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER)

อบก. ไดสงเสริมใหมีการพัฒนาโครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจภายในประเทศ ภายใตโครงการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย หรือ Thailand Voluntary Emission Reduction : TVER โดยในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ อบก. ไดพัฒนาเครื่องมือในการคํานวณปริมาณการลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากกิจกรรมตางๆ ของโครงการ โดยมีการแตงตั้งคณะอนกุรรมการระเบียบวิธีการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจ เพื่อเสนอแนะแนวทาง หลักเกณฑและมาตรฐานในการพัฒนาระเบียบวิธีการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจในประเทศ (T-VER Methodology) และแตงตั้งคณะทํางานระเบียบวิธีการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ๒ สาขา คือ สาขาการผลิต และใชพลังงาน อุตสาหกรรม การจัดการของเสีย และการขนสง และสาขาปาไมและการเกษตร เพื่อพัฒนาระเบียบวิธีการลดกาซเรือนกระจกในแตละสาขา เสนอแนะ ใหขอคิดเห็นในการพัฒนา การทบทวน และการยกเลิกระเบียบวิธีการลดกาซเรือนกระจก รวมถึงการพิจารณากลั่นกรองและทําความเห็นเกี่ยวกับระเบียบวิธีการลดกาซเรือนกระจกที่เสนอขอการรับรองจากผูพัฒนาโครงการหรือหนวยงานอื่นๆ กอนเสนอคณะอนุกรรมการฯ ตอไป

ในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ ไดจัดใหมีการประชุมคณะทํางานในแตละสาขา ดังนี้

- สาขาการผลิต และใชพลังงาน อุตสาหกรรม การจัดการของเสีย และการขนสง ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๕ และมีมติใหฝายเลขานุการฯ ปรับแกรายละเอียดของระเบียบวิธีการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจ สําหรับการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน (พลังงานลม พลังงานน้ํา และพลังงานแสงอาทิตย) และระเบียบวิธีการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจ สําหรับการผลิตพลังงานหมุนเวียนจากกาซชีวภาพที่ไดจากการบําบัดน้ําเสียและหรือกากตะกอน ดวยระบบบําบัดแบบไรอากาศ และนํามาเสนอใหคณะทํางานฯ พิจารณาในการประชุมครั้งตอไป

- สาขาปาไมและการเกษตร ในการประชุมครั้งที่ ๕/๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ เพื่อพิจารณาระเบียบวิธีการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจสําหรับการปลูกปาเพื่อการอนุรักษ (Forestation for Conservation) และระเบียบวิธีการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจสําหรับการใชปุย

สิ่งที่สงมาดวย

อยางถูกวิธีในพื้นที่การเกษตร และมีมติใหฝายเลขานุการฯ ปรับแกรายละเอียดของระเบียบวิธีการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจและเวียนวาระดังกลาวใหคณะทํางานฯ พิจารณาใหความเห็นชอบ กอนนําเสนอคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาตอไป

๓.๒ โครงการจัดทําแนวทางการพิสูจนผลประโยชนรวมสําหรับโครงการลดกาซเรือนกระจกภาคพลังงานและการจัดการขยะ

อบก. ไดมีการดําเนินงานเพื่อสงเสริมใหมีการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจขึ้นในประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction : TVER) โดยโครงการ TVER นี้นอกจากจะตองเปนโครงการ ที่ลดกาซเรือนกระจกแลว ยังจะตองเปนโครงการที่กอใหเกิดผลประโยชนรวม (Co-benefits) อื่นๆ ทั้งมิติดานสิ่งแวดลอม ดานเศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งการพิสูจน Co-benefits ยังสามารถสงผลสะทอนตอราคาคารบอนเครดิต โดยโครงการที่มี Co-benefits มากก็มีแนวโนมที่จะไดรับราคาคารบอนเครดิตมากกวาโครงการที่มี Co-benefits นอย

ดังนั้น อบก. ในฐานะหนวยงานที่ทําหนาที่เกี่ยวกับการใหคํารับรองโครงการลดกาซเรือนกระจกของประเทศไทย จึงดําเนินการศึกษาเพื่อกําหนดแนวทางและหลักเกณฑในการพิสูจนประโยชนรวมโดยมุงเนนไปที่โครงการลดกาซเรือนกระจกในภาคพลังงาน ซึ่งปลอยกาซเรือนกระจกมากที่สุดในประเทศไทย และภาคการจัดการขยะซึ่งเปนภาคที่ทองถิ่นใหความสําคัญ โดยเปาหมายในการดําเนินโครงการ คาดวาจะมีแนวทางและหลักเกณฑการพิสูจนประโยชนรวม (Co-Benefit) ของโครงการลดกาซเรือนกระจกในภาคพลังงานและการจัดการขยะ ที่ครอบคลุมมิติทางดานสิ่งแวดลอม เศรษฐศาสตร และสังคม

ผลการดําเนินงานในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ ที่ปรึกษาฯ (ศูนยบริการวิชการเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร) ไดมีการดําเนินงาน จัดประชุมรับฟงความคิดเห็นครั้งที่ ๑ และ ๒ เมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ และ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ ตามลําดับ และ (ราง) รายงานฉบับสมบูรณ โดยเนื้อหาประกอบดวย แนวคิดเรื่องผลประโยชนรวมของตางประเทศและองคกรตางๆ หลักเกณฑ ตัวชี้วัด และแนวทางที่ใชในการประเมิน ผลประโยชนรวม แนวทางการตรวจวัดและการรายงานฯ รวมถึง (ราง) รูปแบบเอกสารที่ใชประกอบการประเมินฯ

๓.๓ โครงการศึกษาและกําหนดเกณฑพื้นฐานในการประเมินโครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการทําลายปาและความเสื่อมโทรมของปา (REDD+) ของประเทศไทย

มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและจัดทํากรณีฐาน (Baseline) การปลอย/กักเก็บกาซเรือนกระจกในภาคปาไมของประเทศไทย พัฒนาหลักเกณฑการประเมินโครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการทําลายปาและความเสื่อมโทรมของปา (REDD+) พัฒนาระบบตรวจสอบ รายงานผล และทวนสอบ (MRV) ในภาคป าไม และศึกษาความเปน ไปได ในการดํา เนินงานโคร งการลดก าซ เรื อนกระจกจาก การทําลายปาและความเสื่อมโทรมของปา โดยเปาหมายในการดําเนินโครงการการดังกลาว เพื่อใหมีขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับ Baseline ในการปลอยกาซเรือนกระจก ภาคปาไม โดยจําแนกเปนปาแตละชนิด รูปแบบการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน มีหลักเกณฑเบื้องตนในการประเมินโครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการทําลายปาและความเสื่อมโทรมของปา (REDD+) นอกจากนี้จะตองมีระบบตรวจสอบ รายงานผล และทวนสอบ (MRV) ในภาคปาไม รวมทั้งมีโครงการนํารองในการพัฒนาโครงการลดกาซเรือนกระจกจากการทําลายปาและความเสื่อมโทรมของปา (REDD+)

ผลการดําเนินงานในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ ที่ปรึกษาฯ ไดจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นแบบกลุมยอย ในเรื่องเกณฑการประเมินโครงการลดกาซเรือนกระจกจากการทําลายปาและปาเสื่อมโทรม และการติดตามประเมินผล การรายงานผล และการทวนสอบ (MRV) ของโครงการลดกาซเรือนกระจกภาคปาไม เมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ โดยมีผูเขารวมประชุมประมาณ ๒๐ คน โดยไดใหความเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการ

พัฒนาระบบ MRV ภาคปาไมของประเทศ และมีการพิจารณาเกี่ยวกับเกณฑที่จะนํามาใชในการประเมินโครงการลดกาซเรือนกระจกจากการทําลายปาและความเสื่อมโทรมของปา เพื่อนําไปประกอบการวิจัยและสรุปลงใน (ราง) รายงานฉบับสมบูรณ

๓.๔ โครงการพัฒนาระบบตรวจวัด รายงานผล และการทวนสอบ (MRV) สําหรับแผนการลดกาซเรือนกระจก (NAMAs) ภาคพลังงานของประเทศไทย

ภาคพลังงานมีการปลอยกาซเรือนกระจกสูงที่สุด โดยในป พ.ศ. ๒๕๕๑ ภาคพลังงานปลอยกาซเรือนกระจกคิดเปนรอยละ ๕๔.๒ ของการปลอยกาซเรือนกระจกทั้งหมดของประเทศ ประเทศไทยจําเปนตองมีการดําเนินงานลดกาซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ (Nationally Appropriate Mitigation Actions: NAMAs) และการดําเนินงานจะตองสามารถตรวจวัด รายงานผล และทวนสอบได (Measurable, Reportable and Verifiable: MRV) จึงจําเปนตองมีการศึกษารวบรวมองคความรูและขอมูลเกี่ยวกับการพัฒนาระบบ MRV ของประเทศตาง ๆ เพื่อพัฒนาแนวทางในการทํา MRV สําหรับ NAMAs แบบตาง ๆ ที่เหมาะสมกับภาคพลังงานของประเทศไทย โดยเปาหมายของโครงการดังกลาว คาดวาจะมีแนวทางในการพัฒนาระบบ MRV ที่เหมาะสมสําหรับ NAMAs ภาคพลังงานของประเทศไทย มาตรฐาน วิธีการและขั้นตอนในการดําเนินงาน รายการขอมูลพื้นฐานที่จําเปนตองใชประกอบ กรอบโครงสรางทางกฎหมายและสถาบันเพื่อรองรับการดําเนินการ และการเผยแพรความรูโดยจัดพิมพคูมือเผยแพรและการจัดอบรมเผยแพรความรูใหแกผูมีสวนไดสวนเสียทั้งภาครัฐ เอกชน และบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจ

ผลการดําเนินงานในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ ที่ปรึกษาไดจัดสงรางรายงานฉบับสมบูรณแลว เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ และไดทําหนังสือขอขยายระยะเวลาการศึกษาโครงการออกไปอีก ๑ เดือน (ถึงวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๖) เนื่องจากตองแกไข ปรับปรุงรายงานฉบับสมบูรณตามขอเสนอแนะที่ประชุมรับฟงความคิดเห็นแบบกลุมยอย (Focus Group) ผลการศึกษา สรุปได ดังนี้

ผลการทบทวนเอกสารเกี่ยวกับที่มาของระบบ MRV ภาคพลังงาน จากขอตกลงระหวางประเทศ เปรียบเทียบการดําเนินงานที่ผานมาของประเทศตาง ๆ กรณีศึกษาและแนวโนมที่จะมีขึ้นในอนาคต ขอดี ขอดอย โอกาสและอุปสรรคของแนวทางของประเทศตางๆ เทียบกับบริบทของประเทศไทย และทิศทางการดําเนินงานที่เหมาะสมสําหรับประเทศไทย

ขอมูลของหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ และรายการขอมูลพื้นฐานที่จําเปนตองใชประกอบในการทํา MRV สําหรับ NAMA ภาคพลังงานของประเทศไทย ไดแก การผลิตพลังงานทดแทน อยางนอย 5 ประเภท การเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน และการใชพลังงานในภาคขนสง

แนวทาง (Guideline) ในการทํา MRV สําหรับ NAMAs ภาคพลังงานของประเทศไทย ประกอบดวย รูปแบบ วิธีการและขั้นตอนในการปฏิบัติ และระบบงานที่เหมาะสม และประมาณการคาใชจายในการดําเนินการ

กรอบโครงสรางทางกฎหมายและสถาบัน (Legal and institutional framework) เพื่อรองรับการดําเนินการระบบ MRV สําหรับ NAMAs ภาคพลังงานของประเทศไทย

ผลการจัดรับฟงความคิดเห็น (Focus Group) และจัดอบรมใหความรู (capacity building) เรื่อง MRV สําหรับ NAMAs ภาคพลังงานของประเทศไทย

สําหรับการดําเนินงานขั้นตอนตอไป ที่ปรึกษาจะจัดสงรายงานฉบับสมบูรณและจัดทําคูมือเผยแพรเรื่อง “แนวทางในการตรวจวัด รายงานผล และ การทวนสอบ (MRV) สําหรับแผนการลดกาซเรือนกระจก (NAMAs) ภาคพลังงานของประเทศไทย”

๓.๕ โครงการพัฒนาระบบตรวจวัด รายงานผล และการทวนสอบ (MRV) และระบบงานผูตรวจประเมิน (Verifier) และระบบบริหารงานคุณภาพ

๓.๕.๑ โครงการพัฒนาระบบตรวจวัด รายงานผล และการทวนสอบ (MRV) สําหรับแผนการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจในระดับประเทศ และในการจัดการของเสียของประเทศไทย

ขอมูลบัญชีกาซเรือนกระจกป ๒๕๔๓ ชี้ใหเห็นวา กวารอยละ ๕๒ ของกาซเรือนกระจกในภาค ของเสียมีแหลงกําเนิดมาจากการฝงกลบขยะมูลฝอยซึ่งปลอยกาซมีเทนจากกระบวนการยอยสลายสารอินทรียในขยะในสภาวะไรออกซิเจน ถึงแมภาคของเสียจะปลอยกาซเรือนกระจกไมมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับภาคพลังงาน แตการจัดการขยะมูลฝอยเปนกิจกรรมที่ชุมชนสามารถทําได ในการสงเสริมเมืองคารบอนต่ําจึงจําเปนตองมีการพัฒนาระบบตรวจวัด รายงานผล และการทวนสอบ (Measurable, Reportable and Verifiable: MRV) สําหรับการดําเนินงานลดกาซเรือนกระจกจากภาคการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศไทยที่สอดคลองกับแนวทางที่เปนสากล ทั้งในระดับโครงการ ระดับชุมชน ระดับภาค (การจัดการขยะมูลฝอย) และระดับประเทศ รวมทั้งกําหนดมาตรฐาน วิธีการและขั้นตอนในการดําเนินงาน การจัดทํารายการขอมูลพื้นฐานที่จําเปนตองใชประกอบในการทํา MRV และกรอบโครงสรางเชิงนโยบาย สถาบัน และกฎระเบียบ/ กฎหมาย (policy, institutional and legal framework)

เปาหมายในการดําเนินโครงการ จะไดแนวคิดในการพัฒนาระบบ MRV สําหรับการดําเนินงานลดกาซเรือนกระจกในภาคการจัดการขยะมูลฝอยของมาตรฐาน/ประเทศตาง ๆ เทียบกับบริบทของประเทศไทย รวมถึงแนวทางและขอกําหนดในการพัฒนาระบบ MRV สําหรับการดําเนินงานลดกาซเรือนกระจกจากภาคการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศไทย

ผลการดําเนินงานในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ ไดประสานความรวมมือกับสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในการแลกเปลี่ยนและพัฒนาองคความรูเกี่ยวกับการทํา MRV (สกว.จะรับผิดชอบในสวนของการจัดทํา Methodology ที่ใชในการตรวจวัดรายงานผล และทวนสอบการปลอยกาซเรือนกระจกจากการจัดการขยะมูลฝอย รวมทั้งคา Emission Factor ที่ใชในการคํานวณ และการทดลองดําเนินการในชุมชนนํารอง) และมีการศึกษา รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย และกรอบโครงสรางทางกฎหมายและสถาบันของประเทศไทย โดยในข้ันตอนตอไป จะดําเนินการดังนี้

ศึกษา รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการทํา MRV สําหรับการจัดการขยะมูลฝอยของมาตรฐาน/ประเทศตาง ๆ เทียบกับบริบทของประเทศไทย

จัดตั้งคณะทํางานพัฒนาระบบตรวจวัด รายงานผล และการทวนสอบ (MRV) สําหรับการดําเนินงานลดกาซเรือนกระจกจากภาคการจัดการขยะมูลฝอย

กําหนดมาตรการที่เหมาะสมและสมมติฐานที่ใชในการคาดการณปริมาณการลดกาซเรือนกระจกจากการจัดการขยะมูลฝอยเพื่อใหที่ปรึกษาทําการคาดการณและวิเคราะหความเปนไปไดในการดําเนินการ

เสนอแนวทางและขอกําหนดในการพัฒนาระบบ MRV ที่เหมาะสมสําหรับการดําเนินงานลดกาซเรือนกระจกในภาคการจัดการขยะมูลฝอยประเทศไทย

๓.๕.๒ การพัฒนาระบบงานผูตรวจประเมิน (Verifier) ในการตรวจสอบและรับรองกิจกรรมการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจ

อบก. ไดสงเสริมการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจ พรอมกับการพัฒนาตลาดคารบอน เพื่อรองรับคารบอนเครดิตที่เกิดขึ้นจากการดําเนินกิจกรรมการลดกาซเรือนกระจกในประเทศ และปจจุบัน ยังไมมีระบบการตรวจสอบความถูกตอง (Validate) ของกิจกรรมการลดการปลอยกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้น และยืนยัน/ทวนสอบ (Verify) ปริมาณการลดที่เกิดขึ้นจริง อบก. จึงตองพัฒนาระบบงานผูตรวจประเมิน

(Verifier) ในการตรวจสอบและรับรองกิจกรรมการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจ เพื่อให อบก. สามารถรับรอง (Certify) ปริมาณการลดกาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากโครงการ กอนนําไปซื้อ-ขายในตลาดคารบอนภาคสมัครใจของประเทศ จึงมีการดําเนินโครงการดังกลาว เพื่อจะไดมีหลักเกณฑเกี่ยวกับคุณสมบัติของผูตรวจประเมิน (Validator & Verifier) และแนวทางในการพิจารณารับรองการขึ้นทะเบียน รวมทั้งแนวทางในการดําเนินงานตรวจสอบความถูกตองและทวนสอบโครงการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจที่จะนํามาใชตอไป

ผลการดําเนินงานในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ อบก. ไดดําเนินการคนควาและรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติผูตรวจสอบความถูกตอง (Validator) และผูทวนสอบ (Verifier) ของโครงการลดกาซเรือนกระจกภายใตมาตรฐานตางๆ และแนวทางการดําเนินงานในการ Validate และ Verify เชน คุณสมบัติของ DOE และมาตรฐานในการ Validate และ Verify ภายใตมาตรฐานของ UNFCCC, มาตรฐาน ISO 14065 เพื่อนํามาวิเคราะหและกําหนดแนวทางในการดําเนินงานของประเทศไทย

๓.๕.๓ โครงการพัฒนาระบบบริหารงานคุณภาพการวิเคราะหและรับรองโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด ตามมาตรฐาน ISO 9001:2008

อบก. ไดเล็งเห็นความสําคัญถึงการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพงานวิเคราะหและรับรองโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด เพื่อใหมีการดําเนินงานอยางเปนระบบและเปนมาตรฐานเดียวกัน และสามารถตอบสนองตอความตองการของผูพัฒนาโครงการไดดียิ่งขึ้น จึงมีโครงการพัฒนาระบบบริหารงานคุณภาพการวิเคราะหและรับรองโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด ตามมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 โดยเริ่มตั้งแตการรับเอกสารจากผูพัฒนาโครงการ การวิเคราะหและรับรองโครงการ ตลอดจนการออกหนังสือรับรองโครงการ (LoA) เพื่อใหสามารถนําระบบบริหารงานคุณภาพไปประยุกตใชอยางมีประสิทธิผล รวมทั้งปรับปรุงระบบอยางตอเนื่อง

ผลการดําเนินงานในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ ไดดําเนินการแกไข/ปองกัน ขอบกพรองหรือขอสังเกตจากการตรวจติดตามภายใน (Internal Audit) ตามที่ไดเสนอแนวทางการแกไข/ปองกันในการประชุมคณะทํางานการพัฒนาระบบจัดการคุณภาพการวิเคราะหและรับรองโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด ตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 และทีมตรวจติดตามภายในไดติดตามประสิทธิภาพผลการแกไข/ปองกันดังกลาวแลว โดยไดนําผลการตรวจติดตามภายในและขอมูลอื่นๆ ที่กําหนดในมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 เสนอในที่ประชุมทบทวนฝายบริหาร (Management Review) ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕

ในการดําเนินงานขั้นตอนตอไป อบก. จะดําเนินงานยื่นขอการรับรองระบบตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 เพื่อให อบก. มีระบบบริหารงานคุณภาพในการวิเคราะหและรับรองโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด และไดรับการรับรองระบบจากหนวยงานตรวจติดตามภายนอกที่ใหการรับรองระบบมาตรฐาน ISO (Certification Body)

๓.๖ โครงการติดตามประเมินผลโครงการลดกาซเรือนกระจก รวมกับสิ่งแวดลอมภาค และการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน

๓.๖.๑ โครงการความรวมมือในการติดตามประเมินผลโครงการลดกาซเรือนกระจกกับ สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค (สสภ.)

การติดตามประเมินผลโครงการที่ไดรับหนังสือใหคํารับรอง เปนบทบาทหลักสําคัญอีกประการหนึ่งของ อบก. เพื่อใหการติดตามประเมินผลโครงการฯ เปนไปอยางรวดเร็ว ตอเนื่อง แมนยํา และสามารถปรับปรุงขอมูลโครงการฯ ใหทันสมัย อยูตลอดเวลา จึงไดมีความรวมมือระหวาง อบก. กับสํานักงานสิ่งแวดลอมภาค (สสภ.) เพื่อให สสภ. ซึ่งเปนหนวยงานในพื้นที่ ซึ่งอยูภายใตกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอมเชนเดียวกัน และมีหนาที่โดยตรงในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งมีสํานักงานกระจายอยูทั่วประเทศ สามารถติดตามประเมินผลโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด แทน อบก. ไดอยางมีประสิทธิภาพ

ผลการดําเนินงานในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ อบก. ไดมอบหมายให สสภ. ๑ - ๑๖ เขาติดตามประเมินผลโครงการ CDM ในพื้นที่ที่รับผิดชอบตามแผนงาน รวมทั้งสิ้น ๗๐ โครงการ และเขารวมรับฟงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ CDM โดยการดําเนินงานขั้นตอนตอไป อบก. จะเขารวมติดตามประเมินผลโครงการ CDM รวมกับ สสภ. เพื่อฝกการปฏิบัติงานภาคสนามใหแกเจาหนาที่ของ สสภ. นอกจากนี้ อบก. และ สสภ. จะมีการประชุมทุกเดือน ณ กรมควบคุมมลพิษ เพื่อหารือการดําเนินโครงการดังกลาวภายใตความรวมมือ

๓.๖.๒ โครงการการพัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพ (ISO 9001-2008) ในการตรวจติดตามประเมินผลโครงการลดกาซเรือนกระจก

อบก. ไดตระหนักถึงคุณภาพในการตรวจติดตามประเมินผล จึงมีแผนการพัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพในการตรวจติดตามประเมินผลโครงการลดกาซเรือนกระจก ตามมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 เพื่อใหมีการดําเนินงานอยางเปนระบบและเปนมาตรฐานเดียวกัน

ผลการดําเนินงานในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ อบก. ไดสงเสริมเจาหนาที่ที่เกี่ยวของใหมีความรู ความเขาใจในระบบบริหานงานคุณภาพ ISO 9001 : 2008 เพื่อสามารถนําไปปฏิบัติงานและจัดทําเอกสารคุณภาพในข้ันตอนตอไปได โดยมีการฝกอบรมจํานวน ๓ หลักสูตร ดังนี้

- Introduction and Awareness to ISO 9001 : 2008 เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ - ISO 9001:2008 Internal Quality Audit เมื่อวันที่ ๑๕ – ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ - เทคนิคการจัดทําเอกสาร ISO 9001:2008 และการนําไปประยุกตใช เมื่อวันที่ ๒๖ – ๒๗ พฤศจิกายน

๒๕๕๕

ภารกิจท่ี ๒ : สงเสริมการพัฒนาโครงการ และการตลาดซื้อขายปริมาณกาซเรือนกระจกท่ีไดรับการรับรอง (Carbon Market)

๑. การสงเสริมผูประกอบการในการซื้อขายคารบอนเครดิต

๑.๑ การจัดกิจกรรมผูซื้อพบผูขาย อบก. ในฐานะเจาภาพรวม (Official Host) รวมกับ International Emission Trading

Association (IETA) และ Koelnmesse ไดจัดการประชุมและแสดงนิทรรศการ Carbon Forum Asia 2012 (CFA2012) เมื่อวันที่ ๓๐ – ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัลเวิลด กรุงเทพฯ โดยมีผูเขารวมประชุมกวา ๖๐๐ คน จาก ๔๒ ประเทศ และมีผูแทนองคกรธุรกิจกวา ๙๐ องคกร จาก ๒๗ ประเทศ เขารวมในงานนี้ ซึ่ง อบก. ไดนําผูพัฒนาโครงการ CDM ของไทยและองคกรภาคีที่เกี่ยวของ จํานวน ๑๐ ราย มารวมแสดงนิทรรศการเผยแพรโครงการ CDM ทําใหผูพัฒนาโครงการไดมีโอกาสพบปะกับคูคาเพื่อทําธุรกิจรวมกัน เชน มีผูสนใจซื้อคารบอนเครดิตจากโครงการของบริษัท ทีพีไอ โพลีน จํากัด (มหาชน) จํานวน ๓ ราย ไดแก ๑) VATTENFALL Energy Trading Netherlands N.V. ๒) AitherCO2 Ltd. และ ๓) BUNGE Emission Group, Singapore และจากโครงการของบริษัท วิจิตรภัณฑปาลมออยล จํากัด ๑ ราย คือ Shell International Eastern Trading Company

นอกจากนี้ อบก. ไดนําผลงานขององคกรในดานตางๆ มาแสดง เชน แนะนําองคกรและภารกิจของ อบก. โครงการ CDM ของประเทศไทยที่ไดรับ LoA จาก อบก. โครงการฉลากคารบอน เปนตน พรอมทั้งแจกแผนบันทึกขอมูลอิเล็กทรอนิกส (CD) ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ CDM Country Fact Sheet ของประเทศไทย ใหแกผูที่สนใจจํานวน ๓๐๐ แผน ซึ่งมีผูที่สนใจเปนจํานวนมากเขามาสอบถามขอมูลเกี่ยวกับโครงการ

CDM และการพัฒนาตลาดคารบอนของประเทศไทยจาก อบก. ไดแก ที่ปรึกษา จํานวน ๓ ราย ผูพัฒนาโครงการ จํานวน ๔ ราย DOE จํานวน ๑ ราย นักลงทุน จํานวน ๑ ราย นายหนา จํานวน ๒ ราย นักวิเคราะหตลาด จํานวน ๒ ราย และผูซื้อ จํานวน ๕ ราย

๑.๒ การจัดสั มมนา ใหความรู แก ผู ประกอบการและหน วยงานที่ เ กี่ ยวข อง การสัมมนาเรื่อง “สถานการณตลาดคารบอน กองทุนรวม และสิทธิประโยชนทางภาษี” ในวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พารค กรุงเทพฯ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับสถานการณลาสุดและแนวโนมของตลาดคารบอนของโลก กองทุนรวม และสิทธิประโยชนทางภาษีจากการขายคารบอนเครดิต ใหกับผูประกอบการอุตสาหกรรม ผูพัฒนาโครงการ ที่ปรึกษา และหนวยงานที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผูเขารวมงานสัมมนาทั้งสิ้น ๗๐ ราย

๑.๓ การเผยแพรขอมูลดานตลาดคารบอน จัดทําจดหมายขาวรายเดือน โดยสงทาง e-mail ใหผูที่สนใจจํานวน ๓,๘๙๕ ราย และจัดทําขอมูลตลาดคารบอนรายสัปดาหซึ่งเปนการติดตามความเคลื่อนไหวของตลาดคารบอนทั้งในและตางประเทศ และราคาซื้อขายคารบอนในตลาดตางประเทศ Update ขอมูลในเว็บไซตตลาดคารบอน เชน กิจกรรมการจัดสัมมนาสงเสริมการซื้อขายใหกับผูประกอบการ บทความ CARBONWATCH เรื่องนารูเกี่ยวกับกลไกตลาดแบบ Cap and Trade และภาษีคารบอน และผลงานวิจัยตางๆ รวมทั้งสิ้น ๑๔ ครั้ง และเจาหนาที่ อบก. เปนวิทยากรรับเชิญบรรยายเรื่องเกี่ยวกับตลาดคารบอนในงานสัมมนา ที่จัดโดยหนวยงานภาครัฐและเอกชน จํานวน ๒ ครั้ง

๒. การสงเสริมตลาดคารบอนภาคสมัครใจ มีการดําเนินโครงการตางๆ ดังนี้

๒.๑ โครงการพัฒนาตลาดคารบอนภาคสมัครใจ ระยะที่ ๓ (TVETS ๓) อบก. ไดดําเนินการศึกษาวิจัยเพื่อหารูปแบบที่เหมาะสมสําหรับตลาดคารบอนภาคสมัครใจในประเทศ รวมถึงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญ ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวทางการจัดตั้งระบบการซื้อขายใบอนุญาตปลอยกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจของไทย (Thailand Voluntary Emission Trading Scheme : TVETS) การพัฒนากลไกและโครงสรางเชิงสถาบันของตลาด ขั้นตอนในการจัดตั้ง กฎระเบียบ กระบวนการและวิธีการดําเนินการขับเคลื่อนตลาด เพื่อที่จะใหสามารถนําไปใชในการจัดตั้งตลาดไดอยางเปนรูปธรรม โดยไดจัดจางคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ใหเปนที่ปรึกษาดําเนินงานโครงการฯ และดําเนินการแลวเสร็จ ในเดือนตุลาคม ๒๕๕๕ จากผลการศึกษาเสนอแนะวาโครงสรางเชิงสถาบันที่เหมาะสมสําหรับตลาดคารบอนภาคสมัครใจสําหรับประเทศไทยควรจะเปนโครงสรางที่มีลักษณะรวมศูนย คือ มีองคกรผูกํากับตลาดในการควบคุมดูแลตลาดเพียงองคกรเดียว แตก็ควรจะจัดตั้งคณะกรรมการกํากับนโยบายตลาดคารบอนภาคสมัครใจ ที่ประกอบขึ้นดวยผูแทนจากหนวยงานสําคัญตางๆ ที่เกี่ยวของ ทําหนาที่ในการกําหนดและกํากับนโยบายการดําเนินงานตลาดคารบอน เพื่อใหเกิดการบูรณการระหวางการดําเนินงานของตลาดคารบอน กับเปาหมายและมาตรการนโยบายการจัดการกาซเรือนกระจกของประเทศไทยในภาพรวม พรอมทั้งเสนอแนะใหจัดตั้งกฎระเบียบ ระบบ และเอกสารสําหรับการดําเนินงานของตลาดอยางนอย ๖ เรื่อง ไดแก กฎระเบียบการดําเนินงานของตลาดคารบอนภาคสมัครใจในระดับอุตสาหกรรม (TVETS operating Rules) ระบบทะเบียนกาซเรือนกระจก (Registry System) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก (Emissions Management System) เอกสารแนวทางการดําเนินงานในการตรวจวัดและรายงาน (Monitoring and Reporting Guideline) เอกสารแนวทางการดําเนินงานในการทวนสอบ (Verification Guideline) และคูมือการเขารวมตลาด (TVETS User Handbook หรือ Operator Handbook) เพื่อเอื้อใหการดําเนินงานของตลาดเปนไปอยางถูกตอง รวดเร็ว และเปนระบบ

๒.๒ โครงการนํารองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและลดการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคอาคารของไทย อบก. ไดรวมกับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) และธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) จัดทํา “โครงการนํารองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและลดการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคอาคารของไทย” ขึ้น เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบการตรวจวัด รายงานผล และทวนสอบปริมาณกาซเรือนกระจกที่ลดลงจากกิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานในอาคาร ซึ่ง อบก. ไดมอบหมายใหคณะพลังงานสิ่งแวดลอมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เปนที่ปรึกษาในการดําเนินงานโครงการฯ ไดดําเนินการแลวเสร็จในเดือนตุลาคม ๒๕๕๕ โดยผลผลิตที่ไดรับ คือ ระบบการตรวจวัด รายงาน และทวนสอบ (Measurement, Reporting, and Verification System: MRV system) แบบรายอาคาร (entity-based) และแบบรายโครงการ (project-based) ซึ่งไดแก ขอกําหนดการตรวจวัด รายงานผล และทวนสอบแบบรายอาคารและแบบรายโครงการ แบบฟอรมสําหรับเอกสารประกอบโครงการ (Project Design Document: PDD) รายงานการตรวจสอบ (Validation Report) รายงานการติดตามผล (Monitoring Report) และรายงานการทวนสอบ (Verification Report) แนวทางการติดตามผลปริมาณการปลอยและดูดกลับกาซเรือนกระจกและการรายงานผลและแนวทางการตรวจสอบและทวนสอบแบบรายโครงการ และระเบียบวิธีการสําหรับโครงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากกิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานในอาคาร ๙ ระเบียบวิธี

๒.๓ โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับกิจกรรมลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจของประเทศไทยโดยใชกลไกตลาด อบก. ไดเริ่มพัฒนาโครงการใหมในปงบประมาณ ๒๕๕๖ สืบเนื่องจากระยะเวลาในการดําเนินโครงการนํารองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและลดการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคอาคารของไทยมีจํากัด ทําใหไมสามารถดําเนินการพัฒนาโครงการลดกาซเรือนกระจกฯ ไปจนถึงกระบวนการใหการรับรองคารบอนเครดิตประเภท T-VER (หรือปริมาณกาซเรือนกระจกที่ลดลงได) และการทดสอบระบบ MRV แบบรายอาคาร/โรงงานได ดังนั้น อบก. จึงไดมอบหมายใหคณะพลังงานสิ่งแวดลอมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีเปนที่ปรึกษาดําเนิน “โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับกิจกรรมลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจของประเทศไทยโดยใชกลไกตลาด” โดยมีวัตถุประสงคพัฒนาโครงการลดกาซเรือนกระจกจากกิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานในอาคารจนถึงกระบวนการรับรองคารบอนเครดิตประเภท T-VER และเพื่อทดสอบระบบ MRV แบบรายอาคาร/โรงงานใหมีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น โดยดําเนินการกับอาคารนํารอง ๑๐ อาคารภายใต “โครงการนํารองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานและลดการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคอาคารของไทย” และโรงงานนํารองในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มเติมอีก ๕ โรงงาน

๒.๔ โครงการการพัฒนากิจกรรมชดเชยคารบอน (Carbon Offsetting) เพื่อสนับสนุนตลาดคารบอนภาคสมัครใจภายในประเทศ ระยะที่ ๒ เปนโครงการตอเนื่องจากปงบประมาณ ๒๕๕๕ โดยนําผลที่ไดจากกิจกรรมตางๆ ภายใตโครงการฯ ระยะที่ ๑ มาขยายผลและทดสอบรูปแบบแนวทางการชดเชยคารบอนและมาตรฐานตางๆ ที่ไดจาก Guidelines for Carbon Offsetting จากตางประเทศ การประชุมกับผูมีสวนเกี่ยวของจากภาครัฐ เอกชน และบุคคลที่ ๓ จากทั้งในประเทศและตางประเทศวามีความเหมาะสมกับบริบทและความตองการของตลาดภายในประเทศมากนอยเพียงใด โดยจะเปนการดําเนินโครงการนํารองอยางนอย ๒ โครงการ เพื่อทดสอบระบบการซื้อขายคารบอนเครดิต เพื่อใชในการชดเชยคารบอนขององคกร หรือผลิตภัณฑ และนําประสบการณที่ไดรับจากโครงการนํารองฯ มาปรับปรุงใหเหมาะสมและสอดคลองกับบริบทของตลาดภายในประเทศในทางปฏิบัติตอไป รวมทั้งจัดกิจกรรมสรางความรูความเขาใจเรื่องการชดเชยคารบอนขององคกร/ผลิตภัณฑ ใหแกทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ

ผลการดําเนินงานเมื่อสิ้นสุดไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ อบก. ไดนํา (ราง) แนวทางการทํากิจกรรมชดเชยคารบอนและการใหการรับรองไปหารือกับผูเชี่ยวชาญจาก Institute for Global Environmental Strategies (IGES) ประเทศญี่ปุน เมื่อวันที่ ๑๙ – ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ โดยไดนําขอคิดเห็นและขอเสนอแนะมาปรับปรุงพัฒนาแนวทางการทํากิจกรรมชดเชยคารบอนที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย นอกจากนี้ ยังไดจัดประชุมเผยแพรความรูความเขาใจเกี่ยวกับกิจกรรมการชดเชยคารบอน พรอมทั้งรับฟงความคิดเห็นจากสมาชิก CSR Club ซึ่งเปนผูบริหารจากบริษัทชั้นนําของประเทศที่เปนสมาชิกในสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ SCG Experience โดยครั้งนี้มีผูเขารวมประชุมประมาณ ๔๖ ทาน ซึ่งขอคิดเห็นและขอเสนอแนะที่ไดรับจะนํามาแกไขปรับปรุงในรางแนวทางการทํากิจกรรมชดเชยคารบอนและการใหการรับรองตอไป ในขณะเดียวกันไดมีการประสานติดตอผูจัดหาคารบอนเครดิต (Credits Provider) เพื่อเขารวมในโครงการฯโดยเบื้องตนมีผูแสดงความสนใจ ๓ ราย ไดแก Emergent Ventures International, South Pole Carbon Assest Management Ltd. และบริษัท แอดวานซ เอ็นเนอรยี่ พลัส จํากัด

ภารกิจท่ี ๓ : เปนศูนยกลางขอมูลสถานการณดําเนินงานดานกาซเรือนกระจก

๑. การจัดทําฐานขอมูลบัญชีกาซเรือนกระจกของประเทศไทย (GreenhouseGas Emission Inventory) ไดดําเนิน“โครงการประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกจากภาคพื้นดิน ในสาขาเกษตร ปาไม และการใชประโยชนที่ดิน (AFOLU) ระดับรายจังหวัดดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร”เพื่อจัดทําเพิ่มเติมในอีก ๓ กลุมกิจกรรม ไดแก ปศุสัตว คารบอนในดินจากการใชประโยชนทิ่ดิน คารบอนในดินจากกิจกรรมทางการเกษตร ซึ่งในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ ผลการดําเนินงานที่ได คือ ฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรการปลอยกาซเรือนกระจกจากภาคพื้นดิน จํานวน ๗๖ จังหวัด และผลการออกแบบระบบ (โปรแกรม) การคํานวณการปลอยกาซเรือนกระจกในกิจกรรม ไดแก

๑. การปลอยกาซเรือนกระจกจากภาคปศุสัตว ๒. การปลอยกาซเรือนกระจกจากผืนดิน จากการใชที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช

ประโยชนที่ดิน แบงออกเปน ๒.๑ ปริมาณคารบอนที่สะสมในดินแรธาตุ ๒.๒ ปริมาณคารบอนที่สะสมในดินอินทรีย ๓. การปลอยกาซเรือนกระจกจากผืนดิน จากการทําการเกษตร ประกอบดวย

๓.๑ การใชปูนขาว (Liming) และ โดโลไมต (Dolomite) ๓.๒ การใชปุยยูเรียในพื้นที่การเกษตร ๓.๓ การปลดปลอยไนตรัสออกไซดทางตรงจากกิจกรรมการเกษตร ๓.๔ การปลดปลอยไนตรัสออกไซดทางออมจากกิจกรรมการเกษตร ๓.๕ การปลดปลอยไนตรัสออกไซดทางออมจากกิจกรรมการจัดการมูลสัตว

๒. ดําเนินการพัฒนาขอมูลอางอิงของประเทศ ซึ่งเปนขอมูลที่ไดจากการศึกษาวิจัยในสาขาตางๆเพื่อนํามากําหนดเปนขอมูลอางอิงสําหรับการคํานวณการปลอยหรือการลดกาซเรือนกระจกของประเทศไทย อบก. ไดศึกษาและเตรียมความพรอมในการจัดทําบัญชีกาซเรือนกระจกของประเทศไทย (Greenhouse Gas Inventory) ซึ่งในปจจุบัน การคํานวณคาปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคพลังงานของประเทศไทยนั้น ไดใชคาสัมประสิทธิ์การปลอยกาซเรือนกระจก (Emission Factor : EF) ที่เปนคาทั่วไป (Default EF) ที่เสนอโดย 2006 IPCC Guideline ทําใหผลการคํานวณที่ไดอาจไมสะทอนถึงปริมาณ การปลอยกาซเรือนกระจกในภาคพลังงานของประเทศไทยอยางแทจริง เนื่องจาก คา Default EF ดังกลาว อาจมีความแตกตางกันในแตละประเทศ หรือลักษณะเฉพาะของเชื้อเพลิงประเภทตาง ๆ เชน ลิกไนต เปนตน

๑๐

ในปงบประมาณ ๒๕๕๖ อบก. จะดําเนินการศึกษาขอมูลลักษณะทางเคมีของเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ใช ในประเทศไทย เพื่อเปนการทบทวน และสรุปขอมูลที่เกี่ยวของกับการจัดการทําคาสัมประสิทธิ์การปลอยกาซเรือนกระจกของประเทศไทย ซึ่งจะใชเปนขอมูลในการเตรียมความพรอมสําหรับการจัดทําคาสัมประสิทธิ์ฯ ดังกลาว รวมถึง นําไปสูการจัดทําขอมูลอางอิงเพื่อยกระดับการคํานวณจาก Tier 1 ไปสูระดับการคํานวณ ที่สูงขึ้น คือ Tier 2 หรือ Tier 3 ซึ่งทําใหผลการคํานวณปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกสําหรับการจัดทําบัญชีกาซเรือนกระจกในภาคพลังงานของประเทศไทยมีคาความนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น การดําเนินงานในไตรมาส ๑/๒๕๕๖ ไดเริ่มวางขอบเขตของการดําเนินงาน ดังนี้ ๑. เชื้อเพลิงที่จะศึกษา ไดแก ลิกไนต กาซธรรมชาติ LPG และ NGV ๒. สิ่งที่จะดําเนินการศึกษา คือ คาปริมาณคารบอน (Carbon Content), คาความรอนสุทธิ (Net Calorific Value) และคาสัมประสิทธิ์การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2 Emission Factor) จากการสันดาป (Combustion)

๓. การพัฒนาเว็บไซต www.tgo.or.th ใหมีเนื้อหานาสนใจเพิ่มเติม โดยในชวงไตรมาสที่ ๑ มีสถิติผูเขาชมเว็บไซตสะสม ตลอดชวงเวลา ๓ เดือนเทากับ ๑๙,๗๙๕ UIP ลดลง จากคา UIP สะสมของ ไตรมาสกอน (๒๑,๕๓๔ UIP) จํานวน ๑,๗๙๓ UIP

ภารกิจที่ ๔ : จัดทําฐานขอมูลโครงการที่ไดรับคํารับรอง และการขายปริมาณกาซเรือนกระจก ที่ไดรับการรับรอง

โครงการพัฒนาฐานขอมูลและระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการวิเคราะหกลั่นกรองโครงการภายใตการดาํเนินงานตามกลไกการพัฒนาที่สะอาดสาํหรับโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดแบบควบรวม (Bundling) และแบบแผนงานโครงการ (Programme of Activities :PoA)

ปจจุบันระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการวิเคราะหกลั่นกรองโครงการภายใตการดําเนินงานตามกลไกการพัฒนาที่สะอาด สําหรับโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดแบบควบรวม(Bundling) และ แบบแผนงานโครงการ (Programme of Activities: PoA) อยูระหวางดําเนินการพัฒนาระบบสวนติดตอผูใช (Graphical User Interface; GUI) และการพัฒนารูปแบบรายงาน รวมไปถึงการทดสอบการใชงานระบบผานเครือขายอินเตอรเน็ต

รูปแสดง Graphic User Interface รวมถึง Form ในการจัดเก็บ ขอมูลที่ไดพัฒนาเพื่อใหรองรับการทํางานผานเครือขาย อินเตอรเน็ต

แนวทางการดําเนินงานในระยะตอไป - พัฒนาระบบจัดเก็บ และรายงานผลขอมูล

- ทดสอบการใชงานและตรวจสอบความถูกตองของระบบสารสนเทศ - จัดทําคูมือการใชงาน และฝกอบรมใหกับเจาหนาที่ อบก.

๑๑

ภารกิจที่ ๕ : สงเสริมและพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนใหคําแนะนําแกหนวยงานภาครัฐ และ ภาคเอกชน เกี่ยวกับการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก

๑. การพัฒนาตลาดของฉลากคารบอนของผลิตภัณฑ ๑.๑ ฉลากลดคารบอน (Carbon Reduction Label) ในชวงไตรมาสที่ ๑ ไมมีผลิตภัณฑ

ที่ไดรับการขึ้นทะเบียน รวมมีผลิตภัณฑที่ไดรับการขึ้นทะเบียนแลวตั้งแตเริ่มดําเนินการจํานวนทั้งสิ้น ๑๖๓ ผลิตภัณฑ จาก ๔๒ บริษัท

๑.๒ เครื่องหมายคารบอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint) ของผลิตภัณฑ ในชวง ไตรมาสที่ ๑ มีผลิตภัณฑที่ไดรับการขึ้นทะเบียน จํานวน ๙๔ ผลิตภัณฑ จาก ๓๔ บริษัท รวมมีผลิตภัณฑที่ไดรับการขึ้นทะเบียนแลวตั้งแตเริ่มดําเนินการจํานวนทั้งสิ้น ๗๒๖ ผลิตภัณฑ จาก ๑๗๗ บริษัท

๑.๓ ฉลาก CoolMode ในชวงไตรมาสที่ ๑ ไมมีผลิตภัณฑที่ไดรับการขึ้นทะเบียนใหใชฉลากคูลโหมด รวมมีผลิตภัณฑที่ไดรับการขึ้นทะเบียนแลวตั้งแตเริ่มดําเนินการจํานวนทั้งสิ้น ๑๘ โครงสรางผา จาก ๖ บริษัท

๑.๔ การจัดสัมนาและการประชาสัมพันธ

- เจาหนาที่ อบก. เปนวิทยากรรับเชิญบรรยายเกี่ยวเรื่องฉลากคารบอนและคารบอน ฟุตพริ้นทขององคกรในงานสัมมนาที่จัดโดยหนวยงานภาครัฐและเอกชน จํานวน ๒ ครั้ง

- จัดสัมมนาเรื่อง “เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันภาคเกษตรดวยคารบอนฟุตพริ้นท ในวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พารค กรุงเทพฯ เพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับแนวทางการจัดทําคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑเกษตร ซึ่งมีผูเขารวมสัมมนาทั้งสิ้น ๒๔๐ คน

- จัดงานคารบอนฟุตพรินตฟอรั่ม ครั้งที่ ๕ – ๕/๒๕๕๕ ในวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ หองประชุมธีระ พันธุมวานิช สถาบันสิ่งแวดลอมไทย โดยมีสถาบันสิ่งแวดลอมไทยเปนเจาภาพ

- จัดสัมมนาเรื่อง “การแลกเปลี่ยนความรูเรื่องคารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑและ ขององคกร” ในวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พารค กรุงเทพฯ ซึ่งมีผูเขารวมสัมมนาทั้งสิ้น ๔๕ คน

- จัดสัมมนาเรื่อง “เสริมสรางศักยภาพอุตสาหกรรมไทยดวยคารบอนฟุตพริ้นทและฉลากคารบอน” ในวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๕ ณ โรงแรมดุสิต ไอสแลนด รีสอรท จังหวัดเชียงราย โดยเปนการดําเนินงานรวมกัน รวมกับวิทยาลัยพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยพะเยา ซึ่งมีผูเขารวมสัมมนาทั้งสิ้น ๖๐ คน

- Update ขอมูลในเว็บไซตฉลากคารบอน (เชน ผลิตภัณฑและบริษัทที่ขึ้นทะเบียนฉลาก คารบอน กิจกรรมการจัดสัมมนาที่เกี่ยวของ

๒. โครงการขยายผลกิจกรรมลดกาซเรือนกระจกในทองถิ่นเพื่อมุงสูการเปนเมืองลดคารบอนและสนับสนุนตลาดคารบอนภาคสมัครใจของประเทศไทย ระยะที่ ๒

อบก. ไดดําเนินการจัดจางใหสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ เปนที่ปรึกษาดําเนินงานโครงการฯ โดยมีระยะเวลา ๕ เดือน มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาแนวทาง/ขั้นตอนการตรวจวัด รายงาน และทวนสอบปริมาณกาซเรือนกระจกที่เหมาะสมกับบริบทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของไทย และดําเนินการทวนสอบผลการคํานวณคารบอนฟุตพริ้นทของเทศบาลที่เขารวมโครงการฯ ในระยะที่ ๑ ทั้ง ๒๓ แหง กอนและหลังการปรับปรุง พรอมทั้งปรับปรุงคูมือตัวชี้วัดและเกณฑมาตรฐานสําหรับการเปนเมืองลดคารบอน (Low

๑๒

carbon city) ที่ไดจากโครงการสงเสริมการจัดทําคารบอนฟุตพริ้นทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อมุงสูการเปนเมืองลดคารบอนในปงบประมาณ ๒๕๕๔ ใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น

ผลการดําเนินโครงการทําใหเกิดแนวทางและขั้นตอนการตรวจวัด รายงาน และทวนสอบปริมาณกาซเรือนกระจกที่เหมาะสมกับบริบทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของไทย การคํานวณคารบอนฟุตพริ้นทของเทศบาลที่เขารวมโครงการฯ ๒๓ แหง กอนและหลังการปรับปรุง ผานการทวนสอบตามหลักมาตรฐานสากล ซึ่งผลจากการคํานวณปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากกิจกรรมตางๆ ของเทศบาลที่เขารวมโครงการทั้ง ๒๓ แหง ในป ๒๕๕๔ พบวาภาพผลรวมของปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกทั้งหมด ๗๘๗,๒๙๓.๘๓ ตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทาตอป

นอกจากนี้ เทศบาลที่เขารวมโครงการไดมีการจัดทําแผนงานโครงการ/กิจกรรมการลดกาซเรือนกระจกรวมทั้งสิ้น ๖๐ โครงการ มีการดําเนินการแลวเสร็จ ๑๗ โครงการ/กิจกรรม และสามารถลดปริมาณกาซเรือนกระจกได ๔๔๑.๙๓ ตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา และมี ๑๓ เทศบาล ที่มีสามารถลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกลงไดในภาพรวม ๑๗,๐๖๘.๕๔ ตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทาตอป

นอกจากนี้ อบก. ไดทําการปรับปรุงคูมือตัวชี้วัดและเกณฑมาตรฐานสําหรับการเปนเมืองลดคารบอน ที่ไดจากโครงการสงเสริมการจัดทําคารบอนฟุตพริ้นทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อมุงสูการเปนเมืองลดคารบอนในปงบประมาณ ๒๕๕๔ ใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น และจัดพิมพจํานวน ๒,๐๐๐ เลม เพื่อนําไปขยายผลไปยังองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นๆ ตอไป โดยผานทางสมาคมสันนิบาตเทศบาลแหงประเทศไทย พรอมทั้งแจกจายใหกับหนวยงานที่เกี่ยวของและผูที่สนใจทั่วไป

๓. โครงการขยายผลการจัดทําคารบอนฟุตพริ้นทขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน

อบก. ไดมอบหมายใหสมาคมสันนิบาตเทศบาลแหงประเทศไทย เปนที่ปรึกษาและดําเนินโครงการขยายผลการจัดทําคารบอนฟุตพริ้นทขององคกรปกตครองสวนทองถิ่น ในระยะที่ ๓ ในชวงปงบประมาณ ๒๕๕๖ โดยมีระยะเวลา ๑๑ เดือน เพื่อขยายผลการสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น เกิดความรูความเขาใจ สามารถจัดทําคารบอนฟุตพริ้นทขององคกรและดําเนินกิจกรรมลดกาซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของตน ตลอดจนสามารถรายงานผลการลดกาซเรือนกระจกที่เปนไปตามแนวทางการประเมินคารบอนฟุตพริ้นทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ อบก. กําหนดและประกาศใช ซึ่งเปนการวางรากฐานไปสูการซื้อขายคารบอนเครดิตหรือการดําเนินกิจกรรมชดเชยคารบอนไดในอนาคต

ในเบื้องตน ที่ปรึกษาไดเสนอแผนการดําเนินกิจกรรมของโครงการฯ และเสนอรายงานขั้นตน (inception report) ตลอดจนเผยแพรประชาสัมพันธขอมูลคารบอนฟุตพริ้นทองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผานเครือขายที่กํากับดูแลอยูใน ๕ ภูมิภาค รวมถึงสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร เพื่อเชิญชวนเขารวมเปนองคกรนํารองในระยะที่ ๓ ซึ่งมีเปาหมายที่ ๑๗ องคกร ขณะนี้อยูในระหวางการประกาศรับสมัครและคัดเลือก ซึ่งจะแลวเสร็จในชวงปลายเดือนมกราคม ๒๕๕๖

๔. โครงการสงเสริมการจัดทําคารบอนฟุตพริ้นทขององคกรในภาคอุตสาหกรรม

สืบเนื่องจากความรวมมือทางเทคนิคที่เกี่ยวของกับคารบอนฟุตพริ้นท อบก. ไดรวมกับศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย (สวทช.) ดําเนินโครงการสงเสริมการจัดทําคารบอนฟุตพริ้นทขององคกรในภาคอุตสาหกรรมอยางตอเนื่อง ในปงบประมาณ ๒๕๕๖ ไดมอบหมายใหสถาบันสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เปนที่ปรึกษาในการดําเนินโครงการสงเสริมการจัดทําคารบอนฟุตพริ้นทขององคกรในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งมีระยะเวลาดําเนินโครงการ ๑๑ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหภาคอุตสาหกรรมสามารถคํานวณคารบอนฟุตพริ้นทขององคกรได และเตรียมความพรอมในกรณีที่ตองเขาสูระบบการซื้อขายใบอนุญาตปลอยกาซเรือนกระจก

๑๓

ใหแกภาคอุตสาหกรรม ในกรณีที่ประเทศไทยจําเปนตองกําหนดเปาหมายในการลดกาซเรือนกระจกในอนาคต

ผลการดําเนินงานในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ อบก. และ สวทช. จัดสัมมนาเปดตัวโครงการความรวมมือทางเทคนิค “โครงการสงเสริมการจัดทําคารบอนฟุตพริ้นตขององคกรในภาคอุตสาหกรรม” รวมกับพิธีสงมอบ “ระบบสนับสนุนทางเทคนิค สําหรับการประเมินและใหเครื่องหมายคารบอนฟุตพริ้นตของผลิตภัณฑ” เมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ เพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธโครงการฯ ตลอดจนเชิญชวนองคกรอุตสาหกรรมเขารวมเปนองคกรนํารองในโครงการดังกลาว ซึ่งมีผูประกอบการจากภาคอุตสาหกรรมใหความสนใจ มีคุณสมบัติสอดคลอง และสมัครเขารวมโครงการทั้งสิ้น ๔๗ ราย ผานการคัดเลือกเปนองคกรนํารองในโครงการระยะที่ ๓ ตามเปาหมาย จํานวน ๒๖ ราย ไดแก

๑. บจก. ธนากรผลิตภัณฑน้ํามันพืช ๒. บจก. อายิโนะโมะโตะ เบทาโกร โฟรเซนฟูดส (ประเทศไทย) ๓. บจก. อําพลฟูดส โพรเซสซิง่ ๔. บจก. วธู ไฉไล ๕. บจก. อีคิว.รับเบอร ๖. บมจ. สยามสตีลอินเตอรเนช่ันแนล ๗. บมจ. ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) [แกงคอย สระบรุี] ๘. บจก. ฟาบรเินท ๙. บจก. เซาทแลนดรซีอรซ (สาขาบางกล่ํา) ๑๐. บจก. คราวน เซรามิคส ๑๑. บจก. ราชาเซรามิค ๑๒. บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร [สมทุรสาคร] ๑๓. บจก. อสีเทิรน โพลีแพค ๑๔. บมจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทร ี(สาขาตรัง) ๑๕. โรงไฟฟาพระนครเหนือ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ๑๖. บจก. แปลนครเีอชั่นส ๑๗. บจก. ยเูนี่ยนโฟรเซนโปรดักสซ ๑๘. บจก. วันไทยอุตสาหกรรมอาหาร ๑๙. บมจ. ปูนซเีมนตนครหลวง ๒๐. บจก. มารีนโกลดโปรดักส ๒๑. บมจ. แคล-คอมพ อิเลก็โทรนิคส (ประเทศไทย) ๒๒. บจก. นเิด็ค อีเล็คโทรนิคส (ประเทศไทย) โรงงานโรจนะ ๒๓. บจก. เบลตัน อินดัสเตรียล (ประเทศไทย) ๒๔. บมจ. แมกเนคอมพ พรีซิชั่น เทคโนโลยี (โรงงานวังนอย) ๒๕. บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ๒๖. บจก. กัลฟ เพาเวอร เจเนอเรชั่น

๕. การพัฒนาศักยภาพสําหรับบุคคลภายนอกและหนวยงานที่เกี่ยวของ

๕.๑ โครงการจัดทําหลักสูตรและพัฒนาองคความรูดานการลดกาซเรือนกระจกเพ่ือเตรียมความพรอมสูเศรษฐกิจและสังคมคารบอนต่ํา เพื่อพัฒนาหลักสูตร สื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมและครอบคลุมเนื้อหาดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการลดกาซเรือน รวมทั้งการสงเสริมพัฒนา

๑๔

ศักยภาพบุคลากรและหนวยงานที่เกี่ยวของในการดําเนินการลดกาซเรือนกระจกโดยผานการอบรมจากหลักสูตรที่ไดดําเนินการจัดทํา ในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ อยูระหวางการจัดทําแบบสอบถามความตองการพัฒนาศักยภาพดานการบริหารจัดการกาซเรือนกระจกสําหรับนําไปแจกใหกับกลุมเปาหมายที่มีการกําหนดไวและนําผลที่ไดมาวิเคราะหและจัดทําหลักสูตรที่เหมาะสมตอไป

๕.๒ โครงการสงเสริมการพัฒนามาตรฐานและฉลากประสิทธิภาพพลังงาน (BRESL) เพื่อขจัดปญหา อุปสรรคในการพัฒนามาตรฐานและฉลากประสิทธิภาพพลังงาน ES&L (Energy Standards and labeling) หรืออีกนัยหนึ่งคือการสงเสริมการใชไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพเพื่อไปสูการใชพลังงานที่ยั่งยืน โดยกลุมประเทศที่เขารวมโครงการประกอบดวย จีน ปากีสถาน บังคลาเทศ อินโดนีเซีย เวียดนาม และไทย กลุมสินคาเปาหมาย ประกอบดวย เครื่องปรับอากาศ ตูเย็น พัดลม มอเตอร หลอด CFLs บัลลาสต ในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ มีความกาวหนาการดําเนินโครงการ ดังนี้

- ดําเนินการแจกแบบสอบถาม เพื่อนําผลการสํารวจนํามาวิเคราะหใหความชวยเหลือทางการตลาดแกผูผลิต

- จัดทําโครงการนํารองเพื่อสงเสริมใหผูประกอบธุรกิจบานพักอาศัยใชสินคาที่มีประสิทธิภาพพลังงาน : โดยมีบริษัทที่ตอบรับเขารวมโครงการ ไดแก บ.เสนา ดีเวลอปเมนต จํากัด และมีบริษัทที่อยูระหวางการตอบรับเขารวมโครงการ ไดแก บ.ศุภาลัย มหาชน จํากัด

- จัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายการจัดซื้อจัดจางภาครัฐ : ภายใตกรอบการดําเนินงานโครงการ นํารองฯ เพื่อพัฒนาใหมีการจัดทําคูมือจัดซื้อสินคาที่มีประสิทธิภาพพลังงานสูง ภายใตโครงการ BRESL

- จัดทําโครงการนํารองการจัดทําคารบอนฟุตพริ้นทในสินคาเปาหมายของโครงการ BRESL : มีเปาหมายที่จะดําเนินโครงการนํารอง ๒ ผลิตภัณฑ ไดแก เครื่องปรับอากาศและหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต (CFL)

- มีการจัดหมวดหมูเอกสารและการสืบคน Online ดาน ES&L โดยเฉพาะในชวงปรับปรุงฐานขอมูลหองสมุด คาดวาจะเสร็จสมบูรณในชวงเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๖

- จัดทําเว็บไซต BRESL Thailand : เพื่อเปนชองทางการเผยแพรองคความรูดาน ES&Lภายในประเทศ และตางประเทศ (Regional level & International level)

๕.๓ โครงการจัดทําแบบกอสรางและแบบรายละเอียดบานและอาคารตึกแถวคารบอนต่ํา อบก. ไดดําเนินโครงการจัดทําแบบกอสรางและแบบรายละเอียดบานและอาคารตึกแถว

คารบอนต่ํา” โดยวาจางศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนที่ปรึกษาในการดําเนินการตั้งแตวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๕ เพื่อทําพัฒนาเปนแบบรายละเอียดการกอสรางแบบบานและอาคารตึกแถวคารบอนต่ํา ซึ่งมีผลการศึกษวิจัยทางวิชาการรองรับถึงความสามารถในการลดการใชพลังงานและประเมินการปลอยกาซเรือนกระจกตลอดอายุการใชงาน และใหสามารถนําไปเผยแพรใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นและประชาชนทั่วไป ในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดนําสงรายงานเบื้องตน โดยมีรายละเอียด แสดงแผนการดําเนินงานในการออกแบบ เขียนแบบ และแนวความคิดในการพัฒนาแบบเบื้องตนของบานและอาคาร รวม ๓ รูปแบบ ตามขอกําหนดในสัญญาเรียบรอยแลว ในวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕

๕.๔ โครงการศูนยฝกอบรมนานาชาติดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change International Training Center: CITC) เพื่ออบรมพัฒนาศักยภาพ และถายทอดองคความรูเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศใหกับบุคลากรที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

๑๕

รวมถึง การเสริมสราง และพัฒนาเครือขายองคความรูดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในประเทศไทย และในกลุมประเทศ ASEAN โดยไดรับความรวมมือและการสนับสนุนจากองคกรความรวมมือระหวางประเทศของญี่ปุน (Japan International cooperation Agency: JICA) การดําเนินงานในไตรมาสที่ 1/2556 มีความกาวหนาการดําเนินโครงการ ดังนี ้

๑. ลงนามในกรอบความรวมมือในการดําเนินโครงการ Record of Discussion (R/D) on Japanese Technical Cooperation Project for Capacity Development on Mitigation/Adaptation for Climate Change in the Southeast Asia Region in the Kingdom of Thailand ระหวาง อบก. และ JICA เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๕

๒. ไดมีการจัดทําแบบสอบถามเพื่อทํา การประเมินความตองการในการพัฒนาศักยภาพและองคความรู (capacity need assessment) ของกลุมเปาหมาย

๓. มีการเผยแพรขาวสารการจัดตั้งศูนยผึกอบรมผานทางเว็บไซต อบก. ๕.๕ โครงการประชุมตนสักนานาชาติ (World Teak Conference 2013) ในโครงการ

“รวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข-สักสยามินทร ถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว” เพื่อรวมเทิดพระเกียรติและรวมเปนสวนหนึ่งในโครงการพระราชดําริของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ในการดําเนินโครงการ“รวมใจภักดิ์ปลูกมเหสักข-สยามมินทร ถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว” เนื่องในวโรกาสทรงมีพระชนมายุครบ ๘๔ พรรษา และเปนเวทีในการนําเสนอองคความรูทางวิชาการ

อบก. ไดรับมอบหมายใหกําหนดหัวขอการสัมมนาดาน Environment & Climate Change & Carbon Trading ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการประชุมสักนานาชาติในครั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพรความรูในดานโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดในภาคปาไม รวมไปถึงการซื้อขายคารบอนเครดิตและตลาดคารบอน โดยคาดการวาจะมีผูเขารวมรับฟงการสัมมนาในหัวขอดังกลาวประมาณ ๒๕๐ คน และดําเนินการจัดนิทรรศการสวนหนึ่งเกี่ยวกับการดําเนินงานของ อบก. ภายในพื้นที่การจัดประชุมฯ

การดําเนินงานในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ อบก. ไดทําการกําหนดหัวขอของการจัดสัมมนา และอยูระหวางประสานเชิญวิทยากร ผูเชี่ยวชาญทั้งในและตางประเทศ

๕.๖ ฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง GHG Protocol Corporate Standard for Accounting and Reporting of Corporate GHG Emissions อบก. รวมกับสถาบันทรัพยากรโลก (World Resources Institute: WRI) กําหนดจัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง GHG Protocol Corporate Standard for Accounting and Reporting of Corporate GHG Emissions ระหวางวันที่ ๑๗ – ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๕ ณ หองฝกอบรม อบก. โดยมีผูเขารวมฝกอบรมจากหนวยงานภาครัฐ เอกชน ที่เกี่ยวของและสถาบันการศึกษา จํานวน ๖๕ คน

๕.๗ สถาบันการศึกษา เยี่ยมชม อบก.และรับฟงการบรรยาย คณะอาจารยและนักศึกษา คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง จํานวน ๑๐ คน เยี่ยมชม อบก. และรับฟงการบรรยายเรื่องนโยบาย และแผนดานการบริหารจัดการกาซเรือนกระจกและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๕

๑๖

ภารกิจท่ี ๖ : เผยแพรและประชาสัมพันธเกีย่วกับการจัดการกาซเรือนกระจก

๑. การจัดนิทรรศการเพื่อเผยแพรบทบาทภารกิจของ อบก. จํานวน ๓ ครั้ง

๒. การเขารวมกิจกรรมประกอบการเผยแพรบทบาทภารกิจของ อบก. จํานวน ๔ ครั้ง

๓. การจัดทําเอกสารเผยแพร จํานวน ๒ ครั้ง

๔. การเผยแพรขอมูลและโครงการของ อบก. ทางสื่อสารมวลชนและเว็บไซต

ภารกิจท่ี ๗ : สงเสริมและสนับสนุนการดาํเนินงานดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

โครงการศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการรายงานขอมูลกาซเรือนกระจกของตางประเทศ อบก. ไดมีการศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการรายงานขอมูลกาซเรือนกระจกของตางประเทศ เชน

ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน เปนตน เพื่อนํามาใชประโยชนในการเตรียมความพรอมสําหรับรองรับการดําเนินงานเกี่ยวกับระบบรายงานขอมูลกาซเรือนกระจกที่มีจะมีขึ้นในอนาคต และเพื่อนํามาใชเปนแนวทางในการจัดทํารายงานขอมูลกาซเรือนกระจกระดับประเทศ โดยมีวัตถุประสงค

๑. ศึกษาและวิเคราะหกฎหมายของประเทศออสเตรเลีย เกี่ยวกับการจัดองคกรที่เกี่ยวของกับการวางระบบหรือแนวทางการรายงานขอมูลกาซเรือนกระจก

๒. ศึกษารูปแบบและกฎหมายของประเทศอื่น และวิเคราะหเปรียบเทียบกับประเทศออสเตรเลีย เฉพาะบางประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการจัดองคกรที่เกี่ยวของกับการวางระบบหรือแนวทางการรายงานขอมูลกาซเรือนกระจก

๓. จัดทําขอเสนอแนะดานกฎหมายและแนวทางที่เหมาะสมสําหรับประเทศไทย ในการวางรูปแบบระบบการรายงานขอมูลกาซเรือนกระจก

การดําเนินงานในไตรมาสที่ ๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ ที่ปรึกษาไดจัดสงรายงานแผนการดําเนินงานขั้นกลาง โดยศึกษา วิเคราะห และเปรียบเทียบกฎหมายเกี่ยวกับการรายงานขอมูลกาซเรือนกระจกของตางประเทศ ประกอบดวย

๑. การรายงานขอมูลโดยวิธีสมัครใจ (Voluntary) หรือกฎหมายบังคับ (Obligatory) ๒. ประเภทของกิจกรรม (Activities) ที่กฎหมายบังคับใหตองทํารายงานขอมูลกาซเรือนกระจก ๓. องคกรของรัฐที่กํากับดูแลการจัดทํารายงานของภาคเอกชน ๔. การนําขอมูลที่ไดรับจากการจัดทํารายงานไปใชประโยชน

ผลการศึกษาและวิเคราะหกฎหมาย และการวางระบบแนวทาง รวมทั้งรูปแบบการดําเนินงานระบบการรายงานขอมูลกาซเรือนกระจกในประเทศตางๆ จะนํามาใชเปนขอมูลประกอบเพื่อจัดทําขอเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมสําหรับการจัดทําโครงสรางและยกรางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดทําระบบรายงานขอมูลกาซเรือนกระจกของประเทศไทยตอไป และเมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๕ อบก. ไดจัดให มีการประชุมรับฟงความคิดเห็นผลการศึกษาโครงการฯดังกลาว โดยการประชุมรับฟงความคิดเห็นครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อหารือรวมกันกับหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของในการใหขอคิดเห็นตอกฎหมายเกี่ยวกับการรายงานขอมูลกาซเรือนกระจกของตางประเทศ ไดแก ประเทศออสเตรเลีย ประเทศสหรัฐอเมริกา และประญี่ปุน เพื่อนําไปสูแนวทางการพัฒนากฎหมายเกี่ยวกับการรายงานขอมูลกาซเรือนกระจกของประเทศไทยตอไป

๑๗

-

20.00

40.00

60.00

80.00

100.00

120.00

ไตรมาสท่ี 1(1ต.ค. - 31 ธ.ค.55)

ไตรมาสที่ 2(1 ม.ค. - 31 มี.ค. 56)

ไตรมาสที่ 3(1 เม.ย. - 30 มิ.ย. 55)

ไตรมาสท่ี 4(1 ก.ค. - 30 ก.ย. 56)

รวมเบิกจายสะสม

แผน 29.62 23.66 26.36 31.17 110.81

ผล 16.99 - - - 16.99

29.62 23.66 26.36

31.17

110.81

16.99

- - -

16.99

ลานบ

าท

แผนและผลการใชจายเงินประมาณ 2556

(รอยละ 15.33)

รายงานดานการเงิน ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน)

มีงบประมาณทั้งสิ้น ๑๑๐.๘๐๙ ลานบาท จําแนกเปน ๑. เงินทุน อบก. : เงินงบประมาณจากการอนุมัติเปลี่ยนแปลงงบประมาณเหลือจาย ประจําป

งบประมาณ ๒๕๕๕ จํานวน ๕.๕๑๗ ลานบาท เพื่อดําเนินกิจกรรมในป ๒๕๕๖ ๒. เงินงบประมาณประจําป ๒๕๕๖ ที่ไดรับจากการจัดสรร จํานวน ๑๐๕.๒๙๒ ลานบาท ๓. มีผลเบิกจายถึงไตรมาสที่ ๑ ทั้งสิ้น ๑๖.๙๘๕ ลานบาท