169
สํานักงานคณะกรรมการวิจัย 1

New Researcher Manual

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: New Researcher Manual

สํานักงานคณะกรรมการวิจัย

1

Page 2: New Researcher Manual

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ๑๙๖ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว จตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐

โทรศัพท ๐ ๒๕๖๑ ๒๔๔๕ ตอ ๔๗๙, ๔๘๐ โทรสาร ๐ ๒๙๔๐ ๖๒๘๙

www.nrct.netISBN ...............................

ตนฉบับหนังสือ

“คูมือนักวิจัยมือใหม”

2

Page 3: New Researcher Manual

พิมพครั้งแรก กรกฎาคม 2550

จัดทําโดย สวนการฝกอบรมและพัฒนา สํานักอํานวยการกลาง สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ 193 ถ.พหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตลาดยาว กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2579 0457, 0 2579 1370-9 ตอ 484, 479, 480 โทรสาร 0 2940 6289 e-mail : [email protected]

ขอมูลทางบรรณานุกรมหอสมุดแหงชาต ิ

สํานักงานคณะกรรมการวิจัย คูมือนักวิจัยมือใหม. -- กรุงเทพฯ : วงศสวางการพิมพ, 2550. 161 หนา.

.......................................................................... ......................................................................... ISBN …อยูระหวางดําเนินการไดแลวจะสงใหคะ…

พิมพท่ี บริษัท วงศสวางการพิมพ จํากัด 2 ซ.861/1 ถ.จริญสนิทวงศ แขวงบางออ เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท 0 2880 1876 โทรสาร 0 2879-1526

ลิขสิทธิ์ของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สงวนลิขสิทธิ์ หามลอกเลียนไมวาสวนใดสวนหนึ่งของหนังสือ นอกจากไดรับอนุญาต เปนลายลักษณอักษร

3

Page 4: New Researcher Manual

คํานํา

งานวิจัย มีความสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาประเทศ ผลงานวิจัยที่มีคุณคาเปนขอมูลสําคัญที่เปนประโยชนแกการวางแผนการพัฒนาหรือแกไขปญหาของประเทศทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเปนประโยชนตอการศึกษาและพัฒนาบุคลากรในทุกสาขาวิชาการใหเปนทรัพยากรบุคคลที่ เปนพลังในการสรางสรรคและพัฒนาประเทศ แตในปจจุบัน ประเทศไทยยังมีนักวิจัยเปนสัดสวนตอประชากรในจํานวนต่ํามาก เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศตางๆ ที่เจริญกาวหนาเปนประเทศที่พัฒนาแลว

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) มีภารกิจในการพัฒนาบุคลากรดานการวิจัย โดยไดเร่ิมดําเนินการฝกอบรมหลักสูตร “นักวิจัยทางสังคมศาสตร” ตั้งแต พ.ศ. 2510 เปนตนมา เปนหลักสูตรระยะยาว ใชเวลาฝกอบรม 6 เดือน และไดมีการปรับลดระยะเวลาฝกอบรมลงเปน 4 เดือนครึ่ง 3 เดือน และ 2 เดือนครึ่งตามลําดับ ตอมาเมื่อ พ.ศ. 2540 เปนชวงที่ประเทศไทยประสบปญหาภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ วช. จึงไดพิจารณาปรับปรุงหลักสูตร การฝกอบรมใหเหมาะสมกับความตองการของประเทศ จึงจัดการฝกอบรมเปน 3 หลักสูตร ไดแก หลักสูตร “การวิจัยสําหรับองคกรทองถ่ิน” หลักสูตร “นักวิจัยระดับปฏิบัติการ” และหลักสูตร “การบริหารงานวิจัยระดับหัวหนาโครงการ” และเมื่อ พ.ศ. 2545 ไดปรับปรุงหลักสูตรใหทันสมัย สอดคลองกับนโยบายดานการวิจัยของสภาวิจัยแหงชาติ โดยมีการประเมินหลักสูตรการฝกอบรมนักวิจัย ทุกหลักสูตรที่ วช. ไดจัดฝกอบรมและพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมนักวิจัยในลักษณะที่เปนหลักสูตรสหวิทยาการ (Inter-disciplinary) สหสถาบัน (Inter- institutions) และสหวิชาชีพ (Inter-professions) ที่ครอบคลุมเปาหมายคือ นักวิจัยระดับสูง ระดับกลาง และระดับเริ่มตน และเผยแพรหลักสูตรทั่วประเทศตั้งแต พ.ศ. 2546 เปนตนมา

4

Page 5: New Researcher Manual

ตอมาเมื่อ พ.ศ. 2547 วช. ไดจัดทําตําราชุดฝกอบรมหลักสูตร “นักวิจัยระดับพื้นฐาน” และพัฒนาไปสูบทเรียนวิจัยออนไลน (e-Learning) คร้ันถึงพ.ศ. 2549 วช. มีแผนที่จะฟนฟูการฝกอบรมหลักสูตร “นักวิจัยทางสังคมศาสตร” จึงไดจดัทํา “คูมือนักวิจัยมือใหม” ขึ้น โดยเชิญผูทรงคุณวุฒิดานการวิจัยเปนผูเขียน คูมือเลมนี้ไดจัดเรียงเนื้อหาตามลําดับขั้นตอนของการทําวิจัยโดยมีวัตถุประสงคที่จะใหกลุมเปาหมาย คือ นักวิชาการ นักวิจัยมือใหม และนักศึกษาอานแลวมีความสนใจประสงคจะทํางานวิจัยเพื่อประโยชนแกการพัฒนาประเทศ “คูมือนักวิจัยมือใหม” ใชภาษาที่อานงายและจัดเนื้อหาสาระใหผูอานเขาใจไดไมยาก และกําหนดให “คูมือนักวิจัยมือใหม” พัฒนาไปสูการจัดทําบทเรียนวิจัยออนไลน (e-Learning) ดวย

ในการนี้ วช. ขอขอบคุณคณะผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ซึ่งประกอบดวย ศ. ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน คุณหญิงกุลทรัพย เกษแมนกิจ ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร ศ. ดร.พันธุทิพย รามสูต ศ. ดร.ปยะสาร ประเสริฐธรรม และ ดร.ธรรมชัย เชาวปรีชา ที่กรุณาสละเวลารวมเขียน “คูมือนักวิจัยมือใหม” จนเสร็จสมบูรณเพื่อใชเปนแนวทางสําหรับผูสนใจ ที่จะเริ่มทําการวิจัย หรือนักวิจัยมือใหมที่กําลังทําการวิจัย จะไดใชเปนประโยชนในการดําเนินงานวิจัยไดถูกตองตามหลักวิชาการและไดผลงานที่มีคุณภาพ อยางไรก็ตาม คณะผูเขียนขออภัยหากพบวา “คูมือนักวิจัยมือใหม” ฉบับนี้ยังไมครอบคลุมแนวทางการวิจัยครบถวนทุกสาขา ซ่ึง วช. จะจัดทําตําราวิจัยฉบับสมบูรณออกเผยแพรตอไป

ิก

(ศาสตราจารยอานนท บุณยะรตัเวช) เลขาธ ารคณะกรรมการวิจัยแหงชาต ิ

กรกฎาคม 2550

5

Page 6: New Researcher Manual

สารบัญ หนา

คํานํา

บทที่ 1 ความสําคัญของการวิจยั 1 โดย คุณหญิงกุลทรัพย เกษแมนกจิ

บทที่ 2 การตั้งโจทยวจิัย 8 โดย ศ. ดร.พันธุทิพย รามสูต

บทที่ 3 การตั้งสมมติฐานในการวิจยั 18 โดย ศ. ดร.พันธุทิพย รามสูต

บทที่ 4 การศึกษาวรรณกรรมการวจิยั 28 โดย ศ. ดร.สมหวัง พิธิยานุวฒัน

บทที่ 5 ศิลปะในการทาํวิจยั 47 โดย ศ. ดร.ปยะสาร ประเสริฐธรรม

บทที่ 6 การวิเคราะหขอมูลและการแปลความหมาย 65 โดย ศ. ดร.สมหวัง พิธิยานุวฒัน

บทที่ 7 การเขียนรายงานและการนําไปใชประโยชน 87 โดย ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร

6

Page 7: New Researcher Manual

7

สารบัญภาคผนวก หนา

ภาคผนวก

ภาคผนวก 1 การอางอิงเอกสารในงานวิจัย 108 ศ. ดร.พันธทิพย รามสูต

ภาคผนวก 2 การทําเชิงอรรถและการทําบรรณานุกรม 110 คุณหญิงกุลทรัพย เกษแมนกิจ

ภาคผนวก 3 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ที่ควรรู 122 คุณหญิงกุลทรัพย เกษแมนกิจ

ภาคผนวก 4 ขอสังเกตเกี่ยวกับภาษาไทยในการเขียน 126 รายงานการวิจัย

ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร

ภาคผนวก 5 แนวทางปฏิบัติ จรรยาบรรณนักวิจัย 129 สภาวิจัยแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการิวจัยแหงชาติ

ภาคผนวก 6 แหลงทุนภายในประเทศ 136 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (www.nrct.nte)

Page 8: New Researcher Manual

ภาคผนวก 7 ประกาศแตงต้ังคณะทํางานจัดทํา 147 “คูมือนักวิจัยมือใหม”

ภาคผนวก 8 ประวัติคณะผูเขียน 150

8

Page 9: New Researcher Manual

9

สารบัญแผนภูมิ หนา

แผนภูมิที่

1 สัดสวนนักวิจัยตอประชากร 1,000 คน 5

2 สัดสวนคาใชจายทางการวิจัยและการพัฒนา 5 ตอผลผลิตมวลรวมในประเทศ

3 ขอมูลการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยของสํานักงาน 6 คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

Page 10: New Researcher Manual

สารบัญรูปภาพ หนา

รูปที ่1 โครงสรางวรรณกรรมวิจัยในสาขาการศกึษา 38

10

Page 11: New Researcher Manual

11

สารบัญแผนบันทกึขอมูล (CD)

๑. ระเบียบสภาวิจัยแหงชาติวาดวยการประกาศเกียรติคุณ นักวิจัยดีเดนแหงชาติ พ.ศ.๒๕๓๙

๒. ระเบียบสภาวิจัยแหงชาติวาดวยการใหรางวัล ผลงานวิจัย พ.ศ.๒๕๔๒

๓. ระเบียบสภาวิจัยแหงชาติวาดวยการใหรางวัล วิทยานิพนธ พ.ศ. ๒๕๔๒

๔. ระเบียบสภาวิจัยแหงชาติวาดวยการใหรางวัล ผลงานประดิษฐคิดคน พ.ศ. ๒๕๔๒

๕. ระเบียบสภาวิจัยแหงชาติวาดวยการอนุญาต ใหนักวิจัยชาวตางประเทศเขามาทําการวิจัย ในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๕

๖. จรรยาบรรณการใชสัตวเพ่ืองานทางวิทยาศาสตร สภาวิจัยแหงชาติ

Page 12: New Researcher Manual

12

บทที่ 1 ความสําคญัของการวิจัย

การวิจัย เปนงานที่มีความสําคัญตอมนุษยชาติมาก เพราะการวิจัยเปนรากฐานของการประดิษฐคิดคนและการพัฒนาที่นํามนุษยชาติไปสูความเจริญกาวหนาในสรรพวิทยาการตาง ๆ ประเทศที่ใหความสําคัญแกการวิจัย ยอมมีผลใหประเทศนั้นมีความรุงเรือง มั่นคงในดานเศรษฐกิจและสังคม

การวิจัย เกิดขึ้นเนื่องจากธรรมชาติและปรากฏการณตาง ๆ ของโลก ทั้งที่ เปนรูปธรรมและนามธรรมชวนใหผูคนสนใจใครรูวามีที่มาอยางไรและ จะกอใหเกิดผลอะไรในที่สุด เชน ดอกไมมีสีสันตาง ๆ ผลิดอกตูมแลวคอย ๆ บานสะพรั่งงดงามชื่นตา และบางชนิดมีกล่ินหอมชื่นใจดวย ลมพัดโชยมาสัมผัสกายทําใหเย็นสบาย อากาศเปลี่ยนแปลงจากรอนในฤดูกาลหนึ่งเปนเย็นสบายหรือเย็นจัดในอีกฤดูกาลหนึ่ง พืชพรรณไมเกิดและเติบโตผลิดอกออกผลตามธรรมชาติในผืนแผนดินแหงหนึ่ง แตไมเกิดและเติบโตไดในผืนแผนดินอีกแหงหนึ่ง ประเทศ บางประเทศมีหิมะตก แตบางประเทศไมมี ฝนตกในดินแดนแถบหนึ่งจนเกิด อุทกภัยนําความเสียหายมาสูมนุษยชาติในชวงระยะเวลาหนึ่ง แตอีกระยะเวลาหนึ่งเกิดความแหงแลง การเกิดและการสืบพันธุเพิ่มพูนประชากรมนุษยและสัตวในโลก ตลอดจนพระศาสดา ผูนําของศาสนาตาง ๆ ในโลกมีคําถามเกี่ยวกับการแสวงหาความสุขสงบอันเปนสุดยอดแหงความสุข หรือการหลุดพนจากความทุกขอันเปนสังสารวัฏของมนุษยชาติ จึงศึกษาคนควาจนบรรลุธรรมอันพึงปรารถนา และไดเผยแพรธรรมะตามหลักของศาสนานั้น ๆ แกประชากรโลก ส่ิงรอบตัวมนุษยที่กอใหเกิดคําถามขึ้นและนําไปสูการคิดคน แสวงหาคําตอบเพื่อคล่ีคลายปญหา

Page 13: New Researcher Manual

13

ตางๆ ยังมีอีกมาก ซ่ึงการตั้งคําถามและการแสวงหาคําตอบใหปญหาเหลานั้นคลี่คลายไดนําไปสูการวิจัยของมนุษยชาติในโลก

การวิจัย เปนสิ่งที่นํามนุษยไปสูการคนพบความรูใหมอันจะนําไปสู การสรางสรรคและพัฒนาใหเกิดประโยชน ประวัติศาสตรของโลกไดแสดงใหเห็นชัดเจนวา ความอยากรูอยากเห็นและการแสวงหาคําตอบจนบรรลุผลสําเร็จสมความปรารถนา ไดกอใหเกิดส่ิงแปลกใหม ส่ิงอํานวยความสะดวก และเทคโนโลยีตาง ๆ ซ่ึงไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่องตามกาลเวลา เปนประโยชนแกการดํารงชีวิตของมนุ ษ ย เ ช น เ ค รื่ อ ง บิ น ร ถ ยนต ร ถ ไฟฟ า ร ถ ใ ต ดิ น พ ลั ง ง าน ไฟฟ า แสงสวาง พลังงานขับเคลื่อน โทรศัพท โทรสาร โทรทัศน คอมพิวเตอร ยารักษาโรคราย เชน ยารักษาโรคโปลิโอ ยารักษาอหิวาตกโรค ยารักษาไขจับสั่น วัสดุนําความเจริญเติบโตมาสูพืชผลทางการเกษตร เชน ปุยเคมี ปุยชีวภาพ และอ่ืน ๆ อีกมาก ลวนเปนผลมาจากการศึกษาวิจัย เพื่อตอบคําถามอันนําไปสูการสรางสรรคและพัฒนาทั้งส้ิน

ตัวอยางสําคัญของผลการศึกษาวิจัยที่เห็นไดชัดเจนอยางหนึ่งก็คือ พี่นองตระกูลไรต (Wright) ชาวอเมริกัน มีความสงสัยวา เหตุใดนกจึงบินไดและมนุษยจะบินไปในอากาศเชนเดียวกับนกไดหรือไม เมื่อตั้งคําถามแลวก็มุงมั่นหาคําตอบดวยการคนควาวิจัยและคิดคนประดิษฐวัสดุที่จะชวยใหมนุษยบินในอากาศไดอยางนก เมื่อกาลเวลาผานไป การคนควาหาคําตอบของพี่นองตระกูลไรต นําไปสูการคิดคนประดิษฐเครื่องรอนไดสําเร็จ และหลายทศวรรษตอมา ผลงานของพี่นองตระกูลไรตของสหรัฐอเมริกา จากการตั้งคําถามและหาคําตอบจนสามารถสรางเครื่องรอนนํามนุษยบินในอากาศไดนั้น ไดรับการพัฒนาตอยอดโดยนักวิจัย ทั้งของสหรัฐอเมริกาและของประเทศที่สนใจใฝศึกษาคนควาและวิจัย ได

Page 14: New Researcher Manual

14

คิดคนและผลิตเครื่องบินชนิดตาง ๆ มีรูปแบบสมรรถนะสูงขึ้นตามลําดับอยางหลากหลาย อํานวยความสะดวกแกมนุษยชาติในดานคมนาคม ชวยใหมนุษยสามารถเดินทางดวยเครื่องบินแทนการเดินเทา การใชสัตวเชนมา หรือใชเรือแลนลอง เปนพาหนะ ยนระยะเวลาในการเดินทางไปมาหาสูกัน หรือชวยอํานวยความสะดวกในการขนสงใหรวดเร็ว สมดังคําคมของไทยที่กลาววา “ลัดนิ้วมือเดียวก็ถึง” เปนตน

ในปจจุบัน ปรากฏเปนที่ชัดเจนวา ประเทศที่ผูนําของประเทศตลอดจนประชาชนตระหนักในความสําคัญของการวิจัย และรวมการวิจัยไวในนโยบายสําคัญของประเทศ รวมทั้งทุมเททรัพยากรทั้งเงิน ทรัพยสิน และสติปญญาของคนในชาติใหแกการวิจัย สนับสนุนการดําเนินงานวิจัยเปนพิเศษ ลวนมีความเจริญกาวหนา มั่งคั่งเหนือชาติอ่ืน เชน สหรัฐอเมริกา มีความกาวหนาในการศึกษาวิจัยคนควา จนถึงขั้นสงยานอวกาศไปลงยังดวงจันทร ตลอดจนสงมนุษยไปเดินทางในอวกาศได รวมทั้งการศึกษาคนควาวิจัยอันนําไปสูการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ เชน จรวด ขีปนาวุธ พลังงานนิวเคลียร ซ่ึงใชในการปองกันประเทศและการสรางอํานาจจนไดเปนผูนําของโลก และสามารถจําหนายผลิตผลดังกลาวแกนานาประเทศ นําความมั่งคั่ง มั่นคงทางเศรษฐกิจมาสูประเทศ ประเทศรัสเซียก็เชนเดียวกันกับสหรัฐอเมริกา ที่มีความเจริญกาวหนาดานอวกาศ ถึงขนาดสรางสถานีอวกาศนอกโลก และสงมนุษยไปเดินทางในอวกาศ ประเทศฝรั่งเศสซึ่งมีช่ือเสียงในการผลิตเครื่องสําอางและเครื่องประทินความงาม นํารายไดมาสูประเทศอยางมหาศาล เยอรมนีเปนประเทศที่มีช่ือเสียงในดานผลิตเครื่องจักรกลและเทคโนโลยีกาวหนา หรือประเทศในเอเชีย เชน ญี่ปุน จีน เกาหลี ซ่ึงในปจจุบันเปนผูนําของทวีปเอเชียในดานการผลิตสินคาไฟฟา นํารายไดมาสูประเทศ เปนผลดีตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจ หรือแมแตประเทศไทย ซ่ึงในปจจุบันเปนผูนํา

Page 15: New Researcher Manual

15

ของโลกในการคาขาว สินคาขาวของไทยไดรับความนิยมสงูในนานาประเทศทัว่โลก เหลานี้ลวนเปนผลมาจากการพัฒนาผลผลิตโดยอาศัยการวิจัยเปนรากฐานทั้งสิ้น

ประเทศไทยเปนประเทศที่ถูกกําหนดโดยองคการสหประชาชาติ ใหเปนประเทศที่กําลังพัฒนา (developing country) อันเนื่องมาจากเมื่อเทียบประเทศไทยกับประเทศที่เจริญรุงเรืองในดานเทคโนโลยีและความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมแลว นับไดวาประเทศไทยยังออนดอยอยูมาก ทั้งนี้ แมวาจะมีรัฐธรรมนูญของราชอาณาจักรไทย นับแต พ.ศ. 2475 จนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2550) ถึง 17 ฉบับแลว แตก็มีเพียงไมกี่ฉบับที่มีการบัญญัติเกี่ยวกับการสงเสริมสนับสนุนการวิจัยของประเทศ ไดแก ฉบับ พ.ศ. 2492, พ.ศ. 2511, พ.ศ. 2517 พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2534

อยางไรก็ดี แมวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดกําหนดใหรัฐสงเสริมสนับสนุนการวิจัยดังกลาวแลว ซ่ึงแสดงวารัฐตระหนักในความสําคัญของการวิจัย และไดจัดตั้งหนวยงานรับผิดชอบดําเนินการดานสนับสนุนและสงเสริมการวิจัย เชน สภาวิจัยแหงชาติ แตในความเปนจริงแลว นักปกครองและเจาหนาที่ของรัฐในระยะเวลาที่ผานมา ก็ยังไมสามารถดําเนินการใหบรรลุเปาหมายของเจตนารมณของรัฐธรรมนูญอยางแทจริง เนื่องจากการดําเนินงานดานวิจัยของประเทศยังมีปญหาอยูมาก ทั้งดานงบประมาณและบุคลากรเพื่อการวิจัยของประเทศ ซ่ึงอยูในเกณฑที่ต่ํามากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโลก โดยเฉพาะประเทศในเอเชีย ดังปรากฏวา 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจของไทยฉบับที่ 9 รัฐไดจัดสรรงบประมาณการวิจัยสําหรับ พ.ศ. 2549 ไวเพียงประมาณรอยละ 1.5 ของงบประมาณประจําป

Page 16: New Researcher Manual

0.38 0.52

2.13

3.89

5.29

6.73

0

16

1

2

3

4

5

6

7

1ที่มา : ขอมูลการประชุมสภาการศึกษาเรื่อง "การวิจัยทางการศึกษาไทย"

โดย วัฒนา อาทิตยเท่ียงสํานกัเลขาธิการสภาการศึกษา www.onec.go.th

แผนภูมิที่ 1 แสดงสัดสวนของนักวิจัยตอประชากร 1,000 คน

2. เมื่อเปรียบเทียบสัดสวนของนักวิจัยตอประชากร 1,000 คนระหวางประเทศไทยกับประเทศอื่น ๆ จะพบวาประเทศไทยอยูในเกณฑต่ําสุดรองจากมาเลเซยี ดังนี้

ไทย

มาเลเซีย

สิงคโปร

ไตหวัน

เกาหลี

ญ่ีปุน

3. เมื่อเปรียบเทียบสัดสวนคาใชจายทางการวิจัยและการพัฒนาตอผลผลิตมวลรวมในประเทศ (GDP) ของประเทศไทยกับตางประเทศคิดเปนรอยละ ปรากฏวา ประเทศไทยมีคาใชจายทางการวิจัยและพัฒนาต่ํากวากลุมประเทศอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมใหมและประเทศในเอเชีย เชน

0.26 0.69

2.13 2.452.64 3.12

00.5

11.5

2

2.53

3.5

1ที่มา : ขอมูลการประชุมสภาการศึกษเรื่อง "การวิจัยทางการศึกษาไทย"

โดย วัฒนา อาทิตยเที่ยงสํานกัเลขาธิการสภาการศึกษา www.onec.go.th

ภูมิที่ 2 แสดงสัดสวนของนักวิจัยและการพัฒนา ตอยอดผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแผน

ไทย

มาเลเซีย

สิงคโปร

ไตหวัน

เกาหลี

ญ่ีปุนา

พ.ศ. 2548

Page 17: New Researcher Manual

นอกจากปญหาดังกลาวแลว ประเทศไทยยังมีปญหาอื่นอีกมาก เชน ผลงานวิจัยยังไมมีคุณภาพเทาที่ควร และไมเอื้อตอการพัฒนาประเทศ ดังจะเห็นไดจาก ขอมูลการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยของสภาวิจัยแหงชาติ (พ.ศ. 2544-2549) คิดเปนรอยละไดดังนี้ ขอมูลการประเมินคุณภาพผลงานวิจัย

ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง

24.24 1.25 20.85

53.66 ที่มา : ขอมูลการประเมินคุณภาพการวิจัย ของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ พ.ศ. 2544-2549

เมื่อพิจารณาปญหาและสถิติดังกลาวแลวจะเห็นไดวา สภาพการวิจัยของประเทศไทย อยูในเกณฑที่มีปญหาตองไดรับการแกไขเยียวยาอยางจรงิจงัและรีบดวน เพื่อใหประเทศไทยสามารถกาวเดินในเสนทางการพัฒนาอยางไดผล ทันตอความกาวหนาของโลกและทัดเทียมแขงขันไดกับประเทศอื่น ๆ และเนื่องจากการพัฒนาประเทศที่ไดผลอยางแทจริงตามเปาหมาย จะตองอาศัยการวิจัยท่ีมีคุณภาพเอื้อตอการพัฒนาประเทศ รัฐจึงจําเปนตองสงเสริมและสนับสนุนการวิจัย ทั้งในดานงบประมาณและการสรางบุคลากรวิจัยใหเพิ่มขึ้นทัดเทียมนานาประเทศที่เห็นความสําคัญของการวิจัย และไดสงเสริมสนับสนุนการวิจัยในประเทศของตนจนสามารถนําผลไปพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ รวมทั้ง พัฒนาผลผลิตใหเปนประโยชนตอเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ ตลอดจนมวลมนุษยชาติ เปนที่ประจักษแกโลกตลอดมา

17

Page 18: New Researcher Manual

18

สภาวิจัยแหงชาติ ซ่ึงเปนหนวยงานหนึ่งของรัฐที่รับผิดชอบในดานสนับสนุนและสงเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ ตระหนักในปญหาดังกลาว จึงมุงมั่นที่จะแกปญหาดวยการสรางสรรคและพัฒนานักวิจัย ใหเพิ่มทั้งจํานวนนักวิจัยและคุณภาพของงานวิจัย จึงมอบใหผูทรงคุณวุฒิดานการวิจัยรวมกันจัดทํา “คูมือวิจัยสําหรับนักวิจัยมือใหม” เลมนี้ขึ้นเพื่อใชประโยชนในการฝกอบรมนักวิจัย

Page 19: New Researcher Manual

19

บทที่ 2 การตั้งโจทยวิจัย

การวิจัย คือ การหาคําตอบใหแกคําถามที่ผูวิจัยอยากรูเกี่ยวกับปญหาที่ผูวิจัยมองเห็นซ่ึงอาจมีหลายปญหา แตผูวิจัยตองเลือกปญหาที่เห็นวาสําคัญและมีความจําเปนตองหาคําตอบโดยการศึกษาวิจัย ในการเลือกปญหาที่จะวิจัย ผูวิจัยตองสามารถแถลงลักษณะปญหาไดชัดเจนวาผูวิจัยตองการศึกษาอะไร มีเหตุผลอยางไร ปญหานั้นสําคัญอยางไร หรือเพราะอะไรจึงเปนปญหา การระบุตัวปญหาที่จะวิจัยไดชัดเจนจะชวยใหสามารถกําหนดวัตถุประสงค สมมติฐาน และตัวแปรที่จะศึกษา ตลอดจนวิธีการที่จะวัดตัวแปรนั้นไดดีและงาย ปญหาคือ อะไร ปญหา คือ ส่ิงที่นําความยุงยากและความรูสึกไมสบายใจ ไมพอใจในสถานการณที่เปนอยูมาสูผูที่เห็นปญหา หรือความขัดแยงระหวางสิ่งที่คนเชื่อวานาจะเปนกับสิ่งที่เปนอยูจริง ๆ ดังนั้น

ปญหา = (สิ่งที่นาจะเปน – สิ่งท่ีเปนอยู) x ความหวงใย

ความหวงใย หรือ concern เปนประเด็นสําคัญ เพราะถาสิ่งที่กําลังเกิดขึ้นนั้น แมวาจะขัดแยงกับสิ่งที่นาจะเปน แตหากวาไมใชส่ิงที่จําเปนหรือ ส่ิงสําคัญที่เรานาจะสนใจ หวงใย ก็ยังไมนับวาเปนปญหา หรืออาจเปนปญหาเฉพาะสําหรับผูที่สนใจเทานั้น

Page 20: New Researcher Manual

20

แมวาปญหาจะเปนตนกําเนิดของการวิจัย แตก็ไมใชวาทุกปญหาจะตองทําการวิจัย เพราะปญหาที่นาทําวิจัยได (potential research situation) จะตองประกอบดวยเงื่อนไข 3 ประการดังนี้

1. มีสถานการณที่เห็นไดวามีความขัดแยงระหวางสิ่งที่เปนอยูกับสิ่งที่ควรจะเปน

2. มีคําถามเกิดขึ้นวา เหตุใดจึงเปนเชนนั้น 3. มีคําตอบหรือคําอธิบายท่ีพอฟงขึ้น หรือพอเปนไปไดสําหรับคําถาม

นั้นอยางนอย 3 คําตอบ เงื่อนไขประการที่ 3 นี้มีความสําคัญ เพราะถาปญหาที่ขัดแยงนั้นหาคําตอบไดมีเพียงคําตอบเดียว ก็ถือวาปญหาดังกลาวยังไมสําคัญเพียงพอที่จะทําการวิจัย

2.1 ตัวอยางปญหาที่ไมใชปญหาวิจัย สถานการณ : การสํารวจตําบล ก. อําเภอโพนพิสัย คร้ังลาสุด เมื่อป 2526

พบวามีผูปวยโรคเรื้อน 200 คน รับยา DDS จากสถานีอนามัย แตเมื่อเดือนธันวาคม 2527 ตามสถิติของสถานีอนามัยไมปรากฏวามีผูปวยโรคเรื้อนรับยา DDS เลย

ความขัดแยง : ผูปวยโรคเรื้อน 200 คน เคยรับยา DDS แตปตอมา ทั้ง 200 คน ไมมารับยาเลย

คําถาม : มีปจจัยอะไรที่ทําใหผูปวยโรคเรื้อนทั้ง 200 คน หยุดใชยา คําตอบ : เพราะเดือนกันยายน – ตุลาคม – พฤศจิกายน 2527 เกิด

น้ําทวม ทางขาด ทําใหจัดสงยาจากจังหวัดมาที่ตําบล ก. ไมได และยาที่สถานีอนามัยมีอยูก็หมดลง

Page 21: New Researcher Manual

21

จากตัวอยางเห็นวา สถานการณปญหามีอยู แตเปนปญหาที่ รูคําตอบ อยูแลวจึงไมจําเปนตองทําวิจัย ปญหานี้จึงไมใชสถานการณที่ควรทําการวิจัย 2.2 ตัวอยางปญหาท่ีเปนปญหาวิจัย สถานการณ : จากการสํารวจครั้งลาสุด หลังจากที่หนวยควบคุมโรค

มีการโอนงานควบคุมโรคเรื้อนใหจังหวัดรับไปดําเนินการแลว พบวาอัตราการมารับยา DSS ของผูปวยโรคเร้ือนในตําบลตาง ๆ แตกตางกันมาก ทั้ง ๆ ที่ทุกตําบลตางก็ไดรับบริการเทา ๆ กัน เชน บางตําบลมีอัตราการมารับยาสูงมากถึง รอยละ 80 ในขณะที่บางตําบลมีอัตราการมารับยาเพียง รอยละ 6

ความขัดแยง : ผูปวยโรคเรื ้อนทุกตําบลควรมีอัตราการมารับยา DDS เทา ๆ กัน แตความเปนจริงกลับแตกตางกันมาก

คําถาม : มีปจจัยอะไรที่เกี่ยวของกับความแตกตางนี้ คําตอบที่อาจเปนไปได : มีดังนี้

2.2.1 ความแตกตางในสภาวะสังคมเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม เชน อาชีพ ราษฎรบางตําบลเปนเกษตรกร บางตําบลเปนชาวประมง บางตําบลเปนกรรมกรรับจาง ศาสนาหรือความเชื่อ ราษฎรบางตําบลเชื่อไสยศาสตรหรือเชื่อแพทยแผนโบราณ การคมนาคม ราษฎรบางตําบลอยูติดตลาด การคมนาคมสะดวก บางแหงไมสะดวก

Page 22: New Researcher Manual

22

สาธารณูปโภค บางตําบลมีที่ทําการไปรษณีย มีไฟฟาใช หรือ มีตลาดใหญ บางตําบลไมมี

2.2.2 ความแตกตางในดานการสนับสนุนการควบคุมโรค เชน องคกร : มีอาสาสมัครหมูบาน อาสาสมัครสาธารณสุข กลุมหนุมสาว หรือผูนําชุมชนที่เขมแข็ง ทัศนคติ : ราษฎรบางตําบลมีทัศนคติทางบวกตอผูปวยโรคเร้ือน และชวยเหลือ กระตุนใหรักษา แตราษฎรบางตําบลรังเกียจไมยอมรับผูปวยโรคเรื้อน ระยะความสัมพันธ : ราษฎรบางตําบลมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด สนิทสนม มีลักษณะเปนความสัมพันธแบบปฐมภูมิ ราษฎรบางตําบลเปนแบบทุติยภูมิ จึงมีความแตกตางในการสนับสนุนดูแลกัน

2.2.3 ความแตกตางในดานประสิทธิภาพการทํางานของเจาหนาท่ี เชน แรงจูงใจ ความขยันขันแข็ง ความรูความสามารถ เปนตน

ดังนั้นจึงสรุปไดวา

ก. ปญหาในการวิจัยตองเปนปญหาที่ตองการคนหาคําตอบในขอเท็จจริง การใหคําตอบในระดับของการใชเหตุผลธรรมดา หรือสามัญสํานึก ไมถือวาเปนปญหาในแงของการวิจัยหรือตองทําวิจัย

ข. ปญหา คือ ชองวางระหวางความคาดหวังในขอเท็จจริงกับขอเท็จจริง ที่เปนอยูจริง ซ่ึงความคาดหวังนี้จะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อมีความอยากรูอยากเห็นหรือความสนใจเปนองคประกอบสําคัญ

Page 23: New Researcher Manual

23

2.3 การกําหนดประเด็นปญหาที่จะวิจัย (identification of research problem) ขั้นตอนที่สําคัญขั้นแรกของการดําเนินการวิจัย คือ การกําหนดประเด็นวิจัย

ประเด็นปญหาของการวิจยั เกิดจากปฏิกิริยาของปจจัย 4 ประการ คือ 2.3.1 การเกิดปรากฏการณ (phenomenon) 2.3.2 ความอยากรู (curiosity) 2.3.3 แนวความคิดทฤษฎี (theory, concept) 2.3.4 อุดมคติ หรืออุดมการณ (ideology)

2.3.1 การเกิดปรากฏการณ หมายถึง สถานการณหรือเหตุการณที่เกิดขึ้นและอยูในความสนใจ ซ่ึงอาจเปนเหตุการณที่ผูวิจัยสังเกตเห็นเอง หรือมีผูอ่ืนสังเกตและเสนอไวเปนบทความ หรือบันทึกเปนลายลักษณอักษร หรือถายทอดเปนวาจา และอาจเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นจริง ๆ หรือเปนการเกิดปรากฏการณทางทฤษฎีหรือแนวคิดก็ได ส่ิงเหลานี้จะกระตุนใหผูวิจัยเกิดความสนใจปรารถนาจะหาคําตอบหรือหาคําอธิบาย เพื่อสนองความอยากรู 2.3.2 ความอยากรู เปนสัญชาตญาณอยางหนึ่งของมนุษยที่มีตอส่ิงรอบตัว ซ่ึงหาคําตอบหรือคําอธิบายปรากฏการณที่ตนสนใจไมได โดยเฉพาะผูมีคุณสมบัติของนักวิ จั ยจะตองมีความกระตือ รือรนและอยากรู อยาก เห็น เปนพิ เศษ มีความรูสึกไวมากตอเหตุการณตาง ๆ รอบตัว ความอยากรูที่วานี้ตองเปนความอยากรูอยากเห็นในทางที่จะพัฒนาความคิดอานดวยวิทยาการทางวิทยาศาสตร ไมใชความอยากรูอยากเห็นในระดับสามัญสํานึก 2.3.3 แนวความคิดทางทฤษฎี เปนชุดของขอเท็จจริงที่ไดมีการสรุปไวเปนระบบ เพื่อใชเปนเครื่องมือในการอธิบายปรากฏการณตาง ๆ และสามารถนําไปคาดการณและควบคุมสถานการณของปรากฏการณตาง ๆ ไดดวย ในการวิจัย

Page 24: New Researcher Manual

24

จึงใชทฤษฎีเปนกรอบความคิด (framework) ที่จะศึกษาปรากฏการณตาง ๆ โดยผานกระบวนการสรุปแบบอุปนัย (deductive reasoning) ซ่ึงจะทําใหผูวิจัยมองเห็นปญหาไดชัดเจน และถูกทิศทางมากขึ้น ทฤษฎีจึงเปนเครื่องมือทางวิทยาศาสตรที่ผูวิจัยจะตองมีความรูอยางเพียงพอ 2.3.4 อุดมคติ หรืออุดมการณ หมายถึง ความเชื่อหรือทัศนฐาน ที่ผูวิจัยมีตอปรากฏการณ หรือเหตุการณตาง ๆ อันเปนผลรวมของคานิยม การฝกอบรม และการสังเกตการณที่ผูวิจัยไดรับมา และเปนจุดยืนของผูวิจัยเองที่จะทําใหผูวิจัยมองเห็น และแปลความหมาย ของสถานการณหรือปรากฏการณตาง ๆ ไปในแนวทางที่ตนถนัดหรือคุนเคย จุดยืนหรือทัศนฐานของผูวิจัยนี้จะมีผลตอการกําหนดประเด็นปญหา วิธีการวิจัย การเลือกใชทฤษฎีหรือแนวคิดตาง ๆ การตั้งสมมติฐานตลอดจนการแปลความหมายของผลการวิจัย และที่สําคัญที่สุดคือ การกําหนดทิศทางของการวิจัย ปฏิสัมพันธระหวางปจจัยทั้ง 4 ประการนี้ ตางมีอิทธิพลรวมกันตอการกําหนดประเด็นปญหาที่จะวิจัย กลาวคือ ปรากฏการณเปนสิ่งเราความสนใจ และความอยากรูอยากเห็นของผูวิจัย อุดมการณของผูวิจัยจะกําหนดจุดของความสัมพันธระหวางการพิจารณาเหตุการณกับทิศทางของความอยากรู และทฤษฎีหรือแนวความคิดจะเปนกรอบที่ใชศึกษา ปรากฏการณโดยอธิบายความหมายและบงชี้ถึงผลตอเนื่องหรือสาเหตุของปรากฏการณ

Page 25: New Researcher Manual

25

2.4 ขั้นการระบุและแสดงปญหา เมื่อไดประเด็นปญหาที่จะวิจัยแลว ผูวิจัยตองแถลงปญหาโดยระบุปรากฏการณ (occurrence) ความรุนแรง (intensity) การกระจาย (distribution) ของปญหาและตัวช้ีวัดอื่น ๆ ที่มีขอมูลจริง ๆ สนับสนุน สามารถอางอิงได เพื่อ ช้ีใหผูอานเห็นสถานการณทุกสิ่งที่เกี่ยวของกับปญหา และเหตุผลที่ทําใหเปนปญหา ซ่ึงวิธีการที่จะอธิบายหรือแถลงปญหาไดดีที่สุดก็คือ การทบทวนเอกสารรายงานการวิจัยท่ีเก่ียวของ สํารวจสถิติของบริการสุขภาพตาง ๆ ศึกษาความคิดเห็นจากผูที่รูดี เกี่ยวกับปญหานั้น ๆ และคนควาศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีทางสังคมจิตวิทยา เศรษฐศาสตร วิทยาการระบาด ที่เกี่ยวของ การทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ จะชวยใหผูวิจัยสามารถกําหนดประเด็นที่จะตองแสดงได ดังนี้

1. สัดสวนการเกิดปญหานั้น ทําใหรูวา - ปญหานั้นกวางขวางครอบคลุมประเด็นตาง ๆ เพียงใด - การกระจายของปญหาเปนไปอยางไร (เชน ตามบุคคล เวลา หรือสถานที่) - เกิดบอยเพียงใด

2. แหลงภูมิศาสตรของปญหา - ปญหานั้นเกิดเฉพาะในเมืองหรือในชนบท - บริเวณที่เกิดมีลักษณะภูมิศาสตรอยางไร

3. ลักษณะประชากรของกลุมที่เปนปญหา - มีลักษณะพิเศษอยางไร - ปญหาเกิดกับกลุมประชากรใดมาก เชน เพศ ระดับการศึกษา อายุ เชื้อชาติ ชาติพันธุ ศาสนา ฯลฯ

4. เหตุผลที่อาจเปนไปไดเกี่ยวกับปญหา

Page 26: New Researcher Manual

26

- การทบทวนขอมูล ขาวสารเกี่ยวกับปญหา จะชวยช้ีแนะคําตอบใหวาเหตุใดจึงเกิดปญหา

- ความคิดเห็นของประชาชนหรือผูเกี่ยวของเกี่ยวกับปญหานั้น ในขณะนั้นเปนอยางไร - มีความสอดคลองหรือขัดแยงในความคิดเห็น เ ร่ืองปญหานั้น ระหวางกลุมตาง ๆ อยางไร

5. คําตอบที่อาจเปนไปได - มีโครงการอะไรบางที่ไดดําเนินอยูหรือไดทําไปแลว เพื่อพยายาม จะแกปญหานั้น ๆ - มีทางเลือกหรือทางแกที่ไดเสนอเปนมาตรการไปแลวอะไรบาง - ประสบความสําเร็จอยางไร - ทางเลือกใดดีกวา

6. คําถามที่ยังไมมีคําตอบ คืออะไร - แงใดของปญหาที่ควรทําวิจัยตอไปอีก

การทบทวนขอมูลเอกสารจะชี้แนะถึงความสําคัญของปญหาในแงตาง ๆ เชน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง จิตวิทยา และวิทยาการระบาด จะชวยจํากัดหรือเนนประเด็นการวิจัยใหแคบลง และจะชี้ถึงทฤษฎีหรือแนวคิดที่สําคัญ และตัวแปรที่จะศึกษานอกเหนือจากที่ผูวิจัยไดพิจารณาไวแลว จะชี้แนะถึงสมมติฐานการวิจัยที่จะตองทดสอบและสุดทายจะชวยผูวิจยัใหหลีกเลี่ยงการซ้ํารอยเดิม หรือทําซ้ํางานที่คนอื่นเคยทําแลวในอดีต

Page 27: New Researcher Manual

27

2.5 การแถลงปญหา เมื่อไดกําหนดประเด็นปญหา และหัวขอที่จะวิจัยตามขั้นตอนที่กลาวมาขางตนแลว ผูวิจัยจะตองแถลงปญหาที่เฉพาะเจาะจงสําหรับการวิจัยในเรื่องนั้นดวย เพื่อเปนการชี้เฉพาะวาในการวิจัยนี้ผูวิจัยตองการจะไดคําตอบอะไรหรือมีคําถาม ที่อยากรูอะไรบาง ซ่ึงจะนําไปสูการกําหนดวัตถุประสงคตอไป การแถลงปญหาควรจะรวมประเด็นตอไปนี้ คือ

2.5.1 ระบุประชากรที่จะศึกษา วาจะศึกษากลุมใด เมื่อไดผลการวิจัยแลว จะสามารถนําสรุปผล (generalization) ไปใชไดกับประชากรกลุมใด

2.5.2 ระบุตัวแปรที่จะศึกษา วาในการวิจัยนี้ ผูวิจัยกําหนดจะศึกษาตัวแปรอะไรเปน ตัวแปรประเด็น หรือเปนคําถามหลัก ซ่ึงในการวิจัยจะหมายถึงตัวแปรตาม ที่จะใชเปนมาตรวัดในการหาคําตอบ

2.5.3 ระบุความสัมพันธของตัวแปรท่ีจะศึกษา กรณีที่เปนการศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปร ในลักษณะที่สามารถเขาใจไดวาตัวแปรใดเปน ตัวแปรตน ตัวแปรใดเปนตัวแปรตาม

2.5.4 กําหนดแนวทางที่จะเก็บขอมูล หรือวิธีการที่ศึกษา เชน เปนการสํารวจ พรรณนา หรือวิเคราะห หรือทดลอง

2.5.5 การแถลงปญหา จะเขียนในรูปของคําบอกเลาหรือคําถามก็ได แตถาเขียนในลักษณะคําถามจะทําใหมองเห็นประเด็นปญหาที่จะวิจัยไดชัดเจนขึ้น

Page 28: New Researcher Manual

28

บรรณานุกรม สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ, ๒๕๒๙. อํานวยวิทย ชูวงษ. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ แพร พิทยา, ๒๕๑๔. Abramson J.H. Survey Methods in Community Medicine : An Introduction to Epidemiological and Evaluative studies. London & New York, Churchill Livingstone Edinburge 1979. Andrew Fischer, John Leang, John Stoeckel. Handbook for Family Plannings Operation Research Design, New York : 1983. Brown, Robert. Explanation in Social Sciences. Chichane : Adine Publishing Company, 1983.

Page 29: New Researcher Manual

29

บทที่ 3 การตั้งสมมติฐานในการวิจัย

การทําวิจัย คือการหาคําตอบใหแกคําถามที่ผูวิจัยอยากรู โดยที่ผูวิจัยมักจะ

มีคําตอบที่คาดคิดไวในใจ หรือสงสัยวาคําตอบนาจะเปนอยางนั้น อยางนี้อยูกอนแลว คําตอบที่สงสัยหรือคาดคิดไวนี้ อาจมาจากประสบการณของผูวิจัยเอง หรือจากการอานจากผลงานของคนอื่น หรือจากทฤษฎีที่เกี่ยวกับปญหาคลายกันกับผูวิจัย ในการวิจัยเราเรียกคําตอบ หรือขอสันนิษฐานที่คาดคะเนไวนี้ ว า "สมมติฐาน" 3.1 สมมติฐานในการวิจัย (hypothesis) สมมติฐาน เปนขอเสนอ (proposition) เงื่อนไข (condition) หรือหลักการ (principle) ซ่ึงสมมติขึ้น โดยที่จะเชื่อวาเปนจริงหรือไมเชื่อวาเปนจริงก็ตาม เพื่อที่จะหาทางพิสูจนโดยการใชขอมูลที่นักวิจัยหามาเพื่อใหทราบวา ขอเสนอ หรือเงื่อนไข หรือหลักการที่สมมติขึ้นนี้ตรงกับขอเท็จจริงหรือไม สมมติฐาน เปนคําอธิบายที่ตั้งไวลวงหนาชั่วคราว (tentative explanation) ซ่ึงยังไมไดพิสูจน ถาหากพิสูจนไดวาตรงกับขอเท็จจริง สมมติฐานนั้นก็จะกลายเปนคําอธิบายที่ถูกตอง กลายเปนความรูใหมที่สามารถนําไปใชอาง หรืออธิบายไดทั่ วไป เท ากับกลายเปนสวนหนึ่ งของทฤษฎีที่ ใชอ ธิบายพฤติกรรมหรือปรากฏการณในเรื่องนั้น ๆ

Page 30: New Researcher Manual

30

สมมติฐาน เปนขอความที่บอกความสัมพันธระหวางปรากฏการณหรือ ตัวแปรที่เราศึกษาอยู ดังนั้นการตั้งสมมติฐานจึงเทากับเปนการเก็งวา ตัวแปรในการวิจัยของผูวิจัยนั้นจะมีแบบแผนพฤติกรรมอยางไร และการเก็งของผูวิจัยจะถูกหรือผิด จะตองมีการทดสอบพิสูจน เมื่อไดรับการพิสูจนแลว สมมติฐานก็จะถูกผนึก (incorporate) รวมเขาในทฤษฎี 3.2 บทบาทของสมมติฐานในการวิจัย 3.2.1 สมมติฐาน เปนเครื่องชวยช้ีแนวทางในการคนหาความเปนระเบียบของขอเท็จจริง จะชวยผูวิจัยในการวางแผนรวบรวมและวิเคราะหขอมูล ทําใหการวิจัยมีจุดหมาย หรือจุดเนน แทนที่จะเปนการรวบรวมขอมูลอยางไรความหมาย สมมติฐานทําใหนักวิจัยเห็นความสําคัญของขอมูลและเหตุผลในการเก็บขอมูลนั้น ๆ 3.2.2 สมมติฐาน ชวยใหนักวิจัยมองเห็นความสัมพันธระหวางทฤษฎีและแนวความคิดตาง ๆ กับขอมูล เปนเครื่องเชื่อมระหวางทฤษฎีกับการดําเนินงานภาคสนาม 3.2.3 สมมติฐาน ชวยใหผูวิจัยเขาใจปญหาที่จะวิจัยไดชัดเจน ถูกตอง ดียิ่งขึ้น สามารถวางโครงการวิจัยไดรัดกุม และทราบวิธีที่จะใชในการวิจัย เชน จะชวยบอกตัวแปรที่เราตองการศึกษา และระบุทิศทางของการวัดตัวแปรนั้น 3.2.4 สมมติฐาน เปนเครื่องมือวิธีการที่จะวิเคราะหและแปลผลขอมูล การสรุปผล และอภิปรายผล 3.2.5 สมมติฐาน เปนเครื่องมือของนักวิจัยที่จะใชในการทดสอบ พิสูจน หรือสรางทฤษฎี

Page 31: New Researcher Manual

31

3.3 การวิจัยจําเปนตองมีสมมติฐานเสมอไปหรือไม ในการวิจัยบางเรื่อง ผูวิจัยไมสามารถตั้งสมมติฐานไวลวงหนาได ไดแก การวิจัยสํารวจ (Exploratory research) และการวิจัยพรรณนา (Descriptive research) เพื่อหาความคิด (ideas) หรือขอเท็จจริงเกี่ยวกับปรากฏการณ หรือ ตัวแปรบางอยาง ในกรณีเชนนี้ ผูวิจัยก็ไมจําเปนตองมีทฤษฎีลวงหนา การวิจัยอยางนี้ถือวาเปนการวิจัยแบบวิทยาศาสตรได แมวาขอคนพบหรือความคิดที่ไดมาจะมีน้ําหนักนอยกวาการวิจัยที่มีทฤษฎีและสมมติฐานลวงหนา 3.4 แหลงท่ีมาของสมมติฐาน 3.4.1 ไดมาจากความคิดที่เกิดขึ้นทันทีโดยไมมีที่มา (Intuitive hunch) เชนเดียวกับการสังหรณ หรือการฉุกคิดวานาจะเปนเชนนั้น 3.4.2. ไดมาจากความเชื่อทั่ว ๆ ไปในสังคม หรือจากสามัญสํานึก เชน จากคําพังเพยที่วา “ลูกไมหลนไมไกลตน” ซ่ึงสะทอนใหเห็นวา สังคมมีความเชื่อวา เด็กจะดีหรือช่ัวขึ้นอยูกับพอแมเปนองคประกอบสําคัญ หรืออยูที่กรรมพันธุ ไมใชสภาพแวดลอม หรือจากสุภาษิตที่วา “สามัคคีคือบอเกิดแหงพลัง” ก็อาจใชความคิดนี้มาตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการทํางานในหนวยงานตาง ๆ เปนตน อยางไรก็ดี มีขอควรระวัง คือ ความเชื่อเหลานี้มักแสดงออกเปนถอยคําไมชัดเจน และเปนเรื่องเกี่ยวกับการตัดสินโดยใชคุณคาของบุคคล (value judgment) หรือเปนความรูสึกที่มีคุณคาหรือศีลธรรมเปนตัวกําหนด ผูวิจัยตองสามารถแปลความคิดหรือความรูสึกเหลานี้ใหเปนความคิดที่สามารถนําไปเปนประเด็นสําหรับเก็บรวบรวมขอมูล หรือใหเปนความคิดที่เปนรูปธรรมที่คนอื่นสามารถเขาใจได และระบุขอเท็จจริงในสังคมที่สามารถรวบรวมนํามาพิสูจนได

Page 32: New Researcher Manual

32

3.4.3 ไดมาจากขอคนพบ (findings) จากผลการวิจัยที่มีผูทําไวซ่ึงผูวิจัย คิดวาขอคนพบนี้อาจนํามาเปนสมมติฐานอธิบายเรื่องที่ตนตองการศึกษาได หรือผูวิจัยอาจตองการพิสูจนวาขอคนพบ จากการวิจัยกอน ๆ จะเปนจริงหรือไม ในสถานการณ ซ่ึงเรียกวา Replication study คือ การศึกษาทดสอบ ขอคนพบของการวิจัยที่ผูอ่ืนทําไวในเรื่องเดียวกัน แตเปลี่ยนเงื่อนไขหรือทําในสถานการณใหม สมมติฐานนี้ใชอธิบายปญหานั้น ๆ ได 3.4.4 ไดมาจากการเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย (analogies) ส่ิงที่เปน อยูในธรรมชาติ หรือความจริงที่พบในวิชาสาขาอื่น ๆ ตัวอยางเชน ในสาขา พฤกษนิเวศวิทยา (Plant Ecology) พบวา พืชชนิดเดียวกันมักขึ้นและเติบโตในที่เดียวกัน ไมมีชนิดอ่ืนปะปน นักสังคมวิทยาจึงนําความคิดนี้มาอธิบายพฤติกรรมแยกกลุม (segregation) หรือรวมกลุม (aggregation) ของมนุษย เชน คนประเภทเดียวกัน เชื้อชาติเดียวกันจะรวมกลุมกัน เปนตนวา ยานคนจีน (China Town) ชุมชนแออัด (slum) ชุมชนชาวยิว (ghetto) หรือจากความคิดในเรื่องที่พืชท่ีแพรพันธุออกไปลุกลามพืชอ่ืน ก็นํามาเปนสมมติฐานอธิบายการเคลื่อนยายของคนกลุมตาง ๆ เชน เดิมคนรวยมีบานอยูกลางเมือง ตอมาคนคาขายหรือคนชั้นกลางเขามาปลูกตึกแถวเพื่อคาขาย หรือทําธุรกิจในแถบนั้น คนรวยจึงพากันอพยพออกไปอยูนอกเมือง เสมือนถูกไลที่ (invasion) มากขึ้น ความคิดเหลานี้เดิมก็เปนเพียงสมมติฐานในวิชามนุษยนิเวศวิทยา (Human Ecology) แตปจจุบันสภาพการณดังกลาวกลายเปนสวนหนึ่งของทฤษฎีเกี่ยวกับการขยายตัวของเมือง 3.4.5 ไดมาจากทฤษฎีตาง ๆ ที่เปนเนื้อหาของแขนงวิชานั้น ๆ โดยทฤษฎี คือ ขอคนพบตาง ๆ นั้น ไดรับการยืนยันจากขอเท็จจริง และมุงที่จะอธิบายปรากฏการณเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เชน ทฤษฎีทางสังคมศาสตร ทฤษฎีทางจิตวิทยา ทฤษฎีทางการพยาบาล ในเนื้อหาของแตละวิชา

Page 33: New Researcher Manual

33

ประกอบดวยทฤษฎีตาง ๆ ทําใหเกิดความเขาใจในแนวความคิดตาง ๆ นักวิจัยจึงตองมีความรูในทฤษฎีของสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ตนจะวิจัย การนําเอาทฤษฎีมาตั้งเปนสมมติฐาน เปนการใชหลักตรรกวิทยา โดยวิธีลดทอน (deduction) ดังตัวอยางตอไปนี้ ในการตั้งสมมติฐานจากทฤษฎีของวัฒนธรรมยอย (Theory of subculture) ที่กลาววา บุคคลที่มีปญหาอยางเดียวกันในสังคมมักจะรวมกลุมกันเพื่อแกปญหา จากทฤษฎีนี้นักวิจัยอาจลดทอน (deduce) ลงมาเปนสมมติฐานวา “เพราะเยาวชนทีม่ีปญหา เชน วัยรุนที่ติดยา ก็มักจะอยูรวมกันเปนกลุม” ซ่ึงอาจจะทํานายตอไปไดวา สังคมปจจุบันมีกลุมแกงวัยรุนมากขึ้น เพราะมีเยาวชนที่มีปญหามากขึ้น เปนตน 3.5 ลักษณะของสมมติฐานที่ดี หลักเกณฑที่จะใชตัดสินลักษณะที่ดีของสมมติฐาน 3.5.1 ตองมีแนวความคิดที่ชัดเจน (conceptually clear) โดยการนิยามแนวความคิดอยางชัดเจนในเชิงที่ปฏิบัติได (operational definition) และตองเปนคาํนิยามที่เปนที่รูจักกันดี เขาใจกันดี และสามารถสื่อความหมายได 3.5.2 จะตองสามารถทดสอบได คือ เปนสิ่งที่มีอยูจริง (empirical references) ที่อางถึงได ไมเปนภาวะอัตวิสัย หรือประกอบดวยขอความที่แสดงถึงความรูสึกหรือแสดงคุณคาอันยากแกการวัดหรือตีความ เชน คําวา ดี เลว ควรจะ นาจะ เปนตน 3.5.3 มีลักษณะเฉพาะเจาะจง คือ ระบุถึงความสัมพันธระหวางตัวแปรที่ตองการวัดตั้งแต 2 ตัวขึ้นไป ทั้งตัวแปรอิสระและตัวแปรตามจะตองสัมพันธกับ ตัวแปรประเด็น ระบุถึงทิศทางของความสัมพันธ รวมทั้งระบุดัชนีที่จะใชวัด ตัวแปรของการวิจัยดวย ดัชนีดังกลาวในสมมติฐานยอยแตละขอจะตองมีความ

Page 34: New Researcher Manual

34

เฉพาะเจาะจงในการทดสอบ ไมเกิดปญหาเลือกรับหรือเลือกปฏิเสธสมมติฐานหลายอยางในขอเดียวกัน 3.5.4 ตองชี้ใหเห็นวิธีการทดสอบหรือวิเคราะหวา จะใชวิธีทดสอบทางสถิติอยางใด 3.5.5 ตองเกี่ยวของกับทฤษฎี สมมติฐานที่ไดมาจากทฤษฎีจะมีน้ําหนักมากกวาสมมติฐานที่คิดขึ้นเอง การอางสมมติฐานจากทฤษฎีจะทําใหมีการเชื่อมโยงการวิจัยเขากับองคความรูในศาสตรสาขาตาง ๆ และขยายความรูในศาสตรสาขานั้น ๆ ใหกวางขวางยิ่งขึ้น

3.5.6 ตองมีพลังในการทํ านาย สามารถนํ าไปใช ในการอธิบายปรากฏการณหรือสถานการณที่คลาย ๆ กันได 3.6 วิธีเขียนสมมติฐานการวิจัย 3.6.1 ผูวิจัยตองศึกษาคนควาและรวบรวมแนวความคิดเกี่ยวกบัปญหาทีจ่ะวิจัยนั้นกอน และใชเหตุผลจากประสบการณ ทฤษฎี และผลการวิจัยคร้ังกอน ๆ เปนหลัก โดยการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารการวิจัยที่เกี่ยวของ 3.6.2 ตองเขียนใหครอบคลุมวัตถุประสงคที่ตั้งไวโดยใหสอดคลองกับวัตถุประสงค 3.6.3 ระบุความสัมพันธระหวางตัวแปรที่ศึกษาที่ระบุเปนเชิงปริมาณ 3.6.4 ระบุทิศทางของคําตอบที่คาดหวัง เชน คาดวาจะมากกวา นอยกวา มากขึ้น ลดลง เปนตน 3.6.5 เขียนแยกสมมติฐานยอยแตกออกไปเพื่อใหสามารถตอบปญหาไดเฉพาะเจาะจง สมมติฐานหนึ่งควรใหตอบคําถามเดียวเทานั้น

Page 35: New Researcher Manual

35

3.6.6 ใชภาษาที่ส่ือความหมายหรืออธิบายความชัดเจนมีการนิยามศัพท ถาใชศัพทเฉพาะเพื่อใหส่ือความหมายใหเขาใจไดตรงกัน 3.6.7 เขียนใหสอดคลองกับขอเท็จจริงทั่วไปหรือยืนยันความรูสึกของคนทั่วไป ไมฝนหรือขัดแยงกัน 3.6.8 สมมติฐานที่เขียนตองไมเห็นไดหรือตอบไดดวยสามัญสํานึก

3.6.9 เปนสมมติฐานที่ตรวจสอบได หาขอมูลได ทดสอบดวยวิธีทางสถิติได (เขียนเชิงสถิติได) 3.7 ชนิดของสมมติฐาน สมมติฐานในการวิจัยมี 2 ประเภท คือ 3.7.1 สมมติฐานเชิงพรรณนา (Descriptive hypotheses) หรือ สมมตฐิานทางวิทยาศาสตร (Scientific hypotheses) เปนสมมติฐานที่กลาวถึงความสัมพันธระหวางตัวแปรเพื่ออธิบายปรากฏการณที่จะศึกษาในรูปของคําบรรยาย เชน “เด็กชนบท มีสุขภาพฟนต่ํากวาเด็กในกรุง” “คนมีการศึกษาสูงมีอัตราพบทันตแพทยสูงกวาคนมีการศึกษาต่ํา” “ระดับเศรษฐกิจของครอบครัวไมมีผลตอภาวะฟนผุ” 3.7.2 สมมติฐานเชิงสถิติ (Statistical hypotheses) เปนสมมติฐานที่กลาวถึงความสัมพันธระหวางตัวแปรในรูปของสัญลักษณทางคณิตศาสตร เชน

μ1 - μ2 = 0

μ1 - μ2 > 0 สมมติฐานทั้ง 2 ประเภท ตั้งได 2 แบบ คือ แบบเปนกลาง และแบบ ไมเปนกลาง ดังนี้

Page 36: New Researcher Manual

36

ก. สมมติฐานแบบเปนกลาง หรือสมมติฐานไรนัยสัมพันธ (Null Hypotheses) เปนสมมติฐานที่กลาวถึงความไมแตกตางกันในคาของตัวแปร เชน “เด็กชนบท มีสุขภาพฟนไมแตกตางจากเด็กในกรุง”

μ1 = μ2 หรือ

μ1 - μ2 = 0 ข. ส ม ม ติ ฐ า น แ บ บ ไ ม เ ป น ก ล า ง ห รื อ ส ม ม ติ ฐ า น ร อ ง รั บ (Alternative Hypotheses) มีลักษณะตรงกันขามกับสมมติฐานเปนกลาง คือ กลาวถึงความสัมพันธของตัวแปรในลักษณะที่แตกตางกัน ซ่ึงจะบอกทิศทางหรือไมบอกทิศทางของความแตกตางก็ได เชน “เด็กชนบท มีสุขภาพฟนแตกตางจากเด็กในกรุง”

μ1 ≠ μ2 หรือ μ1 - μ2 ≠ 0 หรืออาจตั้งวา “เด็กชนบทมีสุขภาพฟนระดับสูงกวาเด็กในกรุง”

μ1 > μ2 (บอกทิศทาง) หรือ “เด็กชนบทมีสุขภาพฟนระดับต่ํากวาเด็กในกรุง”

μ1 < μ2 (บอกทิศทาง) โดยปกติการตั้งสมมติฐานการวิจัยเชิงพรรณนา จะตองเขียนใหสามารถเปลี่ยนเปนสมมติฐานเชิงสถิติได การที่ผูวิจัยจะเลือกตั้งสมมติฐานแบบรองรับที่บอกทิศทาง หรือไมบอกทิศทาง ขึ้นอยูกับความรูพื้นฐานของผูวิจัยเกี่ยวกับเรื่องที่จะวิจัย ซ่ึงผูวิจัยจะพิจารณาและตัดสินใจไดจากการทบทวนเอกสาร รายงานวิจัย และอาศัยพิจารณาทฤษฎีหรือประสบการณเปนกรอบ ซ่ึงจะตองไมขัดกับความเปนจริงเหลานี้ เชน เมื่อผูวิจัยพิจารณารายงานการวิจัยหรือใชประสบการณที่ตนมีอยูกอนแลวในเรื่องนี้

Page 37: New Researcher Manual

37

ต ล อ ด จ นทบท ว น ข อ เ ท็ จ จ ริ ง แ ล ว พบ ว า เ ด็ ก ที่ เ ล้ี ย ง ด ว ย น ม ผ ส ม มีฟนผุมากกวาเล้ียงดวยนมมารดา เนื่องจากปริมาณน้ําตาลในนมผสมมีมากกวา ซ่ึงตามทฤษฎี ยืนยันแนนอนแลววา น้ําตาลมีบทบาทในการทําใหฟนผุ ก็ตองตั้งสมมติฐานวา เด็กที่เล้ียงดวยนมผสมมีฟนผุมากกวาเด็กที่เล้ียงดวยนมแม ไมใชตั้งสมมติฐานกลับกัน หรือตั้งวาไมแตกตางกัน การตั้งสมมติฐาน นิยมตั้งใหมีทิศทางสัมพันธกับการที่จะทดสอบได แตการตั้งสมมติฐานแบบเปนกลางหรือสมมติฐานรองรับก็ตาม การทดสอบ จะทดสอบที่สมมติฐานเปนกลางเสมอ เชน ถาตั้งวาเด็กชนบทมีสุขภาพฟนระดับสูง

กวาเด็กในกรุง (μ1 > μ2) แตในการทดสอบจะทดสอบที่สมมติฐานรองรับคือ เด็ก

ชนบทมีสุขภาพฟนระดับไมแตกตางจากเด็กในกรุง μ1 = μ2) ถาปรากฏวาเราไมยอมรับสมมติฐานที่ทดสอบ คือ สมมติฐานแบบเปนกลาง ก็เทากับยอมรับสมมติฐานรองรับ

Page 38: New Researcher Manual

38

บรรณานุกรม สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ, ๒๕๒๙. อํานวยวิทย ชูวงษ. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ แพร พิทยา, ๒๕๑๔. Abramson J.H. Survey Methods in Community Medicine : An Introduction to Epidemiological and Evaluative studies. London & New York, Churchill Livingstone Edinburge, 1979. Fay G. Abdellah and Eugene Levine. Better patient Care through Nursing Research, New York : Macmillan Company, 1965. Moser, C.A. and Kaiton G. Survey Methods in Social Investigation, New York : Basic Book, Inc, Publisher. 1963. Ong, B.N. The practice of Health Service Research. London : Chapman and Hall, 1993.

Page 39: New Researcher Manual

39

บทที่ 4 การศึกษาวรรณกรรมการวิจัย

การวิจัยจําเปนตองศึกษาวรรณกรรมการวิจัย เพื่อใหผูศึกษาไดใชเปนขอมูลในการทําความเขาใจเรื่องที่กําลังศึกษาใหเขาใจ ไดรูวาเรื่องที่กําลังสนใจ มีผูศึกษาไวถึงไหนแลว อยางไรบาง ซ่ึงจะทําใหการออกแบบการวิจัย ไปจนถึงการสรุปผลขอมูลมีคุณภาพและสมเหตุสมผล วัตถุประสงคการเรียนรู

1. เพื่อเรียนรูความหมายและความสําคัญของการศึกษาวรรณกรรม การวิจยั

2. เพื่อเรียนรูวัตถุประสงคของการศึกษาวรรณกรรมของการวิจัย 3. เพื่อเรียนรูวิธีการศึกษาวรรณกรรมการวิจยั 4. เพื่อเรียนรูแนวปฏิบัติที่ดีในการศึกษาวรรณกรรมการวจิยั

4.1 ความหมายและความสําคัญของการศึกษาวรรณกรรมการวิจัย

4.1.1 ความหมาย วรรณกรรมทั่วไป หมายถึง เอกสารหรือผลงานเขียนทางวิชาการ

ที่จัดพิมพ เผยแพรในรูปสื่อส่ิงพิมพ ส่ือคอมพิวเตอร หรือส่ือโสตทัศนูปกรณ ตาง ๆ เชน หนังสือ ตํารา บทความทางวิชาการ รายงานการวิจัย บทความวิจัย วารสาร ดรรชนี สารานุกรม ฐานขอมูล ซีดีรอม (CD-ROM) บทคัดยองานวิจัย (Research abstracts) ไมโครฟลม (microfilm) เปนตน

Page 40: New Researcher Manual

40

วรรณกรรมการวิจัย หมายถึง ผลงานทางวิชาการที่เผยแพรในรูปส่ือส่ิงพิมพหรือส่ือโสตทัศนูปกรณตาง ๆ และสาระในวรรณกรรมหรือเอกสารนั้น มีสวนสัมพันธเช่ือมโยงกับเรื่องที่นักวิจัยตองการทําวิจัยบางสวนหรือทั้งเรื่อง แลวนําเสนอเปนรายงานการวิจัย 4.1.2 ความสําคัญ

การศึกษาวรรณกรรมการวิจัยเปนงานสําคัญที่นักวิจัยตองทําเปนงานแรก เมื่อไดกําหนดปญหาวิจัยหรือคําถามวิจัยแลว ผลการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่นําเสนอรายงานวรรณกรรมการวิจัยเพื่อเชื่อมโยงความรูที่มีอยูแลว กับความรูที่คาดวาจะได รับจากการวิจัยของตน และเพื่อใหไดสาระสําหรับ ใชประโยชนในการวางแผนวิจัย และดําเนินการวิจัยไดอยางมีประสิทธิภาพใหไดผลงานวิจัยที่มีคุณภาพถูกตองเชื่อถือได นงลักษณ วิรัชชัย (2538) ไดสรุปวา การศึกษาวรรณกรรมการวิจัยมีความสําคัญและมีคุณคา 3 ประการ คือ

1) การศึกษาวรรณกรรมการวิจัย ในฐานะเปนเคร่ืองมือเชื่อมโยงความรูทางวิชาการ การศึกษาวรรณกรรมการวิจัย ทําใหเกิดการสั่งสมความรูและเช่ือมโยงความรูเดิมกับความรูใหมกอใหเกิดการพัฒนาและเกิดความกาวหนาทางวิชาการ ในปจจุบัน รายงานการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยจะแสดงใหเห็นคําถามวิจัยที่แปลกใหมหลากหลาย รวมทั้งความรูเดิมอยางไรจึงจะเปนประโยชนแกการวิจัยของตน และขอคนพบจากการวิจัยนั้นจะชวยสรางเสริมความรูเดิมไดอยางไรและในสวนใดบาง

2) การศึกษาวรรณกรรมการวิจัย ในฐานะเครื่องมือแสวงหาความรู เพื่อใชประโยชนในการวิจัย การศึกษาวรรณกรรมการวิจัยจะนํามาซึ่งขอมูลสารสนเทศ และไดแนวทางดําเนินงานที่ชวยใหนักวิจัยสามารถออกแบบวิจัยและ

Page 41: New Researcher Manual

41

ดําเนินการวิจัยตามแบบแผนการวิจัยอยางมีประสิทธิภาพ สารสนเทศที่เกิดจากการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยไดแก แนวคิด ทฤษฎี ขอคนพบจากการวิจัย และความรูเดิมในเรื่องที่ทําวิจัยที่นักวิจัยสามารถนํามาใชสรางกรอบความคิดสําหรับการวิจัยและใชเปนเหตุผลสนับสนุนการกําหนดสมมติฐานในการวิจัยอยางเหมาะสม ชวยในการพิจารณาสภาพปญหา ประวัติความเปนมาของเรื่องที่ทําวิจัยและประโยชนจากการทําวิจัย ซ่ึงนักวิจัยสามารถนํามาใชเขียนแสดงความเปนมาและความสําคัญของงานวิจัยที่ตนจะทําได ความรูเกี่ยวกับลักษณะปญหา นิยามตัวแปร และขอบเขตของการวิจั ยที่นักวิ จั ย อ่ืนทํ าไว ในอดีตมาใชกํ าหนดปญหาวิจั ย วัตถุประสงค ขอบเขตการวิจัย และนิยามตัวแปรในการวิจัยของตนไดอยางชัดเจน ไมซํ้าซอนกับการวิจัยที่นักวิจัยอ่ืนทําไวแลว จุดเดนและจุดดอยของการวิจัยในอดีตนักวิจัยสามารถนํามาใชในการพิจารณากําหนดแบบวิจัยและวิธีดําเนินการวิจัยของตนอยางเหมาะสม รวมทั้งสามารถนําสารสนเทศเกี่ยวกับขอคนพบที่มีผูทําไวแลวมาใชเปนแนวทางในการกําหนดสมมติฐาน การอภิปรายผลการวิจัยวาไดผลสอดคลองหรือขัดแยงกันอยางไร ดวยเหตุผลอะไรและควรกําหนดขอเสนอแนะอยางไรตอไป

3) การศึกษาวรรณกรรมการวิจัย ในฐานะเปนเคร่ืองบงชี้คุณภาพและรายงานการวิจัย กลาวคือ คุณภาพของการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยเปนเงื่อนไขที่จําเปนอยางหนึ่งของรายงานการวิจัยที่มีคุณภาพ คุณภาพของการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยมิไดอยูที่ปริมาณของวรรณกรรม แตขึ้นอยูกับวรรณกรรมการวิจัยที่นํามาศึกษานั้นมีความเกี่ยวของกับการวิจัยของตนอยางไร และผูวิจัยสามารถนําสาระจากวรรณกรรมเหลานั้นมาใชประโยชนไดมากนอยเพียงใด

Page 42: New Researcher Manual

42

โดยสรุป การศึกษาวรรณกรรมการวิจัยมีความสําคัญตอการทํางานวิจัย เนื่องจากเปนขั้นตอนที่นักวิจัยสรางและสะสมความรูทางวิชาการ ซ่ึงนักวิจัยสามารถนําไปใชประโยชนในการดําเนินการวิจัยใหมีคุณภาพ 4.2 วัตถุประสงคของการศึกษาวรรณกรรมการวิจัย เหตุใดเราจึงควรศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของกับหัวขอปญหาวิจัยท่ีเราตองการจะวิจัย เหตุใดเราจึงไมดําเนินการทดลองในหองปฏิบัติการเพื่อแสวงหาคําตอบเลย การที่เราควรศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของกอนที่จะทําการวิจัย หรือทําการทดลองนั้น มีเหตุผลหลายประการ คําตอบหลักโดยทั่วไปคือ การศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของก็เพื่อใหนักวิจัยเขาใจและเขาถึงสถานภาพของความรูเกี่ยวกับหัวขอวิจัยที่เราตองศึกษา สวนวัตถุประสงคของการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของก็คือ ผลการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของจะบอกอยางชัดเจนวา ปญหาวิจัย หรือคําถามวิจัยที่เราสนใจศึกษา มีผูอ่ืนไดศึกษาไปแลวหรือยัง ถามีผูอ่ืนทําวิจัยไวแลว เราก็ควรปรับปรุงโจทยหรือคําถามวิจัยใหม ไมดําเนินการวิจัยซํ้ากับที่ผูอ่ืนทําไวแลว หรือพิจารณาคัดเลือกคําถามวิจัยอ่ืนตอไป ในกรณีที่พบวายังไมมีผูใดศึกษาวิจัยเรื่องที่ตนสนใจจะไดดําเนินการวางแผนและวิจัยตอไป โดยสรุป การศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของมีวัตถุประสงคทั่วไป คือ เพื่อใหไดสารสนเทศอันจะเปนประโยชนตอการวางแผนการวิจัยและการดํา เนินการวิจัยใหไดผลวิจัยที่มีคุณภาพถูกตองเชื่อถือได ตอบปญหาวิจัย หรือตอบคํ า ถ ามวิ จั ย ได ถู กต อ ง และอ า งอิ ง ผลง านวิ จั ย ได กว า งขว า ง สวนวัตถุประสงคเฉพาะของการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของมี 3 ประการ คือ

Page 43: New Researcher Manual

43

ประการแรก เพื่อใหไดสารสนเทศที่จะใชกําหนดปญหาวิจัยหรือคําถามวิจัยใหเปนที่ เขาใจชัดเจน เปนปญหาวิจัยที่ดี กลาวคือ เปนขอความแสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรและเปนปญหาวิจัยที่ยังไมมีผูอ่ืนศึกษามากอน และเปนปญหาที่มีความสําคัญตอวงการวิชาการ เปนประโยชนตอสังคม และเปนปญหาที่สามารถตอบไดโดยการวิจัย

ประการที่สอง เพื่อใหไดสารสนเทศที่จะใชสรางกรอบความคิดสําหรับการวิจัยและกําหนดสมมติฐานการวิจัย

ประการสุดทาย เพื่อสังเคราะหงานวิจัยที่เกี่ยวของ ซ่ึงมีผูอ่ืนทําไวแลวใหไดสารสนเทศสําหรับนํามาใชกําหนดแบบวิจัยและวิธีการวิจัยที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ รวมทั้งเชื่อมโยงความรูทางวิชาการกับงานวิจัยที่เราสนใจจะวิจัย ผลการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของจะชวยช้ีแนะแนวทางในการดาํเนนิการวจิยัตอไปอยางเหมาะสม นอกจากนี้ ผลการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของอาจชี้ประเด็นในเชิงปญหาเกี่ยวกับวิธีวิทยาการวิจัยที่ใชในการวิจัยในหัวขอหรือปญหาวิจัยวิจัยที่เกี่ยวของ เชน ตองมีกลุมควบคุมพิเศษ หรือมีเครื่องมือวิจัยเฉพาะที่จะทําวิจัยในหัวขอวิจัยเหลานี้ เปนตน ถาเปนเชนนี้ผลการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของจะชวยใหขอมูลเกี่ยวกับแหลงของเครื่องมือเฉพาะเหลานี้ หรือชวยใหทราบวิธีการระบุกําหนดกลุมควบคุมพิเศษตามที่ตองการ

Page 44: New Researcher Manual

44

4.3 แหลงขอมูลสาํหรับการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยท่ีเก่ียวของ 4.3.1 หนังสือ เปนที่ยอมรับวามีการเขียนหนังสือหรือตําราในสาขาวิชาตาง ๆ สะสมกันมายาวนาน นักวิจัยตองศึกษาสํารวจวา หัวขอวิจัยที่สนใจจะทําวิจัยอยูในสาขาวิชาใดและมีหนังสือตําราอะไรบางที่เกี่ยวของกับหัวขอการวิจัยของตน หนังสือใดเปนหลักที่เกี่ยวของกับหัวขอวิจัยที่เราสนใจจะศึกษาหนังสือเหลานั้น อาจมีเนื้อหาโดยตรงหรือแนะนําวา เราควรจะศึกษาหนังสือเลมใดหรือจากแหลงขอมูลใดตอไป เชน ในสาขาวิชาจิตวิทยา หนังสือท่ีเปนประโยชนมาก ไดแก หนังสือปริทัศนจิตวิทยา ซ่ึงตีพิมพเปนประจําทุกปตั้งแต พ.ศ. 2493 หนังสือนี้นําเสนอผลการวิพากษงานวิจัยหลักในรอบปในหัวขอตาง ๆ อยางลึกซึ้ง โดยผูทรงคุณวุฒิเฉพาะดาน การวิพากษงานวิจัยหลักในหัวขอเหลานี้อาจเกี่ยวของสัมพันธกับหัวขอวิจัยที่ตองการจะวิจัยก็ได ซ่ึงถาเปนเชนนั้นก็จะเปนประโยชนตอนักวิจัยเปนอยางยิ่ง 4.3.2 วารสาร วารสารในสาขาวิชาตาง ๆ ถือเปนแหลงขอมูลสําคัญ งานวิจัยสําคัญที่มีคุณภาพที่ไดรับการพิจารณาใหตีพิมพเผยแพรในวารสารนั้น ไดผานการพิจารณาประเมินกอนการตีพิมพจึงเชื่อถือได ในแตละสาขาวิชามีวารสารเปนจํานวนมาก ซ่ึงก็เปนภาระของนักวิจัยที่ตองแสวงหาขอมูล เชน ในสาขาวิชาจิตวิทยาไดมีการรวบรวมบทคัดยองานวิจัยทางจิตวิทยาจากหนังสือ วารสาร รายงานทางวิชาการ หนังสือชุดรวมเรื่อง เอกสารทางราชการในรูปแบบอื่น ๆ นักวิจัยสามารถที่จะศึกษาบทคัดยอ เปนเบื้องตนกอนที่จะศึกษารายละเอียดของเร่ืองที่ตรงกับหัวขอวิจัยของตนตอไป วารสารรวมบทคัดยองานวิจัยทางจิตวิทยา

Page 45: New Researcher Manual

45

(Psychological Abstracts) เปนวารสารที่รวบรวมบทคัดยอจากวารสาร หรือ เอกสารทางวิชาการมากกวา 950 ช่ือทั่วโลก ซ่ึงนับวาเปนประโยชนแกนักวิจัยมาก แมวาเอกสารดังกลาวจะเปนผลของการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาเปนสวนใหญ (Christensen, L.B.: 1988, 91) 4.3.3 ระบบฐานขอมูลงานวจัิย หนังสือและวารสารถือเปนแหลงขอมูลพื้นฐานสําหรับการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับหัวขอ หรือปญหาวิจัยเร่ืองใดเรื่องหนึ่งในอดีต นักวิจัยตองไปศึกษาหนังสือและวารสารในหองสมุด แตในยุคขอมูลขาวสารปจจุบันวิธีการดังกลาวถือวาลาสมัย Helmstadter (1970) สรุปวามีบทความวิจัยตีพิมพเพิ่มขึ้นเปนสองเทาในทุกสิบป เพื่อแกปญหาดังกลาวจึงเกิดการพัฒนาระบบฐานขอมูลงานวิจัยข้ึน เชน

APA เปนระบบฐานขอมูลงานวิจัยของสมาคมจิตวิทยาของประเทศสหรัฐอเมริกา (American Psychological Association Style)

ERIC ระบบฐานขอมูลงานวิจัยดานการศึกษา SCI ระบบฐานขอมูลงานวิจัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี Psyc INFO ฐานขอมูลงานวิจัยดานจิตวิทยา สุขภาพจิตและ

ชีวการแพทย / PSYINDEX เปนฐานขอมูลงานวิจัยดานจิตวิทยาและสังคมศาสตร Social Sciences Index ฐานขอมูลดานสังคมศาสตร รัฐศาสตร

เศรษฐศาสตร จิตวิทยา มนุษยศาสตร MEDLINE ฐานขอมูลดานแพทยศาสตร ชีวการแพทย สาธารณสุข

นอกจากนี้ยังมีระบบฐานขอมูลงานวิจัย เฉพาะอื่น ๆ เชน Mathscinet, Science

Page 46: New Researcher Manual

46

Direct, Biosci, Biosis, Agricolar, Scopus, pubmed, Academic search, premium, Infotrieve, Ingenta, Wilson เปนตน 4.3.4 แหลงขอมูลอ่ืน ๆ

แหลงขอมูลอ่ืน ๆ ไดแก รายงานการประชุมวิชาการประจําประดับชาติ ระดับภูมิภาค หรือระดับนานาชาติ ของสมาคมวิชาการ/วิชาชีพตาง ๆ ซ่ึงมักจะรวบรวมผลงานวิจัยที่นําเสนอในการประชุมเปนรูปแบบของรายงานสืบเนื่อง (proceedings) ซ่ึงนับวาเปนแหลงขอมูลงานวิชาการและงานวิจัยที่เปนปจจุบันที่สุด ที่เปนเชนนี้ เพราะวาบทความวิชาการหรือบทความวิจัยตาง ๆ นั้นกวาจะไดรับการตีพิมพในวารสารมาตรฐาน หรือนําไปเขียนเปนหนังสือ ตํารา ตองใชเวลานานหลายป ทําใหบทความวิชาการหรือรายงานวิจัยในวารสารและหนังสือมีความไมทันสมัยไปพอสมควร การที่เราไดรวมประชุมวิชาการทําใหเราไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรูจากนักวิจัยซ่ึงอาจเปนผลใหเกิดความมั่นใจและเกิดความคิดใหม ๆ ในการวิจัยตลอดจนเกิดแรงบันดาลใจในการวิจัยหัวขอวิจัยที่เราสนใจมากกวาการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของจากแหลงอื่น ๆ อีกทั้งยังกอใหเกิดเครือขายงานวิจัยที่สนใจรวมกันดวย

ตัวอยางสมาคมทางการศึกษาที่จัดประชุมทางวิชาการและจัดพิมพรายงานประจําป เชน American Educational Research Association, American Evaluation Association, American Psychological Association สมาคมการศึกษาแหงประเทศไทย สมาคมวิจัยสังคมศาสตรแหงประเทศไทย สมาคมวิจัยสถาบันและพัฒนาอุดมศึกษาแหงประเทศไทย ตัวอยางสมาคมดานวิทยาศาสตร เชน สมาคมวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย เปนตน

Page 47: New Researcher Manual

47

4.4 วิธีการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยท่ีเก่ียวของ ในอดีต วิธีการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของทํากันดวยมือ กลาวคือ ถานักวิจัยสนใจศึกษาเรื่อง “การสอนแบบโปรแกรม” นักวิจัยจะไปคนหาอานจากดัชนี เชน ไปคนหาจาก CIJE (Current Index to Journals in Education) ฉบับปแรกสุดเพื่อดูวามีบทความวิจัยที่ผูอ่ืนทําวิจัยในเรื่องนี้ไวแลวหรือไม และบทความวิจัยดังกลาวปรากฏอยูในวารสารใด หลังจากอานบทสรุปของบทความวิจัยและคัดเลือกเรื่องที่ใชไดมาแลว นักวิจัยจึงอานดัชนีของปหลังจากนั้นจนมาถึงปจจุบัน ซ่ึงนักวิจัยจะไดรายช่ือบทความวิจัยที่ เกี่ยวของกับเรื่องการสอนแบบโปรแกรม นักวิจัยจะไดหาบทความเหลานั้นมาอานเพื่อศึกษาและสังเคราะหวรรณกรรมเกี่ยวกับการสอนแบบโปรแกรมตั้งแตเร่ิมตนจนถึงปจจุบัน ซ่ึงกระบวนการทั้งหมดใชเวลานานมากแตก็จะเปนประโยชนแกการวิจัยของตน ในปจจุบัน การศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่ เกี่ยวของทําไดโดยใชคอมพิวเตอร การคนหาวรรณกรรมการวิจัยใชเวลานอยลงและสะดวกขึ้นมาก นักวิจัยเพียงปอนคําเขาไปในโปรแกรมการสืบคนขอมูล คอมพิวเตอรจะตรวจสอบคนหาดัชนีที่ตองการไดโดยโปรแกรมนั้น และแสดงรายการบทความ โดยยอเกี่ยวกับการสอนแบบโปรแกรมจากปแรกสุดถึงปทายสุด การคนหาโดยคอมพิวเตอรสามารถจํากัดชวงเวลาได เชน ใหหาบทความวิจัยในชวงทศวรรษ ซ่ึงจะทําใหทราบวาในชวงทศวรรษใดมีบทความเกี่ยวกับการสอนแบบโปรแกรม ตีพิมพออกมามากนอยเพียงใด นักวิจัยยังสามารถจํากัดการคนหา โดยใช “ประเภทการตีพิมพ” ได โดยทั่วไปนักวิจัยมักจะจํากัดประเภทการตีพิมพเปน “งานวิจัย/ทางเทคนิค” อีกทั้ง นักวิจัยสามารถกําหนดขอบเขตของการคนหาบทความวิจัย เชน ตองการเฉพาะบทความที่เขียนเกี่ยวกับการสอนแบบ

Page 48: New Researcher Manual

48

โปรแกรมในระดับมหาวิทยาลัยเทานั้น นักวิจัยก็ใสคําวา “การสอนแบบโปรแกรม” และ “มหาวิทยาลัย” ลงไปในโปรแกรมสืบคนนั้น ซ่ึงคอมพิวเตอร จะประมวลผลออกมาใหตามตองการ ในวิชาการสาขาทางการศึกษา ระบบฐานขอมูลวรรณกรรมการวิจัยที่มีช่ือเสียงมากที่สุด คือ “ระบบฐานขอมูล ERIC “

ERIC เปนอักษรยอมาจาก Educational Research Information Center เอกสาร ERIC มักจะอยูในรูปไมโครฟช หรือบางครั้งเรียกวา ไมโครฟอรม ขณะนี้เอกสาร ERIC มีจํานวนมากกวา 400,000 ฉบับ โดยเริ่มดําเนินการตั้งแต คริสตศักราช 1968 มีบริษัทอื่น ๆ อีกเปนจํานวนมากที่ใหบริการสืบคนแบบ ERIC ดวยคอมพิวเตอร เชน EBSCO Information Service และ OCLC (Online Computer Library Center, Incorporated ซึ่งรูจักกันดีในนามของ First Search )

ERIC ตีพิมพดัชนีที่มีช่ือเสียงดานการศึกษา 2 ดัชนี คือ Current Index to Journals in Education (CIJE) และ Resources in Education (RIE) ดังแสดงในรูปของโครงสรางวรรณกรรมการวิจัยสาขาการศึกษาดังตอไปนี้

Page 49: New Researcher Manual

วรรณกรรมการวิจัยดานการศึกษา

บทความวิจัย งานสังเคราะหวิจัย

เชน * Encyclopedia of Educational Research * Review of Educational Research ดัชนี เชน

*CIJE *ED Index

ดัชนี RIE

เอกสาร

ERIC

บทความในวารสาร

ทางวิชาการ เชน

* Journal of Educational

Psychology

* American Educational

Research Journal

รูปที่ 1 โครงสรางวรรณกรรมวิจยัในสาขาการศึกษา

49

Page 50: New Researcher Manual

50

ตัวอยางตอไปนี้เปนผลการสืบคนขอมูลแบบ ERIC โดยใชการสืบคนดวยโปรแกรม EBSCO

(Teara Archawamety and Somwung Pitiyanuwat : 2006) ตัวอยางที่ 1 Title : Signifycant Predictors of the use of Whole Language in

Elementary Schools. Author(s) : Mahony, Joseph ; Archawamety, Teara Source : Reading Improvement v 33 n 2 p 103 –10 Sum 1996 ISSN : 00340510

Descriptors : Teacher Attitudes, Whole Language Approach; Basal Reading; Elementary Education; Predictor Variables; Reading Research

Identifiers : Nebraska; Teacher Surveys

Abstract : Investigates Nebraska elementary school teacher’s attitudes about whole language. Finds that teachers with a higher tendency to use whole language were those who felt more comfortable with whole language, had training in whole language, felt whole language should replace basal programs, and felt whole language can be used in conjunction with basals. (RS)

Language : English Clearinghouse : Reading and Communication Skills ( CS752230)

Publication Type ( s )

: Report – Research / Technical ; Journal Article

Page 51: New Researcher Manual

51

ERIC # EJ 530511

Data Base ERIC

จากบันทึกรองสุดทายของตัวอยางที่ 1 EJ 530511 เปนเลขรหัสของบทความ เร่ิมตนดวย EJ ซ่ึงเปนตัวช้ีวารายการนั้นเปนบทความวิจัยที่มาจากวารสารทางวิชาชีพในสาขาการศึกษา ซ่ึงเปนวารสารในฐานขอมูล ERIC มีใชมาจากเอกสาร ERIC แตถารหัสเอกสารเริ่มตนจาก ED แสดงวารายการนั้นเปนบทความที่มาจากเอกสาร ERIC ไมไดมาจากวารสารทางวิชาชีพ ดังแสดงในตัวอยางที่ 2

ตัวอยางที่ 2Title : Prenotification, Ink Color and Return Deadline : Effects on

Response Rates and Sincerity of Responses.; Author(s) :“Pitiyanuwat,Somwung;Phattharayuttawat,Sucheera”; Source :- ISSN :

Descriptors : Attitude Measures; Foreign Countries; Public School Teacher; Questioning Techniques; Rating Scales; Secondary Education; Teacher Attitudes; Test Format; Data Collection; Mail Surveys; Questionnaires; Research Methodology; Response Rates; Secondary School Teacher

Identifiers : Sincerity of Responses; Abstract : “The effects of prenotification, ink color, and return deadline on

sincerity and rates to mailed questionnaires concerning desirable

Page 52: New Researcher Manual

52

characteristics of teachers were investigated in Thailand. Questionnaires were mailed 800 public secondary school teachers in Bangkok. Some teachers received prenotification of the survey by mail, while others did not. The 100-item questionnaires were printed in blue, black, green, or red ink. For some questionnaires, a response rate was specified; others asked for return as soon as possible. The first mailing included a cover letter, the questionnaires, and a stamped self-addressed return envelope. The first follow-up was a reminder card. The second follow-up included a cover letter, a second copy of the questionnaire, and a stamped self-addressed return envelope. The first follow-up was sent 4 weeks after the initial mailing, and the second follow-up was sent 2 weeks after the first follow-up. The response rate of the initial mailing was 71.4 %. The overall return rate was 94.9 % (759 questionnaires). Sincerity of responses was judged by consistency in responding to eight pairs of parallel items measuring desirable characteristics of teachers. Significant main effects were found only for prenotification and ink color (blue and green), both of which were effective in increasing response rates and sincerity of responses at the initial mailing. Four tables present response data, and a map of Southeast Asia is provided. (SLD)”;

Language : English Clearinghouse : TM 016694

Page 53: New Researcher Manual

53

Publication Type ( s )

: “143;150”;

ERIC # ED334221 Data Base ERIC

เมื่อคนหาบทความในวารสารตามที่ตองการไดโดยการสืบคนแบบ ERIC ดังในตัวอยางที่ 1 แลว นักวิจัยตองเร่ิมจากจดชื่อเอกสาร (เชน Reading Improvement) ปที่พิมพ (เชน 1996) ปที่ของวารสาร (เชน 33) และเลขหนา (เชน 103 – 110) และชื่อนักวิจัยเพื่อใหทราบตําแหนงของบทความตาง ๆ ที่อยูบนชั้นหนังสือและหามาอานตอไป

เมื่อนักวิจัยไดสืบคนและจัดหาเอกสารหรือวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของแลว นักวิจัยจะตองอานเอกสารอยางละเอียด คัดเลือกและจดบันทึกสาระที่ไดจากการอาน โดยทั่วไปนิยมจดลงในกระดาษขนาด 5 X 8 นิ้ว เพื่อนําสาระทั้งหมดที่ จดไดมาสังเคราะหและบูรณาการเขาดวยกัน ใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของดังที่ไดอธิบายไวแลวในตอนตน งานสําคัญของการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยก็คือ การสัง เคราะหวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของ ซ่ึงโดยทั่วไปเปนการสังเคราะหสาระสําคัญ 3 สวนไดแก ทฤษฎี วิธีการวิจัย และผลการวิจัย การสังเคราะหวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของมี 2 วิ ธี คือ การสังเคราะห เชิงปริมาณ โดยเทคนิคการวิ เคราะห อภิมาน (Meta-analysis) และการสังเคราะหเชิงคุณภาพ โดยเทคนิคการสังเคราะหเนื้อเร่ือง (Content analysis)

Page 54: New Researcher Manual

54

ขั้นตอนสุดทายของวิธีการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่เกี่ยวของก็คือ การนําเสนอรายงานการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ซ่ึงมีหลักการที่สําคัญ คือ ความเชื่อมโยง ความสอดคลองตรงประเด็น ความถูกตอง และความกะทัดรัดชัดเจน ลักษณะของรายงานที่นักวิจัยควรเสนอประกอบดวย สวนความนํา สวนเนื้อเร่ือง สวนสรุปความ สวนสรุปความเห็นของนักวิจัย และสวนการอางอิง 4.5 แนวปฏิบตัิท่ีดใีนการศึกษาวรรณกรรมการวิจัย ดี เอ แมคแคร (1981) ไดเสนอเกณฑสําหรับประเมินองคประกอบตาง ๆ ของ

ขอเสนอโครงการวิจัย วาดวยเกณฑการประเมินการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยท่ี

เก่ียวของ ซ่ึงสามารถนํามาสรุปเปนแนวปฏิบัติที่ดีในการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยได ดังนี้ 4.5.1 กําหนดวัตถุประสงคของการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยอยางชัดเจน 4.5.2 กําหนดเกณฑการเลือกวรรณกรรมการวิจัย 4.5.3 สะทอนใหเห็นพัฒนาการของปญหาวิจยั 4.5.4 แสดงใหเห็นวางานวิจัยนี้จะสรางเสริมทฤษฎี หรือความรูในสาขาวิชาที่จะวิจัย 4.5.5 แสดงความสอดคลองสัมพันธระหวางวรรณกรรมการวิจยักับเรื่องที่จะทําวิจัย 4.5.6 แสดงความสอดคลองของวรรณกรรมการวิจยักับรูปแบบการวจิัย 4.5.7 มกีารประยกุตใชวิธีการวิจยัจากวรรณกรรมการวิจยัในเรื่องที่ทาํวจิัย 4.5.8 วรรณกรรมการวิจัยที่รวบรวมสังเคราะหมานั้นมีสาระ และวิธีการวิจัยที่เสนอขึ้นใหมสอดคลองกับความตองการของเรื่องที่จะทําวิจัย

Page 55: New Researcher Manual

55

4.5.9 นําเสนอรายงานผลการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยที่อานงาย จําแนกความสัมพันธระหวางวรรณกรรมกับเรื่องที่จะวิจัยได

4.5.10 รายงานผลการศึกษาวรรณกรรมการวิจัย มีเนื้อหาสาระที่นาติดตามศึกษา

4.5.11 รายงานผลการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยจัดไว เปนหมวดหมูตามลําดับหัวขอใหญ หัวขอยอยเพื่อความสะดวกในการศึกษาและอภิปรายใน แตละประเด็น 4.5.12 มีการสรุปใจความสําคัญของแตละหัวขอในรายงานผลการศึกษาวรรณกรรมการวิจัย โดยสรุปในบทนี้ไดนําเสนอความหมายและความสําคัญของการศึกษาวรรณกรรมการวิจัย รวมทั้งวัตถุประสงค แหลงขอมูล วิธีการศึกษาวรรณกรรมการวิจัย ตลอดจนแนวปฏิบัติที่ดีในการศึกษาวรรณกรรมการวิจัย ซ่ึงถือวาการศึกษาวรรณกรรมการวิจัยเปนกิจกรรมที่สําคัญกิจกรรมหนึ่งของกระบวนการวิจัยที่ตองดําเนินการอยางเปนระบบ เพื่อใหไดงานวิจัยที่มีคุณภาพ ถูกตองเชื่อถือได ตามความมุงหวังของนักวิจัย และความตองการของผูใชผลวิจัยทุกคน

Page 56: New Researcher Manual

56

บรรณานุกรม

นงลักษณ วิรัชชัย (2538). เลมที่ 4 การศึกษาเอกสารที่เก่ียวของกับการวิจัย. ในกรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ. ชุดวิชาการวิจัยทางการศึกษานอกโรงเรียน กรุงเทพมหานคร : ประชาชน.

Christensen, L.B. (1988). Experimental Methodology, 4th edition. Massachusetts : Allyn and Bacon.

Houston, J.E. (ED.). (2001). Thesaurus of ERIC descriptors (14th ed.). Westport, CT: The oryx Press.

Helmstadter,G.C.(1970). Research Concept in human behavior. New York : Appleton-Century-Crofts.

Mackay, D.A. (1981). “A Research Proposal Evaluation Checklist” เอกสารประกอบคําบรรยายวิชา Advanced Research Design, Department of Educational Administration, The University of Alberta, Edmonton, Canada.

Manony,J.4 Archawamety, T. (1996). Significant Predictors of the use of whole language in elementary schools. Reading Improvement 33 (2), 103 – 110.

Pitiyanuwat, S. and Phattharayuttawat, S. (1991). Personification, Ink Color and Return Deadline : Effects on Responses Rates and Sincerity of Responses. ED334-221. In Resources in Education, Educational Resources Information Center (ERIC), 26 ( 11),183.

Page 57: New Researcher Manual

57

Teara Archawamety and Somwung Pitiyanuwat.(2003). “Chapter 4 Reviewing Research Literature . In Fundamentals of Empirical Research”. University of Nebraska at Kearney. Nebraska , USA.

Page 58: New Researcher Manual

บทที่ 5 ศิลปะในการทําวิจัย

การวิจัย เปนงานสรางสรรคเพื่อประโยชนของประเทศในอนาคต และเปนการลงทุนที่สูงกวาการลงทุนอื่น ๆ แตใหผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจคุมคา

กอนที่จะทราบถึงขอมูลการทําวิจัย ผูสนใจในการทําวิจัยจะตองทราบขั้นตอนและวิธีการทําวิจัย ซ่ึงประกอบดวยขั้นตอนใหญ ๆ 5 ขั้นตอน ไดแก 1) ขั้นตอนการตั้งปญหา 2) ขั้นตอนการตั้งสมมติฐาน 3) ขั้นตอนการคนควา 4) ขั้นตอนการทดลองเพื่อหาขอมูล และ 5) ขั้นตอนวิเคราะหผลและสรุปผล ตามลําดับ

ในการทําวิจัย การคนควา การทดลอง และการวิเคราะหเพื่อสรุปผลใหผูวิจัยดําเนินการตามขั้นตอนในลักษณะวงกลมเรียงตามลําดับกันไป ดังรูปขางลาง

การคนควา

การทดลอง

การวิเคราะหเพื่อสรุปผล

ผลึก

58

Page 59: New Researcher Manual

59

ผูวิจัยคงมีคําถามวา เหตุใด หรือเพื่ออะไรจึงตองดําเนินการเปนลักษณะวงกลม คําตอบก็คือ เพื่อให เกิดการตกผลึก ผลึกดังกลาวนี้ เปรียบไดกับ องคความรูใหมที่จะไดรับจากการทําวิจัย การทําวิจัย 3 ขั้นตอนตามลําดับในลักษณะวงกลมดังรูปขางบนนั้นเปรียบเสมือนกับการกวน ถาผูวิจัยดําเนินการในลักษณะวงกลมหมุนไปมากรอบเทาใดก็เหมือนกับเพิ่มการกวนมากขึ้นเทานั้น การกวนสิ่งใดสิ ่งหนึ ่งมาก ๆ จะทําใหสิ ่งนั ้นเขาสู สภาพความอิ ่มตัวยิ ่งยวด มีความแนนหรือเปรียบประดุจการตกผลึกออกมา นั่นก็คือ การไดรับองคความรูใหมที่เกิดขึ้น การทําเชนนี้พบวาทําใหสามารถใชเวลาในการทําวิจัยนอยลงกวาเดิม

ที่กลาวมานี้เปนการเกริ่นนําเพียงเล็กนอย เกี่ยวกับวิธีการหรือเทคนิคที่ใชในการทําวิจัย ตอไปจะเปนการตีความและอธิบายขั้นตอนตาง ๆ ในการทําวิจัยตามลําดับ

ประการแรกก็คือ ทําไม (Why?) ตองทําวิจัย ดังที่ทราบกันแลววา การเรียนในระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก นอกจากจุดประสงคของการเรียนเพื่อใหไดรับใบปริญญาตามความตองการแลว จุดประสงคหลักของการเรียนในระดับนี้จริง ๆ ก็คือ การฝกใหรูจักคิดคน แสวงหาความรูใหม รูจักหาเหตุผล รูจักวิเคราะหวิจารณเพื่อนําไปสูการปฏิบัติงานที่ประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงคหรือเปาหมาย หรือการฝกทําวิจัยนั่นเอง ขอดีของการฝกทําวิจัยคือ อะไร? ขอดี ที่เห็นไดชัดก็คือ ไดเรียนรูการทํางานอยางเปนระบบ ซ่ึงในระดับปริญญาตรีไมไดสอน สวนใหญการศึกษาระดับปริญญาตรีจะ เนนสอนด านวิชาชีพ เชน ดานวิศวกรรม การสอนดานวิชาชีพนั้น จะเนนในขอที่วา ทําอยางไร? จึงจะทํางานได ไมไดเนนวา ทําไม (Why?) จึงทําอยางนี้หรือตองทําอยางนั้น สวนการทําวิจัยจะแตกตางออกไป โดยมุงเนนฝกเรื่องการทํางานใหเปนระบบ

Page 60: New Researcher Manual

60

การทํางานอยางเปนระบบมปีระโยชนอยางไร คําถามดังกลาวที่กําลังเกิดขึ้นในใจนั้น อธิบายไดวา การที่ผูสําเร็จการศึกษา

ออกไปทํางานจะเปนการทํางานในระยะยาว ดังนั้น จึงตองรูจักทํางานอยางเปนระบบเพื่อจะกาวไปสูความสําเร็จในการงานได ขอนี้อธิบายไดอีกวา ไมจําเปนที่วาคนท่ีทําวิจัย ทําวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แตเมื่อจบการศึกษาออกไปแลวไมไดใชความรูที่ทําวิจัยเลย ขอนี้ไมตองวิตกกังวล เพราะการทําวิจัยระหวางศึกษาคือ การฝกเทานั้น ฝกใหทํางานอยางเปนระบบ เพราะฉะนั้น ถาฝกทําวิจัยจนทําใหเกิดองคความรูใหมได ก็จะสามารถนําประโยชนจากการฝกนี้ไปใชทํางานในวิชาชีพของตนเองได และก็จะทําใหประสบความสําเร็จ ขอนี้คือ ขอดีของการฝกทําวิจัยที่เห็นไดชัดเจนมากที่สุด

ความหมายของการวิจัย การวิจัยหมายถึงอะไร การวิจัยก็คือ การคนควาหาองคความรูใหม เปน

การตอบคําถามวา ทําไม (Why?) โดยทั่วไป ปญหาของการวิจัยจะเปนปญหาปลายเปด นั่นก็คือ ไมมีคําตอบสุดทาย ซ่ึงเปนเรื่องที่นาประหลาดมาก เมื่อมีปญหาเกิดขึ้นก็พยายามหาคําตอบ เมื่อมีปญหาเขามาใหม ก็พยายามหาคําตอบอีก คือ ไมมีคํ าตอบที่ ส้ิน สุด เมื่ อคํ าตอบนั้น ถูกตอบแลว ก็จะมีคํ าถามอื่น เข ามาอีก ก็ตองแสวงหาคําตอบตอไปอีก เพราะมนุษย สัตว ส่ิงแวดลอม ธรรมชาติ สังคม ประเทศชาติ และโลกจะเปลี่ยนแปลงพัฒนากาวหนาไปตลอดเวลา เพราะฉะนั้นงานวิจัย จึงเปนส่ิงที่ไมมีที่ ส้ินสุด แมวาจะทํางานวิจัยในเรื่องเดียวกันก็ตาม ลักษณะแบบนี้จะเกิดขึ้นอยู เสมอ นั่นก็คือ การวิจัยเปนการแสวงหาคําตอบ

Page 61: New Researcher Manual

61

ในคําถามที่ถูกถาม คําตอบที่ไดรับมานั้นจะเปนความรูใหม ซ่ึงการวิจัยก็คือ การหาองคความรูใหมนั่นเอง

โดยธรรมชาติของมนุษย เมื่อเด็ก ๆ เกิดมาแลวก็มักมีความอยากรูอยากเห็นอยูทั่วกัน ดังจะเห็นไดชัดเจนวาเด็กมักจะชอบตั้งคําถามวา “ทําไม” เสมอ ๆ เพราะฉะนั้น ความอยากรูอยากเห็นจึงเปนแรงผลักดันที่สําคัญ ที่ทําใหสามารถทํางานวิจัยไดสําเร็จ ถามีความอยากรูอยากเห็นก็อยากไดคําตอบ ความอยากไดคําตอบจะเปนแรงผลักดันใหพยายามทําวิจัยในระยะยาว แตก็นาประหลาดใจที่พ บ ว า ม น ุษ ย เ มื ่อ เ ต ิบ โ ต ขึ ้น แ ล ว ค ว า ม อ ย า ก รู อ ย า ก เ ห ็น ก ล ับ ลดนอยลง นั่นอาจแสดงวาการศึกษาที ่ไดรับบั ่นทอนความอยากรู อยากเห็น ซึ่งเปนสัญชาตญาณของมนุษยมาตั้งแตเกิดลงไปเรื่อย ๆ ทําใหเปนคนที่รับฟงคําสั่งเพียงอยางเดียว ขอนี้เปนสิ่งที่นาประหลาดใจมาก วาทําไมถึงเปนเชนนี้ได การทําวิจัยนั้นจะประสบความสําเร็จ ผูวิจัยจะตองพยายามดึงเอาความรูสึกในจิตใจของมนุษย คือ ความอยากรูอยากเห็นขึ้นมาใช เพื่อใหเปนแรงผลักหรือแรงกระตุนใหทําวิจัยตอไปจนประสบความสําเร็จ ถาไมมีแรงผลักหรือแรงกระตุน งานวิจัยจะประสบความสําเร็จไดชาลง ฉะนั้น นิสิตและนักศึกษาจึงตองมีความอยากรูอยากเห็นในสิ่งที่เปนปญหา ไมใชฟงอาจารยสั่งแลวจึงทํา ซึ่งการฟงแลวนําไปปฏิบัติอยางเดียวเรียกวาผูเชี ่ยวชาญเฉพาะทาง (technician) ไมใชนักวิจัย ตองแยกสองอยางนี้ออกจากกันใหได การทําการทดลองอยางเดียวก็เปนการทําแบบผูเชี่ยวชาญเฉพาะทาง

Page 62: New Researcher Manual

62

องคประกอบของการทําวิจัย กระบวนการทาํวิจยัจะตองมีองคประกอบ 5 ขั้นตอน คือ

1. การตั้งโจทย 2. การตั้งสมมติฐาน 3. การคนควา 4. การทดลอง 5. การวิเคราะหผลและการสรุปผล

1. ขั้นตอนที่หนึง่ การตั้งโจทย ทําไมจึงตองตั้งโจทย ก็เพราะความอยากรูอยากเห็น อยากรูวาทําไม

จึงเปนแบบนี้ อยากรูวาทําไมโลกจึงกลม เมื่ออยากรูก็ตองพิสูจน ถาไมมีความอยากรูอยากเห็นก็จะไมมีแรงกระตุน งานวิจัยก็จะเปนไปไดยาก นอกจากนี้ งานวิจัยไมจําเปนตองอาศัยเครื่องมือมากนัก ถามีความอยากรูอยากเห็นมากเพียงพอ ดังนั้น จึงไมควรอางวาทําวิจัยไมไดเพราะไมมีเครื่องมือในการวิจัย การตั้งโจทยซ่ึงเปนขั้นตอนแรกของการวิจัย อาจเริ่มดวยการตั้งปญหา เชน วิญญาณมีจริงไหม? ปญหานี้เปนสิ่งที่อยากรูกันมาก พิสูจนหาคําตอบไดยากมากในการทําวิจัย อาจารยที่ปรึกษาหรือคนที่เปนที่ปรึกษาหรือนักวิจัยที่มีประสบการณแลวจะทราบดีวาปญหาที่อยากรูอยากเห็นนั้นยากหรืองาย และทราบดวยวาเสนทางเดินของงานวิจัยเปนอยางไร จะเกิดอุปสรรคอะไรบาง เพราะฉะนั้น เมื่อจะตั้งปญหาใหแกนิสิตและนักศึกษาหรือคนอื่น ๆ อาจารยหรือบุคคลที่เปนที่ปรึกษาตองมองใหทะลุวามีความเปนไปไดมากนอยเพียงใดที่จะประสบความสําเร็จในการหาคําตอบคือ จะเรียกวามีสัมผัสท่ีหกก็ได การทําวิจัย ผูวิจัยอาจพบปญหาโดยตลอดก็ได อาจไมได

Page 63: New Researcher Manual

63

เปนอยางที่ไดมองหรือคิดเอาไว ไมมีใครตอบปญหาไดทั้งหมด เพราะยังไมมีใครทราบคําตอบ แนนอนที่สุดวางานวิจัยไมไดเปนสิ่งที่ทําไดสะดวกงายดายอยางทางที่โรยดวยกลีบกุหลาบ งานวิจัยเปนสิ่งที่ยากและถือวาเปนความพยายามของมนุษยชาติก็วาได คําพูดประโยคนี้เกิดขึ้นในสมัยที่ผูเขียนบทความนี้กําลังเรียนปริญญาเอก ซ่ึงใชเวลา 2 ป 3 เดือน ตอนที่จบการศึกษา ผูเขียนไดบอกกับเพื่อนที่เปนชาวบราซิลวา “การทําวิจัย เปนความพยายามของมนุษยชาติ” ซ่ึงเปนความรูสึกที่แทจริงของผูเขียนเนื่องจากตองใชความพยายามทั้งหมดที่มีอยู เพื่อใหบรรลุผลในการตอบปญหาที่ตั้งขึ้น และความพยายามกับเวลาตองมีความพอดีที่จะใชแกปญหาเพื่อหาคําตอบ และความพยายามนั่นเองทําใหเกิดความสําเร็จไดในเวลาอันสั้น

นักวิจัยรุนใหม มักจะตั้งปญหาที่คอนขางยาก ซ่ึงเปรียบไดเหมือนกับเพลงของนักรองลูกทุง เพลิน พรมแดน เนื้อเพลงเกี่ยวกับการสัก ชายคนหนึ่งตองการจะสักเปนรูปลายมังกรทั้งตัว เมื่อไดไปหาชางสักบอกรูปแบบลักษณะ การสักที่ตองการแลว ชางสักก็เร่ิมลงมือสัก พอเร่ิมสักไปไดสองสามที ชายคนนั้น ก็บอกวา “เจ็บมากทนไมไหวแลว ไมตองสักมังกรทั้งตัว สักแคหัวก็พอ” ชางสัก ก็ตกลงแลวเร่ิมสักหัวมังกรตอ พอสักไปไดอีกสักพักหนึ่ง ชายคนดังกลาวก็ทน ไมไหวอีก สุดทายไดบอกชางสักวาไมตองสักหัวมังกรแลว สักแคหนวดมังกรก็พอ อยางนี้เปนตน เมื่อเปรียบเทียบตัวอยางนี้กับการตั้งปญหาที่คอนขางยาก จะเห็นไดอยางชัดเจนวา นักวิจัยรุนใหมมักจะตั้งปญหาที่อยากรูอยากเห็นในเรื่องที่ยาก เกินกวาจะสามารถทําไดในเวลาจํากัด อยางไรก็ดี การอยากรูอยากเห็นในเรื่องที่ยากเปนความฝนที่ดี และเปนความอยากรูอยากเห็นที่ดีดวย เพราะฉะนั้น ศิลปะหรือเทคนิคในการตั้งปญหาจึงเปนสิ่งสําคัญที่สุดสําหรับนักวิจัยรุนใหม กลาวคือ ตองตั้งปญหาหรือตั้ งโจทยวิจัย ที่สามารถหาคําตอบไดในเวลาอันจํากัด

Page 64: New Researcher Manual

64

ตามกําหนดไว 2 ป 3 ป หรือ 6 เดือน เพื่อใหบรรลุผลดังกลาวจึงตองการศิลปะ ในการตั้งปญหาหรือตั้งโจทยวิจัย ผูวิจัยตองมองออกดวยวา โจทยวิจัยที่ตั้งขึ้น จะใชเวลาเทาไร ศิลปะในการตั้งโจทยวิจัยข้ึนอยูกับเวลา ขึ้นอยูกับเครื่องมือท่ีมี และท่ีจะใชในการวิจัย เพื่อหาคําตอบ และขึ้นอยูกับเทคโนโลยีที่มีอยูในปจจุบันดวย ตัวอยางเชน การตั้งโจทยวิจัยวา วิญญาณมีจริงหรือไม ในเทคโนโลยีปจจุบัน ไมมีเครื่องมือชนิดใดที่จะใชพิสูจนได การพิสูจนทางวิทยาศาสตรก็ยังทําไมได การตั้งโจทยดังกลาวนี้ยังเปนไปไมไดที่จะพิสูจนทางวิทยาศาสตร เพราะวาเครื่องมือหรือเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตรยังไมอํานวยใหทําได ดังนั้น การตั้งโจทยวิจัยวา วิญญาณมีจริงหรือไม จึงเปนการตั้งโจทยที่ไมมีศิลปะ แตถาในวันหนึ่งขางหนามีเทคโนโลยีที่พิสูจนไดวาวิญญาณมีจริงหรือไม จึงจะนับวาการตั้งโจทยดังกลาวมีศิลปะ เรื่องที่กลาวมานี้เปนภาพรวมของขอที่ 1 ของวิธีการวิจัย ที่วาดวยเรื่องของ การตั้งโจทยวิจัย

2. ขั้นตอนที่สอง การตั้งสมมตฐิาน การตั้งสมมติฐาน คือ การสมมติคําตอบขึ้นจากประสบการณของ

นักวิจัย การสมมติคําตอบนี้เองจะเปนแรงผลักดันใหทําวิจัยตอไป ความจริง การตั้งโจทยกลับเปนแรงผลักดันใหคนพยายามหาคําตอบมากกวา เพราะการ ตั้งโจทยก็คือการถามวา “ทําไม?” (Why?) เปนคําที่มีอิทธิพลตอจิตใจมากกวา การตั้งสมมติฐานหรือการสมมติคําตอบ ซ่ึงทางสากลถือวาเปนขั้นตอนของการวิจัย โดยความเปนจริงแลวนักวิจัยบางคนก็ไมไดสมมติคําตอบกอน แตพยายามแสวงหาคําตอบโดยที่ไมรูวาคําตอบคืออะไร เหมือนกับที่ยกตัวอยางไวในขั้นตอนแรกเกี่ยวกับเรื่องวิญญาณวามีจริงหรือไม คงไมมีใครตั้งสมมติฐานกอนวาวิญญาณ

Page 65: New Researcher Manual

65

มีจริง แลวก็พยายามพิสูจนวาวิญญาณมีจริง หรือตั้งสมมติฐานวาวิญญาณไมมีจริง แลวก็พยายามพิสูจนวาวิญญาณไมมีจริง หรือถาเปนเรื่องอื่น ๆ เชน โลกหมุนรอบดวงอาทิตยหรือดวงอาทิตยหมุนรอบโลก คงไมตั้งสมมติฐานกอนวาดวงอาทิตยหมุนรอบโลก แลวก็พิสูจนวาดวงอาทิตยหมุนรอบโลก ซ่ึงในความเปนจริงแลวควรตั้งสมมติฐานวา ดวงอาทิตยหมุนรอบโลกหรือโลกหมุนรอบดวงอาทิตย กันแน หลังจากนั้นจึงพยายามหาคําตอบ ความจริงขั้นตอนที่สองของการทําวิจัยคือ การตั้งสมมติฐานนี้ไมคอยชัดเจนนัก บางครั้งอาจไมจําเปนตองมีขั้นตอนที่สองนี้หรือจะขามขั้นตอนนี้ไปก็ได แตถามีขั้นตอนที่สองแลวสามารถเปนแรงผลักดันหรือเปนแรงขับเคลื่อนกระตุนใหเกิดความอยากรูอยากเห็นก็ควรตั้ง แตถามีแลว ไมไดสงผลที่ดีก็ไมจําเปนตองตั้งก็ได เพราะวาการที่ไปตั้งสมมติฐาน ยกตัวอยาง เชน วิญญาณมีจริงแลวก็พยายามพิสูจนวามีจริง ทั้ง ๆ มันไมมี (ตรงนี้เปนการสมมติ) อาจจะทําใหเกิดการหลงประเด็นก็ได คือ พยายามทดลองใหมันมีจริง เพราะจิตใจจะโนมเอียงไปตามสมมติฐานที่ตั้งขึ้นไว ถาผลการทดลองออกมาไมเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไวก็อาจจะไมเชื่อผลการทดลองนั้น ๆ สมมติวา เกี่ยวกับเรื่องวิญญาณ ถาตั้งสมมติฐานวา วิญญาณมีจริง แลวทําการทดลองออกมาปรากฏวาวิญญาณไมมีจริง ก็อาจไมเชื่อผลการทดลองของตนเองแลวก็พยายามหาวิธีพิสูจนอีกใหวิญญาณมีจริงจนได

ดังที่กลาวมานี้จะเห็นไดวาการตั้งสมมติฐานมีขอเสียเชนกัน คือ ทําใหเกิดความรูสึกที่วา ตองพยายามพิสูจนใหไดตามที่ตั้งสมมติฐาน ทั้งที่อาจจะไมใช ก็ได เพราะฉะนั้น ในการวิจัย หลังจากตั้งโจทยวิจัยแลว ควรทําใจใหเปนกลาง ในการหาคําตอบ ถาไปตั้งสมมติฐานหรือไปสมมติวาเปนแบบนั้นหรือแบบนี้แลว บางทีอาจทําใหผูวิจัยพยายามทดลองหรือพยายามบีบเสนทางใหเปนไปอยางที่คิด ถาเปนเชนนี้ การตั้งสมมติฐานก็จะเปนขอเสียที่สําคัญมาก

Page 66: New Researcher Manual

66

3. ขั้นตอนที่สาม การคนควา ในสมัยกอนเมื่อยังไมมีอินเทอรเน็ต การคนควาเปนปญหาหลัก

เนื่องจากนักวิจัยไทยยังสูกับตางประเทศไมได เพราะวาขอมูลที่มียังลาหลังตางประเทศอยู และการคนควาในสมัยกอน ถาเกิดคําถามวาขอมูลนี้มีใครทํามากอนหรือยัง ก็ตองไปคนเอกสารที่กรมวิทยาศาสตรบริการ ตองคอย ๆ คนตามดรรชนี (index) ตาง ๆ หรือตามชื่อเร่ืองซึ่งเสียเวลามาก เมื่อไดช่ือเร่ืองแลวยังตองนําไปหาคําอธิบายสรุปเรื่อง (abstract) อีก เมื่อหาไดแลวแตก็ยังไมมีเอกสารงานวิจัยฉบับสมบูรณ (full paper) หากตองการอานก็ตองสั่งซื้อจากตางประเทศ ตอมาภายหลังก็ ถึงยุคที่ เ ร่ิมมี อินเทอร เน็ต (Internet) แลวแตก็ยั งไมกว างขวาง ดังในปจจุบัน ผูวิจัยตองขวนขวายมาก การคนควาในสมัยกอนจึงมีความลําบากมาก โดยเฉพาะสิทธิบัตรก็ตองไปสืบคนที่ศูนยบริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (TIAC-Technical Information Access Center) หนวยงานกระทรวงวิทยาศาสตร การสืบคนแตละครั้งตองใชงบประมาณนับหมื่น ซ่ึงจะไดแตเฉพาะบทคัดยอ (abstract) ของสิทธิบัตร สมัยกอนยังไมมีกรมทรัพยสินทางปญญา การคนควาสิทธิบัตรจึงเปนเรื่องที่ยากลําบากพอ ๆ กัน ถากลาวถึงภาพรวมในสมัยกอน การวิจัยหรือการคนควาของไทยยังสูตางประเทศไมได แตในปจจุบันไมสามารถอางไดเลยวาการคนควาของไทยสูตางประเทศไมได เพราะมีการใชเครือขายอินเทอรเน็ตอยางแพรหลายแลว จึงทําใหสามารถดาวนโหลด (download) เอกสารการวิจัยฉบับสมบูรณ (full paper) รวมทั้งการจัดหาคําอธิบายสรุปยอผลงานวิจัย ก็ทําไดทางออนไลน แมแตสิทธิบัตรก็เชนกันสามารถ คนไดจาก สํานักงานสิทธิบัตรและเครื่องหมายการคาแหงสหรัฐอเมริกา (United States Patent and Trademark Office www.uspto.gov) เปนตน

Page 67: New Researcher Manual

67

ที่กลาวมานี้เปนเบื้องตนของการคนควา ซ่ึงถือวาเปนหัวใจสําคัญของการวิจัย เพราะวาถาทําวิจัยเร่ืองที่ไดมีการทําไปแลว จะทําใหเสียเวลามากและไมไดผลตอบแทนคุมคาเงินและเวลาที่เสียไป นักวิจัยจึงจําเปนตองคนควาเอกสารกอนทําวิจัยเสมอ นิสิตและนักศึกษาที่ทําวิทยานิพนธตองคนควากอนทําวิจัย มิฉะนั้นอาจหลงไปทํางานวิจัยที่ไดมีการทําไปแลวซ่ึงก็จะไมสามารถไดงานใหมออกมา แตส วนใหญ ได พบว า เ มื่ อนิ สิ ตนั กศึ กษาได รั บโจทย วิ จั ยห รื อหั วข อวิ จั ย จากอาจารยแลว มักจะขามขั้นตอนของการคนควาไปทําการทดลองเลย ซ่ึงนกัวจิยัทีด่ีไมควรทํา เพราะอาจทําใหเสียเวลา หลงทํางานวิจัยซํ้ากับที่มีผูทําแลวโดยใชเหตุ

เคล็ด(ไม)ลับหรือศิลปะในการอานบทความวิจัยเพื่อการคนควา อาจจะแบงลักษณะการอานไดเปน 3 วิธี คือ

1. การอานเพื่อหาความรู วาในบทความวิจัยที่มีผูทําแลวนั้นกลาวถึงอะไรบาง เบื้องตนจะตองทดลองถามตัวเองงาย ๆ วาวิธีการทดลองทําอยางไร ขอมูลที่ไดมาทําอยางไร วิธีการอานแบบนี้จะสงผลใหไดรับความรูจากการอานบทความวิจัยเปนหลัก

2. การอานเพื่อวิเคราะห (analysis) คือ วิเคราะหวาไดมีการทําอยางไรบาง วิเคราะหวาทําไมจึงตองทําอยางนั้น ในการวิเคราะหขอมูลและ การวิเคราะหบทความวิจัย ตองถามตนเองดวยคําวา “ทําไม” เสมอ นอกจากนี้ ในการวิเคราะหขอสรุปของบทความวิจัยวาผิดหรือถูก ใหนําเอาขอมูลของบทความวิจัยนั้น ๆ มาทดลองใชกับรูปแบบจําลอง (model) อ่ืน ๆ ที่ไดคิดไว เพื่อทดสอบวาสมเหตุสมผลหรือไม แมวาการทดลองจะแตกตางกันก็ไม เปนไร เพราะ นี่เปนการวิเคราะหขอมูลจากบทความวิจัยในรูปแบบหนึ่งเทานั้นเอง โดยปกติ ถือไดวาขอมูลดิบ กราฟ หรือตารางที่ไดจากบทความวิจัยถูกตองที่สุด เพราะตาม

Page 68: New Researcher Manual

68

มาตรฐานของการวิจัยนั้น ผูวิจัยจะตองรายงานขอมูลในบทความวิจัยหรือ ในเอกสารอยางถูกตองเสมอ หามหลอกลวง ใหขอมูลเท็จหรือเดาสุมเด็ดขาด ขอนี้ ถือวาเปนสัตยาบันหรือจรรยาบรรณของนักวิจัย สวนการสรุปผลขอมูล หรือสรุปและวิเคราะหผลอาจจะผิดพลาดได

สรุปวาแนวทางในการวิเคราะหบทความวิจัยที่กลาวเพิ่มเติมเขามา ก็คือ การแยกบทความวิจัยหรือแยกความรูออกเปน 2 สวน ไดแก

1. ขอมูลการทดลองที่เปนจริงเสมอ 2. การเสนอรูปแบบสมการหรือแนวคิดของผูเขียน ซ่ึงนักวิจัยตอง

ระลึกไวเสมอวาอาจจะไมจริงก็ได 3. การอานแบบสังเคราะห เปนสิ่งที่เหนือข้ึนไปอีกขั้นหนึ่ง กลาวคือ เมื่อ

อานบทความวิจัยและพบวาการทําวิจัยเรื ่องนั ้น ๆ แลวควรจะทําอะไรตอที่เหนือกวา คือ เปนการพัฒนาความรูวาควรจะทําอะไรตอเนื่องออกไป อะไรคือ ส่ิงใหมที่ควรจะทําตอ ส่ิงนี้ก็คือ การสังเคราะห

ทั้งหมดนี้เปนลักษณะการอานบทความวิจัยเพื่อการคนควา ซ่ึงผูอานไมควรอานรอบเดียวเลิก หรือรอบเดียวจบ จะตองอานหลาย ๆ รอบ ใหเกิดกลไกที่ไดทั้งความรูไดทั้งการวิเคราะหและไดทั้งการสังเคราะหดวย

เคล็ด(ไม)ลับหรือศิลปะในการอานบทความวิจัยเพื่อสังเคราะหก็คือ ระหวางอานบทความวิจัย ใหจดบันทึกขอความสั้น ๆ ตลอดเวลาวาบทความวจิยันัน้เกี่ยวของกับอะไร ไดผลลัพธเปนอะไรบาง ใหคํานึงอยูตลอดเวลาวาผลการทดลองจากบทความวิจัยนั้นคือ ขอมูลที่ถูกตองเสมอ

สวนการวิเคราะหขอมูลหรือการเสนอรูปแบบสมการเพื่ออธิบายผลการทดลองนั้นอาจจะถูกหรือผิดก็ได เพราะเปนความคิดเห็นของนักวิจัยหรือคนที่

Page 69: New Researcher Manual

69

เขียนบทความวิจัย เอง เวลาอานจะตองพยายามสรุปและจดลงบันทึกว า ผลที่ไดรับคืออะไร ขอดีของการสรุปและจดบันทึกไวก็คือ สามารถใชเปนประโยชนในการนําไปเขียนบทความวิจัยตอได เชน ดึงเอาขอมูลที่ไดสรุปไวไปเขียนบทนําของบทความวิจัยหรืออาจนําไปเขียนบทวิจารณ หรือเขียนวิทยานิพนธก็ได นอกจากนี้ การที่ควรจดบันทึกไว ก็เพื่อประโยชนกันลืม เมื่ออานบทความวิจัยไปหลาย ๆ เดือน เพราะฉะนั้น จึงถือไดวาการจดบันทึกเปนสิ่งที่สําคัญไมนอย ทั้งนี้ ควรจดทั้งชื่อผูเขียนบทความวิจัย รวมทั้งชื่อวารสารที่ตีพิมพบทความวิจัยเรื่อง นั้น ๆ ดวย สรุปวา นักวิจัยที่ดีไมควรลืมเรื่องการจดบันทึกอยูเสมอ ๆ

4. ขั้นตอนที่สี่ การทดลอง การทดลองนั้นไมใชเร่ืองใหญมาก ทั้งนี้เพราะงานวิจัยแบงออกไดเปน

2 กลุมใหญ ๆ ดวยกัน คือ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร กับ งานวิจัยทางสังคมศาสตร การแบงกลุมดังกลาวนี้อาศัยกฎเกณฑหรือเงื่อนไขการทดลองนั่นเอง โดยทั่วไปการวิจัยทางสังคมศาสตรเปนงานที่ยากกวาการวิจัยทางวิทยาศาสตร ทั้งนี้เพราะการทดลองทางสังคมศาสตรเปนสิ่งที่ทําไดยาก เนื่องจากการทดลองใด ๆ ก็ตามจะประกอบดวยส่ิงหนึ่งที่สําคัญ คือ ตัวแปร ตัวแปรที่มีอยูคือ ตัวแปรที่ตองการรูหรือตัวแปรท่ีตองการหาคา กับ ตัวแปรอิสระ ตัวแปรที่ตองการหาคาจริง ๆ คือ ตัวแปรตาม และตัวแปรอิสระซ่ึงมีอยู 2 ประเภท คือ ตัวแปรท่ีควบคุมได กับ ตัวแปรที่ควบคุมไมได การทดลองทางวิทยาศาสตรนั้น สามารถที่จะควบคุมตัวแปรอิสระไดทุกตัวแปรหรือเกือบทุกตัวแปร แตจะเหลือตัวแปรอิสระตัวแปรเดียวที่จะปลอยใหแปรเปลี่ยนได สาเหตุจากจุดนี้จึงทําใหการทดลองทางวิทยาศาสตรสวนใหญงายกวาการทดลองทางสังคมศาสตร เพราะวาการทดลองทางวิทยาศาสตรนั้น

Page 70: New Researcher Manual

70

สามารถควบคุมตัวแปรอิสระสวนใหญได แตการทดลองทางสังคมศาสตรไมสามารถควบคุมตัวแปรอิสระได เนื่องจากเปนส่ิงที่เปนธรรมชาติ เชน การศึกษาพฤติกรรมการรับประทานอาหารของหมูบานแหงหนึ่งในภาคตะวันออก ซ่ึงไมสามารถควบคุมไดวาทุกคนตองกินอาหารเทานี้ หรือตองกินอาหารเปนเวลา ส่ิงเหลานี้เปนธรรมชาติของแตละคน เพราะฉะนั้นการวิจัยทางสังคมศาสตรจึงเปนการวิจัยที่ยากมากยากในเรื่องของการทดลองหรือการเก็บขอมูล เนื่องจากการวิจัยทางสังคมศาสตรมีตัวแปรจํานวนมาก จึงจําเปนตองหาสถิติสําหรับการทดลองมากกวาทางวิทยาศาสตร อยางไรก็ตาม แมวาการวิจัยทางวิทยาศาสตรสามารถเลือกเงื่อนไขหรือเลือกภาวะในการทดลองได หรือสรางเครื่องมือการทดลองไดก็จริง แตก็ยังพบปญหาอีกวา ไมสามารถควบคุมตัวแปรอิสระบางตัวไดจริง ๆ แตถึงกระนั้นโดยรวมแลวจะเหลือตัวแปรอิสระที่ไมสามารถควบคุมไดนอยกวาการวิจัยทางสังคมศาสตร

ในการทดลองทางวิทยาศาสตรนั้น ถามีตัวแปรอิสระที่ไมสามารถควบคุมไดจริง ๆ หรือเหลือตัวแปรอิสระมากกวาหนึ่งตัว วิธีหนึ่งที่การทดลองทางวิทยาศาสตรนิยมใชกันก็คือ การทําตัวอยางเปรียบเทียบ หรือการทดลองเปรียบเทียบ ซ่ึงจะชวยลดตัวแปรอิสระที่ไมสามารถควบคุมลงได กลาวใหเขาใจงายขึ้นก็คือ จะทําการทดลองที่มีสภาพเดียวกันเลย ยกเวนตัวแปรอิสระที่ควบคุมได เพราะฉะนั้นการทําตัวอยางเปรียบเทียบจึงหมายถึงวา ไดมีการหักลางตัวแปรอิสระที่ไมสามารถควบคุมไดออกไป ซ่ึงก็จะทําใหเห็นภาพของตัวแปรอิสระที่ควบคุมไดอยางชัดเจน วิธีนี้เปนวิธีที่มักใชกันอยางแพรหลายและถือวาเปนวิธีที่ดี

ปญหาอีกอยางหนึ่งของการทดลองทางวิทยาศาสตรที่มักพบอยูเสมอ ๆ ก็คือ ทักษะในการวัด นักวิจัย ตองไมลืมวา การทดลองไมสามารถหลีกเล่ียงความ

Page 71: New Researcher Manual

71

ผิดพลาด (error) ไปได เครื่องมือทดลองหรือเครื่องมือวัดทุกอยางที่เขาใจกันวาละเอียดมาก ๆ นั้น ทุกเครื่องยังมีความผิดพลาดอยูเสมอไมมากก็นอยความผิดพลาดจึงเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได ดังนั้น ถาตองการทําการทดลองแลวลดความผิดพลาดลงใหมีนอยที่สุด ก็ตองเลือกเครื่องมือราคาแพงที่มีความละเอียดสูง ซ่ึงถามีเงินซื้อหาเครื่องมือตามที่ตองการไดก็ไมมีปญหา แตถาไมมีเงิน ไมสามารถมีเครื่องมือแบบนั้นได จะทําอยางไรก็ไมตองวิตกมาก ควรมุงหนาทําการทดลองตอไป โดยใชเคร่ืองมือที่มีอยู ซ่ึงก็ตองยอมรับวายังมีขอผิดพลาดของเครื่องมือ ถาผลการทดลองมีความผิดพลาดหรือขอผิดพลาดของเครื่องมือก็ควรเปนสิ่งที่ยอมรับได แลววิธีที่จะปรับปรุงใหผลการทดลองมีความถูกตองมากที่สุด ทําอยางไร? วิธีหนึ่งที่ไดใชกันมากในการทําการทดลอง คือ การเพิ่มตัวอยางที่จะทดสอบเพื่อหวังผลวาการทดลองนั้นจะมีคามากกวาความผิดพลาดของเครื่องมือ ซ่ึงเปนเทคนิคงาย ๆ ที่นิยมใชกันอยูแตบางครั้งอาจทําไมได เพราะเครื่องมือวิเคราะหอาจรับตัวอยางเขาไปไดในปริมาณจํากัด เชน สามารถรับตัวอยางเขาไปไดเพียงไมเกิน 20 มิลลิกรัม การที่จะเพิ่มตัวอยางมากวา 20 มิลลิกรัมจึงเปนไมได เมื่อเปนเชนนี้ก็ตองถามตอไปวาแลวทําอยางไรถึงจะไดผลการทดลองที่นาเชื่อถือมากที่สุด วิธีอ่ืน ๆ ที่ปฏิบัติกันก็คือ ถาสมมติวาผลการทดลองอยูในชวงความผิดพลาดของเครื่องมือ การแกไขปญหาตอไปเพื่อใหไดผลการทดลองที่นาเชื่อถือมากที่สุด อาจจะตองอาศัยการทดลองหลาย ๆ ครั้งแลวดูแนวโนมของผลการทดลองวาไปในทางเดียวกันหรือไปในทิศทางไมแนนอนหรือไม ถาผลการทดลองไปในทางเดียวกัน แลวอยูในชวงความผิดพลาดของเครื่องมือ ก็อาจจะสรุปวาผลการทดลองนั้นนาเชื่อถือมากที่สุดแลว แตถาผลการทดลองนั้นไปในทิศทางที่คลาย ๆ ไมแนนอน ซ่ึงอาจจะสรุปผลออกมาไมไดก็ตองยอมรับวาปญหาของการทดลองอยูที่ขอผิดพลาดของเครื่องมือนั่นเอง เมื่อผูทําการทดลองหรือผูทําการวิจัยไดขอมูลมาแลวจะตองพยายาม

Page 72: New Researcher Manual

72

วิเคราะหดวยวาขอมูลที่ไดมาเปนขอมูลที่ถูกตองเพียงใด ซ่ึงตองสังวรไวดวยวาจะไมสามารถหาขอมูลที่ถูกตองที่สุดได เพราะไมมีเครื่องมือชนิดใดในโลกที่ใหคาถูกตองโดยไมมีชวงของความผิดพลาดเลย ตรงจุดนี้จึงเปนสาเหตุที่ตองพยายามวิเคราะหผลขอมูลทันทีหลังจากการทดลองแลว แลวนําไปเปรียบเทียบกับทฤษฎีหรือผลการวิจัยของงานวิจัยอ่ืน ๆ ที่ไดมีการคนความากอนแลวเพื่อดูวาผลการทดลองสอดคลองกันหรือไมหรือตางกันอยางไร

ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงตองทําการทดลอง วิเคราะห สรุปผลขอมูล และคนควาไปในเวลาเดียวกัน และใหทําเชนนี้เร่ือย ๆ เพื่อจะไดวิเคราะหทันทีเลยวาผลการทดลองที่ไดออกมามีความถูกตองแมนยําระดับใด ดังที่เคยกลาวไปแลววา ไมมีเครื่องมือชนิดใดใหคาที่ถูกตองที่สุด ดังนั้น ในการสรุปผลจึงกลาวไดแตเพียงวาผลการทดลองมีความนาเชื่อถือไดระดับใดเทานั้น คําวา “เชื่อถือ” ในที่นี้จึงหมายถึงวา ไมไดถูกตองที่สุด แตเชื่อได เพราะวาการทดลองไมมีคาที่ถูกตอง ไมมีเครื่องมือไหนถูกตอง คือ “เชื่อถือ” อาจหมายถึงวา มีความสอดคลองกับทฤษฎีที่มีอยูอยางไร ยกตัวอยางงาย ๆ สมมติวา มีการทดลองหาความสัมพันธระหวางขอมูลสมดุลหรือจุดสมดุล (equilibrium) ถามีสารชนิดหนึ่งที่อยูในสถานะเปนตัวถูกละลาย (solute) และสารอีกชนิดหนึ่งอยูในสถานะที่เปนตัวทําละลาย (solvent) สามารถที่จะกําหนดเสนกราฟได ไดขอมูลเปนคาคงตัว แตถากราฟเสนนี้เปนเสนตรงจริงแตไมผานจุดศูนย ถามวามีความนาเชื่อถือหรือไม เพราะจริง ๆ แลวกราฟเ ส นนี้ ค ว ร ผ า น จุ ด ศู น ย เ พ ร า ะ ว า ถ า ไ ม มี ส า ร ในตั ว ถู ก ล ะล า ย ก็ ไ ม มี สารในตัวทําละลาย ซ่ึงก็ควรเปนจุดศูนย เรื่องนี้เปนตัวอยางงาย ๆ แมวาจะไดผลการทดลองเปนเสนตรง แตถาไมผานจุดศูนยก็ใชไมได ทั้ง ๆ ที่ความจริงถาเปนอยางนั้นก็ตองยอมรับความผิดพลาดที่อยูในชวงของความผิดพลาดของเครื่องมือที่

Page 73: New Researcher Manual

73

ใช เหมือนการทํ า เสนกราฟ เปรี ยบ เที ยบของ เครื่ อ งวิ เคราะห GC ( Gas Chromatography : GC เปนเครื่องมือสําหรับแยกและวิเคราะหหาปริมาณสารในสภาวะแกส) ถาฉีดปริมาตรสารเขาไปหนึ่งคา ก็ไดพื้นที่ใตเสนกราฟมาหนึ่งคา ถาปริมาตรสารเปลี่ยนแปลงพื้นที่ใตเสนกราฟก็เปล่ียนแปลง ถาไมไดฉีดปริมาตรสารเขาไปก็จะไมปรากฏพื้นที่ใตเสนกราฟออกมา จะเห็นวาเสนกราฟเปรียบเทียบของ GC ควรเปนเสนตรงแลวผานจุดศูนย นี้เปนไปตามทฤษฎี แตในความจริงแลวอาจมีความคลาดเคลื่อนจากจุดศูนยก็ได ซ่ึงจริง ๆ แลวผลการทดลองควรจะตองสอดคลองกับทฤษฎีจึงจะเปนคาที่เชื่อถือได สมมติวาไมมีคาที่ถูกตอง มีแตคาที่นาเชื่อถือ ก็ตองนําคาที่นาเชื่อถือไปเทียบกับทฤษฎีที่มีอยู ส่ิงเหลานี้คือ ศิลปะในการทดลอง อาจกลาวไดวาสิ่งที่เปนสุดยอดของงานวิจัยคือ งานวิจัยไมจําเปนตองทําการทดลองก็ได ถาผูวิจัยสามารถจะยืมขอมูลจากงานวิจัยอ่ืน หรือจากบทความวิจัยของคนอื่น หรือจากเอกสารของคนอื่น แลวนํามาใชกําหนดเสนกราฟเปนของตัวเองได กําหนดทฤษฎีของตัวเองได กําหนดสมการของตัวเองได ก็ไมจําเปนตองทดลอง แตการทําดังกลาวตองใชความรูความสามารถมาก เพราะฉะนั้น จึงกลาวไดวาการทดลองไมใชหัวขอที่สําคัญของงานวิจัย หัวขอท่ีสําคัญของงานวิจัยก็คือ การวิเคราะหผลและการสรุปผลมากกวา

5. ขั้นตอนที่หา การวิเคราะหผลและการสรุปผล ขั้นตอนนี้เปนจุดสําคัญที่จะไดองคความรูใหม ดังที่ไดกลาวมาแลววา

เมื่อทําการทดลองเสร็จแลว จะตองวิเคราะหและสรุปผลการทดลองนั้น วาไดองคความรูใหมหรือไม หลังจากวิเคราะหสรุปผลแลวไดองคความรูใหมมาแลวอาจยังไมรูวาถูกตองหรือไม ดังนั้น จึงตองดําเนินการในขั้นตอไปคือ ขั้นตอนการคนหา

Page 74: New Researcher Manual

74

กล า วคื อ เ มื่ อ ได อ งค คว ามรู ใหม ออกมา ผู วิ จั ย อ าจจะคาดว า ถู กต อ ง คาดวาใช เหมือนไดคําตอบของการตั้งสมมติฐาน แตจะใชหรือไมใชจะตองไปคนควาอีกทีหนึ่ง เพื่อหาใหไดวาเปนองคความรูใหมจริงหรือไม ซ่ึงจะทําไดโดยการออกแบบการทดลองเพิ่มเติมเพื่อพิสูจนวาใชหรือไม หรือโดยการเลือกภาวะใหม ซ่ึงทั้งงานวิจัยทางสังคมศาสตรและงานวิจัยทางวิทยาศาสตรจะตองทําเชนเดียวกัน คือ สมมติวาเมื่อทําการวิเคราะหเกี่ยวกับธรรมชาติการรับประทานอาหารของคนในหมูบานแหงหนึ่งในภาคตะวันออก แลวไดรูปแบบสมการธรรมชาติวาเปนอยางนี้ ก็ยังไมควรสรุปวาเปนคําตอบที่แนชัด ควรที่จะไปทําการทดลองเพิ่มเติมที่หมูบานอื่น โดยเลือกกลุมตัวอยางคลาย ๆ กัน ถากลุมตัวอยางนั้นมีตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเหมือนกันกับหมูบานแรก สภาพความเปนอยู คลาย ๆ กัน เมื่อนําขอมูลที่ไดจากหมูบานอื่นมาใสตามรูปแบบสมการธรรมชาติที่ไดมาจากการทดลองที่หมูบานแรก แลวยังใหผลสอดคลองกัน แสดงวารูปแบบสมการธรรมชาติที่ไดมานั้นมีความนาเชื่อถือมากขึ้นเรื่อย ๆ ก็เหมือนกับการทดลองทางวิทยาศาสตร ซึ่งหลังจากสรุปผลแลว ก็จะตองทําการทดลองเพิ่มในภาวะที่ตางกันไป ถาการทดลองเพิ่มนั้นสมเหตุสมผลกับรูปแบบสมการที่ไดสรางไวในตอนแรก รูปแบบสมการนั้นก็มีความนาเชื่อถือมากขึ้นเรื่อย ๆ ถาประสงคจะทําการทดลองเพิ่มหรือทําการวิเคราะหเพิ่มโดยใชเครื่องมือชนิดใหมอีก โดยท่ีเครื่องมือชนิดใหมนั้นใหผลการวิเคราะหออกมาสอดคลองกัน รูปแบบสมการที่สรางไวก็ยิ่งทวีความนาเชื่อถือยิ่งขึ้นตามลําดับจนกระทั่งเกิดเปนองคความรูใหมขึ้นมาอยางชัดเจน เพราะฉะนั้น จึงกลาวไดวาการทําวิจัยจําเปนที่จะตองทําตามขั้นตอนตาง ๆ (ที่กลาวมาแลว) ไปพรอม ๆ กันหรือทําเปนวงกลม ระหวางการคนควา การทดลอง การวิเคราะห และการสรุปผล เพราะจะไดองคความรูใหมเร็วข้ึน ถาไมมีการวิเคราะหผลเลย ก็จะไมสามารถตั้งสมมติฐานใหมได นั่นก็คือ การตั้งรูปแบบสมการ

Page 75: New Researcher Manual

75

หรือตั้งองคความรูใหมที่ถือวาเปนสมมติฐานนั้นยังไมจริง จะตองกลับไปคนควาใหมวาซ้ํากับงานวิจัยอ่ืนหรือไม จะตองพิจารณาดูวาการทดลองที่ควรจะทําคืออะไร แลวจึงกลับมาทําการทดลองใหม เพื่อพิสูจนวาถึงรูปแบบสมการที่ไดสรางไวถูกตองมากนอยเพียงไร เพราะฉะนั้นการตั้งสมมติฐานจะมี 2 ตอน คือ ตอนแรกตั้งสมมติฐานกอนเริ่มทําการทดลอง แตจุดนั้นยังไมสําคัญเทากับตอนที่เริ่มทําการทดลอง แลววิเคราะหผล เมื่อวิเคราะหผลเสร็จแลวสรุปผล นั่นก็คือ การตั้งสมมติฐานนั่นเอง การสรุปผลก็คือ การตั้งสมมติฐานวาคําตอบของปญหาคือ อะไร แลวก็กลับไปคนควาใหม ทําการทดลองซ้ําเพื่อพิสูจนคําตอบนั้นอีกหลาย ๆ คร้ัง แลวจึงวิเคราะหผลการทดลองใหม วาคําตอบนั้นถูกตองหรือไม ถาทําอยางนี้ไปเรื่อย ๆ จะชวยลดการเสียเวลาในการทดลองแลวจะสามารถเขาสูเปาหมายคือการไดคําตอบเร็วขึ้น ถือวาเปนทางลัด (shortcut) ในการหาคําตอบ

อาจกลาวไดวาการวิเคราะหและการสรุปผลขอมูลเปนหัวใจสําคัญ อีกประการหนึ่งของงานวิจัย

การวิเคราะห คือ การพิสูจนวาขอมูลที่ไดนาเชื่อถือหรือไม สวนการสรุปผลขอมูลคือ การคนพบวา ขอมูลที่ไดนั้นนําไปสูคําตอบอะไร ดังนั้นผูวิจัยตองตระหนักอยูเสมอวาสองประเด็นนี้แตกตางกัน

Page 76: New Researcher Manual

76

บทที่ 6 การวิเคราะหขอมูลและการแปลความหมาย

6.1 ความหมายและวัตถุประสงค

การวิเคราะห (Analysis) โดยรูปศัพท หมายถึง การแยกแยะ ซ่ึงก็ขึ้นอยูกับวาต อ ง ก า ร วิ เ ค ร า ะห อ ะ ไ ร ในก า ร วิ จั ย เ ร า มั ก จ ะคุ น กั บคํ า ว า “ข อมู ล ” ซ่ึงหมายถึงขอเท็จจริงของเหตุการณหรือปรากฏการณที่ตองการศึกษา เมื่อเราเก็บขอมูลมาไดเปนจํานวนมากแลวก็ตองการทราบความรูจากขอมูลเหลานั้นวิธีการที่จะไดความรูจากขอมูลจะตองวิเคราะหขอมูล หรือแยกแยะขอมูลออกเปนสวน ๆ เพื่อสรุปคําตอบตามวัตถุประสงคของการวิจัยหรือการทดสอบสมมติฐานของการวิจัย ตัวอยางเชน ตองการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของผู เรียนทั้งหมด ในการวิเคราะหขอมูลเพื่อใหเปนไปตามจุดมุงหมายของการวิจัย ตองแยกขอมลูกอนเพราะผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน สวนหนึ่งเกิดจากครูที่มีวุฒิอีกสวนหนึ่งเกิดจากครูที่ไมมีวุฒิ การวิเคราะหขอมูลและการแยกประเภทขอมูลเปนสิ่งสําคัญ เพราะจะวิเคราะหตอไปอยางไรนั้นจะตองนําสถิติเขามาชวย การที่จะแยกขอมูลออกมาไดจะตองเริ่มตั้งแตพิจารณาปญหาของการวิจัย ตองระบุตัวแปรใหได ถาระบุออกมาไมได การวิเคราะหขอมูลก็ไมเปนผลสําเร็จ ตัวอยางการระบุตัวแปรจากปญหาการวิจัย เชน กรณีเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนชายและหญิง ตัวแปรอิสระคือ เพศ ตัวแปรตาม คือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนตน กลาวโดยสรุป การวิเคราะหขอมูลก็คือ การจัดประเภท จัดอันดับ หรือสรุปยอขอมูลเพื่อตอบคําถามของการวิจัย การวิเคราะหขอมูลก็เพื่อลดขอมูล หรือสรุปขอมูลใหอยูในรูปที่สามารถตีความหมายหรือแปลความหมายได เพื่อ

Page 77: New Researcher Manual

77

อธิบายหรือตรวจสอบสมมติฐานของการวิจัย ซ่ึงสอดคลองกับจุดมุงหมายสําคัญของสถิติ นั่นก็คือ การจัดทําหรือยอสรุปขอมูลที่เปนตัวเลขและเปรียบเทียบผลที่ไดรับความคาดหวังตามโอกาส ดังนั้น สถิติจึงเปนเครื่องมือที่สําคัญของการวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลที่ไดผลข้ึนอยูกับการที่นักวิจัยไดเลือกใชสถิติที่ถูกตองเหมาะสมเพียงใด อยางไรก็ดี การวิเคราะหขอมูลโดยตนเอง มิใชเปนการใหคําตอบจุดมุงหมายของการวิจัย แทจริงแลวตองมีการแปลความหมายผลที่วิเคราะหไดดวย การแปลความหมาย ( interpretation) หมาย ถึง การอธิบายหรือ หาความหมายของผลการวิเคราะห กลาวคือ เปนการสรุปพาดพิงผลที่วิเคราะหไดไปยังส่ิงที่มุงศึกษาวิจัยและสรุปผลแหงความสัมพันธนั้น โดยทั่วไปเราสามารถแปลความหมายของผลการวิเคราะหได 2 วิธี วิธ ีแรก เป นการแปลความหมายในเรื ่องที ่ศ ึกษา หรือจากข อม ูล ที ่ศึกษาในเรื่องนั้น ความหมายในแงนี้ เปนความหมายแคบของ “การแปลความหมาย” ซ่ึงการแปลความหมายแงนี้มีความหมายคูเคียงกับการวิเคราะหตัวอยางเชน ในเรื่องการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนที่อาจารยวุฒิปริญญาเอกกับอาจารยไมมีวุฒิปริญญาเอกเปนผูสอน เมื่อผูวิจัยแยกขอมูลแลวก็วิเคราะหโดยใชสถิติการทดสอบคาที (t-test) ผลปรากฏวา คามัชฌิม (คากลาง)เลขคณิตของสัมฤทธิ์ผลของผูเรียนที่เรียนกับอาจารยที่มีวุฒิ สูงกวาคามัชฌิมเลขคณิตของสัมฤทธ์ิผลของผูเรียนที่เรียนกับอาจารยไมมีวุฒิปริญญาเอกอยางมีนัยสําคัญ จากผลการวิเคราะหจะแปลความหมายไดวา ผลการวิจัยคร้ังนี้เปดเผยใหทราบวาอาจารยผูมีวุฒิปริญญาเอกสอนไดดีกวาอาจารยที่ไมมีวุฒิปริญญาเอก เปนตน ในกรณีที่นักวิจัยสนใจขอมูลระหวางการมาเรียนกับสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนของ

Page 78: New Researcher Manual

78

ผูเรียน ผูวิจัยก็วิเคราะหโดยคํานวณหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ และตีความหมายไดเลยวาการมาเรียนกับสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญหรือไม จากตัวอยางดังกลาวแสดงวาในกรณีนี้การวิเคราะหและการแปลความหมาย มีความสัมพันธตอเนื่องกันแทบแยกกันไมออก วิธีท่ีสอง เปนความหมายกวางของการแปลความหมาย กลาวคือ เปนการเปรียบเทียบผลที่วิเคราะหได และการสรุปพาดพิงจากขอมูลไปยังทฤษฎี หรือผลการวิจัยอ่ืนที่เกี่ยวของวาขอคนพบนั้น สอดคลองหรือขัดแยงกับทฤษฎีหรือผลการวิจัยของคนอื่นหรือไมอยางไร กลาวโดยสรุป การแปลความหมาย เปนการแสวงหาความหมายและขอสรุปพาดพิงของผลที่ไดจากการวิเคราะหนั่นเอง 6.2 การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ในการประเมินโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของกระทรวงศึกษาธิการ โดย เคน แคมป (Ken Kamp) และ เยาวดี วิบูลยศรี (2539) ซ่ึงเปนกรณีศึกษา ดังไดกลาวแลวในบทที่ 4 ในสัญญาไดระบุใหผูประเมินดําเนินการประเมินแบบเจาะลึกตามวัตถุประสงค เพื่อประเมินความพยายามในการสรางสมรรถวิสัยของโครงการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของโครงการและผลกระทบพรอมทั้งประเมินความยั่งยืนของผลปฏิบัติ และผลกระทบของโครงการเพื่อบันทึกบทเรียนในการปฏิบัติงานที่กอใหเกิดการเรียนรูและการใหคําแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินงานโครงการใหตอเนื่อง พรอมดวยคําแนะนําเกี่ยวกับโครงการและนโยบายสําหรับการศึกษาในอนาคต

Page 79: New Researcher Manual

79

การเก็บขอมูลเนนเชิงคุณภาพ สนับสนุนดวยการสอบวัดปริมาณเทาที่สามารถทําไดภายในระยะเวลาเพียง 1 เดือน ขอมูลที่รวบรวมได ไดแก เอกสารและบันทึกจากโครงการหนวยงานของรัฐ ของโรงเรียน และหมูบาน การนําเสนอของคณะทํางานระดับโรงเรียนและหมูบาน โครงสรางทางกายภาพ เครื่องมือวัสดุอุปกรณ และผลผลิตดานเอกสารตาง ๆ ขอมูลสัมภาษณชาวบาน สัมภาษณนักเรียน ผูบริหารโรงเรียน ครู คณะทํางานระดับจังหวัด เขต ภาค สถาบันคูสัญญา สํานักงานประสานโครงการ ผูแทนกระทรวงศึกษาธิการ ผูแทนกรมวิเทศสหการและองคการยูเอ็นดีพี (UNDP)

ในการวิเคราะหขอมูลซ่ึงเปนขอมูลเชิงคุณภาพ เชิงเอกสาร คําใหสัมภาษณ คําบอกเลา และผลการสังเกตการณตาง ๆ ผูประเมินไดรวบรวมเอกสารตาง ๆ ศึกษาทบทวนและวิเคราะหเนื้อหาสาระ และนําเสนอผลการวิเคราะหเนื้อหาสาระนําไปใหชาวบาน คณะทํางานระดับโรงเรียน คณะทํางานของรัฐบาลของโครงการ และขาราชการระดับสูงแสดงความคิดเห็น และอภิปรายในสถานการณตาง ๆ ทุกโอกาสที่ทําได สุดทายเปนการวิเคราะหเจาะลึกและกลั่นกรองโดยผูป ร ะ เ มิ น พร อ มทั้ ง สั ง เ ค ร า ะห ส รุ ป ผ ล ตอบต า ม วั ต ถุ ป ร ะส ง ค ข อ ง การประเมินตามที่กําหนดในสัญญา

ตัวอยางจากกรณีดังกลาวแสดงใหเห็นขอมูลเชิงคุณภาพ ที่เปนขอมูลภาคสนาม และขอมูลเชิงคุณภาพที่เปนเอกสาร ซ่ึงเปนขอมูลเชิงคุณภาพที่พบมากในการวิจัยประเมินโครงการ โดยเฉพาะการวิจัยประเมินผลเชิงคุณภาพ

ตัวอยางจากกรณีศึกษาอีกกรณีหนึ่ง คือ รายงานการวิจัยเร่ืองคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาในชนบท : กรณีศึกษาโรงเรียนในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย สุภางค จันทวานิชและคณะ (2531) เพื่อศึกษา

Page 80: New Researcher Manual

80

กระบวนการดําเนินงานในระบบการศึกษาระดับประถมศึกษาในชนบท ซ่ึงสงผลตอคุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษา และศึกษาความสอดคลองในเรื่องคุณภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในชนบทตามความเปนจริง เปรียบเทียบกับความคาดหวังของผูเกี่ยวของ คณะวิจัยไดเดินทางไปปฏิบัติงานภาคสนามเปนชวง ๆ (ชวงละ 1-2 เดือน) ติดตอกันในระยะเวลา12 เดือน เพื่อใหไดเห็นวงจรชีวิตความเปนอยู และเหตุการณตาง ๆ ตลอดชวง 1 ปการศึกษา และ 1 ปของฤดูกาลทางเกษตรกรรม เพื่อนักวิจัยจะไดเขาใจสภาพความเปนไป ทั้งทางการศึกษา และสังคมชุมชนของโรงเรียน 4 โรงเรียนที่เปนกรณีศึกษา ไดถูกตองใกลเคียงกับสภาพความเปนจริงมากที่สุด เพื่อใหเปนพื้นฐานใหเกิดความเขาใจในขอเท็จจริงเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ทั้งในสวนที่เห็นชัดเจน และในสวนที่แฝงเรน ในการรวบรวมขอมูลภาคสนาม ขอมูลสวนใหญไดจากการสังเกตการณอยางมีสวนรวม โดยการเขาไปอาศัยอยูในหมูบาน และประจําอยูที่โรงเรียนในฐานะครูชวยสอน ประกอบกับการสัมภาษณพูดคุยอยางไมเปนทางการกับบุคคลตาง ๆ ที่เปนกลุมเปาหมายในทองถ่ิน นักวิจัยไดรวบรวมขอมูลโดยใชวิธีการศึกษาตามวิธีทางมานุษยวิทยา ซ่ึงมีตัวนักวิจัยเปนเครื่องมือสําคัญดังกลาวแลว นอกจากนี้ นักวิจัยยังไดศึกษาหาขอมูลจากเอกสารหลักฐานตาง ๆ และสถิติตาง ๆ ของโรงเรียนและของอําเภอ เชน ระเบียนสะสมแบบรายงานการศึกษาสวนภูมิภาค ทะเบียนราษฎรของอําเภอ เปนตน รวมทั้งใชแบบทดสอบและแบบสอบถามดวย ในการสังเกตหองเรียนและการทํากิจกรรมนักวิจัยดําเนินการโดยเปนไปอยางธรรมชาติ โดยนักวิจัยมีบทบาทเปนครูผูชวยสอน

Page 81: New Researcher Manual

81

ในการวิจัยคร้ังนี้ คุณภาพของการศึกษา นาจะหมายถึง 1) วัตถุประสงคและเนื้อหาในหลักสูตรสอดคลองกับความตองการของรัฐ เหมาะสมกับสภาพสังคมและเปนประโยชนตอการดํารงชีวิตของประชาชนในทองถ่ินนั้น 2) มีมาตรการ กระบวนการดําเนินงาน และการติดตามผลที่นําไปสูวัตถุประสงคที่วางไว และ 3) ผูสําเร็จการศึกษามีคุณลักษณะตามที่ตองการครบถวน จะเห็นไดวาคุณภาพการศึกษาเปนขั้นตอนที่มีความตอเนื่องกัน คือ คุณภาพแทรกอยูในแตละขั้นตอนของกระบวนการเริ่มตนตั้งแตวัตถุประสงคและเนื้อหาสาระของหลักสูตรการเรียนการสอน และกระบวนการตาง ๆ ที่จะทําใหวัตถุประสงคและเนื้อหาหลักสูตรที่วางไวไดถูกนําไปใชจริง และในที่สุดมีการวัดผลเพื่อใหทราบวาผูจบการศึกษามีคุณสมบัติครบถวน ตามที่ระบบการศึกษาตองการ โดยพิจารณาวาการศึกษาระดับประถมศึกษาอํานวยประโยชนดานการประกอบอาชีพแกผูที่เรียนจบไปแลวเพียงใด และโรงเรียนสรางลักษณะนิสัยแกผูเรียนบางเพียงใด ในการวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยไดพิจารณามิติตาง ๆ ของคุณภาพการศึกษาและพิจารณาวามิติเหลานั้นมีความสัมพันธกันอยางไรตามความเปนจริง เพื่อแสดงถึงปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอคุณภาพการศึกษา

ในดานการวิเคราะหขอมูล นักวิจัยภาคสนามไดวิเคราะหและตีความขอมูลซ่ึงสวนใหญเปนขอมูลเชิงคุณภาพอยูตลอดเวลาระหวางที่ปฏิบัติงานภาคสนาม และไดวิเคราะหขอมูลสรุปเปนระยะ ๆ ในชวงที่นักวิจัยกลับเขาไปปฏิบัติงานในสํานักงาน เพื่ออภิปรายปญหาและขอมูลที่รวบรวมไดรวมกันโดยไดกําหนดใหนักวิจัยแตละคนศึกษาขอมูลที่ไดบันทึกไวในบันทึกภาคสนามของตน

Page 82: New Researcher Manual

82

อยางละเอียดและเปนระบบ แลววิเคราะห ตีความสรุปรายละเอียดที่ได แลวจึงตั้งเปนสมมติฐานไวช้ันหนึ่งกอนเขียนรายงานในแตละระยะของแตละกรณีศึกษาเสนอคณะอนุกรรมการของโครงการ ซ่ึงประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงานปฏิบัติที่เกี่ยวของ เพื่ออภิปรายถึงปญหาและใหคําแนะนําในการดําเนินงานตอไป โดยจัดใหมีการวิเคราะหการเขียนรายงานเบื้องตนเปนระยะ ๆ จํานวน 4 คร้ัง ภายหลังจากที่นักวิจัยภาคสนามไดแกไขรางรายงานการวิจัยกรณีศึกษาของตนแลวเปนการวิเคราะหขอมูลขั้นสุดทายโดยหัวหนาโครงการ ซ่ึงไดศึกษาขอมูลของรางรายงานการศึกษาทั้ง 4 แหง แลววิเคราะหเปรียบเทียบและสังเคราะหเนื้อหาขอสรุปในเรื่องคุณภาพของผูเรียนระดับประถมศึกษา และเปรียบเทียบขอสรุปจากผลวิจัยที่เกี่ยวของ ซ่ึงมีผูทําไวแลว โดยสรุปในการสังเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพนั้นผูวิจัยตีความและทําความเขาใจขอมูลโดยวิธีการอุปนัยเปนสําคัญ และใชวิธีการทางสถิติเบื้องตนสําหรับการวิเคราะหขอมูลที่เปนปริมาณ

การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยประเมินผลจากขอมูลเชิงคุณภาพหรือ การวิจัยประเมินผลเชิงคุณภาพ อาจใชสถิติก็ได แตลักษณะสําคัญ คือ การตีความขอมูลที่ไดพรรณนา การตีความหรือหาความหมายขอมูลนี้ใชหลักตรรกวิทยา โดยวิธีการอุปนัยเปนสําคัญ และตองอาศัยความรูเชิงทฤษฎีของผูวิจัยประกอบดวยการวิเคราะหขอมูลเปนขั้นตอนที่สําคัญและยากในกระบวนการวิจัย โดยเฉพาะการวิจัยประเมินผลเชิงคุณภาพ วิธีการหลักที่ใชในการวิเคราะหเปนวิธีการสรางขอสรุปจากการศึกษารูปแบบหรือขอมูลจํานวนหนึ่ง มักไมใชสถิติชวยในการวิเคราะหหรือถาใชสถิติก็ไมไดถือวาวิธีการทางสถิติเปนวิธีวิเคราะหหลัก แตจะถือวาเปนขอมูลเสริม ดวยเหตุนี้ ผูวิเคราะหขอมูลจึงมีบทบาทสําคัญยิ่งในการวิจัยประเมินผล เชิงคุณภาพ ผูวิเคราะหขอมูลควรมีความรอบรูในเรื่องแนวคิดทฤษฎีอยาง

Page 83: New Researcher Manual

83

กวางขวาง มีความเปนสหวิทยาการอยูในตัวเอง สามารถสรางขอสรุปเปนกรอบแนวคิดและเปลี่ยนแปลงแนวทางที่จะตีความหมายขอมูลไดหลาย ๆ แบบ เทคนิคการวิเคราะหขอมูล แบงเนื้อหาเปน 2 สวน ดังนี้

1. การวิเคราะหขอมูลแบบสรางขอสรุป วิธีการหลักที่ใชในการวิเคราะหแบบนี้มี 3 ชนิด คือ

1.1 การวิเคราะหแบบอุปนัย คือ วิธีตีความสรางขอสรุป ขอมูลจากรูปธรรมหรือปรากฏการณที่มองเห็น เชน พิธีกรรม การทํามาหากินความเปนอยูในสังคม ฯลฯ เมื่อนักประเมินไดเห็นรูปธรรมหรือเหตุการณหลาย ๆเหตุการณแลวลงมือสรางขอสรุป ถาขอสรุปนั้นไมไดรับการตรวจสอบยืนยันก็เปนสมมติฐานช่ัวคราว ถาหากไดรับการยืนยันแลวก็ถือวาเปนขอสรุปซึ่งมีความหมายเปนรูปธรรมในระดับตน ๆ การสรางขอสรุปเชิงนามธรรมจากปรากฏการณที่มองเห็น เชน เด็กขายพวงมาลัย นักประเมินตองสรางขอสรุปเหลานี้ใหเปนจริงและตองคํานึงวาการสรางขอสรุปนี้ไมใชส่ิงที่จะทําในตอนทายของการรวบรวมขอมูลเทานั้น แตเปนสิ่งที่ตองทําตลอดเวลา เมื่อใดที่สัมผัสปรากฏการณ จะตองสรางขอสรุปในระดับใดระดับหนึ่ง ขอสรุปที่สรางขึ้นในขั้นตอนนี้เรียกวาสมมติฐานชั่วคราว ในการวิจัยประเมินผลเชิงคุณภาพ สมมติฐานไดมาจากกรอบทฤษฎีเชนกัน แตผูประเมินไมกําหนดสมมติฐานจากกรอบแนวคิดอันใดอันหนึ่งโดยเฉพาะ ตรงกันขามนักประเมินจะปรับเปลี่ยนสมมติฐานอยูเสมอ โดยการทดสอบสมมติฐานเหลานั้นตลอดเวลา จะเห็นวาการวิเคราะหขอมูลในการวิจัยประเมินผลเชิงคุณภาพ หัวใจสําคัญอยูที่การสรางสมมติฐานนั่นเอง

Page 84: New Researcher Manual

84

1.2 การวิเคราะหโดยจําแนกชนิดขอมูล คือ การจําแนกขอมูลเปนชนิด ๆ (typologies) หรือขั้นตอนของเหตุการณที่เกิดขึ้นตอเนื่องกันไป การจําแนกแบงวิธีการไดเปน 2 แบบ คือ แบบใชแนวคิดทฤษฎี และไมใชทฤษฎี

1) แบบใชทฤษฎี คือ การจําแนกชนิดขอมูลในเหตุการณหนึ่ง ๆ โดยยึดแนวทฤษฎีเปนกรอบในการจําแนก เชน อาจใชทฤษฎีของ Lofland ซ่ึง

แยกเปน 6 แบบ คือ การกระทํา กิจกรรม ความหมาย ความสัมพันธ การมีสวนรวม

ในกิจกรรมและสภาพสังคม เปนแนวทางในการจําแนก การแยกชนิดของสิ่งที่จะตองสังเกตออกเปน 6 แบบ นี้จะเปนประโยชนโดยตรงในแงของการตรวจสอบวาผูประเมินทํางานไดครบถวนหรือไม หรือพยายามอธิบายถึงความเปนมา สาเหตุและผลลัพธ การวิเคราะหในเบื้องตนนี้เปนสิ่งจําเปนในการวิจัยประเมินผล เพราะงานวิจัยประเมินผลเชิงคุณภาพนี้เปนงานที่ตองทําการวิเคราะหขอมูลในสนาม เพื่อจะไดสามารถเก็บขอมูลไดอยางตอเนื่องและวิเคราะหไดอยางถูกตอง

ในการวิเคราะห ผูประเมินจะตองพยายามตอบคําถามวา ส่ิงที่วิเคราะหนัน้มี รูปแบบอยางไร เกิดขึ้นไดอยางไร เพราะเหตุใด และจะมีผลกระทบตอสถานการณ กิจกรรม และความสัมพันธอยางไร แตการตอบคําถามเหลานี้จะไมสามารถทําไดจากการสังเกตอยางเดียว จําเปนตองใชวิธีการสัมภาษณประกอบดวย และผูประเมินจะตองวิเคราะหอยางลึกซ้ึงและรอบคอบ เพราะสาเหตุและผลกระทบของเหตุการณหรือกิจกรรม หรือความสัมพันธไมไดมีสาเหตุเดียว และจะไมกระทบเรื่องเดียว แตจะกระทบเกี่ยวกันกับเรื่องตาง ๆ อีกเปนอันมาก

2) แบบไมใชทฤษฎี คือ การจําแนกขอมูลที่จะวิเคราะหตามความเหมาะสมของขอมูล อาจใชสามัญสํานึกหรือประสบการณของผูประเมิน ผูประเมินจะจําแนกขอมูลเปนชนิดงาย ๆ ตามประเภทความสัมพันธกับแบบชีวิตที่

Page 85: New Researcher Manual

85

ผูประเมินสังเกตเห็น เชน แบงชนิดเหตุการณ ระยะเวลาที่เกิดเหตุการณ บุคคลที่เกี่ยวของ สภาพแวดลอม แลวพิจารณาความสัมพันธของชนิดตาง ๆ ที่แบงนี้ ผูประเมินจะพิจารณาดูความสม่ําเสมอของการเกิดขอมูลชนิดตาง ๆ ซ่ึงจะเปนพื้นฐานในการอธิบายสาเหตุของปรากฏการณ ในการจําแนกขอมูลเปนชนิดทั้งโดย ใชและไมใชทฤษฎี ผูประเมินจะไดกําหนดหนวยการวิเคราะหใหแกขอมูลโดยปริยาย

1.3 การวิเคราะหโดยการเปรียบเทียบขอมูล คือ การใชวิธีการเปรียบเทียบโดยการนําขอมูลมาเปรียบเทียบเปนปรากฏการณ มีความเปนนามธรรมมากขึ้น เชน ผูประเมินสังเกตเหตุการณหลาย ๆ เหตุการณ เมื่อไดจําแนกชนิดของขอมูลในเหตุการณเหลานั้นแลว ก็นํามาเปรียบเทียบกันโดยอาจทําเปนตารางหาความสัมพันธ ซ่ึงอาจสรุปไดวา แบบแผนทางเศรษฐกิจของชุมชนเหมือนกับแบบแผนทางการปกครอง ศาสนา การศึกษา นั่นคือ มีรูปแบบของระบบอุปถัมภในทุก ๆ เรื่อง จากการเปรียบเทียบนี้เราจะพบความสัมพันธใหมเกิดขึ้น หรือผูประเมินอาจเปรียบเทียบกิจกรรมในชุมชนวาดวยเรื่องการใชน้ําวาดวยเรื่องโภชนาการ จากนั้นก็นํามาเปรียบเทียบกันโดยแยกแยะแตละปรากฏการณออกเปน 6 สวนตามที่ไดกลาวไวแลว แลวพิจารณาดูวาเหตุการณทั้ง 2 มีอะไรที่สัมพันธหรือซํ้ากันหรือเกี่ยวของกันในแงไหนบาง

ขอมูลเชิงปริมาณที่ใชมากในการวิจัยประเมินโครงการดังแสดงในกรณีศึกษา คือ ขอมูลเอกสาร การวิเคราะหขอมูลเอกสาร ไดแก การวิเคราะหเนื้อหา การวิเคราะหเนื้อหาคือ เทคนิคการวิจัยที่พยายามจะบรรยายเนื้อหาของขอความหรือเอกสาร โดยใชวิธีการเชิงปริมาณอยางเปนระบบและเนนสภาพวัตถุวิสัยหรือความเปนปรนัย (objectivity) การบรรยายนี้เนนเนื้อหาสาระตามที่ปรากฏในขอความ พิจารณาจากเนื้อหาสาระโดยผูประเมินไมมีอคติหรือความรูสึกของ

Page 86: New Researcher Manual

86

ตนเองเขาไปพัวพัน ไมเนนการตีความหมายที่ซอนอยูเบื้องหลัง หรือความหมายระหวางบรรทัด ผูประเมินบางคนอาจถือวาการวิเคราะหเนื้อหา อาจไมจําเปนตองเปนวิธีการเชิงปริมาณก็ได เพียงแตใหระบุคุณลักษณะเฉพาะของขอความหรอืสาระ อยางมีระบบและเปนสภาพวัตถุวิสัย ซ่ึงอาจสรุปไดวาการวิเคราะหเนื้อหาจะตองมีลักษณะ 3 ประการ คือ 1) มีความเปนระบบ 2) มีความเปนวัตถุวิสัย และ 3) อิงกรอบแนวคิดทฤษฎี

สวนเอกสารหรือตัวบทที่จะวิ เคราะหนั้นมีองคประกอบหลัก ๆ 6 ประการ ไดแก 1) แหลงที่มาของขอความหรือสาระไดแกผูส่ือ 2) กระบวนการใสความหมายของสาระ 3) ตัวสาระหรือขอความ 4) วิธีถายทอดสารไปยังผูอ่ืน 5) ผูรับสาร และ 6) กระบวนการถอดความหมายของสาร

ขั้นตอนของการวิเคราะหเนื้อหา มีดังนี้ 1. ผูประเมินตองตั้งกฎเกณฑขึ้นสําหรับการคัดเลือกเอกสารและหัวขอที่จะทําการวิเคราะห 2. ผูประเมินตองวางเคาโครงของขอมูล โดยการทํารายชื่อคําหรือขอความในเอกสารที่จะถูกนํามาวิเคราะหแลวแบงไวเปนประเภท 3. ผูประเมินจะตองคํานึงถึงบริบท (context) หรือสภาพแวดลอมประกอบของขอมูลเอกสารที่นํามาวิเคราะห 4. โดยปกติ การวิเคราะหเนื้อหาจะกระทํากับเนื้อหาตามที่ปรากฏ ในเอกสารมากกวากระทํากับเนื้อหาที่ซอนอยู การวัดความถี่ของคําหรือขอความในเอกสารก็หมายถึงคําหรือขอความที่มีอยู ไมใชคําหรือขอความที่ผูวิจัยตีความได การตีความขอความจะกระทําในอีกขั้นตอนหนึ่งภายหลัง เมื่อผูประเมินจะสรุปขอมูล

Page 87: New Researcher Manual

87

5. ขั้นตอนนี้ยังเปนส่ิงที่ถกเถียงอยูระหวางนักวิจัยประเมินผลเชิงปริมาณ เพราะถานักวิจัยเชิงปริมาณไดทําตาม 4 ขั้นตอนที่กลาวมา ก็ถือวาผูวิจัยจะลงมือสรุปขอมูลไดอยางแมนยํา และนําไปอางกับประชากรทั้งหมดได แตนักวิจัยประเมินผลเชิงคุณภาพเห็นวาความถี่ของคําหรือขอความที่ปรากฏอาจมิไดแสดงถึงความสําคัญของคําหรือขอความนั้นก็ได นอกจากนั้น การดึงความสําคัญของสาระจากตัวบทอาจใชวิธีสรุปใจความซึ่งอาจดีกวาการวัดความถี่ของคําก็ได ฉะนั้น วิธีการเชิงคุณภาพจึงนาจะมีสวนชวยในการวิเคราะหเนื้อหาไดอยางดี

เทคนิคสําคัญที่สุดในการวิเคราะหเนื้อหา คือ การวางระบบขอมูลโดยการจัดประเภทของคําและขอความที่จะวิเคราะห เมื่อไดเอกสารมาแลว ผูวิจัยจะตองจัดจําแนกประเภทของคําและขอความใหไดประเภทที่ดี ครอบคลุม ตรงตามปญหาของการวิจัย

วิ ธี จัดประเภทจะตองดําเนินตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นแรก ผูประเมินจะตองคํานึงถึงปญหาของการวิจัยประเมินผลวาอาจครอบคลุมประเภทของคําหรือขอความอะไรบาง ขั้นท่ีสอง กําหนดหนวย (unit) ของเนื้อหาที่จะ ลงมือจําแนกและแจงนับวาไดแกอะไร ถาเปนคําไดแกคําอะไรบาง หรือถาเปนประโยคไดแกขอความอะไร โดยปกติหนวยในการวิเคราะหเนื้อหามี 3 ชนิด คือ 1) หนวยจากการสุม 2) หนวยจากการบันทึก ซ่ึงเปนการนําขอมูลจากการสุมมาจัดประเภท และ 3) หนวยจากเนื้อหาสาระ เปนการรวบรวมหนวยจากบันทึกมา จัดกลุม และใน ขั้นสุดทาย ผูประเมินจะตองกําหนดวาจะใชวิธีการใดในการแจงนับ

สวนวิธีการทางสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพนั้นก็เพื่อบรรยายลักษณะของประชากร หรือกลุมตัวอยาง เชน การแจกแจงความถี่สัดสวน รอยละ เปนตน นอกจากนี้ ยังใชสถิติเพื่อศึกษาความสัมพันธของตัวแปรเชิงคุณภาพ

Page 88: New Researcher Manual

88

หรือการเปรียบเทียบตัวแปรเชิงคุณภาพโดยใชสถิติสัมพันธ สหสัมพันธ ไคสแควร the McNemar test เปนตน (อุทุมพร จามรมาน : 2531) 6.3 การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ ขอมูลเชิงปริมาณ คือ ขอมูลที่เปนตัวเลข ในการวิเคราะหขอมูลที่เปนตัวเลข ใหศึกษากรณีศึกษาตอไปนี้ กรณีศึกษาเรื่องการวิจัยประเมินโครงการสถานีตํารวจนครบาลทดลอง โดย ปุระชัย เปยมสมบูรณ ใชแบบวิจัยคือ ทดลองแบบกลุมควบคุมไมเทาเทียม โดยแบงเปนพื้นที่ 4 พื้นที่ดําเนินการในชวงเวลา 5 ชวง แบงการประเมินเปนสั ด ส ว น คื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ป จ จั ย นํ า เ ข า แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร โ ด ย ใ ช การพรรณนาตัวแปรตาง ๆ ในสวนที่สองเปนการประเมินผลลัพธและผลกระทบ ใชเทคนิคการวิเคราะหขอมูลความแปรปรวนทางเดียว และสถิติทดสอบคาที

การประเมินโครงการพัฒนาและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พสวท.) ระยะที่ 1 โดย สมหวัง พิธิยานุวัฒน และคณะ ซ่ึงดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณ และสอบถามบุคคลที่เกี่ยวของกับโครงการ คัดลอกขอมูลคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนและนักศึกษาในโครงการ ขอมูลเชิงคุณภาพและขอมูลเชิงเอกสารใชการวิเคราะหเนื้อหา สวนขอมูลเชิงปริมาณวิเคราะหโดยสถิติ รอยละ มัชฌิมเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธิ์ความเที่ยง คาสัมประสิทธิ์ความตรง คาที การทดสอบความแปรปรวน (ANOVA) คาสัมประสิทธสหสัมพันธแบบเพียรสันและการวิเคราะหถดถอยพหุคูณ (MRA)

Page 89: New Researcher Manual

89

กรณีศึกษารายงานการสังเคราะหและประเมินผลการอบรมหลักสูตรอนุรักษพลังงานเบื้องตนสําหรับครู โดย สมหวัง พิธิยานุวัฒน และคณะ ที่มุงศึกษาการประยุกตความรูจากการอบรมของครูวามีเพียงใด รวมทั้งศึกษาผลกระทบในก า ร ส ง ค รู เ ข า อ บ ร ม ต อ ก า ร ใ ช พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ า ข อ ง โ ร ง เ รี ย น โดยการสํารวจจากกลุมตัวอยางครูที่เขาอบรมจํานวน 706 คน ซ่ึงคิดเปนรอยละ 83.25 ของประชากรเปาหมาย ตัวแปรที่ศึกษาไดแก ปฏิกิริยาของผูเขาอบรมตอการอบรม ผลการทดสอบการเรียนรูของผูเขาอบรม พฤติกรรมการประยุกตความรูจากการอบรม ปจจัยที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการประยุกตใชความรูจากการอบรมและปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะในการประยุกตใชความรูจากการอบรม การวิเคราะหขอมูลในโครงการวิจัยประเมินผลนี้ ใชการวิเคราะหเนื้อหาใน การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ และขอมูลเชิงปริมาณวิเคราะหทางสถิติ ไดแก คามัชฌิมเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาสัดสวน คาที การวิเคราะหถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะหความแปรปรวนสองทาง

โดยสรุปผลจากกรณีศึกษาแสดงอยางชัดเจนวา ระเบียบวิธีทางสถิติมีบทบาทสําคัญยิ่งตอการวิเคราะหขอมูล โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ เทคนิคสถิติใชบรรยายความสัมพันธระหวางตัวแปรตาง ๆ และเทคนิคสถิติใชทดสอบความแตกตางระหวางประชากรอันชวยใหขอสรุปวิจัยประเมินโครงการสามารถตอบวัตถุประสงคและไดองคความรูที่สามารถสรุปพาดพิงไปยังประชากรไดอยางกวางขวาง

Page 90: New Researcher Manual

90

6.4 ความหมายของสถิติ โดยทั่วไปคําวา “สถิติ” มีความหมาย 2 นัย คือ สถิติท่ีเปนตัวเลข และ สถิติท่ีเปนศาสตร สถิติที่เปนตัวเลข หมายถึง สถิติที่ไดจากการเก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีการตาง ๆ จากขอมูลจํานวนมาก เชน สถิติผูปวยโรคเอดสของประเทศไทย ในรอบ 10 ป สถิติการเพิ่มของจํานวนรถยนตในเขตกรุงเทพมหานคร ป 2539 สวนสถิติที่เปนศาสตร หมายถึง สถิติที่เปนวิชา ซ่ึงเปนวิชาที่วาดวยการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล และการนําเสนอขอมูล ซ่ึงเปนระเบียบวิธีทางสถิติ สถิติที่เปนศาสตร สามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) และสถิติอนุมาน (Inference Statistics)

1. สถิติพรรณนา คือ สถิติที่เกี่ยวกับการอธิบาย หรือบรรยายลักษณะของขอมูล เปนการบรรยายลักษณะเฉพาะกลุมที่เก็บรวบรวมขอมูลมา ไมสามารถนําผลไปอางอิง หรือพยากรณคาของกลุมอ่ืน ๆ ได สถิติประเภทนี้สวนใหญจะเปนการบรรยายลักษณะของขอมูลแบบงาย ๆ และอาจจะมีการคํานวณเล็กนอย โดยสามารถดําเนินการดวยวิธีการใดวิธีการหนึ่งหรือหลาย ๆ วิธี ดังตอไปนี้

1.1 การนําเสนอขอมูล เปนการอธิบายหรือบรรยายลักษณะของขอมูลที่เก็บรวบรวมมาได โดยอาจนําเสนอในรูปบทความ ตาราง รอยละ กราฟ หรือแผนภูมิ

1.2 การแจกแจงความถี่ เปนการนําขอมูลท่ีเก็บรวบรวมไดมาแยกตามคาตาง ๆ ตามจํานวนของขอมูล ซ่ึงเรียกวา การแจกแจงความถี่ โดยอาจมีการแจกแจงความถี่แบบทางเดียว หรือแบบหลายทาง

Page 91: New Researcher Manual

91

1.3 การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง เปนการคํานวณหาคาที่จะใชแทนขอมูลทั้งหมด ซ่ึงสามารถทําไดดวยวิธีการตาง ๆ ดังตอไปนี้

1.3.1 การคํานวณหาตัวกลางแบบตาง ๆ คือ แบบเลขคณิต แบบเรขาคณิต และแบบฮารโมนิค การหาคาฐานนิยม การหาคาของขอมูลที่ตรงกับตําแหนงตาง ๆ ซ่ึงมีหลายวิธีตาง ๆ กัน คือ มัธยฐาน ควอไทล เดไซล และเปอรเซ็นไทล 1.3.2 การวัดการกระจาย (dispersion) เปนการพิจารณาดูความแตกต า งของข อมู ลที่ เ ก็ บ รวบรวมมาได โดยวิ ธี ก า รต า ง ๆ ดั งนี้ พิ สั ย สวนเบี่ยงเบนควอไทล สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธ์ิของการกระจาย การวัด และการวัดเกี่ยวกับโคงปกติ วัดความเบ (skewness) วัดความโดง (kurtosis)

2. สถิติอนุมาน (Inference Statistics) คือ สถิติที่เกี่ยวกับการนําขอมูลที่ไดจากตัวอยาง ซ่ึงเปนการศึกษาขอมูลเพียงบางกลุม หรือบางสวนของประชากร แลวนําขอเท็จจริงที่ไดนี้ไปอธิบาย หรือสรุปผลลักษณะของประชากรทั้งกลุม การสรุปผลดังกลาวจะใชหลักของความนาจะเปนมาทําการทดสอบสมมติฐานตามที่ ผูประเมินกําหนดไวสถิติอนุมานหรือการอนุมานทางสถิติ จะถูกตองเพียงใดนั้น ขึ้นอยูกับวิธีการเลือกขอมูลซ่ึงจะเรียกวา การสุมตัวอยาง ผูวิจัยสามารถสรุปผลลักษณะของประชากรไดถูกตอง ถาขอมูลตัวอยางที่ไดมาบางสวนนี้มีวิธีการสุมตัวอยางที่ดี กลาวคือ ไดขอมูลที่เปนตัวแทนของประชากรอยางถูกตอง

Page 92: New Researcher Manual

92

ดังนั้น การเก็บรวบรวมขอมูลจากตัวอยางนั้น ผูประเมินควรจะศึกษาทฤษฎีการสุมตัวอยาง เพื่อจะไดตัวอยางขอมูลที่เปนตัวแทนของประชากร และจะนําไปสูการสรุปผล และอธิบายลักษณะของประชากรไดถูกตอง

การอนุมานทางสถิติที่ใชกันอยู สามารถจําแนกได 2 วิธี คือ การอนุมานแบบมีพารามิเตอร (Parametric Inference) และการอนุมานแบบไมมีพารามิเตอร (Non-Parametric Inference)

การอนุมานแบบมีพารามิเตอร (Parametric Inference) เปนการนําคาที่ไดจากตัวอยาง ซ่ึงเรียกวา คาสถิติ ไปอธิบายคุณลักษณะประชากร ซ่ึงเรียกวา คาพารามิเตอร คาสถิติคาหนึ่ง ๆ ไดมาจากการเลือกบางสวนของขอมูลมาทําการประเมินผล ดวยวิธีการตาง ๆ (ซ่ึงสวนใหญจะเปนการคํานวณ) แลวนําคาสถิติที่ไ ด ม า อ ธิ บ า ย ลั ก ษณะ ข อ มู ล เ ห มื อน กั บ ค า นั้ น ม า จ า ก ข อ มู ล ท้ั ง ห มด สวนคาพารามิเตอรเปนคาที่ไดมาจากขอมูลทั้งหมด ถาผูใชสามารถนําคาทั้งหมดของขอมูลมาทําการประมวลผลได ก็จะไดคาพารามิเตอร ซ่ึงก็ไมจําเปนตองมี การหาคาสถิติ เพื่อใหมีความแตกตางระหวางคาสถิติ และคาพารามิเตอร ไดมี การกําหนดสัญลักษณที่แทนคาสถิติ และคาพารามิเตอร สําหรับคาที่คํานวณไดดวยวิธีการตาง ๆ ดังนี้

Page 93: New Researcher Manual

ตารางที่ 6.1 คาสถิติและคาพารามิเตอร

คาที่ไดจากขอมูล คาสถิติ

(คาที่ไดจากตวัอยาง) คาพารามิเตอร

(คาจากขอมูลทั้งหมด) คาเฉลี่ย คาความแปรปรวน คาสัดสวน คาสหสัมพันธ คาอ่ืน ๆ

X S2

p r

θ

μ

σ2

π หรือ P ρ

θ การอนุมานเชิงสถิติแบบมีพารามิเตอรนั้น จะตองคํานึงถึงเงื่อนไขและขอกําหนดหลายประการ ขอกําหนดที่จําเปนสําหรับการอนุมานแบบมีพารามิเตอรนั้ น อ า จ จ ะส รุ ป ก ว า ง ๆ ไ ด ดั ง นี้ คื อ ข อ มู ล ข อ งป ร ะ ช า ก ร ค ว ร จ ะมี การแจกแจงแบบปกติ การเลือกตัวอยางจะตองเปนไปอยางอิสระ และไมมีความเอนเอียง คาของขอมูลควรอยูในระดับพิสัย (range) หรือระดับอัตราสวน การอนุมานแบบไมมีพารามิเตอร เปนวิธีการอนุมานในกรณีที่เงื่อนไขหรือขอมูลไมเปนไปตามขอกําหนดใหใชการอนุมานแบบพารามิเตอรได เชน ไมทราบวาคาของขอมูลจากประชากรที่สนใจมีการแจกแจงแบบใด หรือคาของขอมูลที่ไดมาจากตัวอยางไมอยูในระดับชวง หรือระดับอัตราสวน แตอยูในระดับนามบัญญัติ หรือระดับอันดับ หรือกลุมตัวอยางที่เลือกมานั้นมีขนาดเล็ก หรือจํานวนนอย การอนุมานแบบไมมีพารามิเตอรนั้น ความนาเชื่อถือจะนอยกวาการอนุมาน

93

Page 94: New Researcher Manual

94

แบบมีพารามิเตอร ถาขอมูลสามารถอนุมานแบบพารามิเตอรได ผูวิจัยควรจะหลีกเลี่ยงการอนุมานแบบไมมีพารามิเตอร

โดยสรุปการวิเคราะหขอมูลเปนการเปลี่ยนแปลงขอมูลดิบไปเปนสารสนเทศ ซ่ึงสามารถจะตีความหมายได แลวเราจึงเอาความหมายที่ไดนั้นไปตอบคําถาม ถามองในแงคํา ซ่ึงสวนใหญเรียกวา “ผล” นี้ แตละการวิจัยก็ตางกัน เพราะจุดมุงหมายตางกัน เชน ความเห็นของผูบังคับบัญชากับตัวบัณฑิตเองตางกันหรือไม มีความสัมพันธกันเพียงใด นี้เปนผลจากการวิเคราะหเพื่อไปตอบจุดมุงหมาย ร า ย ง า น ก า ร วิ จั ย เ กี่ ย ว กั บ ส ม ร ร ถ ภ า พ ท า ง ส ม อ ง ข อ ง ผู เ รี ย น จ า ก โรงเรียนสาธิตวาเปนอยางไร เมื่อเปรียบเทียบกันระหวางปกติวิสัยของผูเรียนทั่วไป ปรากฏวาผูเรียนจากโรงเรียนสาธิตมีสมรรถภาพทางสมองสูงกวาเด็กทั่วไปใน ทุกระดับชั้น เวลาที่เร่ิมปญหาการวิจัย ควรเริ่มดวยขอความเปนประโยคและเมื่อตั้งสมมติฐานจะเห็นความสัมพันธของตัวแปรในรูปขอความรูหรือสารสนเทศ แตเราไมสามารถไปเก็บขาวสารไดโดยตรง ตองดึงขาวสารที่ตั้งไวในสมมติฐานหรือจุดมุงหมายวาเกี่ยวโยงกับขอมูลดิบอะไรบาง เชน “ผลสัมฤทธิ์” เปนตน การวิ เคราะหขอมูลเปนการเปลี่ยนขอมูลดิบไปเปนขาวสารหรือสารสนเทศ ซ่ึงจะใชตอบวัตถุประสงควายอมรับหรือปฏิเสธขอสมมติฐานอยางไร เมื่อพิจารณากระบวนการที่เปลี่ยนแปลงจากขอมูล ไปเปนสารสนเทศ หลังจากจัดประเภทขอมูลอยางเหมาะสมตามหลักเกณฑแลว จะตองคํานึงถึงวิ ธีการ ยอสรุปขอมูลเพื่อตอบคําถามของการวิจัย วิธีตาง ๆ เหลานี้ก็คือ วิธีการวิเคราะหทางสถิตินั่นเอง ซ่ึงมีวิธีการดังนี้

Page 95: New Researcher Manual

95

1. การแจกแจงความถี่ ซ่ึงอาจเปนการบรรยายสภาพ หรือนําไปสู การทดสอบวาขอมูลทั้ง 2 ชุด มีการแจกแจงเหมือนกันหรือไม หรือเปนการเตรียมขอมูลข้ันตนเพื่อการวิเคราะหตอไป

2. การใชกราฟ เพื่อสรุปแสดงถึงความสัมพันธของตัวแปรอยางชัดเจน 3. ดัชนีวัดแนวโนมเขาสูสวนกลางที่นิยมกันมากก็คือ มัชฌิมเลขคณิต

มัธยฐาน และฐานนิยม 4. ดัชนีวัดการกระจายที่บอกความแตกตางหรือการกระจายของขอมูล

ซ่ึงไดแกสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สวนเบี่ยงเบนควอไทล และพิสัย 5. ดัชนีวัดความสัมพันธ ซ่ึงไดแกคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธแบบตาง ๆ 6. การทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ย เชน สถิติการทดสอบ

คาที สถิติการทดสอบคาซี และการวิเคราะหความแปรปรวน นอกจากนี้ยังมีสถิติเชิงนันพาราเมติก เชน Mann-Whitney test Kruskal-Wallis test

การเลือกใชสถิติใหเหมาะสมกับการวิจัยนั้น ตองพิจารณาธรรมชาติของขอมูลเปนสําคัญ กลาวคือ ขอมูลเปนปริมาณหรือคุณภาพ ขอมูลขาดตอนหรือขอมูลตอเนื่อง อีกทั้งขอมูลอยูในระดับการวัดระดับใด ขอมูลอยูในมาตรา นามบัญญัติ มาตราอันดับ มาตราชวง หรือมาตราอัตราสวน อีกทั้งพิจารณาความมุงหมายของการวิจัย วาผลการวิจัยดวยสถิติดังกลาว จะใหขาวสารตรงกับจุดมุงหมายของการวิจัยหรือไม เชน ถาวัตถุประสงคของการวิจัยเปนการศึกษาความสัมพันธ สถิติตองเปนสถิติที่วิเคราะหความสัมพันธ เปนตน นอกจากนี้ ยังตองพิจารณาถึงขอตกลงเบื้องตนของสถิติเหลานั้นวา ขอมูลของผูวิจัยเปนไปตามนั้นหรือไม ถาไมเปนไปตามนั้น หากยังฝาฝนใชสถิตินั้น ผลก็จะมีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นได ในกรณีขอมูลเปนขอเขียน เรามีวิธีการวิเคราะหขอมูลที่

Page 96: New Researcher Manual

96

เรียกวา การวิเคราะหเนื้อหา ซ่ึงเปนประโยชนมาก เชน การวิเคราะหสมุดบันทึกประจําวันของผูเรียนเพื่อศึกษาเกี่ยวกับอุปนิสัยของผูเรียนนั้น เปนตน

ในการใชสถิติทดสอบความมีนัยสําคัญของขอคนพบ หรือผลที่วิเคราะหไดก็เพื่อเผยใหทราบวา ผลที่วิเคราะหไดมีความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยหรือความสัมพันธเปนไปตามโอกาส หรือเปนไปโดยบังเอิญหรือไม ถาผูวิจัยปฏิเสธผูวิจัยยอมก็ทราบวา ตองมีตัวแปรที่ทําใหเกิดขอคนพบแหงความแตกตางหรือความสัมพันธเหลานั้น สถิติเปนเครื่องชวยผูประเมินในการวิเคราะหหรือสรุปยอขอมูลเพื่อแสวงหาความหมายจากขอคนพบโดยตรง หรือจากผลการวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อตอบวัตถุประสงคของการวิจัย การใชสถิติช้ันสูงในการวิเคราะหขอมูลมิไดหมายความวาจะทําใหการวิจัยเร่ืองนั้นมีคุณภาพดีเสมอไป แตแทจริงแลวอยูที่ความเหมาะสมของสถิติในการแปลงขอมูลดิบใหเปนสารสนเทศหรือขอความรู เพื่อตอบวัตถุประสงคของการวิจัยในแตละเรื่องเปนสําคัญ

Page 97: New Researcher Manual

97

บรรณานุกรม

ปุระชัย เปยมสมบูรณ (2532). การวิจัยประเมินโครงการสถานีตํารวจนครบาลทดลอง. วารสารวิจัยสังคมศาสตร 4(1) เมษายน, 40-57.

สมหวัง พิธิยานุวัฒน และคณะ (2532) . การประเมินโครงการพัฒนาและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พสวท.) ระยะท่ี 1 กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สมหวัง พิธิยานุวัฒน และคณะ (2541) . รายงานการวิเคราะหและประเมินผลการอบรมหลักสูตรอนุรักษพลังงานเบื้องตนสําหรับครู. ศูนยวิจัยปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาการศึกษาและทรัพยากรมนุษย ภาควิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (อัดสําเนาเย็บเลม).

สุภางค จันทวานิช และคณะ (2531). รายงานการวิจัยเร่ืองคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาในชนบท : กรณีศึกษาโรงเรียนในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติสํานักนายกรัฐมนตรี และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตรทบวงมหาวิทยาลัย.

อุทุมพร จามรมาน (2531). การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณลักษณะ. กรุงเทพมหานคร :หจก.ฟนนี่พับลิชช่ิง.

Kamp, Ken และ เยาวดี วิบูลยศรี (2539). แปลโดยกมล สุดประเสริฐ สุนทร สุนันทชัย และเสาวณี เกรียร. รายงานการประเมินโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานประสานงานโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย กระทรวงศึกษาธิการ.

Page 98: New Researcher Manual

98

บทที่ 7 การเขียนรายงานและการนําไปใชประโยชน

ในงานวิจัยที่มีองคกรผู รับผลงานหรือมีผูใหทุนอยางเปนทางการ เชน งานวิจัยที่นิ สิตนักศึกษาทําเปนวิทยานิพนธ และงานวิจัยที่ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) เปนผูใหทุนนั้น ผูทําวิจัยจําเปนตองเขียนรายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณสงใหแกองคกรที่เกี่ยวของ ผูทําวิจัยโดยเฉพาะอยางยิ่งหัวหนาโครงการวิจัย จึงตองทราบวิธีเขียนและพิมพรายงานวิจัยดังกลาว เพื่อประโยชนของทั้งผูทําวิจัยเองและผูที่จะนํารายงานวิจัยไปใชดังนั้น ในบทนี้จึงขอเสนอแนะแนวทางการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ ซ่ึงประกอบดวยรูปแบบทั่วไปของรายงาน รายละเอียดของสวนประกอบแตละสวนของรายงานวิจัย และการนํารายงานดังกลาวนี้ไปใชประโยชน 7.1 รูปแบบทั่วไปของรายงานวิจัย โดยทั่วไป รายงานวิจัยฉบับสมบูรณจะประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้ (1) ปกหนาและปกรอง (2) บทคัดยอ (3) กิตติกรรมประกาศ (4) สารบัญเนื้อเร่ือง (5) สารบัญรูปภาพ (6) สารบัญตาราง (7) บทนํา

Page 99: New Researcher Manual

99

(8) เนื้อหา (9) บทอภิปรายและสรุป (10) ขอเสนอแนะ (11) เอกสารอางอิง (12) บรรณานุกรม (13) ภาคผนวก อยางไรก็ตาม งานวิจัยในสาขาวิชาบางสาขา เชน สาขาศาสนาและปรัชญา ซ่ึงมีเนื้อหาคอนไปทางเรื่องนามธรรมมาก ๆ อาจมีสวนประกอบไมครบตามที่แสดงไวขางตนก็ได เชน อาจไมมีสารบัญรูปภาพและสารบัญตาราง สวนสาขาวิชาสาขาอื่น ๆ บางสาขาก็อาจไมจําเปนตองมีบรรณานุกรมหรือภาคผนวกอยูดวย 7.2 ปกหนาและปกรอง หนวยงานที่จะรับรายงานการวิจัย อาจกําหนดใหผูวิจัยทําปกหนาและปกรองของรายงานวิจัยตามรูปแบบที่กําหนดให แตโดยทั่วไปแลว ปกหนาและ ปกรองของรายงานวิจัยควรประกอบดวยสวนตาง ๆ ตอไปนี้ คือ (1) ช่ือเร่ืองของงานวิจัย (2) ช่ือผูวิจัยและหนวยงานหรือองคกรที่ผูวิจัยสังกัดอยู (3) หมายเลขโครงการวิจัย (4) หนวยงานผูใหทุนหรือผูรับรายงานวิจัย (5) เดือนและปที่เสนอรายงาน เพื่อใหเขาใจชัดเจนยิ่งขึ้น ขอยกตัวอยางปกหนาและปกรองของรายงานวิจัยเร่ืองหนึ่ง ซ่ึงอยูในสาขาวิศวกรรมศาสตร ดังนี้

Page 100: New Researcher Manual

100

การออกแบบและสรางวงจรแทนแบลลัสต

โดย

มงคล เดชนครินทร

โครงการวิจัยเลขที่ 59-GER-2523 ทุนสงเสริมการวิจัยวิศวกรรมศาสตร

สถาบันวิจัยและพัฒนาของคณะวิศวกรรมศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ

สิงหาคม 2525

7.3 บทคัดยอ สวนนี้แสดงใจความสําคัญโดยยอของรายงานวิจัย ซ่ึงประกอบดวยลักษณะและขอบเขตของงานวิจัย วิธีการศึกษาคนควา รวมทั้งผลสรุปจากการวิจัย ซ่ึงทั้งหมดควรมีความยาวไมเกิน 1 หนา โดยทั่วไป บทคัดยอจะมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตัวอยางบทคัดยอ

Page 101: New Researcher Manual

101

บทคัดยอ รายงานผลการวิจัยนี้นําเสนอการออกแบบและสรางวงจรไฟฟาแบบเฉื่อยงานและไวงาน ซ่ึงจะใชแทนแบลลัสตชนิดตัวเหนี่ยวนําธรรมดาในวงจรหลอดวาวแสงขนาด 20 วัตต โดยทําใหไดประสิทธิภาพผลรวมของวงจรดีขึ้นกวาเดิม และใหแสงสวางจาก หลอดวาวแสงไดใกลเคียงกับวงจรที่ใชแบลลัสตตัวเหนี่ยวนําธรรมดาจากการทดสอบวงจรที่ไดออกแบบและสรางขึ้น ผูวิจัยพบวา วงจรแทนแบลลัสตที่มีสมบัติอันพึงประสงคดังกลาวมีไดหลายแบบ คือ แบบที่ใชตัวเหนี่ยวนําขนาดเล็กตอรวมกับชุดตัวเก็บประจุและใชกระแสสลับความถี่ไฟฟากําลังโดยตรง แบบที่ใชวงจรเรียงกระแสและวงจรกรองชนิดตัวเหนี่ยวนําและ/หรือ ตัวเก็บประจุ และแบบที่ใชวงจรอินเวอรเตอรความถี่สูงประมาณ 10 กิโลเฮิรตซ ผลการทดลองแสดงใหเห็นวา วงจรแทนแบลลัสตแบบที่ใชวงจรเรียงกระแสและใชตัวเก็บประจุเปนตัวกรอง ใหประสิทธิภาพทางแสงผลรวมของวงจรหลอดวาวแสงไดสูงที่สุด คือ 42 ลูเมนตอวัตต เปนอยางนอย

Page 102: New Researcher Manual

102

ABSTRACT

This research report presents how to design and construct passive and active electric circuits that can substitute the conventional inductor ballast in a 20-watt fluorescent lamp circuit. The ballast-substituter circuits are required to give a higher overall efficiency at about the same amount of light flux compared with the conventional circuit. Experiments show that ballast substituters which satisfy these requirements can be of various types, namely, that which uses a small inductor together with a set of capacitors, that which consists of a rectifier circuit and an L-filter and/or a C-filter, and that which uses an inverter circuit operating at a frequency of about 10 kHz. Tests of the designed and constructed circuits show that the type which consists of a rectifier circuit and a C-filter gives the highest overall efficacy for a 20-watt fluorescent lamp circuit, i.e., at least 42 lumens/watt.

Page 103: New Researcher Manual

103

7.4 กิตติกรรมประกาศ สวนของรายงานวิจัยสวนนี้ใชสําหรับประกาศชื่อของบุคคลหรือองคกร ที่ชวยเหลือหรืออํานวยความสะดวกในการทํางานวิจัยของผูวิจัย ดังตัวอยางตอไปนี้

กิตติกรรมประกาศ

ผูวิจัยขอขอบคุณอาจารยไชยะ แชมชอย แหงภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ไดชวยเหลือในการเก็บขอมูลจากการทดลอง และชวยคนหาเอกสารอางอิงบางเรื่องให ขอขอบคุณนายไพฑูรย แสงศรีจันทร และนายธราธิป เสนีวงศ ณ อยุธยา นิสิตชั้นปที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา รวมทั้งนายสุชัย เย็นฤดี นิสิตชั้นปที่ 2 ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ไดชวยเก็บขอมูลเกี่ยวกับแบลลัสตชนิดตัวเหนี่ยวนําที่มีจําหนายในทองตลาด และชวยประกอบวงจรแทนแบลลัสตที่นําไปใชงานในทางปฏิบัติ บุคคลทานอื่น ๆ ที่มีสวนชวยเหลือในงานวิจัยนี้ ไดแก ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุริยัน ติษยาธิคม และผูชวยศาสตราจารยสัณห ศิวารัตน แหงภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย งานวิจัยนี้ไดรับเงินทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนาของคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และไดรับอนุญาตใหใชสถานที่อีกทั้งเครื่องมือสําหรับทํางานวิจัยจากภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 104: New Researcher Manual

104

7.5 สารบัญเนื้อเร่ือง สวนนี้ใชแสดงรายการสวนประกอบตาง ๆ ของรายงานวิจัย โดยแบงเปนบทและแตละบทมีหัวขอยอยตาง ๆ มีหมายเลขหนากํากับไวทางดานขวาของแตละรายการ ดังตัวอยางสารบัญเนื้อเร่ืองตอไปนี้

สารบัญ หนา กิตติกรรมประกาศ ง สารบัญรูปภาพ ช สารบัญตาราง ซ บทที่ 1 บทนํา 1 2 การวิเคราะหเชิงทฤษฎี 3 2.1 คํานํา 3 2.2 นิพจนของประสิทธิภาพทางไฟฟา 4 3 วงจรแทนแบลลัสตและตัวอยางการออกแบบ 17 3.1 คํานํา 17 3.2 วงจรแทนแบลลัสตแบบเฉื่อยงาน 18 4 วงจรแทนแบลลัสตที่สรางขึ้นทดลอง 49 4.1 คํานํา 49 4.2 วงจรแทนแบลลัสตแบบเฉื่อยงาน 49 5 ผลการวัดกําลังไฟฟาและประสิทธิภาพทางแสง 55 5.1 คํานํา 55

Page 105: New Researcher Manual

105

5.2 วิธีทดลอง 56 5.3 ผลการทดลอง 57 5.4 วิจารณผลการทดลอง 63 6 อภิปรายและสรุป 67 6.1 อภิปราย 67 6.2 สรุป 68 7 ขอเสนอแนะ 69 ภาคผนวก 1 ผ1 ภาคผนวก 2 ผ2 เอกสารอางอิง อ1

7.6 สารบัญรูปภาพ สวนนี้ของรายงานวิจัยทําหนาที่คลายกับสารบัญเนื้อเรื่อง คือ แสดงรายการรูปภาพที่มีในรายงาน ดังตัวอยางตอไปนี้

สารบัญรูปภาพ

รูปที ่ หนา 1 .......................................................................... 3 2 .......................................................................... 4

Page 106: New Researcher Manual

106

7.7 สารบัญตาราง สารบัญนี้ใชแสดงรายการของตารางที่ปรากฏในรายงานวิจัย ดังนี้

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา 1 ...................................................................................... 45 2 ขอมูลจากการทดลองวงจรแทนแบลลสัตแบบตัวตานทาน 56

7.8 บทนําของรายงานวิจัย บทนี้เริ่มตนในหนาที่ 1 ของรายงานวิจัย เปนการพรรณนาวัตถุประสงคของงานวิจัย ปญหาที่เกี่ยวของ ผลงานการศึกษาคนควาที่เคยมีผูทําไวกอนในหัวขอวิจัยที่กําลังกลาวถึง ขอบเขตของงานวิจัยที่จะทําตอไป และสมมติฐานหรือส่ิงที่คาดวาจะไดเปนคําตอบจากงานวิจัย ในตอนทายของบทนํานี้ ผูเขียนรายงานวิจัยควรกลาวถึงโครงรางของรายงานวิจัย และการนําเสนอผลงานวิจัยที่จะมีตามมาในบทตอ ๆ ไป เพื่อใหเห็น แนวทางการเขียนบทนําชัดเจนยิ่งขึ้น ขอยกตัวอยางบทนําของรายงานวิจัย ดังในกรอบขางลางนี้

Page 107: New Researcher Manual

107

1. บทนํา

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบและสรางวงจรไฟฟาและวงจรอิเล็กทรอนิกส ที่ใชแทนแบลลัสตชนิดตัวเหนี่ยวนําธรรมดาเชนที่ใชกันตามปรกติในวงจรหลอดวาวแสงได โดยมีประสิทธิภาพผลรวมของทั้งระบบสูงกวาเดิม ...

ในปจจุบัน ปญหาการขาดแคลนพลังงานและเชื้อเพลิงมีราคาสูงขึ้นตลอดเวลา ไดสงผลใหประชาชนสนใจที่จะประหยัดพลังงานกันมากขึ้น ในการใชพลังงานไฟฟาเพื่อการสองสวางนั้น ประชาชนทั่วไปมีแนวโนมที่จะหันมาใชหลอดวาวแสงแทนหลอดไฟฟาชนิดเผาไสธรรมดา ...อยางไรก็ตาม ในการใชหลอดวาวแสงนั้น เราจําเปนตองมีแบลลัสต ซ่ึงตามปรกติเปนตัวเหนี่ยวนําแบบหนึ่ง ประกอบอยูในวงจรดวย ... เนื่องจากแบลลัสตจะสูญเสียกําลังเปนความรอนอยูเสมอ ดังนั้น ในการประหยัดพลังงานและปรับปรุงวงจรหลอดวาวแสงใหมีประสิทธิภาพสูง จึงจําเปนตองหาวิธีลดการสูญเสียกําลังในแบลลัสตใหเหลือนอยที่สุด ... ในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยจะศึกษาวิธีออกแบบและสรางวงจรไฟฟาและวงจรอิเล็กทรอนิกสขึ้นใหม เพื่อใชทําหนาที่แบลลัสตธรรมดาในวงจรหลอดวาวแสง โดยใหวงจรที่สรางขึ้นใหมนี้มีประสิทธิภาพสูงกวาแบลลัสตธรรมดา และขอตั้งชื่อวงจรใหมเหลานี้วา “วงจรแทนแบลลัสต”

ในอดีต เคยมีผูศึกษาคนควาหาวงจรไฟฟาประสิทธิภาพสูงมาใชแทนแบลลัสตธรรมดากันบางแลว เชน โวลฟแฟรมม (Wolfframm)

Page 108: New Researcher Manual

108

[3] แคมปเบลล และคณะ(Campbell et al) [4] และ สัณห ศิวารัตน [5] เปนตน ... ในปจจุบัน มีบริษัทผูผลิตและจําหนายอุปกรณไฟฟาหลายบริษัทไดผลิตวงจรแทนแบลลัสตออกมาจําหนาย โดยใหช่ือวงจรของตนวา “แบลลัสตอิเล็กทรอนิกส” และ “แบลลัสตแบบใชทรานซิสเตอร” เปนตน แตโดยมากวงจรเหลานี้จะใชไดกับหลอดวาวแสงขนาดตั้งแต 40 วัตตขึ้นไปเทานั้น

ในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยประสงคจะศึกษาคนควาเกี่ยวกับวงจรแทนแบลลัสตที่ใชไดกับหลอดวาวแสงขนาด 20 วัตต ซ่ึงยังไมมีผูใดสนใจศึกษาคนควากันมากนัก

ประโยชนที่ผูวิจัยคาดหวังวาจะไดรับจากผลของงานวิจัยนี้มีหลายประการดวยกัน คือ

1. ทําใหรูวาวงจรไฟฟาและวงจรอิเล็กทรอนิกสแบบใดบางสามารถใชแทนแบลลัสตธรรมดาในวงจรหลอดวาวแสงขนาด 20 วัตตได โดยมีประสิทธิภาพสูงกวา

2. ทําใหรูวาวงจรในขอ 1 นั้น มีแบบใดบางที่สามารถออกแบบและสรางไดงาย มีราคาถูก และสามารถซื้อหาชิ้นสวนวงจรไดจากแหลงภายในประเทศ

3. วงจรแทนแบลลัสตในงานวิจัยนี้จะชวยประหยัดพลังงานไฟฟาไดมากนอยเพียงใด

การนําเสนอผลงานวิจัยในรายงานนี้มีขั้นตอนดังนี้ ในบทที่ 2 ผูวิจัยจะแสดงแนวทฤษฎีสําหรับการปรับปรุงประสิทธิภาพทางไฟฟาของวงจรหลอดวาวแสง บทท่ี 3 จะแสดงวงจรไฟฟาและวงจร

Page 109: New Researcher Manual

109

อิเล็กทรอนิกสอยางงายที่สามารถใชแทนแบลลัสตธรรมดาได... บทท่ี 4, 5, 6... บทที่ 7 ซ่ึงเปนบทสุดทาย ผูวิจัยจะเสนอแนะงานวิจัยที่อาจทําเพิ่มเติมตอไปในอนาคต

7.9 สวนเนื้อหาของงานวิจัย รายงานวิจัยสวนนี้อาจเขียนไดหลายรูปแบบ ขึ้นอยูกับสาขาเฉพาะของงานวิจัยที่เกี่ยวของ และอาจแบงออกเปนบทตาง ๆ ไดหลายบทตามความจําเปนโดยทั่วไป สวนเนื้อหาจะประกอบดวยสวนยอยตอไปนี้ (1) การศึกษาคนควาหาขอมูลเบื้องตน (2) การทดลองคิดคน วิเคราะห และสรุปผล ซ่ึงอาจตองทําซ้ําหลายรอบจนไดคําตอบที่ชัดเจน (3) หากสวนเนื้อหานี้มีรายละเอียดปลีกยอยท่ีผูเขียนรายงานวิจัยเห็นวาจะทําใหขอความที่นําเสนอไมกระชับ ผูเขียนรายงานวิจัยก็อาจตัดสวนนี้ไปไว ในภาคผนวก โดยแจงหัวขอหรือหมายเลขของภาคผนวกใหผูอานที่สนใจรายละเอียดเปดอานได ตัวอยางรายงานวิจัยเร่ือง การออกแบบและสรางวงจรแทนแบลลัสต ของ ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร ซ่ึงอยูในสาขายอยอิเล็กทรอนิกสกําลัง ของสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา แบงสวนเนื้อหาออกเปน 4 บท ดังนี้

7.9.1 บทที่ 1 การวิเคราะหเชิงทฤษฎี ในบทนี้ ผูวิจัยไดเสนอเรื่องการใชทฤษฎีวงจรไฟฟาในการวิเคราะหวงจรหลอดวาวแสงที่ใชแบลลัสตในรูปขององคประกอบวงจรเฉื่อยงาน เชน ตัวตานทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนํา เพื่อ

Page 110: New Researcher Manual

110

หานิพจนของประสิทธิภาพทางไฟฟาของวงจรโดยรวม ในเทอมของตัวแปร ตาง ๆ ตอจากนั้น ผูวิจัยแสดงแนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพของวงจรโดยรวมโดยพิจารณาตัวแปรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ

7.9.2 บทที่ 2 วงจรแทนแบลลัสตท่ีเลือกใชและตัวอยางการออกแบบ ในบทนี้ผูวิจัยเสนอเรื่องวงจรแทนแบลลัสตแบบตาง ๆ ทั้งที่เปนแบบเฉื่อยงานและที่เปนแบบไวงาน โดยไดวิเคราะหวงจรแตละแบบและแสดงตัวอยางการออกแบบควบคูกันไป

7.9.3 บทที่ 3 วงจรแทนแบลลัสตท่ีสรางขึ้นทดลอง บทนี้นําผลการวิเคราะหและการออกแบบในบทกอนมาใชในการสรางวงจรแทนแบลลัสตแบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของ โดยไดแสดงรายละเอียดขององคประกอบตาง ๆ ในวงจรแตละแบบ

7.9.4 บทที่ 4 ผลการทดลองวัดกําลังไฟฟาและประสิทธิภาพทางแสง ในบทนี้ ผูวิจัยกลาวถึงวิธีทดลองวัดคากําลังไฟฟาและประสิทธิภาพทางแสงของวงจรหลอดวาวแสงที่ใชวงจรแทนแบลลัสตเหลานี้ ตอจากนั้น ผูวิจัยแสดงการเปรียบเทียบผลการทดลองที่ไดนี้ กับขอมูลทํานองเดียวกันที่วัดไดจากวงจร หลอดวาวแสงที่ใชแบลลัสตธรรมดา และชี้ใหเห็นวาวงจรแทนแบลลัสตวงจรใดบางใหประสิทธิภาพทางแสงไดสูงกวาแบลลัสตธรรมดา ในตอนทาย ผูวิจัยไดแสดงเหตุผลที่วงจรแทนแบลลัสตแบบตาง ๆ ใหผลออกมาดังที่ทดลองวัดได สวนตัวอยางการเขียนสวนเนื้อหาของรายงานวิจัยในสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรนั้น ผูอานจะศึกษาหาความรูไดจากเอกสารในบรรณานุกรมที่อยูทายบทนี้

Page 111: New Researcher Manual

111

7.10 บทอภิปรายและสรุป โดยทั่วไป บทอภิปรายและสรุปรายงานการวิจัยมีไวเพื่อใหผู เขียนรายงานไดเสนอเรื่องตาง ๆ ตอไปนี้ ตามความเหมาะสม คือ 1. การประเมินผลการวิจัยของผูทํางานวิจัยวา ใชไดและนาเชื่อถือเพียงใด ภายในขอบเขตและขอสมมุติที่กําหนดไว 2. การวิเคราะหดูนัยหรือขอบงชี้จากผลการวิจัย เพื่อสรุปวาจะนําไปสูผลที่ตามมาอะไรบาง 3. การเปรียบเทียบผลการวิจัยของผูทํางานวิจัยเองกับผลการวิจัยของผูวิจัยอ่ืน ๆ ในหัวขอที่คลาย ๆ กัน 4. ความสัมพันธระหวางผลการวิจัยที่ไดกับขอปญหาและสมมติฐานเดิมของงานวิจัย ตัวอยางเชนรายงานวิจัยเร่ือง การออกแบบและสรางวงจรแทนแบลลัสต ของ ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร ผูวิจัยไดช้ีใหเห็นวางานวิจัยนี้จํากัดอยูเฉพาะวงจรหลอดวาวแสงขนาด 20 วัตต เทานั้น และเนนเรื่องการประหยัดพลังงานเปนสําคัญ ขอบเขตของงานวิจัยนี้จึงนับวายังแคบอยู เพราะแทที่จริงยังมีวงจรหลอดวาวแสงขนาดกําลังอ่ืน ๆ อีกหลายขนาด เชน 10 วัตต และ 40 วัตต ดวย นอกจากนี้ งานวิจัยเร่ืองนี้ยังไมไดพิจารณาประเด็นอื่น ๆ บางประเด็น เชนความทนทานและอายุการใชง า น ข อ ง ว ง จ ร ผ ล ก ร ะ ท บ ต อ ห ล อ ด ว า ว แ ส ง ใ น ว ง จ ร อีกทั้งความเปนไปไดที่จะผลิตออกจําหนายและนําไปใชงาน อยางไรก็ตาม ผูวิจัยสรุปไดวาผลของการวิจัยไดพบวา มีวงจรแทนแบลลัสตบางแบบใหประสิทธิภาพสูงกวาแบลลัสตธรรมดา ตรงตามวัตถุประสงคในการทํางานวิจัยนี้

Page 112: New Researcher Manual

112

7.11 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะของรายงานวิจัย มีไวเพื่อใหผูเขียนรายงานเสนอแนะสิ่งที่ผูวิจัยคนอื่น ๆ อาจจะทําเพิ่มเติมจากงานวิจัยที่กําลังนําเสนอ เชน การวิเคราะหเพิ่มเติมในทางทฤษฎี การขยายขอบเขตของงานวิจัยเดิม การนําผลการวิจัยท่ีกําลังนําเสนอไปดัดแปลงหรือใชงานในทางปฏิบัติ ฯลฯ ในรายงานวิจัยเร่ือง การออกแบบและสรางวงจรแทนแบลลัสต ของ ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร ผูวิจัยไดเสนอแนะใหมีการศึกษาคนควาเพิ่มเติม ดังนี้ (1) ศึกษาวิจัยวงจรแทนแบลลัสตแบบอื่น ๆ นอกเหนือจากที่นําเสนอ

ไปแลว โดยเฉพาะอยางยิ่งวงจรที่ใชแรงดันและกระแสไฟฟาความถี่สูงตั้งแต 20 กิโลเฮิรตซขึ้นไป

(2) ขยายขอบเขตของขนาดกําลังไฟฟาของวงจรใหครอบคลุมตั้งแต 10 วัตต ถึง 40 วัตต

(3) ศึกษาความทนทานตอสภาพแวดลอมและอายุการใชงานของวงจรแทนแบลลัสตที่นําเสนอในงานวิจัยปจจุบัน

(4) ศึกษาผลกระทบของวงจรแทนแบลลัสตที่มีแกหลอดวาวแสง (5) ศึกษาความเปนไปไดในการผลิตวงจรแทนแบลลัสตแบบที่

เหมาะสม สําหรับจําหนายและใชงานในทางปฏิบัติเพื่อประโยชนในการประหยัดพลังงาน

Page 113: New Researcher Manual

113

7.12 เอกสารอางอิง รายงานวิจัยสวนนี้ใชแสดงรายการเอกสารที่ผูวิจัยอางถึงในรายงานวิจัยบทตาง ๆ ทั้งนี้เพื่อใหผูอานรายงานวิจัยสามารถสืบคนเพิ่มเติมไปถึงแหลงที่มาของขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของได การอางอิงและการเขียนรายการเอกสารอางอิงมีอยูหลายระบบ ซ่ึงผูเขียนรายงานวิจัยอาจเลือกใชไดตามความเหมาะสม หรือในกรณีที่หนวยงานผูใหทุนทํางานวิจัยกําหนดไวแลว ผูเขียนรายงานวิจัยควรปฏิบัติตามที่กําหนดไวนั้น ในรายงานวิจัยเร่ือง การออกแบบและสรางวงจรแทนแบลลัสต ของ ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร ผูวิจัยเลือกใชระบบตัวเลขในวงเล็บใหญเพื่อแจงรายการเอกสารอางอิง ดังตัวอยางในบทนํา (หัวขอ 7.8 ของบทนี้) ที่อางอิง Wolfframm [3] Campbell et al [4] และ สัณห ศิวารัตน [5] สวนตัวอยางของรายการเอกสารอางอิงนั้น เปนดังในกรอบขางลางนี้

เอกสารอางอิง [1] IES Lighting Handbook, Illuminating Engineering Society

(IES), N.Y., 4th ed., 1966, p. 8-14 to 8-29 and p. 8-45. [2] Fink, D. I., and J. M. Carroll, Standard Handbook for Electrical

Engineering, McGraw-Hill, N.Y. 10th ed., p. 19-11 and p. 19-22 to 19-28.

[3] Wolfframm, B. M., Solid State Ballasting of Fluorescent and Mercury Lamps, Power Semiconductor Applications, Vol. 2, edited by J. D. Harnden, Jr., and F. B. Golden, Institute of Electrical and Electronics Engineers, Inc., N.Y., 1972, pp. 169-

Page 114: New Researcher Manual

114

173. ............................................

7.13 บรรณานุกรม รายงานวิจัยสวนนี้ใชแสดงบรรณานุกรมหรือรายการเอกสารหรือหนังสือ ที่ผูวิจัยใชประกอบการเขียนรายงานวิจัยแตไมไดอางอิงไวในสวนเนื้อหา หรือไมปรากฏอยูในรายการเอกสารอางอิง จุดประสงคก็เพื่อใหผูอานรายงานวิจัยสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมจากเอกสารหรือหนังสือดังกลาวได เชนเดียวกับกรณีของเอกสารอางอิง ดูตัวอยางบรรณานุกรมของบทนี้ (หนา 106) 7.14 ภาคผนวก ภาคผนวกคือ สวนที่แสดงขอมูลหรือรายละเอียดที่ผูเขียนรายงานวิจัยไมสามารถบรรจุไวในรายงานวิจัยสวนเนื้อหา ทั้งนี้ เพื่อจะไดไมดึงความสนใจของผูอานรายงานวิจัยไปจากประเด็นหลักหรือประเด็นสําคัญที่นําเสนอในสวนเนื้อหา และเพื่อใหสวนเนื้อหานั้นกระชับ ตัวอยางขอมูลที่อาจตัดมาไวในภาคผนวก ไดแก ตารางตัวเลขขอมูลรายละเอียด การพิสูจนสูตรคณิตศาสตรบางอยาง โปรแกรมคอมพิวเตอร คําศัพท คํานิยามเฉพาะ ฯลฯ

Page 115: New Researcher Manual

115

ยกตัวอยางวา ภาคผนวกในรายงานวิจัยเร่ือง การออกแบบและสรางวงจรแทนแบลลัสต ของ ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร มีดังนี้ (1) ภาคผนวก 1 ขอมูลบางประการสําหรับวงจรหลอดวาวแสงขนาด 20

วัตต แสดงรูปภาพวงจรหลอดวาวแสงขนาด 20 วัตต พรอมทั้งตารางขอมูลเกี่ยวกับแรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา กําลัง และ ฟลักซแสงสวาง ในวงจรนี้ (รวมเนื้อที่ 2 หนากระดาษ)

(2) ภาคผนวก 2 การวิเคราะหฟูริเยรสําหรับกระแสเขาของวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ แสดงรูปภาพวงจรและการวิ เคราะหทางคณิตศาสตรเพื่อหาสวนประกอบหลักมูลของกระแสไฟฟาดานเขา โดยใชอนุกรมฟูริเยร (รวมเนื้อที่ 5 หนากระดาษ)

(3) ภาคผนวก 3 การวิเคราะหวงจรอินเวอรเตอรที่ใชจุดหลอดวาวแสง แสดงรูปภาพวงจรและการวิ เคราะหตามทฤษฎีของวงจรอิเล็กทรอนิกส เพื่อหาลักษณะของรูปคลื่นแรงดันและกระแสไฟฟาในสวนตาง ๆ ของวงจร (รวมเนื้อที่ 20 หนากระดาษ)

(4) ภาคผนวก 4 ภาพถายวงจรแทนแบลลัสตที่ออกแบบและสรางขึ้น แสดงภาพถายวงจรแทนแบลลัสตแบบตาง ๆ ที่นําเสนอในงานวิจัย (รวมเนื้อที่ 2 หนากระดาษ)

7.15 การนํารายงานวิจัยไปใชประโยชน รายงานวิจัยที่ผูวิจัยไดเขียนขึ้นแลวนั้น สามารถนําไปใชประโยชนไดหลายประการ เพื่อการเผยแพรสารสนเทศทางวิชาการ และเพื่อการใชงานในทางปฏิบัติ ตัวอยางเชน

Page 116: New Researcher Manual

116

(1) นําสงใหหนวยงานหรือองคกรผูที่ใหทุนเพื่องานวิจัย ตามสัญญาที่ไดตกลงกันไว

(2) นําไปยอหรือเรียบเรียงเปนบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพในวารสารทางวิชาการ หรือเพื่อเสนอในการประชุมสัมมนาทางวิชาการ

(3) ใชเปนเอกสารอางอิงในการเขียนโครงการขอทุนทํางานวิจัยเพิ่มเติม จากหนวยงานหรือองคกรผูใหทุนวิจัย

(4) ใชเปนเอกสารอางอิงในการเขียนโครงการขอทุนทําประดิษฐกรรม จากหนวยงานหรือองคกรที่สนับสนุนประดิษฐกรรมตอจากงานวิจัย

Page 117: New Researcher Manual

117

บรรณานุกรม เกษม สาหรายทิพย, ระเบียบวิธีวิจัย, ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยนเรศวร, อ. เมือง จ. พิษณุโลก, พิมพคร้ังที่ 2, เมษายน 2542. พันธุทิพย รามสูต, ระเบียบวิธีวิจัยสาธารณสุข, สถาบันพัฒนาการสาธารณสุข

อาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล กทม., พิมพคร้ังที่ 2, พฤษภาคม 2549. มงคล เดชนครินทร, การออกแบบและสรางวงจรแทนแบลลัสต, รายงาน

ผลการวิจัย โครงการวิจัยเลขที่ 59-GER-2523 ทุนสงเสริมการวิจัย วิศวกรรมศาสตร, สถาบันวิจัยและพัฒนาของคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กทม., สิงหาคม 2525.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ, ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร, สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร กทม., พิมพคร้ังที่ 9, สิงหาคม 2538.

Page 118: New Researcher Manual

118

ภาคผนวก

Page 119: New Researcher Manual

ภาคผนวก 1

การอางอิงเอกสารในงานวิจัย การอางอิงเอกสารในงานวิจัยมี ๒ แบบ ๑. หนังสืออางอิง หรือหนังสืออุเทศ (references) แบบนี้ใชในกรณีที่ขอความที่อางอิงปรากฏในรายงาน และจะเรียงลําดับเลขที่ตามการอางอิง ซ่ึงจะแบงเปน ๒ ลักษณะ คือ ๑.๑ การอางอิงที่แยกจากเนื้อหา แบงออกเปน ๑.๑.๑ การอางอิงที่อยูตอนลางของหนา เรียกวา เชิงอรรถ ๑.๑.๒ การอางอิงที่อยูทายบท เรียงเลขที่ตามลําดับการอางอิง ๑.๒การอางอิงที่แรกในเนื้อหา จะระบุเอกสารที่อางอิงอยูในวงเล็บแทรกอยูในเนื้อหาของรายงานตรงที่มีการนําเอาขอความมาอางอิง ตามรูปแบบหลักคือ ช่ือ ผู แต ง , ปที่พิมพ , หน าที่ อ างและมี รูปแบบปลีกยอย เพิ่ ม เติม เชน ช่ือผูแตงชาวไทย/ชาวตางชาติ หรือผูแตง ๒ คน, ผูแตง ๓ คน หรือ มากกวา ๓ คน

๒. บรรณานุกรม (bibliography) แบบนี้จะเรียงตามลําดับอักษรของชื่อผูแตงไวที่ทายเลมของรายงาน โดยไมมีการแทรกไวในรายงาน

การอางอิงท่ีแบงตามประเภทของรายงาน รายงานวิจัยทางวิทยาศาสตร และรายงานวิจัยทางสังคมศาสตร

119

Page 120: New Researcher Manual

120

รายงานวิจัยทางวิทยาศาสตร สวนมากนิยมใชรูปแบบของแวนคูเวอร (Vancouver style) ที่ใสหมายเลขที่เรียงตามลําดับการอางอิงในวงเล็บหลังขอความที่อาง เชน.................... (๑) ....................(๒)....................(๑, ๒, ๓)

รายงานวิจัยทางสังคมศาสตร นิยมใชรูปแบบของ APA. (American

Psychological Association Style) ซ่ึงระบุ ช่ือผูแตง, ปที่พิมพ, และเลขหนา ไวหลังขอความที่อางอิง เชน

(อมรา พงศาพิชญ, ๒๕๐๕:๑๘) หรือ (Armstrong FG., ๑๙๙๕, ๒๐)

Page 121: New Researcher Manual

ภาคผนวก 2 การทําเชิงอรรถและการทําบรรณานุกรม

การทําเชิงอรรถและบรรณานุกรมในการเขียนรายงานการวิจัย ผูวิจัยจําเปนตองเขียนเชิงอรรถและบรรณานุกรม จึงควรทราบหลักเกณฑการเขียนเชิงอรรถและบรรณานุกรมดังตอไปนี้

การทําเชิงอรรถ

๑. เชิงอรรถ แบงไดกวาง ๆ ๒ ประเภท คือ

๑.๑. เชิงอรรถอางอิง (Reference Foot-note) บอกแหลงคนควาโดยระบุเลขหนาหนังสือท่ีอางถึง เมื่ออางครั้งแรกใหเขียนตามรายละเอียดในบรรณานุกรมโดยครบถวน เชิงอรรถอางอิงนี้อาจใชสําหรับการอางถอยคําหรือความคิดของผูอื่น

๑.๑. เชิงอรรถอธิบายความหรือเชิงอรรถในเนื้อหา (Content Foot-note) ใชอธิบายหรือขยายความเพิ่มเติมขอความที่อยูในเนื้อหา

๒. ความมุงหมายในการทําเชิงอรรถ ๒.๑ เพื่อแสดงวาการศึกษาคนควานั้นมีหลักฐานอางอิงได สามารถตรวจสอบ ติดตามศึกษาคนควาเพิ่มเติมได ๒.๒ เพื่อใหเกียรติและการแสดงความรับรูลิขสิทธิ์ของผูสรางสรรคหรือผูประพันธเดิม ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งกําหนดใหผูศึกษาคนควาตองแสดงความรับรูลิขสิทธิ์ (Copyright) จะไดไมเปนการละเมิดลิขสิทธิ์ของ ผูสรางสรรคหรือผูแตง (Author)

121

Page 122: New Researcher Manual

๒.๓ เพื่อชวยใหผูอานติดตามเนื้อหาไดติดตอกัน ไมตองเสียเวลาคนหาความรูหรือเกิดความสงสัย

๓. การทําเชิงอรรถและเรียงลําดับเชิงอรรถ ๓.๑ ใชตัวเลขกํากับไวท่ีขอความที่ตองการทําเชิงอรรถ เขียนหรือพิมพไวเหนือบรรทัดเล็กนอย และเขียนหรือพิมพขอความเชิงอรรถไวสวนทายของหนาภายใตเสนแบง มีเลขเดียวกันกับเลขที่กํากับไวในเนื้อความ ถาเนื้อความในหนานั้นมีเชิงอรรถมากกวา ๑ แหง ก็ใชเลขกํากับไปตามลําดับ ผูเขียนรายงานบางคนนิยมใชตัวเลขกํากับเชิงอรรถอยูในเครื่องหมายมหัพภาคหรือวงเล็บ ( )

ก. ตัวอยางหนาหนังสือที่มีเชิงอรรถเดียว

๑ พระวรวงศเธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร

ประกาศสํานักคณะรัฐมนตรี เรื่องตั้งสักขีในวันประสูติสมเด็จพระเจาลูกเธอ

เน่ืองในมงคลราชประสูติกาลซึ่งจะมีมาในเร็ววันน้ี เพ่ือใหการไดเปน ไปตามราชประเพณี ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหผูดํารงตอไปนี้ หรือผูที่

เคยปฏิบัติราชการแทนในตําแหนงดังกลาวขณะพระประสูติกาล เปนสักขี คือ ๑. ประธานองคมนตรี๑

ข. ตัวอยางหนาหนังสือที่มีเชิงอรรถมากกวา ๑ เชิงอรรถ ชนิดเชิงอรรถอธิบายความพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู 122

Page 123: New Researcher Manual

วันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๔๙๘ วันน้ีเปนวันเจริญพุทธมนต เจาพนักงาน ไดตกแตงหองชั้นบนพระที่น่ังอัมพรสถาน

๑ ดานตะวันตกเฉียงใตเปนมณฑล

พิธี ที่ผนังดานใตต้ังพระแทนเบญจา เสาโครง เพดานผาขาวระบายขลิบทอง

ต้ังโตะหมูประดิษฐานพระพุทธปฏิมาชัยวัฒนรัชกาลที่ ๒๒ และรัชกาลที่ ๕

พรอมทั้งพานพระมหาสังขและครอบพระกริ่ง

๑ หองเดียวกับที่ประกอบพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู

สมเด็จพระบรมโอรสา ธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกมุาร ๒ สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เปนราชนิกูล รัชกาลที่ ๒

๓ ขณะนั้น พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ยังไมไดทรงหลอพระพุทธ

ปฏิมาชัยวัฒน รัชกาลปจจุบัน จึงตองใชพระพุทธปฎิมาชยัวัฒน รัชกาลที่ ๕

๓.๒ ถาคัดลอกหรือตัดตอนขอความมาทั้งยอหนา ใหใสตัวเลขกํากับไวท่ีอักษรตัวทายของยอหนา

๓.๓ ถาขอความนั้นมีเครื่องหมายวรรคตอนกํากับ ตัวเลขกํากับเชิงอรรถตองอยูหลังเครื่องหมาย เวนเครื่องหมาย – ใหใสตัวเลขกํากับที่อักษรตัวท่ีอยูหนาเครื่องหมาย เชน จะซื้อสินคาหลายอยาง๑_

๓.๔ การเรียงลําดับตัวเลขกํากับเชิงอรรถ นิยมเรียงลําดับเลขไวเพียงจบแตละหนา ถาข้ึนหนาใหมก็ข้ึนเลข ๑ ใหม ในบางกรณีอาจเรียงลําดับตัวเลขกํากับเชิงอรรถติดตอกันในแตละบทก็ได ข้ึนบทใหมจึงจะเริ่มตัวเลข ๑ ใหม

123

Page 124: New Researcher Manual

124

แตก็มีผูท่ีใชเลขกํากับเชิงอรรถตั้งแตตนเรื่องเปนลําดับติดตอไปจนจบเรื่องเปนตนวา หนา ๑ มีเชิงอรรถ ๓ เชิงอรรถ หนา ๒ มีเชิงอรรถอีก ๔ เชิงอรรถ เชิงอรรถในหนาสองก็เริ่มแตเลข ๔ ไปจนถึง ๗

๓.๕ การทํางานทางวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตรท่ีมี กฎ สูตร หรือมีการใชตัวเลขในเนื้อหา ถาใชตัวเลขกํากับเชิงอรรถก็จะสับสน ดังนั้น จึงนิยมใชสัญลักษณอื่นแทน เชน ตัวอักษร (ก) (ข) (ค), (a) (b) (c) หรือใชเครื่องหมาย เชน ดอกจัน , , กริช † เสนคู | | แตไมสะดวกถามีเชิงอรรถเกิน ๒ แหง

๔. การเขียนขอความเชิงอรรถและเครื่องหมายกํากับ ๔.๑ เชิงอรรถอางถึงหนังสือ มีขอความและเครื่องหมายดังตอไปนี้ ๑ ช่ือผูแตงและนามสกุลหรือช่ือหนวยงานที่พิมพ, ชื่อหนังสือ (ครั้งท่ีพิมพ; สถานที่พิมพ (เมืองและรัฐถามี) : สํานักพิมพ), หนา (เลข-เลข).

หมายเหตุ ครั้ ง ท่ีพิมพ , เมือง ท่ีพิมพ , ป ท่ีพิมพ อยูภายในเครื่องหมายวงเล็บ ตัวอยางผูแตงเปนบุคคล ๑ กุลทรัพย เกษแมนกิจ, เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ (พิมพครั้งแรก; กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๓), หนา ๑๕-๑๘. ๒ พระวรวงศเธอ พระองคเจาจุลจักรพงษ, เจาชีวิต (พระนคร : สํานักพิมพคลังวิทยา, ๒๕๐๙), หนา ๕๘๗. ๓ William A. Spurrier, Ethics & Business (New York : Charles Scribner’s Son, 1962), pp. 57-60.

ตัวอยางหนวยราชการเปนผูพิมพ (ไมมีผูแตงและสํานักพิมพ)

Page 125: New Researcher Manual

125

๑ กรมศิลปากร, พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พุทธศักราช ๒๕๓๗ (กรุงเทพฯ : ๒๕๓๘), หนา ๒-๓.

๔.๒ เชิงอรรถอางถึงบทความจากหนังสือสารานุกรม ๑ ช่ือผูเขียนบทความ, “ช่ือบทความ,” ชื่อหนังสือสารานุกรม, เลขที่เลม (ปท่ีพิมพ), เลข (หนา-หนา).

ตัวอยางเชิงอรรถบทความจากหนังสือสารานุกรม ๑ กุลทรัพย เกษแมนกิจ และ เนียนศิริ ตาละลักษมณ, “พระมงกุฎเกลาฯ, หองสมุด,” สารานุกรมพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว, ๑ (๒๕๒๔), หนา ๓๐๒.

๔.๓ เชิงอรรถอางถึงราชกิจจานุเบกษา ๓ “ช่ือเรื่อง”, ราชกิจจานุเบกษา เลขที่เลม (วันที่ เดือน ป) : เลขหนา. ตัวอยางเชิงอรรถจากราชกิจจานุเบกษา ๓ “พระราชบัญญัติประถมศึกษา (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๒๑” ราชกิจจานุเบกษา ๙๕ (๕ เมษายน ๒๕๒๐) : ๕-๘.

๔.๔ เชิงอรรถอางถึงบทความจากวารสารและหนังสือพิมพ ๑ ช่ือผู เขียนบทความ , “ช่ือบทความ” (อยู ในเครื่องหมายอัญประกาศ), ชื่อหนังสือที่ลงบทความ (ขีดเสน), เลมท่ี, ปหรือเดือนและปท่ีออกวารสาร, เลขหนา. เฉพาะหนังสือพิมพใหเติมวันที่ของหนังสือพิมพดวย

Page 126: New Researcher Manual

126

ตัวอยางเชิงอรรถจากวารสาร ๑ สวัสดิ์ หรั่งเจริญ, “สวนสวย สวนครัว,” บานและสวน, ๓, (กุมภาพันธ ๒๕๒๒), หนา ๑๕. ๒ M.H. Raza, “Some Folk Dances of Pakistan,” Asian Culture, 19, (June, 1978), p. 10.

ตัวอยางเชิงอรรถจากหนังสือพิมพ ๑ วิฑูรย บํารุงกานต, “อาหารท่ีมีประโยชน” ไทยประชา, ๕ ตุลาคม ๒๕๒๓, หนา ๘. ๒ Bernard Edinger, “An Emperor Awaits His Great Day.” Bangkok Post, September 27, 1977, p. 6.

๔.๕ เชิงอรรถอางถึงสิ่งท่ีไมใชหนังสือและวารสาร เชน วิทยานิพนธหรือเอกสารแผน เชน ใบปลิวโฆษณา จดหมายสวนตัว หนังสือตอบราชการ ไมตองขีดเสนใตช่ือหนังสือ

ตัวอยางสิ่งที่ไมใชหนังสือและวารสาร ๑ ไพโรจน สถาปนากุล, “การวิจัยตัวอักษรลานนา”, เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องอักษรไทยถิ่นเหนือของหอสมุดแหงชาติ, ๑๐-๑๕ กันยายน ๒๕๒๓, หนา ๗. (อัดสําเนา) ๒ Arthur Vespry, Personal letter, March 12, 1980.

๔.๖ เชิงอรรถอางถึงการสัมภาษณ ๑ สัมภาษณ ชื่อบุคคล, ตําแหนงถามี, วันที่.

ตัวอยางเชิงอรรถอางถึงการสัมภาษณ

Page 127: New Researcher Manual

127

๑ สัมภาษณ กุลทรัพย เกษแมนกิจ, คุณหญิง. อดีตอธิบดี กรมศิลปากร, ๑๕ มกราคม ๒๕๔๙.

๔.๗ เชิงอรรถอธิบายความ เขียนสั้น ๆ ใหไดความตามที่ตองการ ตัวอยางเชิงอรรถจากหนังสือ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กรมศิลปากรจัดพิมพเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในพระราชพิธีเฉลิมพระราชอิสริยศักดิ์ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ เรื่องดายพระขวัญ หนา ๖๕ และ ถวายเหกลอม หนา ๗๕ ตามลําดับ ๓ ดาย ๙ สี ซึ่งพราหมณเขาพิธีเสกมาแตโบสถพราหมณ ๑ เปนมนตรกลอมหงสอยางพิธีตรียัมปวายที่โบสถพราหมณ

๔.๘ การอางถึงเชิงอรรถซ้ํากับเชิงอรรถที่ทําไวแลว ตอเนื่องกัน ไมมีเชิงอรรถอื่นคั่น ก. ในหนาเดียวกันหรือตางหนากันใช “เรื่องเดียวกัน” ในภาษาอังกฤษใชวา Ibid. ยอมาจาก Ibidem หมายความวา ในที่เดียวกัน ตัวอยาง ๑ เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๕๗-๑๖๑. 1 Ibid. ข. ถามีเชิงอรรถอื่นคั่น ใชวา “เรื่องเดิม” ในภาษาอังกฤษใชวา Op. cit. ยอมาจาก Opere Citato หมายความวา เคยอางถึงแลวในเลม ตัวอยาง ๑ เรื่องเดิม, หนา ๓๗-๔๐. 1Op. cit.

Page 128: New Researcher Manual

การทําบรรณานุกรม

๑. บรรณานุกรม คือ รายชื่อของแหลงความรูท่ีใชศึกษาคนควาจัดเรียง

ตามลําดับอักษรช่ือผูแตง แหลงความรูดังกลาวรวมทั้งสิ่งตีพิมพและไมตีพิมพ ไดแก โสตทัศนวัสดุ การออกแบบสอบถาม การสัมภาษณ การฟงคําบรรยาย อภิปราย เปนตน บรรณานุกรมนี้จัดไวทายเรื่องรายงานเพื่อใหผูอาน หรือผูใชประโยชนจากรายงานนั้น ๆ ศึกษาคนควาเพิ่มเติม หรือตรวจสอบหลักฐานอางอิงตอไปได

๒. ประเภทบรรณานุกรม บรรณานุกรมที่ใชในการคนควาเรียบเรียง ทํา

รายงาน ทําวิทยานิพนธ หรือเขียนแตงตํารา มี ๓ ประเภท

๒.๑ บรรณานุกรมเรื่องที่เลือกอางอิง (Selected Bibliography) คือ บรรณานุกรมรวมรายชื่อแหลงความรูท่ีใชในการศึกษาคนควาทํารายงานเรียงลําดับตามอักษรชื่อผูแตง บรรณานุกรมแบบนี้จะชวยใหผูอานติดตามตรวจสอบขอเท็จจริงหรือความรูเพิ่มเติมในเรื่องนั้น ๆ ได

๒.๒ บรรณานุกรมงานของผูแตงคนเดียว(Author Bibliography) คือ การรวบรวมรายชื่อผลงานของผูแตงคนใดคนหนึ่ง รวมท้ังงานที่เกี่ยวของกับผูแตง ผูนั้นไวดวยกัน เชน บรรณานุกรมพระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว

๒.๓ บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Subject Bibliography) คือ การรวมรายชื่อแหลงความรูเฉพาะสาขาวิชาหรือเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เชน บรรณานุกรมสถิติ พ.ศ. ๒๕๒๐ บรรณานุกรมหนังสือเด็กระดับชั้นประถมศึกษา บรรณานุกรมผลงานวิจัยทางบรรณารักษศาสตรในประเทศไทย

128

Page 129: New Researcher Manual

129

๓. สวนตาง ๆ ของบรรณานุกรม ๓.๑ ผูแตง หมายถึง ผูแตง ผูแตงรวม ผูแปล ผูรวบรวม ในบางกรณีหนวยงานที่จัดพิมพเปนทั้งผูแตงและผูพิมพ

๓.๒ รายละเอียดการพิมพ ไดแก สถานที่พิมพ สํานักพิมพ ปท่ีพิมพ สวนประกอบเหลานี้จะเรียงลําดับตอกันโดยมีเครื่องหมายตาง ๆ ค่ัน

๔. วิธีเขียนบรรณานุกรม ๔.๑ บรรณานุกรม หนังสือหรือวัสดุตีพิมพ ก. ผูแตงเปนบุคคล ถาเปนชาวไทยเขียนชื่อและนามสกุลตามลําดับ ถามีคํานําหนานามแสดงฐานันดรศักดิ์หรือบรรดาศักดิ์ เขียนคํานําหนานามนั้นไวหลังช่ือ ช่ือสกุล โดยใชจุลภาค (,) ค่ัน ถาผูแตงเปนชาวตางประเทศเขียนนามสกุลกอน ค่ันดวยจุลภาค แลวตอดวยช่ือตน เชน เดโช สวนานนท. ปน มาลากุล, ม.ล. มงกุฎเกลาเจาอยูหัว, พระบาทสมเด็จพระ. อนุมานราชธน, พระยา. อมรดรุณารักษ, จมื่น. Matthews, Brander. ข. หนวยงานเปนผูแตง เขียนชื่อเปนลําดับแรก ใชเครื่องหมายจุลภาค (,) ค่ัน แลวตามดวยฐานะหรือชนิดของหนวยงาน เชน

รามคําแหง, มหาวิทยาลัย. ศึกษาธิการ, กระทรวง. ศิลปากร, กรม. สุพรรณพระนคร, สมาคม.

Page 130: New Researcher Manual

130

ตัวอยางบรรณานุกรมหนังสือหรือวัสดุตีพิมพ กุลทรัพย เกษแมนกิจ, คุณหญิง. จันทรเจา. กรุงเทพฯ : กรุง

สยามการพิมพ, ๒๕๑๗, ๔๓ หนา. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, ม.ล. แนะแนวทางการศึกษาวรรณคดี.

กรุงเทพฯ : บัณฑิตการพิมพ, ๒๕๑๘. ๑๐๘ หนา. โรคผิวหนังแหงชาติ, สถาบัน. สาวนอยสะอาดตา. กรุงเทพฯ :

หนวยสุขศึกษา สถาบันโรคผิวหนัง. ๒๕๑๘. ๗๗ หนา. เสนาธิการทหารบก, โรงเรียน. คูมือฝายอํานวยการวาดวยแบบ

ธรรมเนียมกิจการพลเรือน เร่ืองการคุมครองทรัพยสินและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : ๒๕๑๘. ๕๗ หนา.

Wit, Daniel. A Comparative Survey of Local Government and Administration. Bangkok : Kurusapha Ladprao Press, 1968, 120 p.

๔.๒ บรรณานุกรม บทความจากสารานุกรมหรือหนังสืออางอิง ช่ือผูเขียนบทความ. “ช่ือบทความ.” ชื่อหนังสืออางอิง. เลขที่เลม

(ปท่ีพิมพ) , เลขหนา. ตัวอยาง ปรุงศรี วัลลิโภดม. “พระบรมรูปทรงมา.” สารานุกรม

พระบาทสมเดจ็พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว. ๑ (๒๕๒๔) , ๒๘๔-๓๐๑.

๔.๓ บรรณานุกรม บทความจากวารสารหรือหนังสือพิมพ

Page 131: New Researcher Manual

131

ก. วารสาร จัดรูปดังนี้ ช่ือผูเขียนบทความ. ช่ือบทความ, “ช่ือวารสาร,” ปท่ี (เดือน,

ปท่ีออกวารสาร), เลขหนา. ถาไมปรากฏเดือนที่ออกวารสารใหใชฉบับที่ตอทายปท่ี

ตัวอยาง เทิม มีเต็ม และ ประสาร บุญประคอง. “คําอานศิลาจารึก ลพ. ๑๗

อักษรไทยฝกขาม ภาษาไทย จ.ศ. ๙๗๓,” ศิลปากร. ๒๒ (กันยายน ๒๕๒๑), ๖๘-๗๑.

ข. หนังสือพิมพ เหมือนวารสาร แตเติมวันที่และไมตองใสวงเล็บ ตัวอยาง

เกษม จันทรนอย. “ผูหญิงของผูหญิง,” เดลินิวส. ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๒๔ หนา ๔.

๔.๔ บรรณานุกรม ส่ิงที่มิใชหนังสือหรือวารสาร ก. จดหมายสวนตัว

ตัวอยาง Vespry, Athur. Personal letter, March 1, 1970.

ข. เอกสารประกอบการสัมมนาหรือเอกสารอื่น ๆ ตัวอยาง

ไพโรจน สถาปนากุล. “การวิจัยตัวอักษรลานนา,” เอกสารประกอบการสัมมนาอักษรไทยถิ่นเหนือของหอสมุดแหงชาติ, ๑๐-๑๕ กันยายน ๒๕๒๓, หนา ๗. (อัดสําเนา).

ศิลปากร , กรม . กองจดหมายเหตุแหงชาติ . ร ๕ น . ๗/๑๐ เงินสรางพระบรมรูปทรงมา.

Page 132: New Researcher Manual

132

ค. โสตทัศนวัสดุ เชน แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ ภาพยนตร ภาพนิ่ง หรืออื่น ๆ เขียนชื่องานเปนรายการหลัก

ตัวอยาง นิทาน และบทชวนหัว พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระ

มงกุฎเกลาเจาอยูหัว. แถบบันทึกภาพ. ง. การสัมภาษณ เขียนชื่อผูใหสัมภาษณ ตําแหนง และวัน

เดือนปท่ีสัมภาษณ ตัวอยาง

กุลทรัพย เกษแมนกิจ, คุณหญิง. อดีตอธิบดี กรมศิลปากร , กรุงเทพฯ : การสัมภาษณสวนบุคคล , ๑๕ มกราคม ๒๕๔๙.

๕. วิธีจัดเรียงบรรณานุกรม ๕.๑ ท่ีนิยมกันทั่วไปนั้น จัดเรียงตามลําดับอักษรช่ือผูแตง

๕.๒ มีอยูบางที่เรียงตามปท่ีพิมพ โดยจัดบรรณานุกรมปเดียวกันไวดวยกัน

๕.๓ ถามีรายการบรรณานุกรมจํานวนมาก อาจแยกเปนกลุมตามประเภทสิ่งพิมพหรือวัสดุ เชน หนังสือ บทความวารสาร บทสัมภาษณ

๖. ตัวอยางบรรณานุกรม เรื่อง พระบรมรูปทรงมา ในสารานุกรม

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว

บรรณานุกรม “คําจาฤกที่ประดิษฐานพระบรมรูป,” ราชกิจจานุเบกษา. ๒๕ (๒๙ พฤศจิกายน

๒๔๕๑) , ๙๔๔-๙๔๕.

Page 133: New Researcher Manual

จุลจอมเกลาเจาอยูหัว, พระบาทสมเด็จพระ. ไกลบาน เลม ๑. พระนคร : โรงพิมพโสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๖. (พิมพในงานฉลองพระชันษาพระอรรคชายาเธอ พระองคเจาสายสวลภีริมย กรมขุนสุทธาสินีนาฏ).

. ไกลบาน เลม ๒. นครหลวงฯ : สํานักพิมพแพรพิทยา, ๒๕๑๖. . เสด็จประพาสตนในรัชกาลที่ ๕. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๑๕

(พิมพเปนอนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ เรือเอก ถาวร ตาปสนันทน ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม ๘ มีนาคม ๒๕๑๕).

ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. “เรื่องสรางพระบรมรูปทรงมา,” ประชุมพระนิพนธเบ็ดเตล็ด. พระนคร : โรงพิมพคุรุสภา, ๒๕๐๔. หนา ๕๙-๖๐.

นริศรานุวดัติวงศ, สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยา และ ดํารงราชานุภาพ, สมเดจ็ฯ กรมพระยา. สาสนสมเด็จ เลม ๒๔. พระนคร : โรงพิมพคุรุสภา, ๒๕๐๕.

ศิลปากร, กรม. กองจดหมายเหตุแหงชาติ. ร ๕ น.๗/๑๐ เงินสรางพระบรมรูปทรงมา.

133

Page 134: New Researcher Manual

ภาคผนวก 3

พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ที่ควรรู ในการศึกษาคนควาและเรียบเรียงรายงานการวิจัย ผูศึกษาคนควาจะตองใชขอมูลหรือคัดลอกขอความในหนังสือ สิ่งพิมพ รวมทั้งใชโสตทัศนวัสดุ เพื่อประกอบในการเขียนรายงานของตนเปนสวนมาก โดยที่หนังสือหรือขอเขียนเปนทรัพยสินทางปญญาอยางหนึ่งของมนุษย และเปนสิ่งท่ีจะชวยสรางสรรคสงเสริมการพัฒนาในดานตาง ๆ ดังนั้น เพื่อความเปนธรรมแกผูสรางสรรคทรัพยสินทางปญญาเหลานั้น ท่ัวโลกจึงเห็นวา สิทธิประโยชนของผูสรางสรรคทรัพยสินทางปญญาจะตองไดรับความคุมครองตามกฎหมาย เรียกวา กฎหมายคุมครองลิขสิทธิ์ และประเทศที่เจริญแลวไดมีกฎหมายคุมครองมิใหสิทธิดังกลาวถูกละเมิด นอกจากกฎหมายภายในประเทศแลว ประเทศตาง ๆ ยังไดตกลงรวมกันที่จะมีการคุมครองสิทธิประโยชนดังกลาวระหวางประเทศดวย

หนังสือ สิ่งพิมพตาง ๆ ตลอดจนโสตทัศนวัสดุ เปนทรัพยสินทางปญญา ลวนแตอยูในขอบเขตของการคุมครองสิทธิดังกลาวท้ังสิ้น ดังนั้น ผูศึกษาคนควาวิจัยซึ่งเปนผูนําเอาผลงานเหลานั้นไปใชประโยชน จึงควรมีความรูเกี่ยวกับกฎหมายคุมครองลิขสิทธิ์ เพื่ อมิ ใหกระทํ าการโดยละเมิดซึ่ ง เปนการผิดกฎหมาย อาจได รับโทษโดยรูเทาไมถึงการณ

ประเทศไทยเรามีกฎหมายคุมครองลิขสิทธิ์ของทรัพยสินทางปญญาตามแบบสากลมาแลวตั้งแต พ.ศ. ๒๔๗๔ เรียกวา “พระราชบัญญัติคุมครองวรรณกรรมและศิลปกรรม พุทธศักราช ๒๔๗๔” และไดลงนามเปนภาคีอนุสัญญาเบอรน ซึ่งเปนอนุสัญญาระหวางประเทศเพื่อการคุมครองลิขสิทธิ์ของสหภาพเพื่อการคุมครองวรรณกรรมและศิลปกรรม เมื่อ พ .ศ . ๒๔๗๔ นั้นดวย ตอมาไดมีการแกไข 134

Page 135: New Researcher Manual

135

พระราชบัญญัติดังกลาวและประกาศใช “พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พุทธศักราช ๒๕๒๑” เมื่อเดือนธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๑ และพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พุทธศักราช ๒๕๓๗ ซึ่งใชอยูในปจจุบัน

๑. ลิขสิทธ์ิ คืออะไร

“ลิขสิทธิ์” หมายความวาสิทธิในฐานะเปนผูสรางสรรคหรือเปนเจาของโดยรับโอน ท่ีจะกระทําการใด ๆ เกี่ยวกับ “งาน” ท่ีผูสรางสรรคไดทําข้ึน

๒. “งาน” คืออะไร

“งาน” หมายความวา งานสรางสรรคประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร งานแพรเสียงแพรภาพ หรืองานอื่นใดอันเปนงานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร หรือแผนกศิลป

๓. ผูสรางสรรค คือใคร

“ผูสรางสรรค” หมายความวา ผูทําหรือกอใหเกิดงาน โดยความคิดริเริ่มของตนเอง เชน นักประพันธ กวี จิตรกร ศิลปน นักแตงเพลง สถาปนิกผูออกแบบ ประติมากร ฯลฯ

๔. อะไรบางที่ไดรับความคุมครองลิขสิทธ์ิ

“วรรณกรรม” ไดแกงานเขียนแตงทุกชนิด เชน หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรัย สุนทรพจน สิ่งบันทึกเสียง หรือภาพอื่น ๆ

“ศิลปกรรม” ไดแก งานอันมีลักษณะอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางดังตอไปนี้ งานจิตรกรรม งานประติมากรรม งานภาพพิมพ งานสถาปตยกรรม งานภาพถาย งานภาพประกอบ แผนที่ โครงสราง ภาพราง หรือหุนจําลองตาง ๆ รวมท้ังงานศิลปะประยุกต ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร ตลอดจนงานแพรเสียงแพร

Page 136: New Researcher Manual

136

ภาพตาง ๆ คือ เสียงและภาพทางวิทยุ และวิทยุโทรทัศน เปนตน รวมท้ังโปรแกรมคอมพิวเตอร

๕. ขอบเขตและอายุของการคุมครอง

พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ กําหนดขอบเขตและอายุของการคุมครองไว พอสรุปสาระสําคัญไดดังนี้ ๕.๑ สิ่งท่ีกลาวมาแลวในขอ ๔. เปนสิ่งท่ีไดรับความคุมครองลิขสิทธิ์

ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ท้ังสิ้น ผูใดจะ “ทําซ้ํา” หรือ “ดัดแปลง” คือ การคัดลอก เลียนแบบ ทําสําเนา บันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือนําออกโฆษณาเผยแพร หรือนําไปดัดแปลง เปลี่ยนรูปใหม ปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมใหม ทําสําเนาจําลองบางสวนหรือท้ังหมด จะตองไดรับอนุญาตจาก “เจาของลิขสิทธิ์” เสียกอน

๕.๒ อายุการคุมครองลิขสิทธิ์ของทรัพยสินทางปญญาดังกลาว มีแตกตางกันออกไปตามชนิดของทรัพยสินทางปญญานั้น ๆ แตโดยกวาง ๆ อายุคุมครองลิขสิทธิ์มีอยูตลอดชีวิตผูสรางสรรค และอีกหาสิบปหลังจากผูสรางสรรคตายแลว

๕.๓ ผูใดละเมิดมีโทษอยางสูง คือ ปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท ถาทําเปนการคามีโทษสูงข้ึน คือ ปรับตั้งแตสองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือจําคุกไมเกินหนึ่งปและปรับ ตั้งแตสองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท

๖. ขอยกเวน เพื่อประโยชนในการศึกษาคนควาวิจัย พระราชบัญญัติ

ลิขสิทธิ์ดังกลาวไดทําขอยกเวนไวในกรณีดังตอไปนี้

Page 137: New Researcher Manual

137

๖.๑ การนําไปใชประโยชนเพื่อการวิจัยหรือศึกษา เชน การนําไปอางอิงในการเขียนรายงาน การวิจัย เปนตน ท้ังนี้ตองอางอิงท่ีมาไวอยางชัดเจน และตองนําไปใชในปริมาณที่เปนธรรม คือไมคัดลอกไปเปนจํานวนมากหรือเปนจํานวนที่กระทบตอสิทธิประโยชนของเจาของลิขสิทธิ์

๖.๒ ใชเพื่อประโยชนของตนเอง หรือในครอบครัวหรือญาติมิตร เชน ซื้อแถบบันทึกเสียงไปเปดฟงในบาน ซื้อหนังสือไปอาน อัดสําเนาเสียงเพลงลงแถบบันทึกเสียงไวฟงในบาน เปนตน

๖.๓ นําไปติชมวิจารณ โดยแสดงที่มาและชื่อเจาของลิขสิทธิ์ของผลงานนั้น ๆ

๖.๔ เสนอรายงานขาวทางสื่อสารมวลชน โดยบอกที่มาและชื่อเจาของลิขสิทธิ์

๖.๕ นําไปทําซ้ํา แปล หรือแปลง หรือนําออกแสดง เชน จัดนิทรรศการเพื่อประโยชนในการสอน

๖.๖ คัดลอก ทําสําเนา ดัดแปลงสวนของงาน หรือตัดทอนทําบทสรุปตามจํานวนที่จําเปนเพื่อการเรียนการสอน

๖.๗ นําไปใชเปนสวนหนึ่งในการถามและตอบในการสอบ ๖.๘ การกลาว คัด ลอก เลียน หรืออางอิง งานบางตอน ตามสมควรจาก

งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ โดยมีการรับรูถึงความเปนเจาของลิขสิทธิ์ในงานนั้น ๆ ไมใหถือวาเปนการละเมิดลิขสิทธิ์

Page 138: New Researcher Manual

ภาคผนวก 4

ขอสังเกตเกี่ยวกับภาษาไทยในการเขียนรายงานการวจิัย

รายงานการวิจัยโดยทั่วไปจะเขียนตามลีลา (style) วิชาการ คือ ใชภาษาเขียนที่สุภาพและภาษาทางการอยางเครงครัด ไมใชภาษาพูดหรือภาษาที่แสดงความสนิทสนม เนื้อหาที่เขียนควรกระชับ ตรงประเด็น นอกจากนี้ ผูเขียนรายงานจะตองคํานึงถึงประเด็นตาง ๆ ดานภาษาดวย โดยเฉพาะเมื่อเขียนรายงานการวิจัยเปนภาษาไทย ผูเขียนรายงานควรยึดแนวทางตอไปนี้ คือ

๑. การสะกดการันต คํ าในภาษาไทย ควรถือตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งเปนมาตรฐานการใชภาษาของทางราชการ ถาไมแนใจวาจะเขียนคําใดอยางไร ตองตรวจสอบกับพจนานุกรมฉบับนี้เสมอยกตัวอยางคําท่ีผูเขียนรายงานการวิจัยมักจะสะกดผิด เชน อะลูมิเนียม (ไมใช “อลูมิเนียม”) ดุล (ไมตองมี ย) ปฏิกิริยา (ไมใช “ปฏิกริยา”)

๒. การทับศัพทคําในภาษาตางประเทศเปนภาษาไทย ควรใชหลักเกณฑของราชบัณฑิตยสถาน (โปรดดูหนังสือ หลักเกณฑการทับศัพทภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษารัสเซีย ภาษาญี่ปุน ภาษาอาหรับ ภาษามลายู ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พ.ศ. ๒๕๓๕) เชน ซอฟตแวร (software) อินเทอรเน็ต (Internet) แอนะล็อก (analog) ดิจิทัล (digital)

๓. ควรใชลักษณนามที่เปนหนวยของการนับใหถูกตอง เชน “โจร ๓ คนบุกเขาปลนรานคา” (ไมใช “๓ โจรบุกเขาปลนรานคา”) “เกิด

อุบัติเหตุ ทําใหมีผูเสียชีวิต ๔ คน” (ไมใช “เกิดอุบัติเหตุ ทําใหมีผูเสียชีวิต ๔ ศพ”) โปรดดูหนังสือ ลักษณนาม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พ.ศ. ๒๕๔๖

138

Page 139: New Researcher Manual

139

๔. สรางประโยคใหกระชับ โดยพยายามตัดคําฟุมเฟอยทิ้ง เชนตัดคําที่ขีดเสนใตไวในขอความตอไปนี้ คือ “ผูวิจัยไดทําการวัดกระแสไฟฟา” “มาตรตัวนี ้มีความทันสมัย” “เขาดําเนินความพยายามที่จะเขียนรายงานใหเสร็จ” “ในอดีตท่ีผานมา” “ในอนาคตขางหนา”

๕. ใชคําบุพบท “ตอ” “แก” และ “กับ” ใหถูกตองเหมาะสม เชน “เขารองเรียนตอผูใหญ” (ไมใช “แก” หรือ “กับ”)

“เขาใหเงินแกลูกหลานของเขา” (ไมใช “ตอ” หรือ “กับ”) “วัดอยูใกลกับบาน” (ไมใช “ตอ” หรือ “แก”)

๖. ควรใชคําไทยและสํานวนไทยแทนคําและสํานวนภาษาตางประเทศ เชน “สมาคมนี้จัดกิจกรรมอยางสม่ําเสมอ” (แทนที่จะใช “สมาคมนี้จัด activity อยางสม่ําเสมอ”) “เขาตางกับฉัน” (แทน “เขาตางจากฉัน”) “เขานั่งอยูระหวางฉันกับเพื่อน” (แทน “เขานั่งอยูระหวางฉันและเพื่อน”) “เพื่อใหเขาใจไดงาย” (แทน “เพื่อใหงายตอความเข าใจ”) โปรดดูหนังสือ ศัพทต างประเทศที่ ใชภาษาไทยแทนได ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พ.ศ. ๒๕๔๙

๗. ใชการเวนวรรคและเครื่องหมายวรรคตอนใหเหมาะสม เพื่อไมใหขอความกํากวม เชน ประโยคที่วา

“ยาขนานนี้กินแลวแข็งแรง ไมมีโรคภัยเบียดเบียน” ไมเขียนวา ”ยาขนานนี้กินแลวแข็ง แรงไมมี โรคภัยเบียดเบียน” ซึ่งทําใหความหมายผิดไป โปรดดูหนังสือ หลักเกณฑการใชเครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ หลักเกณฑการเวนวรรค หลักเกณฑการเขียนคํายอ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พ.ศ. ๒๕๔๘

๘. สรางประโยคใหถูกตองตามหลักไวยากรณไทย และเรียงลําดับประโยคใหความกระชับ โดยวางประธาน กริยา กรรม หรือประโยคขยายใหถูกที่ เชนประโยควา “การ

Page 140: New Researcher Manual

140

รายงานขอมูลในบทความวิจัยหรือในเอกสารจะตองถือวาขอมูลนั้นถูกตอง” ควรเขียนประโยคใหกระชับวา “จะตองถือวา การรายงานขอมูลในบทความวิจัยหรือในเอกสารนั้นถูกตอง”

Page 141: New Researcher Manual

ภาคผนวก 5

แนวทางปฏิบัติ จรรยาบรรณนกัวิจัยสภาวิจัยแหงชาต ิ

ความเปนมา ปจจุบันนี้ผลการวิจัยมีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเปนอยางยิ่ง

หากงานวิจัยท่ีปรากฏสูสาธารณชน มีความเที่ยงตรง นําเสนอสิ่งท่ีเปนความจริงสะทอนใหเห็นสภาพปญหาที่เกิดข้ึนอยางแทจริง ก็จะนําไปสูการแกไขปญหาไดตรงจุดและมีประสิทธิภาพ การท่ีจะใหไดมาซึ่งงานวิจัยท่ีดีมีคุณภาพ จําเปนตองมีสวนประกอบสําคัญหลายประการ นอกจากการดําเนินตามระเบียบวิธีการวิจัยอยางมีคุณภาพแลว คุณธรรมหรือจรรยาบรรณของนักวิจัยเปนปจจัยสําคัญยิ่งประการหนึ่ง

คณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ สาขาสังคมวิทยาตระหนักถึงความสําคัญของจรรยาบรรณนักวิจัยดังกลาว จึงไดริเริ่มดําเนินการยกรางจรรยาบรรณนักวิจัยเพื่อเปนมาตรฐานเดียวกันท้ังประเทศเพื่อใหนักวิจัย นักวิชาการ ในสาขาวิชาการตางๆ สามารถนําไปปฏิบัติได โดยผานกระบวนการขอรับความคิดเห็นจากนักวิจัย ผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาตางๆ และไดปรับปรุงใหเหมาะสมรัดกุมชัดเจน จนกระทั่งไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารสภาวิจัยแหงชาติ ประกาศใหเปนหลักเกณฑควรประพฤติของนักวิจัยท่ัวไป

วัตถุประสงค เพื่อเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยท่ัวไป โดยมีลักษณะเปนขอ

พึงสังวรมากกวาจะเปนขอบังคับ อันจะนําไปสูการเสริมสรางจรรยาบรรณในหมูนักวิจัยตอไป

141

Page 142: New Researcher Manual

142

นิยาม นักวิจัย หมายถึง ผูท่ีดําเนินการคนควาหาความรูอยางเปนระบบ เพื่อตอบ

ประเด็นที่สงสัย โดยมีระเบียบวิธีอันเปนที่ยอมรับในแตละศาสตรท่ีเกี่ยวของ ซึ่งครอบคลุมทั้งแนวคิด มโนทัศน และวิธีการท่ีใชในการรวบรวมและวิเคราะหขอมูล

จรรยาบรรณ หมายถึง หลักความประพฤติอันเหมาะสมแสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพ ท่ีกลุมบุคคลแตละสาขาชีพประมวลขึ้นไวเปนหลัก เพื่อใหสมาชิกในสาขาวิชาชีพนั้นๆ ยึดถือปฏิบัติ เพื่อรักษาชื่อเสียงและสงเสริมเกียรติคุณของสาขาวิชาชีพของตน

จรรยาบรรณนักวิจัย หมายถึง หลักเกณฑควรประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยท่ัวไป เพื่อใหการดําเนินงานวิจัยตั้งอยูบนพื้นฐานของจริยธรรมและหลักวิชาการที่เหมาะสม ตลอดจนประกันมาตรฐานของการศึกษาคนควาใหเปนไปอยางสามศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิของนักวิจัย

จรรยาบรรณนักวิจัย : แนวทางปฏิบัติ ขอ ๑ นักวิจัยตองซื่อสัตยและมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ นักวิจัยตองมีความซื่อสัตยตอตนเองไมนําผลงานของผูอื่นมาเปนของตนไมลอกเลียนงานของผูอื่น ตองใหเกียรติและอางถึงบุคคลหรือแหลงท่ีมาของขอมูลท่ีนํามาใชในงานวิจัย ตองซื่อตรงตอการแสวงหาทุนวิจัยและมีความเปนธรรมเกี่ยวกับผลประโยชนท่ีไดจากการวิจัย

แนวทางปฏิบตั ิ๑.๑ นักวิจัยตองมีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น

Page 143: New Researcher Manual

143

นักวิจัยตองมีความซื่อสัตยในทุกขั้นตอนของกระบวนการวิจัย ตั้งแตการเลือกเรื่องท่ีจะทําวิจัย การเลือกผูเขารวมทําวิจัย การดําเนินการวิจัย ตลอดจนการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน

นักวิจัยตองใหเกียรติผูอื่น โดยการอางถึงบุคคลหรือแหลงท่ีมาของขอมูลและความคิดเห็นที่นํามาใชในงานวิจัย

๑.๒ นักวิจัยตองซื่อตรงตอการแสวงหาทุนวิจัย นักวิจัยตองเสนอขอมูลและแนวคิดอยางเปดเผยและตรงไปตรงมาใน

การเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุน นักวิจัยตองเสนอโครงการวิจัยดวยความซื่อสัตยโดยไมขอทุนซ้ําซอน

๑.๓ นักวิจัยตองมีความเปนธรรมเกี่ยวกับผลประโยชนท่ีไดจากการวิจัย นักวิจัยตองจัดสรรสัดสวนของผลงานวิจัยแกผูรวมวิจัยอยางยุติธรรม นักวิจัยตองเสนอผลงานอยางตรงไปตรงมาโดยไมนําผลงานของผูอื่น

มาอางวาเปนของตน

ขอ ๒ นักวิจัยตองตระหนักถึงพันธกรณีในการทําวิจัย ตามขอตกลงที่ทําไวกับหนวยงานที่สนับสนุนการวิจัยและตอหนวยงานที่ตนสังกัด

นักวิจัยตองปฏิบัติตามพันธกรณีและขอตกลงการวิจัยท่ีผูเกี่ยวของทุกฝายยอมรับรวมกัน อุทิศเวลาทํางานวิจัยใหไดผลดีท่ีสุดและเปนไปตามกําหนดเวลา มีความรับผิดชอบไมละท้ิงงานระหวางดําเนินการ

แนวทางปฏิบตั ิ๒.๑ นักวิจัยตองตระหนักถึงพันธกรณีในการทําวิจัย

• นักวิจัยตองศึกษาเงื่อนไข และกฎเกณฑของเจาของทุนอยางละเอียดรอบคอบ เพื่อปองกันความขัดแยงท่ีจะเกิดขึ้นในภายหลัง

Page 144: New Researcher Manual

144

• นักวิจัยตองปฏิบัติตามเงื่อนไข ระเบียบและกฎเกณฑ ตามขอตกลงอยางครบถวน

๒.๒ นักวิจัยตองอุทิศเวลาทํางานวิจัย นักวิจัยตองทุมเทความรู ความสามารถและเวลาใหกับการทํางานวิจัย เพื่อใหไดมาซึ่งผลงานวิจัยท่ีมีคุณภาพและเปนประโยชน

๒.๓ นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบในการทําวิจัย • นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบ ไมละท้ิงงานโดยไมมีเหตุผลอันควร และสงงานตามกําหนดเวลา ไมทําผิดสัญญาขอตกลงจนกอใหเกิดความเสียหาย

• นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบในการจัดทํารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ เพื่อใหผลอันเกิดจากการวิจัยไดถูกนําไปใชประโยชนตอไป

ขอ ๓ นักวิจัยตองมีพื้นฐานความรูในสาขาวิชาการที่ทําวิจัย นักวิจัยตองมีพื้นฐานความรูในสาขาวิชาการที่ทําวิจัยอยางเพียงพอและมีความรูความชํานาญหรือมีประสบการณ เกี่ยวเนื่องกับเรื่องท่ีทําวิจัย เพื่อนําไปสูงานวิจัยท่ีมีคุณภาพ และเพื่อปองกันปญหาการวิเคราะห การตีความ หรือการสรุปที่ผิดพลาด อันอาจกอใหเกิดความเสียหายตองานวิจัย

แนวทางปฏิบตั ิ๓.๑ นักวิจัยตองมีพื้นฐานความรู ความชํานาญหรือประสบการณเกี่ยวกับ

เรื่องท่ีทําวิจัยอยางเพียงพอเพื่อนําไปสูงานวิจัยท่ีมีคุณภาพ ๓.๒ นักวิจัยตองรักษามาตรฐานและคุณภาพของงานวิจัยในสาขาวิชาการ

นั้นๆ เพื่อปองกันความเสียหายตอวงการวิชาการ

Page 145: New Researcher Manual

145

ขอ ๔ นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบตอสิ ่งที ่ศึกษาวิจัย ไมวาเปนสิ ่งที ่มีชีวิตหรือไมมีชีวิต

นักวิจัยตองดําเนินการดวยความรอบคอบระมัดระวัง และเที่ยงตรงในการทําวิจัยท่ีเกี่ยวของกับคน สัตว พืช ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม มีจิตสํานึกและปณิธานที่จะอนุรักษ ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

แนวทางปฏิบตั ิ๔.๑ การใชคนหรือสัตวเปนตัวอยางทดลอง ตองทําในกรณีท่ีไมมีทางเลือก

อื่นเทานั้น ๔.๒ นักวิจัยตองดําเนินการวิจัยโดยมีจิตสํานึกที่จะไมกอความเสียหายตอคน

สัตว พืช ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม ๔.๓ นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบตอผลท่ีจะเกิดแกตนเอง กลุมตัวอยางที่ใช

ในการศึกษาและสังคม

ขอ ๕ นักวิจัยตองเคารพศักดิ์ศรี และสิทธิของมนุษยท่ีใชเปนตัวอยางในการวิจัย นักวิจัยตองไมคํานึงถึงผลประโยชนทางวิชาการจนละเลย และขาดความเคารพในศักดิ์ศรีของเพื่อนมนุษยตองถือเปนภาระหนาท่ีท่ีจะอธิบายจุดมุงหมายของการวิจัยแกบุคคลที่เปนกลุมตัวอยาง โดยไมหลอกลวงหรือบีบบังคับ และไมละเมิดสิทธิสวนบุคคล

แนวทางปฏิบตั ิ๕.๑ นักวิจัยตองมีความเคารพในสิทธิของมนุษยท่ีใชในการทดลองโดยตอง

ไดรับความยินยอมกอนทําการวิจัย

Page 146: New Researcher Manual

146

๕.๒ นักวิจัยตองปฏิบัติตอมนุษยและสัตวท่ีใชในการทดลองดวยความเมตตา ไมคํานึงถึงแตผลประโยชนทางวิชาการจนเกิดความเสียหายที่อาจกอใหเกิดความขัดแยง

๕.๓ นักวิจัยตองดูแลปกปองสิทธิประโยชนและรักษาความลับของกลุมตัวอยางที่ใชในการทดลอง

ขอ ๖ นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทําวิจัย

นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด ตองตระหนักวา อคติสวนตนหรือความลําเอียงทางวิชาการ อาจสงผลใหมีการบิดเบือนขอมูลและขอคนพบทางวิชาการ อันเปนเหตุใหเกิดผลเสียหายตองานวิจัย

แนวทางปฏิบตั ิ๖.๑ นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด ไมทํางานวิจัยดวยความเกรงใจ ๖.๒ นักวิจัยตองปฏิบัติงานวิจัยโดยใชหลักวิชาการเปนเกณฑและไมมีอคติมา

เกี่ยวของ ๖.๓ นักวิจัยตองเสนอผลงานวิจัยตามความเปนจริง ไมจงใจเบี่ยงเบน

ผลการวิจัย โดยหวังผลประโยชนสวนตน หรือตองการสรางความเสียหายแกผูอื่น

ขอ ๗ นักวิจัยพึงนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนในทางที่ชอบ นักวิจัยพึงเผยแพรผลงานวิจัยเพื่อประโยชนทางวิชาการและสังคมไมขยายผลขอคนพบจนเกิดความเปนจริง และไมใชผลงานวิจัยไปในทางมิชอบ

Page 147: New Researcher Manual

147

แนวทางปฏิบตั ิ๗.๑ นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบและรอบคอบในการเผยแพรผลงานวิจัย ๗.๒ นักวิจัยพึงเผยแพรผลงานวิจัยโดยคํานึงถึงประโยชนทางวิชาการ และ

สังคม ไมเผยแพรผลงานวิจัยเกินความเปนจริงโดยเห็นแกประโยชนสวนตนเปนที่ตั้ง

๗.๓ นักวิจัยพึงเสนอผลงานวิจัยตามความเปนจริงไมขยายผลขอคนพบโดยปราศจากการตรวจสอบ ยืนยันในทางวิชาการ

ขอ ๘ นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผูอ่ืน นักวิจัยพึงมีใจกวาง พรอมท่ีจะเปดเผยขอมูลและขั้นตอนการวิจัยยอมรับฟงความคิดเห็นและเหตุผลทางวิชาการของผูอื่น และพรอมที่จะปรับปรุงแกไขงานวิจัยของตนใหถูกตอง

แนวทางปฏิบตั ิ๘.๑ นักวิจัยพึงมีมนุษยสัมพันธท่ีดี ยินดีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสราง

ความเขาใจในงานวิจัยกับเพื่อนรวมงานและนักวิชาการอื่นๆ ๘.๒ นักวิจัยพึงยอมรับฟง แกไขการทําวิจัยและการเสนอผลงานวิจัยตาม

ขอแนะนําท่ีดี เพื่อสรางความรูท่ีถูกตองและสามารถนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนได

ขอ ๙ นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบตอสังคมทุกระดับ นักวิจัยมีจิตสํานึกที่จะอุทิศกําลังสติปญญาในการทําวิจัย เพื่อความกาวหนาทางวิชาการ เพื่อความเจริญและประโยชนสุขของสังคมและมวลมนุษยชาติ

Page 148: New Researcher Manual

148

แนวทางปฏิบตั ิ๙.๑ นักวิจัยพึงไตรตรองหาหัวขอการวิจัยดวยความรอบคอบและทําการวิจัย

ดวยจิตสํานึกที่จะอุทิศกําลังปญญาของตนเพื่อความกาวหนาทางวิชาการ เพื่อความเจริญของสถาบันและประโยชนสุขตอสังคม

๙.๒ นักวิจัยพึงรับผิดชอบในการสรางสรรคผลงานวิชาการเพื่อความเจริญของสังคม ไมทําการวิจัยท่ีขัดกับกฎหมาย ความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน

๙.๓ นักวิจัยพึงพัฒนาบทบาทของตนใหเกิดประโยชนยิ่งข้ึนและอุทิศเวลา น้ําใจ กระทําการสงเสริมพัฒนาความรู จิตใจ พฤติกรรมของนักวิจัยรุนใหม ใหมีสวนสรางสรรคความรูแกสังคมสืบไป

Page 149: New Researcher Manual

ภาคผนวก 6

แหลงทุนวิจัยภายในประเทศ

1. กรมการศาสนา ปจจุบันเปนหนวยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม มีสวนรวมในการดําเนินงานกิจการทางดานศาสนาทั้งยังสนับสนุนการวิจัยดานการศาสนาแกนักศึกษาเพื่อนําผลการวิจัยไปใชในการวางแผนพัฒนาการศึกษาและการศาสนา โทร. 0-2281-6540 URL : http://www.moe.go.th/webrad/general/main.htm

2. กรมการศึกษานอกโรงเรียน มีหนาท่ีในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนใหแกประชาชนผูดอยโอกาส สงเสริมการศึกษาในระบบโรงเรียนและสงเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยโดยจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับวิถีชีวิตอยางตอเนื่องนอกจากนี้ยังสนับสนุนทุนวิจัยท่ีเกี่ยวกับงานการศึกษานอกโรงเรียน โทร. 0-2281-6461 URL : http://www.nfe.go.th

3. กรมควบคุมมลพิษ มีหนาท่ีในการควบคุม ปองกัน และแกไขปญหาสิ่งแวดลอมอันเนื่องมาจากภาวะมลพิษรวมทั้งสนับสนุนทุนวิจัยในอันที่จะกอใหเกิดประโยชนแกการควบคุมมลพิษในดานตางๆ โทร. 0-2642-5028 (วิจัยเกี่ยวกับคุณภาพเสียงและอากาศ), โทร. 0-2619-2299 ตอ 2340 (วิจยัเกี่ยวกับสารอนัตรายและกากของเสีย), โทร. 0-2579-5269 (วิจัยเกีย่วกบัการจัดการมลพิษ) URL : http://www.pcd.go.th

149

Page 150: New Researcher Manual

150

4. กรมปาไม มีหนาท่ีในการสงวนและคุมครองปาไมและสัตวปา พัฒนาการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและฟนฟูระบบนิเวศในพื้นที่ปาไม ศึกษา คนควา วิจัย ทดลองและพัฒนาวิชาการดานการปาไมและสัตวปาและวิชาการดานอื่นที่เกี่ยวของท้ังยังใหทุนวิจัยท่ีเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติ โทร. 0-2579-5269 URL : http://www.forest.go.th

5. กรมวิชาการ เปนหนวยงานในสังกัดของกระทรวงศึกษาธิการ มีหนาท่ีในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาทั้งในสวนภูมิภาคและสวนกลาง นอกจากนี้ยังสนับสนุนทุนวิจัยในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนในระดับตางๆ โทร.0-2282-1816 ตอ 604 โทรสาร. 0-2281-2602 URL: http://www.dcid.go.th

6. กรมสงเสริมอุตสาหกรรม มีหนาท่ีในการสงเสริม สนับสนุน และพัฒนาสมรรถนะของอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดยอมสาขาตาง ๆ ซึ่งสอดคลองกับนโยบายและแผนสงเสริมอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอมของประเทศทั้งยังสนับสนุนการวิจัยเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีการปรับปรุงเพิ่มผลผลิต โทร. 0-2246-0031, 0-2246-1145-6 URL : http://www.dip.go.th

7. กองสงเสริมเทคโนโลย ีสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หนวยงานใหการสนับสนุนการวิจัยในสาขาประดิษฐกรรม เพื่อการพัฒนาชนบทแกนักวิจัยโดยการนําเทคโนโลยีหรือประดิษฐกรรมที่ไดจากงานวิจัยสามารถนําไปใชงานไดจริงในงานผลิตของเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โทร. 0-2246-0064 ตอ 625 URL: http://www.ttc.moste.go.th

Page 151: New Researcher Manual

151

8. การทองเทีย่วแหงประเทศไทย สนับสนุนการวิจัยท่ีเกี่ยวกับทรัพยากรและสภาพแวดลอมการทองเที่ยวและแผนการลงทุนดานการทองเที่ยวแรงงานในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวท่ัวประเทศ โทร. 0-2694-1222 ตอ 2073 URL : http://www.tat.or.th

9. การเคหะแหงชาติ มีหนาท่ีในการใหความชวยเหลือทางการเงินแกประชาชนผูประสงคจะมีเคหะ ของตนเองปรับปรุงซื้อหรือยายแหลงเสื่อมโทรมเพื่อใหมีสภาพการอยูอาศัยสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจและสังคมดีข้ึน นอกจากนี้มีทุนวิจัยเกี่ยวกับที่อยูอาศัย โทร. 0-2324-0411-20 ตอ 6376, 6192 URL : http://www.nhanet.or.th

10. ทุนวิจัยสํานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร สนับสนุนการวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาของกรุงเทพฯ แกนักศึกษาระดับปริญญาโท-เอก ท่ีกําลังศึกษาอยูในสถาบันการศึกษาในประเทศ บุคลากรทางการศึกษาหรือหนวยงานที่ทําการวิจัย กองวิชาการ สํานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร โทร. 0-2437-2047 URL : http://www.bma.go.th

11. ทุนอุดหนุนและสงเสริมวิทยานิพนธระดับปริญญาเอก-โท ทบวงมหาวิทยาลัย ใหทุนสนับสนุนและสงเสริมวทิยานิพนธระดับปริญญาเอก-โท ในสาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ีสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ นกัศึกษาที่สนใจสามารถรบัขอมูลเพิ่มเติมการขอทุนไดท่ี บัณฑิตวิทยาลัย(ศาลายา) ม.มหิดล โทร. 0-2441-9511, 0-2441-4125 ตอ 211, 212, 213 URL : http://www.mahidol.ac.th

Page 152: New Researcher Manual

152

12. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มีทุนสนับสนุนการวิจัยทางดานเอเซียตะวันออกศึกษา ในลักษณะภูมิภาคศึกษา โดยแยกเปน 3 ภูมิภาค คือ ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงเหนือ, ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต และภูมิภาคแปซิฟคตอนใต ฝายวิจัยสถาบันเอเซียศึกษา ม.ธรรมศาสตร ศูนยรังสิต โทร. 0-2516-0040-2 URL : http://www.tu.ac.th

13. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ใหการสนับสนนุการศึกษาวิจยัท่ีสอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการพัฒนาเขตเศรษฐกจิสามฝาย(อนิโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย) ในเรือ่งนโยบาย แผนงาน ยุทธศาสตร และขอเสนอแนะของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเซีย ศูนย IMT-GT Studies Center ม.สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ โทร. 047-211-030 ตอ 2182, 2946-8 URL : http://www.imt-gt.org

14. มูลนิธิจิตเวชศาสตรสงเคราะห กรมสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิตเปนสถาบันเพื่อใหบริการแกประชาชน และพัฒนาวิชาการเทคโนโลยีดานสุขภาพจิตและเพื่อสนับสนุนบริการสุขภาพขององคการตางๆ รวมท้ังใหท้ังทุนสนับสนุนการวิจัยดานสุขภาพจิตและจิตเวช มูลนิธิจิตเวชศาสตรสงเคราะห โทร. 0-2525-2978-9 URL : http://dmh2001.com

15. มูลนิธิประเมินคาทรัพยสินไทย มูลนิธิประเมินคาทรัพยสินไทย (ทะเบียนเลขที่ กท.1075) จัดตั้งข้ึนเพื่อสงเสริม การศึกษาวิจัยและเผยแพรความรูแกประชาชนดานการประเมินคาทรัพยสิน อสังหาริมทรัพย การพัฒนาเมืองและที่ดิน มูลนิธิประเมินคาทรัพยสินไทย โทร. 0-2295-3171 URL : http://www.thaiappraisal.org

Page 153: New Researcher Manual

153

16. มูลนิธิศาสตราจารย ดร. วิศิษฐ ประจวบเหมาะ ใหการสนับสนุนทุนวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาและทุนวิจัย ท่ัวไปในดานประชากรศาสตรและสาขาตางๆที่สัมพันธกับการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โทร. 0-2251-1133-4 (ไมมีเว็บไซต)

17. มูลนิธิสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ใหทุนสงเสริมการศึกษาวิจัยทางการแพทยและเภสัชกรรม โดยจะสนับสนุนในสาขาโรคหัวใจ, โรคปอด, โรคภูมิแพ, โรคถุงลมโปงพอง, โรคติดตอและโรคอื่นๆ สํานักงานมูลนิธิฯ โรงพยาบาลโรคทรวงอก โทร. 0-2588-3000-4 ตอ 1100 (ไมมีเว็บไซต)

18. มูลนิธิแพทยอาสาสมัครสมเดจ็พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ใหการสนับสนุนทุนวิจัยทางดานการแพทยหรือตามความสนใจของมูลนิธิฯ โทร. 0-2250-0065-7, 0-2252-1733, 0-2253-5411, 0-2255-3742 (ไมมีเว็บไซต)

19. มูลนิธิโตโยตา ประเทศไทย (Toyota Thailand Foundation) ใหการสนับสนุนทุนวิจัยแกอาจารย, นักวิจัย, นักศึกษาหรือขาราชการในสังกัดมหาวิทยาลัยของรัฐ ในตานสาขาสิ่งแวดลอม เพื่อนํามาประยุกตใชเปนแนวทางอนุรักษ แกปญหาสิ่งแวดลอมผูท่ีสนใจสามารถรับขอมูลเพิ่มเติมการขอทุนไดท่ี โทร. 0-2386-1590, 0-2386-1420, 0-2386-1469 (ไมมีเว็บไซต)

Page 154: New Researcher Manual

154

20. มูลนิธิโทเร เพ่ือการสงเสริมวทิยาศาสตร ประเทศไทย (Thailand Toray Science Foundation) มูลนิธิไดกอตั้งข้ึนในป พ.ศ.2536 ดวยเงินบริจาคจาก Toray Industries, Inc. ซึ่งใชเปนเงินกองทุนถาวรเพื่อนําดอกผลมาใชในการสงเสริมความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี รวมท้ังสิ่งแวดลอม URL: http://www.ttsf.or.th/html/awards02.html

21. มูลนิธิ 50 ป ธนาคารแหงประเทศไทย ใหทุนสนับสนุนนักวิจัยท่ีมีความรู ความสามารถ ในดานเศรษฐกิจ ดานสังคมและการเมืองดานการเงิน ใหมีโอกาสไดศึกษาคนควาอยางอิสระ ท้ังในหรือนอกประเทศ เพื่อนําเอางานวิจัยมาเผยแพรแกสาธารณชน โทร. 0-2283-5012 URL : http://www.bot.or.th

22. ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแหงชาติ (BIOTEC) หนวยงานในสังกัดของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) มีหนาท่ีในการสนับสนุนและพัฒนาเทคโนโลยีทางดาน อุตสาหกรรม, การเกษตร, วัตถุดิบทางธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม URL : http://www.biotec.or.th/?sw=funding

23. ศูนยมานุษยวิทยาสิรินทร (องคการมหาชน) เปนองคการเพื่อประโยชนในการศึกษา คนควา วิจัย การพัฒนาขอมูลทางวิชาการดานสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ท้ังใหทุนวิจัยเกี่ยวกับดานสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร โทร. 0-2880-9429 ตอ 3314-5 URL : http://www.sac.or.th

Page 155: New Researcher Manual

155

24. ศูนยเทคโนโลยอีิเล็กทรอนกิสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) หนวยงานในสังกัดของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) มีหนาท่ีในการสนับสนุนและพัฒนาการวิจัยทางดานอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร โทร. 0-2564-6900 โทรสาร. 0-2564-6901-5 URL : http://www.nectec.or.th

25. ศูนยเทคโนโลยโีลหะและวัสดุแหงชาติ (MTEC) เปนหนวยงานที่จัดตั้งตามมติของคณะรัฐมนตรี เพื่อสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาความสามารถทางดานวิศวกรรมของโลหะและวัสดุของประเทศเพื่อรองรับอุตสาหกรรมทั้งในปจจุบันและอนาคต URL : http://magnet.mtec.or.th/Internet/services/rd&e_fund.asp

26. สถาบันควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมการแพทย กระทรวงสาธารสุข จัดตั้งข้ึนเพื่อเปนศูนยกลางในการดําเนินการเกี่ยวกับการบริโภคบุหรี่และควบคุมปญหาตางๆที่เกิดจากการบริโภคบุหรี่ของคนไทยรวมทั้งยังสนับสนุนโครงการวิจัยเกี่ยวกับการควบคุมการบริโภคยาสูบของประชาชนและผลกระทบตอสุขภาพอันเนื่องมาจากบุหรี่ โทร. 0-2591-8269 URL : http://www.thaiantitobacco.com

27. สถาบันพัฒนาผูบริหารการศึกษา มีหนาท่ีใหการสนับสนุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย และเปนศูนยกลางบริการดานวิชาการและการบริหารการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการท้ังยังสนับสนุนงานวิจัยท่ีเปนการพัฒนาสถาบันฯ และงานวิจัยเกี่ยวกับผลกระทบหรือความสัมพันธของการฝกอบรมของสถาบันฯ

Page 156: New Researcher Manual

156

โทร.034-225-400-3 ตอ 4054 URL : http://idea.moe.go.th

28. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ทําหนาท่ีศึกษา คนควาและวิจัยองคความรูสําหรับการพัฒนาและปรับเปลี่ยน สุขภาพของชาติอยางมีระบบและสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในประเทศ ใหทุนสนับสนุนโครงการวิจัยเพื่อสงเสริมการใชเทคโนโลยีทางการแพทยและการสาธารณสุขในประเทศไทย โทร. 0-2951-1286 URL : http://www.hsri.or.th

29. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี(สสวท.) มีหนาท่ีในการริเริ่ม ดําเนินการ และสงเสริมการคนควาและวิจัยหลักสูตร วิธีการสอนและการประเมินผลการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา รวมท้ังใหทุนวิจัยเกี่ยวกับดานการศึกษาในแขนงคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและคอมพิวเตอร โทร. 0-2392-4021 ตอ 143, 144, 182 URL : http://www.ipst.ac.th

30. สันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทย มีหนาท่ีสงเสริมและเผยแพรกิจการสหกรณ ตลอดจนทําการวิจัยและรวบรวมสถติิเกี่ยวกับกิจการสหกรณ แนะนําชวยเหลือทางวิชาการแกสหกรณและอํานวยความสะดวกในการติดตอประสานงานระหวางสหกรณกับสวนราชการหรือบุคคลอื่นนอกจากนี้ยังสนับสนุนการวิจัยเกี่ยวกับสหกรณประเภท โทร. 0-2241-3634, 0-2241-3332 URL : http://www.clt.or.th

31. สํานักงบประมาณ เปนหนวยงานกลางที่ ทํ าหน า ท่ีจั ด ทํ างบประมาณแผนดิน เพื่ อ เสนอนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี พิจารณาอนุมัติกอนที่รัฐบาลจะนําเสนอรัฐสภา

Page 157: New Researcher Manual

157

เพื่อพิจารณาอนุมัติใหประกาศใชเปน พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําปตอไป นอกจากนี้ไดใหทุนวิจัยในดานตางๆ โทร. 0-2273-9749, 0-2273-9496 URL : http://www.bb.go.th

32. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เปนองคกรที่สนับสนุนทุนวิจัยในการสรางนักวิจัย เพื่อยกระดับความรูและความสามารถของสังคมไทย รวมถึงการพัฒนาที่สัมพันธกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 โทร. 0-2298-0455 URL: http://www.trf.or.th

33. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีหนาท่ีรางกฎหมายและใหความเห็นทางกฎหมายแกรัฐบาลและหนวยงานรัฐ นอกจากนี้ยังใหทุนสนับสนุนการวิจัยโครงการพัฒนากฎหมาย โทร. 0-2222-0206-9 URL : http://www.krisdika.go.th

34. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มีหนาท่ีในการจัดทํานโยบายและแผนการศึกษาของชาติประสานนโยบายและแผนการศึกษาเพื่อใหกระทรวง ทบวง กรมตางๆ นําไปสูการปฏิบัติ, ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผนการศึกษา นอกจากนี้ใหทุนสนับสนุนวิจัยดานครุศาสตรและศึกษาศาสตร โทร. 0-2668-7110-24 ตอ 2511, 2513, 2515 URL : http://www.once.go.th

35. สํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.) สงเสริมและสนับสนุนใหมีการวิจัยเพือ่ประโยชนในการพัฒนาการบริหาร งานบุคคล สําหรับขาราชการครูและพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษาโดยรวม

Page 158: New Researcher Manual

158

โทร.0-2280-1104-9 ตอ 109 URL : http://www.moe.go.th/webtes

36. สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) มีหนาท่ีในการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการของประเทศ ท้ังยังใหทุนอุดหนุนการวิจัยท่ีเกี่ยวกับการปองกันและปราบปรามการทุจริต โทร. 0-2282-2531, 0-2282-3890 URL : http://nccc.thaigov.net

37. สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ เปนหนวยงานภายใตสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม มีทุนสนับสนุนการวิจัยทางดานวัฒนธรรม โทร. 0-2247-0028 ตอ 173-5 URL : http://www.cuture.go.th/thai

38. สํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย เปนหนวยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม มีอํานาจหนาท่ีในการปฏิบัติการและควบคุม ดูแลกิจการของอุตสาหกรรมออยและน้ําตาลทรายรวมทั้งใหทุนสนับสนุนวิจัยเพื่อพัฒนาและสงเสริมการผลิต การใชและการจําหนายน้ําตาลทราย โทร. 0-2221-2687, 0-2221-2293 URL : http://www.csb.in.th

39. สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารสุข มีหนาทีดําเนินงานคุมครองผูบริโภคดานสาธารณสุข โดยการควบคุมกํากับ กําหนดมาตรฐานและเฝาระวังความปลอดภัย ผลิตภัณฑท่ีเกี่ยวกับสุขภาพ และรณรงคเผยแพรความรูใหแกประชาชนทั้งยังสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนางานคุมครองผูบริโภคอันเกี่ยวกับอาหารและยาเครื่องสําอาง ฯลฯ

Page 159: New Researcher Manual

159

โทร. 0-2591-8441-90 URL: http://www.fda.moph.go.th

40. สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีหนาท่ีในการเปนผูนําและศูนยประสานในการบริหารและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประเทศ ท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อใหมีการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืนนอกจากนี้ใหทุนวิจัยเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมในชุมชนและมลภาวะ โทร. 0-2279-7180-9 ตอ 210 URL : http://www.onep.go.th

41. สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน มีหนาท่ีในการศึกษาและวิเคราะหนโยบายและแผนการบริหารและการพัฒนาพลังงานของประเทศติดตาม ประเมินผล และเปนศูนยประสานและสนับสนุน การปฏิบัติงานตามนโยบายปละแผนการบริหารและการพัฒนาพลังงานของประเทศ รวมท้ังใหทุนสนับสนุนการวิจัยทางดานพลังงาน โทร. 0-2612-1555 ตอ 354, 356, 376 URL : http://www.eppo.go.th

Page 160: New Researcher Manual

ภาคผนวก 7

160

ประกาศสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

เร่ือง แตงตั้งคณะทํางานจัดทาํ “คูมือนักวิจัยมือใหม”

ดวยสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) โดยคณะทํางานโครงการปรับปรุงตําราชุดฝกอบรมหลักสูตร “นักวิจัย” พิจารณาเห็นวา งานวิจัยมีความสําคัญอยางยิ่งแกการพัฒนาประเทศ ผลงานวิจัยท่ีมีคุณคาจะเปนขอมูลสําคัญที่อํานวยประโยชนแกการวางแผนพัฒนาหรือแกไขปญหาของประเทศ ทั ้งดานสังคมและเศรษฐกิจ รวมทั้งจะเปนประโยชนตอการศึกษาและพัฒนาบุคลากรในวิชาการทุกสาขา เพื่อใหเปนทรัพยากรบุคคลที่เปนพลังในการสรางสรรคและพัฒนาประเทศ แตในปจจุบันประเทศไทยยังมีนักวิจัยเปนสัดสวนตอประชากรในจํานวนต่ํามาก เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศตางๆ ท่ีเจริญกาวหนาเปนประเทศที่พัฒนาแลว ซึ่งมีนักวิจัยเปนสัดสวนตอประชากรในจํานวนสูงมาก

ดังนั้น สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) จึงเห็นสมควรดําเนินการเพื่อเพิ่มพูนนักวิจัยของไทยใหมีจํานวนมากขึ้นทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ และเพื่อใหนักวิจัยสามารถสรางสรรคผลงานวิจัย ท่ีเปนประโยชนแกการพัฒนาประเทศตอไป โดยจัดทํา “คูมือนักวิจัยมือใหม” ข้ึนเพื่อเปนแนวทางสําหรับผูสนใจ ท่ีจะเริ่มทํางานวิจัย หรือนักวิจัยมือใหมท่ีกําลังทํางานวิจัย จะไดใชเปนประโยชนในการดําเนินงานวิจัยใหมีคุณภาพถูกตองตามระเบียบวิธีวิจัย และเพื่อใหการดําเนินการดังกลาวบรรลุตาม

Page 161: New Researcher Manual

161

เปาหมาย สํานักงานฯ จึงเห็นสมควรแตงตั้งคณะทํางานจัดทํา “คูมือนักวิจัยมือใหม” ดังมีหนาท่ีและองคประกอบตอไปนี้

หนาที่ ๑. จัดทํา เรียบเรียง กําหนดรูปแบบ รูปเลม คูมือนักวิจยัมือใหม ๒. ตรวจสอบความถูกตองและความเหมาะสมทางดานวิชาการ ๓. ตรวจสอบความถูกตองและความเหมาะสมทางดานภาษา ๔. ดําเนินการอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของ

องคประกอบ ๑. ศ. ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน ประธานคณะทํางานและ

สํานักงานรับรองมาตรฐาน ผูทรงคุณวุฒิตรวจเนื้อหา และประเมินผลคุณภาพการศึกษา ทางดานวิชาการ

๒. คุณหญิงกุลทรัพย เกษแมนกิจ รองประธานคณะทํางานและ กรรมการสภาวิจัยแหงชาติ ผูทรงคุณวุฒิตรวจความถูกตอง

สาขาปรัชญา ดานภาษา ๓. ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร คณะทํางาน

คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๔. ศ. ดร.ปยะสาร ประเสริฐธรรม คณะทํางาน กรรมการสภาวิจัยแหงชาติ สาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย

๕. ศ. ดร.พันธุทิพย รามสูต คณะทํางาน สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล

๖. ดร.ธรรมชัย เชาวปรีชา คณะทํางาน กรรมการสภาวิจัยแหงชาติ

Page 162: New Researcher Manual

สาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย ๗. นางทิพาพรรณ สุวรรณโณ คณะทํางานและเลขานุการ หัวหนาสวนการฝกอบรมและพัฒนา สํานักอํานวยการกลาง สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

๘. นางสุภารัตน ทับเจริญ คณะทํางานและ ภารกิจบริหารจัดการผลงานวิจัย ผูชวยเลขานุการ

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ๙. น.ส.รัตนาภรณ เพงงาม คณะทํางานและ

สวนการฝกอบรมและพัฒนา ผูชวยเลขานุการ สํานักอํานวยการกลาง สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

๑๐นายศุภกร มณีนิล คณะทํางานและ สวนการฝกอบรมและพัฒนา ผูชวยเลขานุการ สํานักอํานวยการกลาง สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

ท้ังนี้ ใหมีผลตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๙ (ศาสตราจารยอานนท บุณยะรัตเวช) เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ 162

Page 163: New Researcher Manual

ภาคผนวก 8

ประวัติผูเขยีน ชื่อ-สกุล ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน ตําแหนงปจจุบัน ผูอํานวยการสํานักงานรับรองมาตรฐานและ

ประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) การศึกษา - Ph.D. (Educational Psychology) University of Minnesota พ.ศ. ๒๕๑๙ โดยทุนของ University of Minnesota, U.S.A. - ครุศาสตรมหาบัณฑิต (วิจัยการศึกษา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

พ.ศ.๒๕๑๔ โดยทุนของบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย - ครุศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๑๒

ความเชี่ยวชาญ - การประเมินและการประเมินคุณภาพการศึกษา - การวิจัยการศึกษา - พลเมืองศึกษาและครุศึกษา สถานที่ติดตอ สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ช้ัน ๒๔ อาคารพญาไทพลาซา เลขที่ ๑๒๘ ถนนพญาไท แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี

163

Page 164: New Researcher Manual

กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๑๖ ๓๙๕๕ โทรสาร ๐ ๒๒๑๖ ๕๐๔๓-๖

ชื่อ-สกุล คุณหญิงกุลทรัพย เกษแมนกิจ

ตําแหนงปจจุบัน

- ราชบัณฑิต สํานักศิลปากรรม ราชบัณฑิตยสถาน - กรรมการสภาวิจัยแหงชาติ สาขาปรัชญา - กรรมการเอกลักษณของชาติ

การศึกษา - อักษรศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - อนุปริญญาครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตรอบรมวิชาการผลิตหนังสือ คณะกรรมการ แหงชาติวาดวยการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรม ประเทศญี่ปุน ปริญญากิตติมศักดิ์ - ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยบูรพา

- ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (บรรณารักษศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคําแหง ความเชี่ยวชาญ การสอนวิชาภาษาไทย (arts of writing), วรรณคดี, การประพันธ-รอยแกวและรอยกรอง, บรรณารักษศาสตร สถานที่ติดตอ ที่ทํางาน หอวชิราวุธานุสรณ ในหอสมุดแหงชาติ ถนนสามเสน กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ 164

Page 165: New Researcher Manual

โทรศัพท ๐ ๒๖๒๘ ๗๒๑๗ โทรสาร ๐ ๒๖๒๘ ๗๒๑๗

ที่บาน ๒/๗ ถนนรามอินทรา ๑๔ (มัยลาภ) แยก ๘ แขวงทาแรง เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๓๐ โทรศัพท ๐ ๒๕๐๙ ๖๔๑๑ โทรสาร ๐ ๒๕๐๙ ๖๔๑๒

ชื่อ-สกุล ศาสตราจารย ดร.มงคล เดชนครินทร ตําแหนงปจจุบัน ศาสตราจารยกิตติคุณ

การศึกษา - Ph.D. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัย Stanford สหรัฐอเมริกา พ.ศ. ๒๕๑๘ - M.S. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัย Stanford สหรัฐอเมริกา พ.ศ. ๒๕๑๔ - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟา)

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๑๐

ความเชี่ยวชาญ วิศวกรรมไฟฟา

165

Page 166: New Researcher Manual

สถานที่ติดตอ ที่ทํางาน ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กท. ๑๐๓๓๐ สวนตัว ตู ปณ. ๒๐๕๕ ปณฝ. จุฬาลงกรณ กท. ๑๐๓๓๒

โทรศัพท ๐ ๒๒๑๘ ๖๕๕๔ และ ๐ ๒๒๑๘ ๖๔๙๐-๑ (ธุรการ) โทรสาร ๐ ๒๒๕๑ ๘๙๙๑ ชื่อ-สกุล ศาสตราจารย ดร.พันธุทิพย รามสูต ตําแหนงปจจุบัน ท่ีปรึกษาสถาบันพัฒนาการสาธารณสุข

อาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษา ปริญญาเอก สาขาระบาดวิทยาสังคม มหาวิทยาลัยทูเลน หลุยสเซียนา สหรัฐอเมริกา ปริญญาโท สาขาเวชศาสตรสังคม มหาวิทยาลัยฮีบรู เยรูซาเล็ม อิสราเอล ปริญญาตรี สาขาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยจอหน ฮ็อปกินส มัลติมอร แมรีแลนด สหรัฐอเมริก

166

Page 167: New Researcher Manual

ความเชี่ยวชาญ - การปฏิบัติการวิจัยอยางมีสวนรวม - ระบาดวิทยาสังคม สถานที่ติดตอ สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล ถ.พุทธมณฑลสาย ๔ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทรศัพท ๐ ๒๔๔๑ ๐๒๐๖, ๐ ๒๔๔๑ ๙๐๔๑ ตอ ๓๑ โทรสาร ๐ ๒๔๔๑ ๙๐๔๔

ชื่อ-สกุล ศาสตราจารย ดร.ปยะสาร ประเสริฐธรรม ตําแหนงปจจุบัน ศาสตราจารยระดับ ๑๑ การศึกษา ปริญญาเอก วิศวกรรมเคมี สถาบันวิทยาศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยเมอืงตูลูส ประเทศฝรั่งเศส ปริญญาโท วิศวกรรมเคมี สถาบันพอลิเทคนิคแหงนิวยอรก

ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี วิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

167

Page 168: New Researcher Manual

ความเชี่ยวชาญ - ตัวเรงปฏิกิริยา สถานที่ติดตอ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๑๘ ๖๗๖๖ โทรสาร ๐ ๒๒๑๘ ๖๘๗๗ e-mail : [email protected]

ชื่อ-สกุล ดร.ธรรมชัย เชาวปรีชา ตําแหนงปจจุบัน คณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต การศึกษา - Doctor of Organization Development and Transformation, CEBU’ s Doctor University, Philippines.

- Master of Engineering (Industrial) The Pennsylvania State University, USA (ทุนรัฐบาล)

- Master of Business Administration (MBA.เกียรตินิยมด)ี, NIDA. - วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) มหาวิทยาลัยขอนแกน

168

Page 169: New Researcher Manual

ความเชี่ยวชาญ - การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศ - การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองคกร สถานที่ติดตอ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต ๓๐๖ ซอยลาดพราว ๑๐๗ แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๔๐ โทรศัพท ๐ ๒๓๗๕ ๔๔๘๐ ตอ ๑๕๐ โทรสาร ๐ ๒๓๗๕ ๔๔๘๙

e-mail : [email protected] URL : www.ajarntham.com

169