97
Plastic Kitchenware 2502253 PLASTIC DESIGN กรประภา ไวชิตา ID 202 กุสุมา ลีลานราธิวัฒน ID 206 ปุณยวีร สุธีระเวชช ID 221

Kitchenware

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ID 202 206 221

Citation preview

Plastic Kitchenware  2502253 PLASTIC DESIGN  

กรประภา ไวชิตา ID 202 

กุสุมา ลีลานราธิวัฒน ID 206 

ปุณยวีร สุธีระเวชช ID 221 

เนื้อหาที่จะปรากฎในรายงานเลมนี ้

�  ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับพลาสติก….4 

�  พลาสติก คือ �  แหลงกำเนิดพลาสติก �  คุณสมบัติของพลาติก �  ชนิดของพลาสติกที่พบบอยในชีวิตประจำวัน 

�  กระบวนการขึ้นรูปพลาสติก �  Finishing  

 

 

 

 

 

 

�  Case study…29 

�  Chef’n 

�  Mastrad 

�  Tovolo 

 

�  ขอมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวของกับkitchenware…..64 

�  ตราตางๆที่เกี่ยวของ �  เรื่องนารูของซิลิโคน �  กระบวนการผลิตซิลิโคน �  เอกสารอางอิง 

ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับพลาสติก 

พลาสติก  

พลาสติก คือ สารสังเคราะห ( Synthetic Materials ) ที่มนุษยคิดขึ้นมา ประกอบดวยธาตุสำคัญคือ คารบอน ออกซิเจน ไฮโดเจน ไนโตรเจน และคลอรีน สมาคมวิศวกรพลาสติก ( SPE ) และสมาคมอตสาหกรรมพลาสติก ( SPI ) แหง 

 

สหรัฐอเมริกาไดใหคำจำกัดความของพลาสติก ไวดังนี้  

"พลาสติกคือวัตถุที่ประกอบดวยสารหลายอยาง มีน้ำหนักโมเลกุลสูง ลักษณะออนตัวขณะทำการผลิต ซึ่งโดยมากใชกรรมวิธีการผลิตดวยความ รอนหรือแรงอัดหรือทั้งสองอยาง"  

 

แหลงกำเนิดพลาสติก �  ผลิตผลทางการเกษตร เชน Cellulose Nitrate, Cellulose Acetate, Cellulose Acetate-

Butyrate,Shellac, Ethyl Cellulose, Casein  

�  ผลิตผลทางการเกษตรและน้ำมันมีนอย เชน Furan  

�  น้ำมันและถานหิน เปนแหลงที่ใชผลิตพลาสติกชนิดตางๆไดมากที่สุด เชน Polystyrene, Phenol-Formaldehyde, Melamine- Formaldehyde, Polyethylene, Urea-Formaldehyde, Nylon, Polyester, Acrylic, Epoxy  

�  น้ำมันและสินแร เชน Polyvinyl Butyral, Polyvinyl Carbazole, Polyvinyl Acetate, Polyvinyl Alcohol, Silicone, Polyvinyl Acetate-Chloride, Polyvinyl Chloride  

�  สินแร มีนอย เชน Calcium-Aluminium Silicate 

คุณสมบัติของพลาสติก 

พลาสติกมีคุณสมบัติทางโครงสรางพิเศษที่เรียกวา High Molecular Weight คือในหนึ่งโมเลกุลมีจำนวนอะตอมมากกวาสารชนิดอื่น จึงทำให มีคุณสมบัติดังนี้ คือ  

�  คุณสมบัติทางกายภาพ ( Mechanical ) มีความแข็งแรง เหนียว ยืดหยุน ฯลฯ  

�  คุณสมบัติทางไฟฟา ( Electrical ) เปนฉนวนไฟฟา  

�  คุณสมบัติทางเคมี ( Chemical ) ทนกรด ดาง และสารเคมีอื่นๆ 

ชนิดของพลาสติกที่พบบอยในชีวิตประจำวัน �  โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylne Terephthalate) เรียกโดยยอวา เพ็ต (PET หรือ PETE) เปนพลาสติกใส แข็ง ทนแรงกระแทกดี ไมเปราะแตกงาย และกันแกสซึมผานดี จึงนิยมใชทำขวดน้ำดื่ม ขวดน้ำอัดลม และขวดน้ำมันพืช พลาสติกชนิดนี้นำกลับมาใชใหมเปนเสนใยโพลิเอสเตอรสำหรับเสื้อกันหนาว พรม และใยสังเคราะหสำหรับยัดหมอน  

�  โพลิเอทิลีนความหนาแนนสูง (High Density Polyethylene) เรียกโดยยอวา เอชดีพีอี (HDPE) เปนพลาสติกความหนาแนนสูง คอนขางแข็งแตยืดไดมาก เหนียวไมแตกงาย ขึ้นรูปงาย มักมีสีสันสวยงาม และทนสารเคมี จึงนิยมใชทำขวดแชมพูสระผม กระปองแปงเด็ก ภาชนะบรรจุน้ำยารีดผา รวมทั้งขวดบรรจุนม ซึ่งจักชวยยืดอายุของนมใหยาวนานขึ้น เพราะปองกันความชื้นซึมผานไดเปนเลิศ พลาสติกชนิดนี้นำกลับมา ใชใหมเพื่อทำขวดใสน้ำยาซักผา แทงไมเทียมสำหรับรั้ว ศาลา หรือมานั่งในสวน  

�  โพลิไวนิลคลอไรด (Polyvinylchloride) เรียกโดยยอวา พีวีซี (PVC) มี 2 ลักษณะ หาก แข็ง จะนิยมใชทำทอ เชน ทอน้ำประปา ทำเลียนแบบไม เปนประตู หนาตาง และวงกบ แตหาก นิ่ม มักจะใชทำฉนวนหุมสายไฟฟา สายยางใส แผนฟลมสำหรับหออาหาร มานในหองอาบน้ำ แผนกระเบื้องยาง แผนพลาสติกปูโตะ และขวดใสแชมพูสระผม พลาสติกนี้นำกลับมาใชใหมเพื่อผลิตทอน้ำประปาสำหรับการเกษตร กรวยจราจร รวมทั้งมานั่งพลาสติก  

�  โพลิเอทิลีนความหนาแนนต่ำ (Low Density Polyethylene) เรียกโดยยอวา แอลดีพีอี (LDPE) เปนพลาสติกความหนาแนนต่ำ นิ่ม เหนียว ยืดตัวไดมาก ใส ทนทาน แตทนรอนไมใครไหว จึงนิยมใชทำแผนฟลม ถุงพลาสติก (เชน ถุงเย็นบรรจุอาหาร) ฟลมสำหรับหออาหาร หอของ หลอดโฟมลางหนา และหลอดครีมนวดผม พลาสติกนี้นำกลับใชใหมเพื่อผลิตเปนถุงดำใสขยะหรือถังขยะ  

�  โพลิโพรพิลีน (Polypropylene) เรียกโดยยอจะฟงคลายชื่อแหลงทองเที่ยวอันลือชื่อของบานเรา คือ พีพี (PP) เปนพลาสติกความหนาแนนคอนขางต่ำ ทนความรอนดี คงรูปดี เหนียว ทนแรงกระแทกไดดี ทนตอสารเคมีและน้ำมัน ใสพอสมควร จึงนิยมใชทำถุงรอน ขวดน้ำ ถวยบะหมี่หรือโจกกึ่งสำเร็จรูป กลองบรรจุอาหาร และกระบอกสำหรับใสน้ำแชเย็น เปนตน พลาสติกนี้นำกลับมาใชใหมไดโดยผลิตเปนกลองแบตเตอรี่รถยนต กันชนรถยนต และกรวยสำหรับเติมน้ำมัน  

�  โพลิสไตรีน (Polystyrene) เรียกโดยยอวา พีเอส (PS) มีหลายลักษณะ หากเปนพลาสติก ใส จะเปราะและแตกงาย แตราคาถูก จึงมักใชทำชอน ถวยไอติม และตลับเทป แตหากเปน โฟม มักจะเปนกลอง หรือตัวกันกระแทกปองกันสิ่งของมีคาไมใหแตกหักเสียหาย อนึ่ง ดังที่ทราบกันดีวา โฟมมีน้ำหนักเบามากนั้น ทานอธิบายวา เปนเพราะเนื้อโฟมมีพลาสติกพีเอสนี้เพียงแค 2 ถึง 5 สวนใน 100 สวนเทานั้น ที่เหลือเปนฟองอากาศ พลาสติกนี้นำกลับมาใชใหมได โดยผลิตเปนไมแขวนเสื้อ กลองวิดีโอ ไมบรรทัด  

�  SAN (styrene-acrylonitrile) เปนพลาสติกโปรงใส ใชผลิตชิ้นสวน เครื่องใชไฟฟา ชิ้นสวนยานยนต เปนตน 

�  ไนลอน (Nylon) เปนพลาสติกที่มีความเหนียวมาก คงทนตอการเพิ่มอุณหภูมิ ทำแผนแลมิเนตสำหรับทำถุงพลาสติกบรรจุอาหารแบบสุญญากาศ 

�  ABS (acrylonitrile-butadiene-styrene) สมบัติคลายพอลิสไตรีน แตทนสารเคมีดีกวา เหนียวกวา โปรงแสง ใชผลิตถวย ถาด เปนตน 

�  พอลิคารบอเนต (Polycarbonate: PC) มีลักษณะโปรงใส แข็ง ทนแรงยึดและแรงกระแทกไดดี ทนความรอนสูง ทนกรด แตไมทนดาง เปนรอยหรือคราบอาหาร จับยาก ใชทำถวย จาน ชาม ขวดนมเด็ก และขวดบรรจุอาหารเด็ก 

�  เมลามีน ฟอรมาลดีไฮด (melamine formaldehyde) มีสมบัติทางเคมีทนแรงดันได 7,000-135,000 ปอนดตอตารางนิ้ว ทนแรงอัดได 25,000-50,000 ปอนดตอตารางนิ้ว ทนแรงกระแทกได 0.25-0.35 ทนทานตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ทนความรอนไดถึง 140 องศาเซลเซียส และทนปฏิกิริยาเคมีไดดี เกิดคราบและรอยเปอนยาก เมลามีนใชทำภาชนะบรรจุอาหารหลายชนิด และนิยมใชกันมาก มีทั้งที่เปนสีเรียบและลวดลายสวยงาม ขอเสียคือ น้ำสมสายชูจะซึมเขาเนื้อพลาสติกไดงาย ทำใหเกิดรอยดาง แตไมมีพิษภัยเพราะไมมีปฏิกิริยากับพลาสติก 

�  อีพ็อกซี (epoxy) ใชเคลือบผิวของอุปกรณภายในบานเรือน และทอเก็บกาซ ใชในการเชื่อมสวนประกอบโลหะ แกว และเซรามิก ใชในการหลออุปกรณที่ทำจากโลหะและเคลือบผิวอุปกรณ ใชใสในสวนประกอบของอุปกรณไฟฟา เสนใยของทอ และทอความดัน ใชเคลือบผิวของพื้นและผนัง ใชเปนวัสดุของแผนกำบังนิวตรอน ซีเมนต และปูนขาว ใชเคลือบผิวถนน เพื่อกันลื่น ใชทำโฟมแข็ง ใชเปนสารในการทำสีของแกว 

กระบวนการขึ้นรูปพลาสติก �  Blow molding 

คือ เปนการเปาขึ้นรูปขวดพลาสติกโดยเริ่มจากวัตถุดิบคือ เม็ดพลาสติกชนิด HDPE (สวนใหญ) PP, PE

เปนตน นำเม็ดพลาสติกมาหลอมใน Extruder โดยใชความรอนจาก Heater ไฟฟา จากนั้นสกรูจะอัด

พลาสติกเหลว โดยใชหลักการขับเคลื่อนสกรูและการปด-เปด Mold ดวยระบบ Hydraulics สงผาน หัว Die Head ออกมาเปนลักษณะทรงกระบอก (Parison) จาก

นั้น Mold จะเคลื่อนตัวมาประกบแลวเปาลม โดยใชอากาศอัด เพื่อใหเนื้อพลาสติกขยายเต็มตาม Mold เมื่อเต็ม Mold แลวจะมีน้ำเย็นจากเครื่อง Chiller ไหลมา

หลอเย็นเพื่อใหชิ้นงานแข็งตัวคงรูปตามแมพิมพที่ตองการ  

�  Stretch Blow Molding เปนกระบวนการผลิตขวดบรรจุภัณฑเหมือนกัน ซึ่งการขึ้นรูปแบบนี้จะเปนการเพิ่มความแข็งแรงใหแกภาชนะพลาสติก เพราะมีความหนาเฉลี่ยที่แนนอน, ลดคาใชจายในการผลิต เพราะ เกิดของเสียนอย และยังไดภาชนะที่ไมมีตะเข็บรอยตอตรงคอและกนของภาชนะ จึงทำใหมีคุณภาพสูงกวา การขึ้นรูปแบบBlow Molding ซึ่งการขึ้นรูปแบบ Stretch Blow Molding จะแบงขั้นตอนการผลิตออกเปน 2 สวน คือ การฉีดเพื่อใหเปน Pre-form แลวจึงนำ Pre-form ที่ไดไปเขาสูขั้นตอนการ Stretch Blow เพื่อขึ้นรูปตามแมพิมพตอไป   

�  การ Stretch Blow คือ เปนการเปาขึ้นรูปขวดโดยใชวัตถุดิบคือ Pre-form จากการฉีด นำมาอุนใหPre-form ออนตัวจากนั้น Mold จะมาประกบ แลวจะมีแทงเหล็กกดกนตัว Pre-form ใหยืดลงในแนวดิ่ง แลวทำการเปาใหขยายเต็มแมพิมพ จากนั้นจะมีน้ำเยนไหลผาน Mold เพื่อใหขวดแข็งตัวคงรูป แลวเปด Mold ปลอยขวดออกมาเปนอันเสร็จสิ้น 

 

 

Injection Molding  

การขึ้นรูปแบบฉีด จะเริ่มจากวัตถุดิบเปนเม็ดพลาสติกหรือเปนผงก็ไดลงในกรวยเติม จะถูกเกลียว

หนอนหมุนสงไปยังดานหนาของกระบอกสูบ ซึ่งมีแผนความรอนไฟฟา (Electrical Heater) ทำใหพลาสติกหลอมเหลว หลังจากนั้นจะเคลื่อนเกลียวหนอนใหดันพลาสติกผานหัวฉีดไปเขาแมพิมพ

(Mold) ซึ่งปดอยู แมพิมพซึ่งจะมีการหลอเย็นดวยน้ำเย็นที่ผลิตจากเครื่องทำน้ำเย็น (Chiller) เพื่อทำใหชิ้นงานเย็นและแข็งตัว สามารถถอดออกจากแบบไดในระยะเวลาสั้น จากนั้นจะสงไปตกแตงชิ้นงานตอไป  

Compressed Molding  

 

เปนการขึ้นรูปโดยการนำผงพลาสติกที่แข็งตัวมาอัดในแมพิมพภายใตความดันและอุณหภูมิที่เหมาะสม ซึ่งวัตถุดิบสวนใหญที่ใชกระบวนการนี้ คือ ผง Melamine ขั้นตอนการผลิตทำโดย เริ่มจากนำผงพลาสติกมาชั่งใหไดน้ำหนักตามที่ตองการ จากนั้นนำไปอบไลความชื้นและเปนการอุนวัตถุดิบกอนเขาแมพิมพ จากนั้นนำไปใสแมพิมพ พอเริ่มปดแมพิมพอัดใหพลาสติกแพรตัวไปตามชองวางของแมพิมพจะเริ่มชลอชาลง เพื่อใหพลาสติกไดรับความรอนจากแมพิมพไดทั่วถึงยิ่งขึ้น เมื่อถึงตำแหนงสุด จะถึงชวงเวลาแข็งตัวของพลาสติกเองโดยไมตองใชน้ำเย็น จากนั้นก็เปดแมพิมพนำชิ้นงานออกได 

 

การอัดรีดขึ้นรูป (Extrusion) 

1.1 Blown Film Extrusion ประเภทผลิตภัณฑ ถุงพลาสติก  

1.2 Film Extrusion ประเภทผลิตภัณฑ แผนฟลมบาง  

1.3 Sheet Extrusion ประเภทผลิตภัณฑ เสื่อน้ำมัน, หนังเทียม  

1.4 Pipe/tube Extrusion ประเภทผลิตภัณฑ ทอ PVC, ทอน้ำ 

1.5 Profile Extrusion ประเภทผลิตภัณฑ รางสายไฟ, ขอบหนาตาง  

1.6 Tape Yarn /Filament Extrusion ประเภทผลิตภัณฑ กระสอบพลาสติก 

 

การ Thermoforming และการ Laminating  

การ Thermoforming และ การ Laminating เปนกระบวนการที่ตอจาก Sheet/Film Extrusion ซึ่งก็คือ วัตถุดิบที่ใชจะเปนผลิตภัณฑจากกระบวนการ heet/Film Extrusion เปนลักษณะ Secondary Process  

การ Thermoforming เปนการขึ้นรูปโดยการใหความรอนกับแผนฟลม หรือ แผนพลาสติกจนถึงอุณหภูมิออนตัว แลวใชแรงบังคับใหแนบกับแมพิมพ สวนใหญที่พบจะเปนการใชแรงดูดของสูญญากาศ (Vacuum Forming) หรือใชลมอัด (Blow Forming) หลังจากนั้นตองทำใหเย็น เพื่อชิ้นงานคงรูปไวตามแบบของแมพิมพ 

การ Laminating เปนการเคลือบหรืออัดชั้น นั้นมีหลายวิธี การเคลือบแบบผง, แบบใชไฟฟาสถิต, แบบใชความรอน เปนตน หลักการคือการใชพลาสติกเหลวเคลือบไปบนวัสดุ แลวแตความหนาที่ตองการ อาจจะเปนการเคลือบไปบนกระดาษ, พลาสติกดวยกัน หรือ ผา ก็ได ดงรูปที่ 2.20 ประโยชนที่นำไปใชเพื่อใหวัสดุมีความแข็งแรงมากขึ้น, กันน้ำหรือความชื้นได, ปองกันรอยขีดขวน 

แบบลูกกลิ้ง ( Calendering ) 

กรรมวิธีการผลิต กรรมวิธีการผลิตแบบนี้ไดดัดแปลงมาจากกรรมวิธีการผลิตในอุตสาหกรรมผลิตแผนยางธรรมชาติ อุตสาหกรรมอื่นๆที่ดัดแปลงไปใชก็มี เชนอุตสาหกรรมกระดาษ เสื่อน้ำมัน และโลหะแผน  

ขั้นการผลิต มีดังนี้  

1. ใชเทอรโมพลาสติกชนิดเหลว ( Resin ) ผสมกับวัสดุชนิดอื่น เชน วัสดุทำใหแข็งแรง ( Stabilizer ) วัสดุชวยใหลื่นตัว ( Lubricant ) วัสดุชวยใหออนตัว ( Plasticcizer ) เพื่อตองการใหออนนุม ฯลฯ แลวนำเขาเครื่องผสมและบดผานไปยังสวนใหความรอน ทำใหสวนผสมหลอมละลาย  

2. สวนผสมหลอมละลายผานลูกกลิ้งทรงกระบอกรีดออกเปนแผน บางชนิดมีลูกกลิ้งคู ตอไปรีดแผนที่ ออกมาใหมีลวดลายตางๆ ประกอบเขาไปดวย  

3. แผนชิ้นงานที่ไดจะเคลื่อนผานลูกกลิ้งเย็น ชวยใหแข็งตัวคงรูป แลวเขามวนเก็บตอไป  

หลอพลาสติกเหลว ( Casting )  

แบบหลอเย็น ( Simple Casting ) 

กรรมวิธีการผลิต เปนกรรมวิธีการผลิตที่งาย ไมตองใชแรงอัดและความรอน สามารถทดลองทำเองไดการลงทุนต่ำ โดยปกติกรรมวิธีแบบนี้ใชพลาสติกเหลวหลอลงใน แมแบบ สำหรับพลาสติกเม็ดก็สามารถนำมาหลอได แตตองทำใหหลอมละลายเสียกอน แลวเติมวัสดุตกผลึก ( Catalyst ) เพื่อชวยใหพลาสติกเหลวแข็ง ตัวเร็วขึ้น ขั้นการผลิต มีดังนี้  

1. เทพลาสติกเหลวที่ผสมตัวทำใหแข็งแลวลงในแมแบบซึ่งสวนมากใชแมแบบยางซิลิโคนแลวปลอยทิ้งไวใหแข็งตัว บางชนิดตองนำไปอบความรอน เสียกอนเชนการหลอแผนอะคริลิค  

2. นำพลาสติกที่แข็งตัวออกจากแมแบบแลวนำไปใชไดเลย  

แบบหลอรอน ( Plastisol casting ) 

กรรมวิธีการผลิต เปนกรรมวิธีการผลิตที่ใชกับผลิตภัณฑหรือชิ้นงานที่มีลักษณะภายในกลวง เชน ลูกฟุตบอลยาง และถุงมือพลาสติก หลักการของกรรมวิธีแบบนี้ คือ เทพลาสติกเหลว ( Plastisol ) ลงในแมแบบที่รอน หรือจุมแมแบบที่รอนลงในพลาสติกเหลว พลาสติกเหลวจะเกาะผิวของแมแบบ ยิ่งปลอยทิ้งไวนาน พลาสติกจะเกาะหนาขึ้น แลวนำแบบที่มีพลาสติกเกาะอยูไปเขาเตาอบที่มีอุณหภูมิ 350--400 F. 

 

 

แบบอัดสง ( Transfer Molding ) 

กรรมวิธีการผลิต  

เปนกรรมวิธีการผลิตที่ดัดแปลงมาจากแบบอัดแตยุงยากกวา

ใชหลอชิ้นงานที่มีสวนโลหะแทรกอยู เชน หัวครอบจานจายในรถยนตหากใช วิธีแบบอัด ชิ้นโลหะที่สอดแทรกอยูกับแมแบบจะถูกอัดโดยตรงจากผงพลาสติกที่กำลังจะหลอมละลาย อาจ

ทำใหชิ้นโลหะบิดงอได แตกรรมวิธีแบบอัด สงนี้ผงพลาสติกจะถูกหลอมละลายในหองหลอมละลาย ( Transfer Chamber ) กอนแลวจึงถูกอัดผานรู ( Sprue ) เขาไปในแม

แบบตอนลาง ชิ้นสวน โลหะที่สอดแทรกอยูไมถูกรบกวนจากพลาสติกแหลวมากนัก พลาสติกที่ใชเปนพวกเทอรโมเซตติ้ง

ชนิดผง 

 

Rotational Moulding หรือ Rotomoulding   เปนกรรมวิธีการผลิตที่ใชผลิตชิ้นงาน ที่มีลักษณะกลวงขนาดใหญ ซึ่งเปนชิ้นงานที่มีความแข็งแรง และมีความหนาของผนังเรียบเสมอกัน  ผงพลาสติก มีบทบาทสำคัญตอกระบวนการผลิต และชวยใหผลผลิตเพิ่มมากขึ้น และ เครื่อง Rotational Moulding  นี้ ไดชวยเพิ่มความประหยัดตอชิ้นงาน ชิ้นงานที่ไดมีความแข็งแรง ไมมีความเคนกับชิ้นงาน ซึ่งนับไดวา เครื่อง Rotational Moulding  จึงเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่จะมาแทน เครื่อง Blow Moulding และ Injection Moulding ไดเปนอยางดี    

Rotational Moulding หรือ Rotomoulding  

 

จุดเดนของเครื่องขึ้นรูปชนิดแมพิมพหมุนที่ไดรับการพัฒนาขึ้นมา คือ สามารถใชผลิตไซโลพลาสติกแบบชิ้นเดียวไรตะเข็บรอยตอขนาด 20 ลบ.ม. นอกจากนี้ แนวคิดและการออกแบบทางวิศวกรรมของเครื่องขึ้นรูปดังกลาว สามารถนำมาพัฒนาและขยายขอบเขตการทำงานไดทันทีเพื่อสนองตอบตอความตองการ ของตลาดที่มีตอผลิตผลิตภัณฑหลากหลายรูปแบบ เชน ถังบรรจุน้ำมันพลาสติกที่ติดตั้งใตดินในสถานีบริการน้ำมัน แทงคน้ำพลาสติกขนาดใหญสำหรับระบบผลิตประปาหมูบานเปนตน แตอยางไรก็ตาม เทคนิคการใหความรอนแกชุดแมพิมพ กลไกการสงกำลังขับเคลื่อนแมพิมพ และการควบคุมการทำงานแบบอัตโนมัติ กำลังไดรับการปรับปรุงและพัฒนา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดตนทุนการผลิตเมื่อนำไปใชงานผลิตในเชิงพาณิชย 

Reaction Injection Molding (RIM) 

คือการขึ้นรูปพลาสติกขนาดใหญ โดยใชของเหลวที่มีความหนืดต่ำไหลผานเขาไปในแมพิมพ จากนั้นสวนผสมจะถูกกระตุนดวยความรอนจนเกิดปฏิกิริยาทางเคมีทำใหแข็งตัว เทคโนโลยีนี้ชวยใหการขึ้นรูปชิ้นงานพลาสติกขนาดใหญ (เชน ตัวครอบเครื่องยนตของรถแทรกเตอร) มีความสะดวกขึ้นมาก 

จากการศึกษากระบวนการข้ึนรูปผลิตภัณฑพลาสติก ในอุตสาหกรรมพลาสติก ไดทำการจัดกลุมการขึ้นรูปอุตสาหกรรมพลาสติก โดยทำการพิจารณาจากกระบวนการผลิตและประเภทของผลิตภัณฑพลาสติก ดังนั้นสามารถแบงออก 13 กลุม ดังนี้ (โดยได ขีดเนนถึงวิธีการที่มีความเกี่ยวของกับเครื่องครัว) 

Finishing

Case study 

�  ในที่นี้ผูจัดทำไดเลือกแบรนดที่ทำผลิตภัณฑประเภทเครื่องครัวที่นาสนใจ มาศึกษาทั้งหมด 3 แบรนด คือ 

� Chef’n  

� Mastrad 

� Tovolo 

 

เนื้อหาเปนการวิเคราะหผลิตภัณฑวาทำจากวัสดุอะไร จุดเดนของ 

ผลิตภัณฑคืออะไร  

LET’S HAVE FUN OF COOKING !

แนวคิดสุดรีคเอทกับ Chef’n  

ผลิตภัณฑ Chef’n ดังกลาวไดรับแรงบันดาลใจที่จะสรางสรรคผลิตภัณฑสิ่งหนึ่งขึ้นมาที่สามารถทำใหการทำอาหารเปนเรื่องที่สนุกได และสามารถทำกันไดหลายคนจนกอใหเกิดเปนกิจกรรมยอมๆภายในครอบครัว และยังสามารถชวยในเรื่องของการผอนแรงในการทำอาหารไดอีกดวยและดวยเหตุผลทั้งหมดนี้จึงกอใหเกิดผลิตภัณฑสรางสรรคอยาง Chef’n ขึ้นมาในที่สุด ซึ่งมาจากผูกอตั้งหัวกะทิอยาง Mr.David Holcomb ผูกอตั้งบริษัทและซีอีโอของ Chef’n ในปจจุบัน    Chef’n นั้น ไดรับความไววางใจจากแมบานทั่วโลกมากมาย เพราะดวยการผลิตจากวัสดุคุณภาพสูง ผานการคัดสรรและตรวจสอบตามมาตรฐานโรงงานการผลิตสากล ทำใหมาตรฐานการผลิตที่สูงกวาผลิตภัณฑตามทองตลาดทั่วไป 

แปรงทาของเหลวสำหรับอาหาร วัสดุ : ไนลอน , ซิลิโคน(ขนแปรง) รายละเอียด : ตัวดามจับทำมาจากไนลอนที่มีการออกแบบที่จับถนัดมือ  สะดวกในการใชงานขนแปรงทำมาจากซิลิโคนจึงมีความยืดหยุนและออนตัวในการใชงานตามทิศทางที่ตองการและสามารถใชงานกับของเหลวที่มีอุณหภูมิสูงได สามารถทำความสะอาดไดงายไมเปนที่สะสมของสิงสกปรกเหมือนขนแปรงทั่วไป 

ที่ตักพาสตา/ของทอด วัสดุ : ซิลิโคน(ตะแกรงดานใน)  ไนลอน (รูปทรงขอบนอกและดามจับ) รายละเอียด : ปลอดภัยในการใชงานกับของรอนเพราะสวนที่ทำจากไนลอนสามารถทนความรอนไดถึง 400◦F/204◦C และ   ตัวตะแกรงซิลิโคนสามารถทนความความรอนไดสูงถึง650◦F/ 340◦C เชนกัน จึงสามารถใชเครื่องมือนี้ในการซับน้ำมันจากของทอดตางๆได  

ไมพายอเนกประสงค วัสด:ุ ซิลิโคน รายละเอียด: เนื่องจากทำมาจากซิลิโคนจึงสามารถทนความรอนไดถึงสูงถึง 650◦F/ 340◦C และมีคุณสมบัติพิเศษคือมีความยืดหยุนที่ดีในการใชงาน มีความออนตัวไปตามแรงกดของน้ำหนักมือ วิธีขึ้นรูป : Injection Molding 

เครื่องทำผักสลัด 

วัสด:ุ พลาสติก และอะครลีิค(ชาม) รายละเอียด : เพราะผลิตภัณฑผลิตจากวัสดุคุณภาพเยี่ยม ทำให ผลิตภัณฑเครื่องครัวชุดนี้มีความแข็งแรงทนทานเปนพิเศษ เพราะทำมา จากอะครีลิคเนื้อดี อีกทั้งใบภาชนะดานในยังมีความยืดหยุนสูง และยังสามารถใชลางผักไดอีกดวย ลางทำความสะอาดงายดวยวัสดุคุณภาพดี ทำใหการทำความสะอาดผลิตภัณฑเปนเรื่องงายขึ้นมาไดเชนกัน โดยเมื่อใชเสร็จ สามารถลางทำความสะอาดไดงายเพียงแคใชน้ำเปลา หรือน้ำยาผสมเขาไป แลวเช็ดใหแหงดวยผาสะอาดเทานั้น 

ผลิตภัณฑนึ่งอาหารและผัก วัสด ุ: ซิลิโคน รายละเอียด :  สามารถทนความรอนไดมากถึง 340 องศา และหูจับก็ไมนำความรอนอีกดวยคุณจึงสามารถนำอาหารออกมาไดอยางปลอดภัย ไมเกิดอันตรายจากการจับผลิตภัณฑ ปลอดภัยสำหรับการนำเขาไมโครเวฟ วิธีขึ้นรูป : Injection Molding  

ถวยตวงบิกเกอรสำหรับในครัว วัสด ุ : ซิลิโคน , ไนลอน รายละเอียด : ถวยตวงนี้มีการสกรีนมาตราวัดไวดานขาง ของผลิตภัณฑโดยประกอบไปดวยสวนที่ทำจากซิลิโคน ที่สามารถทนความรอนสูงไดและสวนที่ทำจากไนลอนที่มี ความแข็งกวาซิลิโคนประกบดานขางเพื่อเอื้อตอการจับขณะเทหรือรินสวนประกอบตางๆเนื่องจากสามารถทนความรอนไดสูงจึงมีความปลอดภัยในการนำเขาไมโครเวฟ หนึ่งชุดประกอบไปดวย3ขนาดที่แตกตางกัน วิธีขึ้นรูป : Injection molding และ 

ถวยตวง วัสดุ : ซิลิโคน รายละเอียด :  ซิลิโคนคุณภาพดีที่มีความยืดหยุนสูง สามารถทนความรอนไดมากถึง 340 องศา ทำใหมีความยืดหยุนสูงในการตวงสวนประกอบไดหลายชนิด สามารถใชงานไดทนทานเปนเวลานานและทำความสะอาดไดงายอีกดวย สามารถวางซอนกันประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บ วิธีขึ้นรูป : injection 

 ไนลอน (Nylon) ไนลอนเปนเสนใยสังเคราะหชนิดแรกที่ถูกคิดคนขึ้นโดย ดร. วัลเลซ แคโรเธอร (Wallace Carothers) และ

ทีมวิจัยของบริษัท ดปูองท ประเทศสหรัฐอเมริกา เสนใยสังเคราะหนี้ถูกผลิตออกมาจำหนายในเชิงพาณิชยครั้งแรกในป ค.ศ. 1939 ไนลอนมีดวยกันหลายชนิด เชน ไนลอน 6 ไนลอน 6,6 ไนลอน 11 ไนลอน 12

ไนลอน 6,10 และอื่น ๆ แตที่นิยมผลิตออกมามากที่สุดมี 2 ชนิดคือ ไนลอน 6,6 และไนลอน 6 โดยไนลอน 6,6 เปนโพลิเมอรที่นิยมผลิตและใชในประเทศสหรัฐอเมริกามากที่สุด ขณะที่ประเทศตาง ๆ ในแถบยุโรปและแถบอื่นจะนิยมผลิตและใชไนลอน 6 มากกวา ไนลอนเปนหนึ่งในพลาติกพื้นฐาน   ไนลอนมีอยู 2 เกรด

ที่เปนพื้นฐานคือ ไนลอน 6 และไนลอน 6/6 คุณสมบัติของไนลอน ตานทานความรอนไดด ีตานทานตอสารเคม ีตานทานตอการขัดส ีทนทานตอการสึกหรอ มีความยืดหยุน 

อายุการใชงานยาวนาน ไมขึ้นเปนเชื้อรา มีความเสียดทานต่ำ การประยุกตใชงานไนลอน 

ไนลอนถูกนำมาใชงานอยางกวางขวาง เชน สกรแูละนอต ชุดเกียร ผลิตภัณฑดูแล อุปกรณไฟฟา ผา  พรม  ชุดกีฬา อุปกรณกีฬา แปรงขนแข็ง อางน้ำมัน ถังแกส แบริ่ง หัวไมตีกลอง เปนตน  

 

ผลิตภัณฑ chef’n ทำมาจากซิลิโคนและไนลอนเปนสวนมากเนื่องจากวัสดุทั้งสองชนิดมีความปลอดภัย ในการสัมผัสกับอาหารและการทนความรอนในระดับที่สูงรวมทั้งคุณสมบัติพิเศษตางๆดังที่จะนำเสนอถัดไป  

แบรนด mastrad เปนแบรนดของประเทศฝรั่งเศส กอตั้งเมื่อป ค.ศ. 1994 

ผลิตเครื่องใชในหองครัว มีชื่อเสียงดานการใชวัสดุซิลิโคน งานออกแบบเปนลักษณะการการแกปญหาที่ใชในหองครัวใหสะดวกสบายขึ้น โดยคำนึงถึงทั้งความสวยงามของสี และรูปทรงเพื่อสงเสริมใหการทอาหารดูเปนงานที่นาสนุก และสีสงเสริมใหอาหารนา 

รับประทานขึ้น รวมถึงยังคิดเรื่อง ergonomic มีการออกแบบใหดามจับ สวนที่สำผัสใชงานไดถูกหลักและเกิดความสบายในการใชงานอีกดวย 

ถุงมือออกา ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับการใชงานทั้งสองมือ ผลิตขึ้นจาก ซิลิโคน จึงสามารถ รองรับอุณหภูมิไดชวงกวาง รวมถึงมีพื้นผิวกันลื่นตรงบริเวณที่จับ ขางในทำจากผาจึงสามารถถอดออกมาลางได นอกจากนี้ ซิลิโคนเปนวัสดุที่ยืดหยุนเวลาจับก็จะเขากับ รูปทรงของสิ่งนั้น และเมื่อเทียบกับถุงมือผาธรรมดายังสกปรกไดยากกวามากอีกดวย 

ที่หนีบเอากางปลาออก นี้ผลิตจากพลาสติกโพลีคารบอเนตซึ่งมีลักษณะโปรงใส แข็ง ทนแรงยึดและแรงกระแทกไดดี ทนความรอนสูง ทนกรด สวนตัวที่สัมผัสกับนิ้วมือทำจากซิลิโคนจึงทำใหสามารถจับ ไดมั่นคงไมลื่น สวนปลายก็มีการพื้นผิวเพื่อใหหยิบกางปลาออกไดงาย ของชิ้นนี้เปนการออกแบบ 

ที่ชวยในเตรียมวัตถุดิบเนื้อปลากอนทำ และหลังทำเสร็จใหงายขึ้น 

ถาดน้ำแข็ง ในปจจุบันมักทำมาจากพลาสติกโพลิโพรพิลีน ซึ่งมีความเหนียว ทนแรงกระแทก และทนอุณหภูมิไดทั้งรอนและเย็นแตไมเทากับซิลิโคน และถาดน้ำแข็งอันนี้ก็เชนกันที่ผลิตจากพลาสติก PP 

แตที่ทำใหพิเศษไปกวาอันอื่นคือ มีการใชยาง TPR เขาไปดวยตรงชวงกดน้ำแข็งออกจากถาดทำให 

งายตอการกดน้ำแข็งออกมาก รวมถึงไมตองบิดถาดน้ำแข็งซึ่งทำใหถาดน้ำแข็ง PP ไมเกิดการราวสึกหรอเวลาใชไปนานๆ และนอกจากนี้ยังมีฝาปดเพื่อนกันสิ่งสกปรกและสามารถเปนที่พักน้ำแข็ง 

กอนลงไปสูแกวไดอีกดวย 

มีด เปนอุปกรณที่สัมผัสกับวัตถุดิบอาหารมากมาย จึงเปนธรรมดาที่จะเกิดรอยขีดขวนขึ้น และมีดยังเปนอุปกรณที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุในหองครัวอันดับตนๆ ดังนั้นผลิตภัณฑนี้ 

ถูกออกแบบมาเพื่อแกปญหาตางๆ คือ ดามจับที่ทำจากซิลิโคนเพื่อกันลื่น ไมใหหลุดมือตอนหั่น นอกจากนี้ยังออกแบบมาใหพอดีกับทาทางการใชของมือและดามซิลิโคนนั้นยังเปนที่พับเก็บของใบมัดเมื่อเลิกใช นอกจาก ปองกันสิ่งสกปรกและอุบัติเหตุ สวนใบมีดนั้นทำมาจากเซรามิกทำใหไมเปนรอยขีดขวน 

ฝาปดขวดไวน มีจุดเดนตรงที่เมื่อเปดขวดไวนแลวสามารถนำมาใสเพื่อ ชวยเทใหไมหก และยังสามารถปดผนึกเพื่อปองกันการเสียรสชาติของไวนดวยการทำปฎิกิริยากับอากาศ ปองกันสิ่งสกปรกเมื่อตองการเทสามารถเปดดวยการพับตัวล็อกไปอีกดาน  

วัสดุที่ใชผลิตคือ ตัวที่เททำจากโพลิคารบอเนต และตัวปดผนึกขางในรวมถึงขอบที่สัมผัสปากขวดทำจากซิลิโคนจึงสามารถล็อกกับขวดไดอยางพอดี  

ที่คั่นน้ำสม สวนใหญเปนแบบบิดเพื่อคั้น แตที่คั้นน้ำสมนี้ถูกออกแบบมาใหคั้นแบบกดซึ่งคนเราสามารถออกแรงกดไดมากกวาแรงบิด  

ภาชนะบรรจุผลิตจาก SAN ซึ่งมีลักษณะโปรงใส และสวนที่คั้นทำมาจากยาง TPR และฝากดทำมาจากโพลิพรอพิลีน เมื่อใสผลไมและออกแรงกด น้ำจะไหลผานยาง TPR ซึ่งมีรูเล็กๆกั้นเมล็ดตกไปดวย ลงมาสูถวยบรรจุ 

 

ถวยลางผักสลัด อันนี้ ถวยบรรจุทำมาจากพลาสติก SAN 

ฝาปดทำมาจากโพลิพรอพิลีน สวนขางในที่เจาะเปนรองน้ำออก ทำมาจากยาง TPR เมื่อใสผักสลัดและน้ำเขาไปเพื่อทำการลาง สามารถใชที่จับดานบนหมุนใหน้ำไปลางผักไดเลย และเมื่อสะอาดก็เปดรูเทน้ำออกดานบน 

Spatulart •  สวนที่เปนซิลิโคนมีทั้งดานตรงที่เปนโคงและตรงเพื่อใหเหมาะกับกะทะ

และจานชามทุกแบบ •  ขอบของทั้งสองดาน มีการออกแบบใหมีมุมTaper เพื่อใหขอบมีความเฉียบคม สามารถขูดอาหารออกจากภาชนะไดอยางหมดจด 

•  ผิวของซิลิโคนมีความเรียบมากจึงสามารถใชปาดเวลาทาสิ่งตางๆบนอาหารใหเรียบ  

•  การนำพลาสติกมาใชในสวนปลายเหมาะสมในเรื่องการใชงานและการ

ทำความสะอาด สวนที่จับก็นำไมมาผสมเพื่อใหจับไดสบายมือมากขึ้น  

 

•  สามารถทนความรอนไดถึง 315 องศาเซลเซียส 

•  วิธีการทำลวดลายบนซิลิโคน Screen Printing สามารถเลือกสีไดมาก 

สีติดนาน ไมซีดเร็ว   

Microwave Collapsible Food Cover •  ขนาดกวาง Diameter 10 ½ “  •  ทำจากซิลิโคน มีความยืดหยุนสูง •  สามารถเก็บใหมีขนาดเล็กลงไดจากสูง 4 นิ้วเหลือ 1 นิ้ว เปนการประหยัดพื้นที่ใน

ครัว  •  ซิลิโคนทนความรอนได  •  มี finger grip สำหรับใหดึงขึ้นเพื่อใชงาน

ไดงาย  •  มีรูขนาดเล็กสำหรับใหไอน้ำระเหยออกได  

 

Pie Pops Cut & Press Tools  •  ออกแบบใหมีเอกลักษณในการทำพายชิ้นเล็กมากทั่วไป ขนาดและรูปรางคลายอมยิ้ม เหมาะสำหรับงานเลี้ยงปารตี้ทุก

โอกาส  •  มีรูสำหรับไมเสียบที่ refill ได  

 

•  ตัวแมพิมพมีหนาที่อยางอื่นดวยคือ การตัด การทำใหเกิดลวดลาย การใสไส  

•  ผลิตขายพรอมกลองดวยซึ่งทำหนาที่เปนถาดวางขณะทำพายและสามารถใชเสิรฟพายโดยมีชองวางไวใสดิฟ และขนมชนิด

ตางๆดวย 

Ice cream Sandwich Molds •  ผลิตจาก Polypropylene ทำใหตัว mold มีความแข็งแรง

คงรูปราง •  รายละเอียดบนตัวกดสามารถทำใหคุกกี้ที่ยังไมแข็งตัวเกิดลวดลายได  

•  ขอบของตัวกดมีความบางเพื่อทำใหสามารถตัดแผนคุกกี้ได  

•  ออกแบบใหมีลักษณะเหมมือนปุมกดขนาดใหญเพื่อใหกดไอศ

ครีมลงไปใหเต็มเปน form ที่สวยงาม 

•  การทำใหมีรูปรางหลากหลายชวยทำใหมีมูลคาเพิ่ม  

Slide and Store Drying Mat •  ออกแบบสำหรับวางวาดที่ขอบอางลางจานมีรองใหน้ำไหลลงที่อางลางจานเพื่อไมใหพื้นที่

อื่นเปยก  •  สามารถขยายเพื่อใชไดกวางขึ้น กรณีที่จานชามมากขึ้น มีชองเล็กๆดานขางสำหรับใสของเล็ก  

•  ใช Rippled Surface หรือ พื้นผิวแบบระลอกคลื่น เพื่อเพิ่มชองที่อากาศเขาถึงไดทำใหแหง

เร็วมากขึ้น  

Collapsible Stopper & Strainer •  ใชซิลิโคนเนื่องจากตองมีความยืดหยุนและใหงายตอการดึงขึ้นกดลง และ

สามารถทนตอความรอนในกรณีเทของรอนลงอางลาง 

•  ตองหมุนที่แกนตรงกลางตามลูกศรเพื่อใหใชได ทำใหไมเกิดปลอยหรือหยุดน้ำโดยบังเอิญ  

•  มีรูเพื่อกรองเศษอาหารแตปลอยใหน้ำผานไปได 

•  ซิลิโคนงายตอการทำความสะอาดและไมเปนรอยงาย  

Suction Trivet  •  ผลิตจากซิลิโคนสามารถทนความรอนไดถึง 315 องศาเซลเซียส สามารถใชมือจับไดขณะที่ยก  •  มี Suction cups ใชยึดเกาะพื้นผิวของภาชนะไดดี ทำใหปลอดภัย  

•  มีสวนของรูสำหรับหอยยื่นออกมา งายตอการหยิบ และใชแขวนสำหรับเก็บ  

ขอดีและเอกลักษณของ Tovolo  

1. การออกแบบ มีความเหมาะสมกับการใชงานโดยเขาใจชีวิตการทำ

อาหารในครัวของคนที่ทำอาหารและคำนึงถึงหนาที่และประโยชนใชสอย

ที่จะใหผูใชมีประสบการณในการทำอาหารที่สนุก  

2. การเลือกใชวัสดุ มีเหมาะสมกับหนาที่ของผลิตภัณฑและคำนึงถึงอายุ

การใชงานใหยาวนานที่สุด  

3. มีการตกแตงในการใชสีและลวดลายตางๆ เพื่อสรางความนาสนใจให

ผลิตภัณฑ แมจะเปนรูปทรงงายๆ  

4. คำนึงถึงความคุมคา เชน ชิ้นสวนทุกชิ้นสวนที่ออกแบบใหกับ

ผลิตภัณฑจะมีหนาตางกัน แตนำมาประกอบกันไดอยางลงตัว ไมมีช้ิน

สวนไหนมาประกอบโดยไมมีประโยชน 

5. ผลิตภัณฑไมซับซอนมาก บางชิ้นทำใหผูใชนำไปประยุกตกับการทำ

อาหารรูปแบบของตัวเองได  

ขอมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวของกับ Kitchenware 

Food Contact Materials �  Food contact materials are materials that are intended to be in contact

with food. These can be things that are quite obvious like a glass, a can for soft drinks, but also machinery in a food factory or a coffee machine. 

�  Food contact materials can be constructed from a variety of materials like plastics, rubber, paper, coatings, metal etc. In many cases a combination is used; for example a carton box for juices can include (from the inside to the outside): plastic layer, aluminium, paper, printing and top coating. 

�  During the contact of the food contact materials with the food, molecules can migrate from the food contact material to the food. Because of this, in many countries regulations are made to ensure food safety. 

Legislation 

�  European Union 

Symbol used for marking food contact materials in the EU 

EU  �  The framework Regulation (EC) No. 1935/2004 applies to all food contact materials.  

�  Article 3 contains general safety requirements such as not endanger human health, no unacceptable change in the composition and no deterioration of the organoleptic characteristics.  

�  Article 4 set out special requirements for active and intelligent materials.  

�  Article 5 specifies measures for groups of materials that may be detailed in separate regulations of directives. Member States may maintain or adopt national provisions (Article 6). 

�  Articles 7-14 and 22-23 deal with the requirements and application for authorization of a substance, modification of authorization, the role of the European Food Safety Authority, the Member States and the Community.  

�  Article 15 is about labeling of food contact materials not yet in contact with food.  

�  Article 16 requires a declaration of compliance and appropriate documentation that demonstrate compliance.  

�  Articles 17-21 deal with traceability, safeguard measures, public access of applications, confidentiality, and data sharing.  

�  Article 24 sets out the inspection and control measures. 

�  Specific measures for materials and articles such as ceramics, regenerated cellulose, plastics, gaskets and active and intelligent materials, and substances such as vinyl chloride, N-nitrosamines and N-nitrostable substances in rubber, and epoxy derivatives, exist. 

 

United States

�  The FDA considers three different types of food additives: 

- Direct food additives components added directly to the food  

-  Secondary direct food additives components that are added to the food due to food treatment like treating food with ionic resins, solvent extraction  

-  Indirect food additives Substances that may come into contact with food as part of packaging or processing equipment, but are not intended to be added directly to food 

�  It is very difficult to present a complete introduction of the U.S. Food and Drug Administration (FDA) legislation and the practical use for the clearance of a food contact material. If you are not experienced with handling the FDA regulations, please be careful to avoid misinterpretations. 

�  The food contact materials are described in the Code of Federal Legislation (CFR): 21 CFR 174 - 21 CFR 190. Important starting points are: 

�  21 CFR 175 Indirect food additives: Adhesives and components of coatings 

�  21 CFR 176 Indirect food additives: Paper and paperboard components 

�  21 CFR 177 Indirect food additives: Polymers 

�  To this materials additives may be added. Which additives depend on the additive and on the material in which it is intended to be used. There must be a reference to the paragraph in which the additive is mentioned and the restrictions (for example only to be used in polyolefines) and limitations (max 0.5% in the final product) must be respected. See below for part in which additives are described: 21 CFR 170 Food additives 

�  21 CFR 171 Food additive petitions 

�  21 CFR 172 Food additives permitted for direct addition to food for

human consumption 

�  21 CFR 173 Secondary direct food additives permitted in food for

human consumption 

�  21 CFR 178 Indirect food additives: Adjuvants, production aids, and sanitizers 

�  21 CFR 180 Food additives permitted in food or in contact with food on an interim basis pending 

Silicone used for food contact  

Silicone �  mistry of the silicone is mainly mineral because it is based on quartz

sand (silicon oxide) 

!Indeed unlike most polymers, silicones have a backbone containing no carbon (i.e. inorganic), composed instead of !alternating silicon and oxygen atoms (Si-O-Si-O- …).  

�  Silicones - extremely flexible, resistant material with exceptional thermal adaptability - are well suited for kitchen housewares in contact with food and more particularly for baking products subjected to very high temperature. 

These are some of the advantages of silicone  �  High resistance to extreme temperatures (till 455°F in continuous use and above

480°F in peak one) 

�  Stable mechanical properties in a broad temperature range. 

�  Excellent release properties (non-stick performance). 

�  Oven, microwave, freezer and dishwasher safe. 

�  Resistant to boiling water and aggressive detergents. 

�  Intrinsic water repellent. 

�  Non toxic. 

Silicone application  Regarding mentioned silicone implants as case study, it has been proven that they do rupture with time & it has been documented that silicone can migrate after this rupture. Nonetheless, because of the studies that did not find conclusive evidence of systemic problems, both Health Canada and the FDA have recently approved the use of silicone implants. That is a good proof about the harmless of silicone regarding human health. 

Eco Friendly Material : Silicone  

!Some sources say silicone can be recycled, which is great. It doesn’t take more energy to create than glass or mining metal for pots and pans, and it is not toxic to aquatic or soil organisms. So for the earth, silicone bakeware is a fine choice compared to just about anything else out there, and better than Teflon, which contains chemicals that won’t break down at all. 

Is it safe ? 1. Raw Material, GOOD  Making silicone starts with silica (silicon and oxygen in the form of sand). According to the U.S. Geological Survey, silica resources for most uses are abundant, so the major environmental impacts are derived from mining silica. But silicone bakeware uses only a tiny fraction of the silica that is mined each year, so it shares only a small amount of the responsibility for those impacts which the USGS calls “limited” anyway. 

 

2. Other Ingredients and By Products, 

INSUFFICIENT INFORMATION 

 To create silicone rubber (a synthetic elastomer),  

silica undergoes a chemical process to create silicone then other elements are added to give the silicone specific qualities. The chemical process and ingredient list is proprietary, so it could be years before we know everything that’s in silicone bakeware and its environmental impacts, including manufacturing byproducts. 

 

 

3. Safety, GOOD (as far as we know) 

 All silicone cookware sold in the U.S. is made of food grade silicone, meaning the FDA has deemed it safe for its intended use. That will be good enough for most people, but just remember, it was only recently that we learned that some food grade plastics were leaching the chemical bisphenol A (BPA) into food and beverages–putting us at risk for a number of health problems. 

�  A hint that BPA–containing plastics weren’t exactly infallible was the distinct plastic smell and taste the plastic could give food or water that came in contact with it. 

�  Silicone rubber seems to pass the smell and taste test, and Dow Corning (who has been making silicones since the 1940s) assures its customers through their website, that their silicone bakeware is stable at high and low temperatures and will not impart any flavor or odor that would affect the quality of the food. 

 

* Time may reveal more facts about what’s in silicone cookware and how it stands up to long term use, but for now, there are few reported problems with the material. 

4. Clean up, EXCELLENT Silicone bakeware is easy to clean, and won’t require harsh, damaging solvents that can pollute the air or water. 

5. Longevity/Reuse, GOOD A distinct advantage of silicone cookware is its durability and what Dow Corning calls its “resistance to aging.” Longevity is only an eco-asset, however, if one is committed to hanging on to their silicone wares for the duration, and won’t replace it with something new while it still has many useful years left. If replacement ever becomes desired, make sure silicone items get passed on, not thrown out. 

Silicone kitchen products are especially earth-friendly when they can replace disposables. The Progressive International Silicone Suction Lid , for example, fits over the top of dishes and bowls to create an air tight seal, replacing the need for plastic film. Individual silicone muffin cups provide a reusable alternative to disposable paper liners. And a silicone baking mat can replace lots of parchment paper. 

�  6. End of Life Solutions: BAD You might be able to find a facility that recycles silicone rubber, but they are not at all common. And they may only accept commercial loads of a minimum weight or quantity. It is considerably more difficult to recycle a silicone bread pan than one made from aluminum or Pyrex glass. And if worn out silicone rubber ends up in the landfill, it will not biodegrade.

กระบวนการขึ้นรูปซิลิโคน 

Concerns About the Dangers of Silicone in Baking/Cooking 

•  Lower quality silicone coatings contain filler that may be

hazardous. Most sites say that if any white shows through when you twist your silicone bakeware, there are probably fillers.  

•  The oils in silicone, which are very powerful and toxic, may “migrate” from the material. 

•  Some sources offer concerns about bright colors and leaching. 

•  Some (many?) have concerns about odors during use, but that may be related to the fillers, and not the silicone.  

•  Many silicone baking mats are actually made of fiberglass covered on both sides with silicone, so unless you want to risk fiberglass in your food, don’t cut on the mats! 

•  It’s reasonably new, so long-term studies haven’t been performed on cookware that has been exposed to high temperatures over very long periods. 

Council of Europe Committee of Ministers  Resolution ResAP(2004)5 

Silicones used for food contact application 

Appendix  

1. Definition of ‘Silicones’  

2. Description of the silicones product group  

1.  Silicones elastomers : coating, sealants ,etc.  

2.  Silicones liquid : additives to plastic and coatings, release agent for textile ,etc. 

3.  Silicones pastes : Lubricants for food processing machinery ,etc. 

4.  Silicones resins : heat- resistant coating, release coating in food production such as bakery, etc.  

3. Specification 

1. They should not transfer their constituents to foodstuffs in quantities which could endanger human health. 

2. They should be manufactured in accordance with a certified Quality Assurance System ( for example, ISO 9002 or CEN 29-004)  

3. Interactions between starting substances or between starting substances and any other substances used in the manufacturing process of silicones should not lead to the formation of compounds which pose a risk to human health  

4. Linear siloxanes containg methyl- and phenyl- groups attached to the same silicone atom and also containing two methyl- groups attached to one silicone !atom should not be used as starting substances, in order to prevent the !formation of centain phenyl-substituted cyclic polydimethylsiloxanes: 

5. The release of any substance form silicones to foodstuffs should be as low as technologically possible. The total of substances migrating into food from silicone materials or articles should not exceed 10 mg/dm2 of the surface area of the final material  

6. The migration limits set out in “technical document No.1 – list of substances used the manufacture of silicones used for food contact applications” should be met.  

 

BPA FREE ? �  Bisphenol A หรือ BPA คืออะไร 

เปนสารเคมีที่ประเภทโพลีคารบอเนต (Polycarbonate Plastic) นำมาใชผลิตพลาสติกเปนวัตถุดิบสำคัญ ที่ใชการผลิตขวดนมเด็ก, ขวดน้ำดื่ม  มีคุณสมบัติ ชวยใหพลาสติก  มีความแข็งแรง ใส ไมแตกงายเมื่อบริโภคอาหารจากบรรจุภัณฑเหลานั้น ก็จะรับสาร BPA เขาไปโดยไมรูตัว 

�  BPA  เขาสูรางกายไดอยางไร 

ความรอน จากการตม, นึ่ง หรือ สเตอริไลซ พลาสติก  จะเปนตัวเรงปฏิกิริยา ทำใหสารพิษหลุดรอนปะปนในอาหารยิ่งขึ่น โดย สาร BPA จะแทรกซึมลงในของเหลวและอาหาร ที่บรรจุอยูภายในภาชนะ เชน ขวดนม ขวดพลาสติก กลองบรรจุอาหารแลวจึงเขาสูรางกายเมื่อกินเขาไป 

�  โทษของ BPA  ตอมนุษย 

มีผลตอการสรางเซลลสมอง ระบบประสาท ความทรงจำ การเรียนรู มีผลตอฮอรโมนการเจริญเติบโต และการสืบพันธุ ทำใหเด็กเปนหนุมเปนสาวเร็วเกินไป เด็กมีแนวโนมที่จะเปนโรคอวน และไฮเปอรแอคทีฟ กอใหเกิดความเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคหัวใจ ยิ่งสะสมในรางกายมากเทาใด ก็จะยิ่งไปลดศักยภาพการทำงานของรางกายมากขึ้น ที่สำคัญคือ เด็กทารก เมื่อไดรับสาร BPA ก็จะสงผลกระทบที่รุนแรงมากกวาในเด็กโต หรือผูใหญ 

�  ความตื่นตัวเรื่องสาร Bisphenol A 

แคนาดา เปนประเทศแรก ที่หามจำหนายขวดนมเด็กที่มีสาร BPA ไปแลวเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2551 สหรัฐอเมริกา รัฐนิวยอรก เปนรัฐลาสุด ที่ออกกฎหมายหามผลิตและจำหนายผลิตภัณฑที่ใชสำหรับเด็กที่มีสาร BPA โดยมีผลบังคับใชในวันที่ 1 ธันวาคม 2553 สหภาพยุโรป หรือ EU  ไดออกมาเตือน หามใชสาร BPA ในการผลิตบรรจุภัณฑอาหาร และขวดนมแลว 

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม Thai Industrial Standard  

ภาชนะและเครื่องใชพลาสติกสำหรับอาหาร  มอก. 655 

รายละเอียดของมาตารฐานอุตสาหกรรม ภาชนะและเครื่องใชพลาสติกสำหรับอาหาร  

1.  ขอบขาย 

2.  บทนิยาม 

3.  ประเภทชนิดและตัวตอ 

4.  ประเภทชนิดและตัวตอ 

5.  วัสดุ  1.  ตัวภาชนะ 2.  สวนประกอบที่ตองสัมผัสกับ

อาหาร ���

6. คุณลักษณะที่ตองการ 

1.  ลักษณะทั่วไป  

2.  ความทนอุณหภูมิ  

3.  กลิ่นและรส(ยกเวนเครื่องใชพลาสติก) 

4.  ความทนแรงกระแทก (เฉพาะใชซ้ำได) (ยกเวนเครื่องใชพลาสติก) 

5.  คุณลักษณะดานความปลอดภัย (เรื่องสี สารละลาย และ โลหะหนักที่ละลาย)  

7. เครื่องหมายและฉลาก 

8. การบรรจุ 

9. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน 

10. การทดสอบ  

สัญลักษณแสดงวาสัมผัสอาหารไดอยางปลอดภัยและไมเปนอันตรายตอสุขภาพ 

ขอมูลที่สืบคนได  

�  ชื่อบทความ : ภาชนะและเครื่องใชพลาสติกสำหรับอาหาร เลม 1 พอลิเอทิลีน พอลิพรอพิลีน พอลิสไตรีน พอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต พอลิไวนิลแอลกอฮอล และพอลิเมทิลเพนทีน 

�  หมายเลข : มอก. 655 เลม 1 - 2553 

�  ชื่อเอกสาร : ราชกิจจานุเบกษา เลม 127 ตอนพิเศษ 129 ง (9 พ.ย. 53) หนา 13 (ทายประกาศ 15 หนา) (เอกสารภาษาไทย ชั้น 5 

�  ขอบขาย : 1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ครอบคลุม ภาชนะและเครื่องใชพลาสติกที่สัมผัสอาหารทำจากวัสดุเดี่ยว ผสม ชั้นเดียว หรือหลายชั้น สำหรับใชเตรียม เก็บหรือบริโภค รวมถึงสวนประกอบของภาชนะที่สัมผัสอาหาร เชน ฝา ชองแบง หรือฝาในสำหรับริน มีทั้งแบบใชครั้งเดียว และแบบใชซ้ำได ซึ่งตอไปในมาตรฐานนี้จะเรียกวา "ภาชนะพลาสติก" 1.2 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ไมครอบคลุม ภาชนะและ/หรือเครื่องใชพลาสติกสำหรับอาหารที่ประกาศกำหนดเปนมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ไวแลว สำหรับอาหาร เลม 1 พอลิเอทิลีน พอลิพรอพิลีน พอลิสไตรีน พอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต พอลิไวนิลแอลกอฮอล และพอลิเมทิลเพนทีน 

�  หมายเหตุ : ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4225 ( พ.ศ. 2553) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ภาชนะและเครื่องใชพลาสติกสำหรับอาหาร และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ภาชนะและเครื่องใชพลาสติกสำหรับอาหาร เลม 1 พอลิเอทิลีน พอลิพรอพิลีน พอลิสไตรีน พอลิเอทิลีนเทเรฟแทเลต พอลิไวนิลแอลกอฮอล และพอลิเมทิลเพนทีน 

�  ชื่อบทความ :ภาชนะและเครื่องใชพลาสติกสำหรับอาหาร เลม 3 อะคริโลไนไทรล - บิวทะไดอีน - สไตรีน และสไตรีน -

อะคริโลไนไทรล 

�  หมายเลข : มอก. 655 เลม 3 – 2554 

�  ชื่อเอกสาร :ราชกิจจานุเบกษา เลม 128 ตอนพิเศษ 113 ง (29 ก.ย.54) หนา 28 (ทายประกาศ 14 หนา) (เอกสารภาษาไทย ชั้น 5)  

�  ขอบขาย : 

1. ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ครอบคลุม ภาชนะและเครื่องใชพลาสติกที่สัมผัสอาหารทำจาก อะคริโลไนไทรล - บิวทะไดอีน - สไตรีน และสไตรีน - อะคริโลไนไทรล สำหรับใชเตรียม เก็บ หรือบริโภคอาหาร รวมถึงสวนประกอบของภาชนะที่สัมผัสอาหาร เชน ฝา ชองแบง หรือฝาในสำหรับริน ซึ่งตอไปในมาตรฐานนี้จะเรียกวา "ภาชนะพลาสติก"  

2. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ไมครอบคลุม ภาชนะและ/หรือเครื่องใชพลาสติก ที่ประกาศกำหนดมาตรฐาน

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ไวแลว 

�  หมายเหตุ : ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4367 (พ.ศ. 2554) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ภาชนะและเครื่องใชพลาสติกสำหรับอาหาร เลม 3 อะคริโลไนไทรล บิวทะไดอีน สไตรีน และสไตรีน อะคริโลไนไทรล 

 

เอกสารอางอิง �  http://www2.dede.go.th/kmberc/datacenter/factory/plastic/chapter1-2.pdf 

�  http://armthai.com/77 

�  http://www.cps-plastic.com/forum.php?mod=viewthread&tid=450 

�  http://th.wikipedia.org/wiki/พลาสติก 

�  http://www.scribd.com/doc/102516426/14%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9C%E0%B8%B4%E0%B8 

�  http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=free4u&month=29-11-2010&group=80&gblog=201 

�  http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/113/28.PDF 

�  http://ec.europa.eu/food/food/chemicalsafety/foodcontact/legisl_list_en.htm 

�  http://www.mastrad.fr/ 

�  http://www.tovolo.com/ 

�  http://www.chefn.com/ 

�  http://keansilicone.en.alibaba.com/product/512481651-0/liquid_silicone_injection_products.html 

�  http://www.coe.int/t/e/social_cohesion/soc-sp/public_health/food_contact/Resolution%20AP%20_2004_%205%20on%20silicones.pdf