64
1

IPST-DataScience manual

Embed Size (px)

DESCRIPTION

This is the first Thai's designed and manufactured of Data logger system. IPST-DataScience is suitable tools about learning the Science Data logger for STEM education. Produced by Innovative Experiment (INEX) under authority of IPST.

Citation preview

Page 1: IPST-DataScience manual

1

Page 2: IPST-DataScience manual

2

ใครควรใช เครื่ องมื อเพื่ อสนั บสนุ นการเรี ยนรู ชุ ดน้ี

1. น ักเรี ยน นั กศึ กษา และบ ุคคลท่ั วไปท่ี มี ความสนใจใช เครื ่องมื อบั นทึ กข อม ูลของส ัญญาณไฟฟ าในการทดลองทางวิ ทยาศาสตร เพื่ อนํ าไปวิ เคราะห ศึ กษาพฤติ กรรมของตั วตรวจจั บ และพิ สู จน ทฤษฎี ทางวิ ทยาศาสตร ขั้ นพื้ นฐาน รวมถึ งการเรี ยนรู และทดลองตามสาระการเรี ยนรู STEM ศึ กษา

2. สถาบ ันการศ ึกษา โรงเร ียน ว ิทยาล ัย และมหาว ิทยาล ัยที ่ม ีการเร ียนการสอนด านว ิทยาศาสตร พื ้นฐาน,ว ิทยาศาสตร ประย ุกต , เทคโนโลย ีอ ิเล ็กทรอน ิกส พื ้นฐาน และระบบควบคุ มพื ้นฐาน

3. คณาจารย ที่ มี ความต องการศึ กษาและเตรี ยมการเรี ยนการสอนวิ ทยาศาสตร พื้ นฐานและวิ ทยาศาสตร ประย ุกต ที ่ต องการบ ูรณาการความรู ทางว ิทยาศาสตร - อ ิเล ็กทรอน ิกส - สถ ิต ิ - การเข ียนโปรแกรมคอมพิ วเตอร - การทดลองทางวิ ทยาศาสตร เพื่ อนํ าไปสู การพั ฒนากระบวนการเรี ยนรู ตามแนวคิ ดSTEM ศึ กษาในระดั บมั ธยมศึ กษา, วิ ทยาศาสตร ประยุ กต ที่ เกี่ ยวข องกั บตั วตรวจจั บในระดั บอาช ีวศึ กษา และมหาวิ ทยาลั ย

รายละเอี ยดที่ ปรากฏในเอกสาร IPST-DataScience ชุ ดบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ เพื่ อการศึ กษาด านวิ ทยาสาสตร ผ านการตรวจทานอย างละเอี ยดและถ วนถี ่ เพื ่อให มี ความสมบ ูรณ และถู กต องมากที ่สุ ดภายใต เงื ่อนไขและเวลาที่ พึ งมี ก อนการจั ดพิ มพ เผยแพร ความเสี ยหายอั นอาจเกิ ดจากการนํ าข อมู ลที่ นํ าเสนอในเอกสารนี้ ไปใช ทางบริ ษั ท อิ นโนเวตี ฟ เอ็ กเพอริ เมนต จํ ากั ด ซึ่ งเป นผู จั ดทํ า มิ ได มี ภาระในการรั บผิ ดชอบแต ประการใด ความผิ ดพลาดคลาดเคลื ่อนที ่อาจม ีและได รั บการจั ดพิ มพ เผยแพร ออกไปนั ้น ทางบริ ษ ัทฯ จะพยายามชี ้แจงและแก ไขในการจ ัดพ ิมพ ครั ้งต อไป

Page 3: IPST-DataScience manual

3

สถาบ ันส งเสร ิมการสอนว ิทยาศาสตร และเทคโนโลย ี หร ือ สสวท. ม ีความประสงค พ ัฒนาอ ุปกรณ สื ่อการสอนช ุดบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิ รวมถ ึงซอฟต แวร และเอกสารว ิชาการต างๆ ที ่เกี ่ยวข อง ส ําหร ับใช ในการเร ียนการสอน จ ึงได ม ีการระดมสมองและความร วมม ือจากหน วยงานต างๆ ทั ้งภาคร ัฐและเอกชนเพื ่อก อให เกิ ดส่ื อการเรี ยนรู ที่ ผลิ ตได ภายในประเทศ และเผยแผ ความรู จากสื่ อการเรี ยนรู นี้ ออกไปในวงกว าง เพื ่อยกระดั บการเรี ยนรู วิ ทยาศาสตร ประย ุกต สม ัยใหม และให สอดคล องก ับสาระการเร ียนรู ตามแนวค ิดสะเต็ มศ ึกษา (STEM Education)

การทดลองและการเก็ บข อมู ลจากการว ัดปริ มาณต างๆ ทางวิ ทยาศาสตร นั ้น แต เดิ มผู ทดลองจะต องวั ดและจดบั นทึ กด วยมื อ จากนั้ นนํ าข อมู ลท่ี ได มาประมวลผลตามต องการต อไป งานล ักษณะนี ้ถ าหากข อม ูลม ีปร ิมาณมาก หร ือต องการเก ็บข อม ูลหลายๆ ครั ้งในช วงเวลาต างๆ อาจท ําได ไม สะดวกนั ก จึ งมี การพั ฒนาอุ ปกรณ ช วยงานลั กษณะนี้ ออกมาหลายรู ปแบบ หนึ่ งในน้ั นคื อ ดาต าล็ อกเกอร (Data Logger) หรื อ ชุ ดบั นทึ กข อมู ล

ดาต าล็ อกเกอร เป นอุ ปกรณ ที่ ใช เก็ บข อมู ลต างๆ ภายใต เง่ื อนไขและเวลาที่ ผู ใช งานสามารถโปรแกรมได เอง ในการทดลองทางวิ ทยาศาสตร หลายๆ เรื่ องที่ ต องการวั ดและเก็ บค า อาทิ อุ ณหภู มิ ความชื้ น ความเข มแสง หรื อแรงดั นไฟฟ าจากนั้ นนํ าข อมู ลท่ี ได มาประมวลผล หรื อใช โปรแกรมคอมพิ วเตอร เขี ยนกราฟขึ ้นมา อุ ปกรณ ต ัวนี ้จึ งนํ ามาใช งานร วมด วยได เป นอย างดี

ม ีผู ผล ิตอ ุปกรณ ล ักษณะนี ้ออกมาหลายรุ น ส วนใหญ น ําเข ามาจากต างประเทศ ม ีราคาส ูง ท ําให สสวท. และ คณะว ิทยาศาสตร สถาบ ันเทคโนโลย ีพระจอมเกล าเจ าค ุณทหารลาดกระบั ง จ ึงร วมม ือก ันออกแบบและจ ัดท ําอ ุปกรณ ดาต าล ็อกเกอร หร ือช ุดบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิขึ ้นมาใช งานในประเทศเอง โดยประสานความร วมม ือก ับหน วยงานเอกชนที ่ม ีประสบการณ ซึ ่งน ําความรู และเทคโนโลย ีร วมสม ัยเข ามาเสร ิม เพื ่อท ําให ช ุดบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ินี ้ตอบสนองต อความต องการงานใช งานจร ิงของคร ู อาจารย ที ่ต องเป นผู จ ัดการเร ียนการสอนโดยตรงภายใต งบประมาณที ่สมเหต ุสมผล กระจายสู ห องเร ียนว ิทยาศาสตร ในระด ับม ัธยมศ ึกษาได อย างเป นร ูปธรรม โดยช ุดอ ุปกรณ นี ้ม ีชื ่อว า IPST-DataScience หร ือ IPST-DS

ด วยความร วมมื ออย างมี ประสิ ทธิ ภาพทํ าให อุ ปกรณ ชุ ดบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ นี้ มี ราคาถู กลงมาก เหมาะสมที่ โรงเรี ยนต างๆ จะนํ ามาใช ในการเรี ยนการสอนวิ ทยาศาสตร และงานวิ จั ยต างๆ ในโรงเร ียน โดยอ ุปกรณ ที ่พ ัฒนาขึ ้นได จ ัดเป นช ุด ม ีห ัวว ัดต างๆ ที ่เพ ียงพอต อการเร ียนการสอนระด ับม ัธยมศ ึกษา

Page 4: IPST-DataScience manual

4

IPST-DataScience น ับเป นช ุดบั นท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิที ่ม ีค ุณสมบ ัต ิครบถ วน ประกอบด วย กล องบ ันท ึกข อม ูลหล ักที ่เชื ่อมต อก ับคอมพ ิวเตอร เพื ่อประมวลผลและถ ายทอดข อม ูล, กล องต ัวตรวจจ ับที ่ให ข อม ูลของส ัญญาณทางกายภาพในหน วยที ่เข าใจได ง าย อาท ิ กล องตรวจจ ับแรงด ันที ่ให ผลการตรวจจ ับในหน วย โวลต (Volt), กล องตรวจจั บอุ ณหภู มิ ที่ ให การวั ดเป นค าอุ ณหภู มิ ในหน วยองศาเซลเซี ยส(Celcius), กล องตรวจจ ับแสงท่ี ให ผลการตรวจจ ับในหน วยล ักซ (Lux) และกล องตรวจจ ับเส ียงที ่ให ผลการตรวจจ ับในหน วยเดซ ิเบล (Decibel : dB) รวมถ ึงกล องสื ่อสารข อม ูลไร สายผ านบล ูท ูธ เพื ่อช วยให IPST-DataScience ติ ดต อกั บอุ ปกรณ การเรี ยนรู สมั ยใหม อย างแท็ บเล็ ตและสมาร ตโฟนได นอกจากนั้ นซอฟต แวร หร ือแอปพล ิเคชั ่นของช ุด IPST-DataScience ม ีความสามารถในการบ ันท ึกกราฟของการท ํางานเป นไฟล ภาพ และไฟล .csv เพื ่อน ําไปประมวลต อด วยซอฟต แวร ประย ุกต บนคอมพ ิวเตอร เช น MicrosoftExcel

IPST-DataScience เป นส่ื อทางเลื อกหนึ่ งสํ าหรั บครู ผู สอนในการจั ดการเรี ยนการสอนในห องเรี ยนวิ ทยาศาสตร ในระดั บมั ธยมศึ กษา โดยชุ ดการเรี ยนรู นี้ จะเน นการจั ดกิ จกรรมการเรี ยนรู แบบบู รณาการในวิ ชา ฟ สิ กส เคมี ชี ววิ ทยา คณิ ตศาสตร และคอมพิ วเตอร นั กเรี ยนได รู เกี่ ยวกั บอุ ปกรณ และอิ เล็ กทรอนิ กส เบ้ื องต น การวั ดและบั นทึ กผล การนํ าเสนอข อมู ลในรู ปแบบต างๆ ทั้ งแบบข อมู ลต ัวเลข กราฟ หรื อแฟ มข อม ูลคอมพ ิวเตอร ซึ ่งจะทํ าให การเรี ยนการสอนม ีความน าสนใจ น ักเร ียนรู จ ักคิ ดวิ เคราะห และแก ป ญหาทั้ งในวิ ชาที่ เรี ยนและในชี วิ ตประจํ าวั น

สสวท. และคณะผู พ ัฒนาสื ่อการเร ียนรู IPST-DataScience นี ้ม ีความคาดหว ังว า ช ุดการเร ียนรู นี ้จะก อประโยชน ต อการเรี ยนรู ว ิทยาศาสตร และเทคโนโลย ี ช วยเสริ มให การเร ียนการสอนว ิทยาศาสตร สอดคล องตามแนวค ิด STEM ศ ึกษา และผู เร ียนได ร ับประโยชน จากการใช เครื ่องม ือในการเก ็บข อม ูลประมวลผล และค ิดว ิเคราะห จนน ําไปสู ความเข าใจในกระบวนการทางว ิทยาศาสตร และน ําไปต อยอดเพื ่อพ ัฒนาโครงงานได

คณะผู จั ดทํ า IPST-DataScience ชุ ดบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ เพื่ อการศึ กษาด านวิ ทยาศาสตร

Page 5: IPST-DataScience manual

5

ที ่มาของ IPST-DataScience ชุ ดบ ันท ึกข อมู ลอ ัตโนม ัติ เพื ่อการศึ กษาด านว ิทยาศาสตร ....................3

ช ุดบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิ IPST-DataScience เกี ่ยวข องอย างไรก ับสะเต ็มศ ึกษา...............................7

ส วนประกอบของ IPST-DataScience ช ุดบั นทึ กข อมู ลอั ตโนม ัติ เพื ่อการศ ึกษาด านวิ ทยาศาสตร ......9

การใช งานซอฟต แวร DataSci สํ าหรั บ IPST-DataScience ชุ ดบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ เพื ่อการศ ึกษาด านว ิทยาศาสตร .........................................................................................19

การใช งานแอปพลิ เคชั่ น DataSci บนอุ ปกรณ แอนดรอยด สํ าหรั บ IPST-DataScienceช ุดบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิเพื ่อการศ ึกษาด านว ิทยาศาสตร ...................................................43

Page 6: IPST-DataScience manual

6

Page 7: IPST-DataScience manual

7

IPST-DataScience หรื อ IPST-DS ชุ ดบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ เป นชุ ดเรี ยนรู และปฏิ บั ติ การด านวิ ทยาศาสตร ที่ สนั บสนุ นการเรี ยนรู ร วมสมั ยตามแนวทางสะเต็ มศึ กษา (STEM education) ดั งนี้

ด านวิ ทยาศาสตร (Science - S) : เรี ยนรู เพื่ อทํ าความเข าใจเกี่ ยวกั บพฤติ กรรมของสิ่ ง

ต างๆ กลไกการทํ างาน โดยใช ข อมู ลที่ ได จากการวั ดและจั ดเก็ บของชุ ดบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ IPST-DataScience มาศึ กษา วิ เคราะห พิ จารณา จนนํ าไปสู ข อสรุ ป

ด านเทคโนโลยี (Technology - T) : เรี ยนรู การทํ างานของอุ ปกรณ ตรวจจั บปริ มาณทาง

กายภาพสมั ยใหม ทั้ งตั วตรวจจั บเสี ยง แสง อุ ณหภู มิ และแรงดั นไฟฟ า

ด านวิ ศวกรรม (Engineering - E) : เรี ยนรู ถึ งกระบวนการถ ายทอดข อมู ลจากตั วตรวจ

จั บมายั งกล องบั นทึ กข อมู ล และนํ าไปแสดงผลที่ คอมพิ วเตอร หรื ออุ ปกรณ พกพาสมั ยใหม อย างแท็ บเล็ ตและสมาร ตโฟน ซึ่ งเป นการใช งานที่ เกิ ดขึ้ นจริ งทั้ งในงานวิ จั ยและอุ ตสาหกรรม

ด านคณิ ตศาสตร (Mathematic - M) : มี การนํ าหลั กการทางคณิ ตศาสตร นํ ามาใช ใน

การคํ านวณและวิ เคราะห ข อมู ลที่ ได จากการทํ างานของชุ ดบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ IPST-DataScience

Page 8: IPST-DataScience manual

8

Page 9: IPST-DataScience manual

9

การทดลองและการเก ็บข อม ูลจากการว ัดปร ิมาณต าง ๆ ทางว ิทยาศาสตร นั ้น แต เด ิมผู ทดลองจะต องว ัดและจดบ ันท ึกด วยมื อ จากนั ้นนํ าข อม ูลที ่ได มาประมวลผลตามต องการต อไป งานล ักษณะนี ้ถ าหากข อม ูลม ีปร ิมาณมาก หร ือต องการเก ็บข อม ูลหลาย ๆ ครั ้งในช วงเวลาต าง ๆ อาจทํ าได ไม สะดวกน ักจ ึงม ีการพ ัฒนาอุ ปกรณ ช วยงานล ักษณะนี ้ออกมา หนึ่ งในนั้ นคื อ ดาต าล ็อกเกอร (Data logger) หรื ออ ุปกรณ บ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิ ซึ่ งเป นอ ุปกรณ ที ่ใช เก ็บข อม ูลต าง ๆ ภายใต เงื ่อนไขและเวลาที ่ผู ใช งานกํ าหนดได ได เอง ในการทดลองทางว ิทยาศาสตร หลาย ๆ เรื ่องที ่ต องการว ัดและเก ็บค าอ ุณหภ ูม ิ ความชื ้นความเข มแสง หร ือแรงด ันไฟฟ าแล วนํ าข อม ูลที ่ได มาประมวลผล หร ือใช โปรแกรมคอมพ ิวเตอร เข ียนกราฟขึ ้นมา อ ุปกรณ ต ัวนี ้สามารถรองรั บความต องการนั้ นๆ ได เป นอย างด ี ในป จจ ุบ ันม ีผู ผล ิตอ ุปกรณ ล ักษณะออกมาหลายรุ น ม ีราคาส ูง และเป นการน ําเข ามาจากต างประเทศแทบทั้ งสิ้ น

สํ าหร ับ IPST-DataScience เป นชุ ดอุ ปกรณ ที ่ทํ าหน าที่ เหม ือนกั บดาต าล ็อกเกอร แต ผลิ ตขึ ้นในประเทศไทย ทํ าให อุ ปกรณ ชุ ดนี้ มี ราคาถู กลงมาก เหมาะสมที่ โรงเรี ยนต างๆ จะนํ ามาใช ในการเรี ยนการสอนวิ ทยาศาสตร และงานวิ จั ยต างๆ ในโรงเรี ยน โดยอุ ปกรณ ที่ พั ฒนาขึ้ นได จ ัดเป นชุ ดซึ่ งมี ห ัววั ดต าง ๆ ที่ เพี ยงพอต อการเรี ยนการสอนระดั บมั ธยมศึ กษา

Page 10: IPST-DataScience manual

10

ส วนประกอบของ IPST-DataScience ชุ ดบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ มี ดั งนี้

1. กล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ (Data Box) พร อมสายต อพอร ต USBเป นอุ ปกรณ สํ าหรั บประมวลผลและบั นทึ กข อมู ลที่ เป นสั ญญาณชนิ ดต าง ๆ โดยจะมี หน วย

ความจํ าอยู ภายในสํ าหรั บเก็ บค าที่ วั ดได ของสั ญญาณตามช วงเวลาการบั นทึ กที่ กํ าหนดไว โดยอ ัตโนม ัต ิ เชื ่อมต อก ับคอมพ ิวเตอร ในการอ านข อม ูลจากหน วยความจ ําภายในได โดยม ีรายละเอ ียดของตั วอุ ปกรณ ดั งนี้

POWER

USB charger

PC link

CHARGE MONITOR MODE

Sm

art

BU

S

Page 11: IPST-DataScience manual

11

1.1 ตั วกล องทํ าจากวั สดุ พลาสติ กที่ มี ความแข็ งแรง ขนาดกระทั ดรั ด นํ้ าหนั กเบา

1.2 ม ีช องร ับส ัญญานข อมู ลแบบบ ัส RS-485 สํ าหร ับต ิดต อก ับหั วว ัด Smart Sensor 4 ช อง ต อก ับกล องโมดู ลตั วตรวจจั บแบบโครงข ายได มากที่ สุ ด 100 กล อง

1.3 มี หน วยความจํ าภายในสํ าหรั บบั นทึ กข อมู ลแบบ SD การ ด ความจุ 8GB

1.4 มี ระบบฐานเวลานาฬิ กาจริ งในตั ว (Real Time clock)

1.5 ช วงการบั นทึ กข อมู ลเลื อกได ตั้ งแต 1 ถึ ง 60 วิ นาที

1.6 เชื่ อมต อกั บคอมพิ วเตอร ผ านพอร ต USB และแบบไร สายผ านบลู ทู ธ รองรั บการเชื่ อมต อกั บแท็ บเล็ ตและสมาร ตโฟนผ านบลู ทู ธ

1.1.7 มี แบตเตอรี่ 3.7V 1000mAH แบบ Li-ion ในตั ว พร อมวงจรประจุ พลั งงานแบตเตอรี่

2. อะแดปเตอร ไฟตรง +5Vเป นแหล งจ ายไฟสํ าหรั บกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ และใช ในการประจุ แบตเตอรี่ ภายใน

กล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ ด วยมี แรงดั นไฟตรงขาออก +5V 2A มี หั วต อสาย miniB-USB จึ งต อเข ากั บจุ ดต อพอร ต USB ของ

กล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ ในชุ ด IPST-DataScience ได โดยตรง

Page 12: IPST-DataScience manual

12

3. กล องโมดู ลตั วตรวจจั บแบบโครงข าย (Smart Sensor BOX)มี ด วยกั น 4 ประเภท 5 ชุ ด พร อมสายเชื่ อมต อ ประกอบด วย

3.1 Voltage sensor สํ าหรั บวั ดแรงดั นไฟตรง 1 ชุ ด วั ดแรงดั นไฟฟ าตรงได 2 ช อง

มี ช วงการวั ด -20V ถึ ง +20V

ความละเอี ยด 0.1V

3.2 Smart Temperature sensor สํ าหรั บวั ดอุ ณหภู มิ 2 ชุ ด ใช หั ววั ดแบบ RTD ปลายเป นแท งโลหะ

มี ช วงการวั ดอุ ณหภู มิ -10 องศาเซลเซี ยส ถึ ง +150 องศาเซลเซี ยส

ความละเอี ยด 0.1 องศาเซลเซ ียส

Page 13: IPST-DataScience manual

13

3.3 Smart Light sensor สํ าหรั บวั ดวั ดความเข มแสง 1 ชุ ด วั ดความเข มแสง อยู ในช วง 0 ถึ ง 20,000 ลั กซ (Lux)

ความละเอี ยดในการวั ด 1 ลั กซ

3.4 Smart Sound Level sensor สํ าหรั บวั ดระดั บเสี ยง 1 ชุ ด ใช คอนเดนเซอร ไมโครโฟนในการตรวจจ ับเสี ยง

ให ผลการวั ดเป นระดั บสั ญญาณหรื อแอมปลิ จู ดในหน วย โวลต (Volt)

Page 14: IPST-DataScience manual

14

4. กล องต อพ วงส ัญญาณ (HubBOX)มี จุ ดต อ 8 ช อง ใช ต อพ วงเพื่ อขยายจํ านวนการติ ดต อกล องโมดู ลตั วตรวจจั บกั บกล องบั นทึ ก

ข อมู ลหลั ก

5. กล องสื่ อสารข อมู ลไร สายแบบบลู ทู ธ (BluetoothBOX) ต อกั บกล องบั นทึ กข อมู ลหลั กเพื่ อสื่ อสารข อมู ลกั บคอมพิ วเตอร แท็ บเล็ ต และสมาร ตโฟน

ผ านระบบบลู ทู ธ

6. ซอฟต แวร แอปพลิ เคชั่ น DataSci App สํ าหรั บติ ดต อระหว างกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ กั บอุ ปกรณ

แอนดรอยด ทั้ งสมาร ตโฟนและแท ็บเล็ ตแบบไร สายผ านระบบบลู ทู ธ

ซอฟต แวร DataSci สํ าหรั บรั บข อมู ลจากกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ ผ านพอร ต USB เพื่ อเก็ บและแสดงผลที่ คอมพิ วเตอร

Page 15: IPST-DataScience manual

15

ร ูปที ่ 1 ไดอะแกรมการทํ างานในภาพรวมของ IPST-DataScience ช ุดบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิ

ไดอะแกรมการทํ างานของ IPST-DataScience ชุ ดบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ ในร ูปที ่ 1 เป นไดอะแกรมการทํ างานทั ้งหมดของ IPST-DataScience ชุ ดบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัติ

อธิ บายได ดั งนี้

1. ส วนควบคุ มหลั กที่ ใช ไมโครคอนโทรลเลอร เป นอุ ปกรณ สํ าคั ญ มี หน วยความจํ าแบบ SDการ ดในตั ว ความจุ 8GB มี วงจรเชื่ อมต อตั วตรวจจั บแบบโครงข าย มี วงจรฐานเวลานาฬิ กาจริ งในตั วแบตเตอรี ่และวงจรประจ ุแบตเตอรี ่ โดยส วนควบคุ มหล ักต ิดต อก ับคอมพ ิวเตอร ได ทั ้งผ านพอร ต USBและแบบไร สายผ านวงจรเชื่ อมต อบลู ทู ธ

2. ม ีพอร ตสํ าหรั บเชื่ อมต อกั บหั ววั ดต างๆ เช น ตั ววั ดอุ ณหภ ูมิ ตั ววั ดความเข มแสง ตั ววั ดระด ับเสี ยง ตั ววั ดแรงดั นไฟฟ า ซึ่ งเพี ยงพอต อการเรี ยนการสอนและการทํ าโครงงานในระดั บมั ธยมศึ กษา

Page 16: IPST-DataScience manual

16

3. ใช งานให เก็ บข อมู ลตามเวลาที่ กํ าหนด (ในโหมด Data Logger) เช น เก็ บข อมู ลทุ กๆ 1, 2หรื อ 5 วิ นาที เป นต น และโหมดเก็ บข อมู ลในเวลาจริ ง (Real Time Monitoring)

4. มี หน วยความจํ าภายใน และเก็ บไฟล ในรู ปแบบที่ นํ าไปใช กั บโปรแกรมตารางการคํ านวณอาทิ Microsoft Excel ได

5. แสดงผลการทํ างานแบบกราฟ กในรู ปแบบของกราฟ และเชื่ อมต อกั บอุ ปกรณ ประมวลผลภายนอกแบบไร สายได เช น คอมพิ วเตอร แท็ บเล็ ต หรื อสมาร ตโฟน

6. บั นทึ กภาพกราฟลงในหน วยความจํ าของคอมพิ วเตอร หรื อแท็ บเล็ ตได ทํ าให นํ าข อมู ลไปนํ าเสนอในรู ปแบบต าง ๆ ได อย างง ายดาย

7. มี กล องพ วงสั ญญาณหรื อ HubBOX เพื่ อเพิ่ มช องทางในการต อกั บหั ววั ดได มากขึ้ น

ลั กษณะการทํ างานของ IPST-DataScience ชุ ดบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ IPST-DataScience ทํ างาน 2 โหมด

1. โหมดแสดงผลแบบเวลาจริ งหรื อ Real-time Monitoring

2. โหมดเก็ บข อมู ล หรื อ Data Logger

1. โหมดแสดงผลแบบเวลาจริ งหรื อ Real-time Monitoring

มี ไดอะแกรมแสดงการทํ างานในโหมดนี้ ดั งรู ปที่ 2

เป นโหมดที ่ต อต ัวตรวจจ ับเข าก ับกล องบ ันท ึกข อม ูล แล วเชื ่อมต อก ับคอมพ ิวเตอร หร ือแท ็บเล ็ตผ านทาง USB หร ือบล ูท ูธ จากนั ้นข อม ูลจากต ัวตรวจจ ับจะถ ูกน ําไปแสดงผลที ่คอมพ ิวเตอร หร ือแท ็บเล ็ตโดยตรง จากนั ้นที ่ซอฟต แวร บนคอมพ ิวเตอร หร ือแอปพล ิเคชั ่นบนแท ็บเล ็ตจะทํ าหน าที ่หล ัก 3 อย างค ือ

1. แสดงผลเป นตั วเลขหรื อกราฟ โดยเลื อกช องหรื อตั วตรวจจั บที่ ต องการอ านค าได

2. บั นทึ กข อมู ลที่ ส งมาจากตั วตรวจจั บเป นไฟล .csv ลงในคอมพิ วเตอร หรื อแท็ บเล็ ตเพื่ อนํ าไปประมวลผลต อด วยซอฟต แวร สเปรดชี ต อาทิ Microsoft Excel

3. บั นทึ กภาพกราฟที่ แสดงผลเป นไฟล ภาพ

2. โหมดเก็ บข อมู ล หรื อ Data Loggerมี ไดอะแกรมแสดงการทํ างานในโหมดนี้ ดั งรู ปที่ 3

เป นโหมดที ่กํ าหนดให กล องบั นทึ กข อมู ลท ําการเก ็บข อม ูลของต ัวตรวจจ ับต างๆ ลงในหน วยความจํ า SD การ ดที่ อยู ในภายในกล องบั นทึ กข อมู ลหลั กตามช วงเวลาที่ ต องการ ซี่ งกํ าหนดได จากซอฟต แวร บนคอมพิ วเตอร

Page 17: IPST-DataScience manual

17

ข อมู ลที่ เก็ บประกอบด วย วั น, เวลา, ค าของปริ มาณทางไฟฟ าหรื อทางกายภาพที่ ต องการเก็ บโดยบ ันทึ กในร ูปแบบของไฟล .csv เพื ่อนํ าไปประมวลผลต อด วยซอฟต แวร สเปรดชี ต อาทิ MicrosoftExcel ได สะดวก

การโอนถ ายข อมู ลจากกล องบั นทึ กข อมู ลหลั กทํ าได 2 ทางคื อ นํ า SD การ ดที่ บั นทึ กข อมู ลไปอ านที ่คอมพ ิวเตอร หร ือเชื ่อมต อก ับพอร ต USB แล วท ําการถ ายโอนไฟล ข อม ูลที ่ต องการ แต ว ิธี หล ังนี้ อาจใช เวลาในการถ ายทอดข อมู ลนานกว า

ร ูปที ่ 2 ไดอะแกรมการท ํางานในโหมดแสดงผลแบบเวลาจร ิงของ IPST-DataScience ช ุดบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิ

ร ูปที ่ 3 ไดอะแกรมการท ํางานในโหมดเก ็บข อม ูลของ IPST-DataScience ช ุดบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิ

Page 18: IPST-DataScience manual
Page 19: IPST-DataScience manual

19

DataSci

DataSci เป นซอฟต แวร ประย ุกต ส ําหร ับคอมพ ิวเตอร ที ่ต ิดตั ้งระบบปฏ ิบ ัต ิการว ินโดวส ใช งานร วมกั บ IPST-DataScience ชุ ดบั นท ึกข อมู ลอ ัตโนมั ต ิเพื่ อการศ ึกษาด านวิ ทยาศาสตร เพื่ อใช ในการอ านค าจากกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิแบบเวลาจร ิงหร ือ Real-time และแบบอ านจากแผ นหน วยความจ ํา ซึ ่งข อม ูลเหล านั ้นได มาจากต ัวตรวจจ ับหร ือห ัวว ัดปร ิมาณทางกายภาพ เพื ่อมาแสดงผลบนจอคอมพ ิวเตอร

สํ าหรั บชุ ดซอฟต แวร DataSci มี 3 โปรแกรม ประกอบด วย

DataSci Monitoring

DataSci Logger

DataSCi Reader

1. ระบบคอมพิ วเตอร ที ่ต องการ

ซี พี ยู Pentium4 หรื อ AMD Athlon 64 หรื อดี กว า ความเร็ ว 2GHz ขึ้ นไป

หน วยความจํ าแรมอย างน อย 1.5GB

มี พื้ นที่ ฮาร ดดิ สก ว างอย างน อย 2GB

ติ ดตั้ งระบบปฏิ บั ติ การวิ นโดวส 7 ขึ้ นไป

มี พอร ต USB ว างอย างน อย 1 พอร ต

Page 20: IPST-DataScience manual

20

2. ติ ดตั้ งซอฟต แวร ในการติ ดตั้ งซอฟต แวร DataSci สํ าหรั บคอมพิ วเตอร ที่ ติ ดตั้ งระบบปฏิ บั ติ การวิ นโดวส จะมี

การติ ดตั้ งโปรแกรมรวม 3 ตั วดั งนี้

DataSci

ไดรเวอร USB สํ าหรั บ DataSci

Java Runtime Environment (JRE)

โดยมี ขั้ นตอนในการติ ดตั้ งดั งนี้

(1) ดั บเบิ ลคลิ กไฟล IPST_DataSci_Setup141128.exe (หมายเลขเวอร ชั นอาจเปลี่ ยนแปลงตามการปรั บปรุ งล าสุ ด) จากแผ นซี ดี รอมที่ มากั บชุ ดอุ ปกรณ IPST-DataScience หรื อดาวน โหลดเวอร ชั นล าสุ ดที่ อาจมี ที่ www.ipst-microbox.com

(2) เมื่ อเข าสู หน าแรกของการติ ดตั้ งโปรแกรม คลิ กปุ ม Next ตอบรั บไปจนถึ งขั้ นตอนติ ดตั้ งโปรแกรม

Page 21: IPST-DataScience manual

21

(3) คลิ กปุ ม Install เพื่ อเริ่ มติ ดตั้ งโปรแกรม

Page 22: IPST-DataScience manual

22

(4) เมื ่อติ ดตั ้งโปรแกรมเสร ็จแล ว หน าต างแจ งต ิดตั ้งไดรเวอร USB ส ําหรั บ DataSci ปรากฏขึ ้นมา ในกรณี ที่ เคยติ ดตั้ งไดรเวอร ไว แล ว สามารถข ามขั้ นตอนนี้ ได ในกรณี ที่ ยั งไม ได ติ ดตั้ งไดรเวอร ให กดปุ ม Next ตอบรั บในทุ กขั้ นการตอนของการติ ดตั้ งไดรเวอร

(5) ลํ าดั บต อไปเป นการติ ดตั้ งส วนประกอบเพื่ อทํ างานสํ าหรั บภาษาจาวาหรื อ Java RuntimeEnvironment (JRE) หากมี คอมพิ วเตอร เคยติ ดตั้ ง JRE ไว แล ว ให ข ามขั้ นตอนนี้ ไปได ในกรณี ที่ ยั งไม ได ทํ าการติ ดตั้ ง JRE ให กดปุ ม Next เพื่ อเริ่ มทํ าการติ ดตั้ ง

Page 23: IPST-DataScience manual

23

(6) เมื ่อต ิดตั ้งเร ียบร อยทั ้งหมดแล ว ในการใช งานโปรแกรม เข าไปเป ดได ที ่ Start > All Programs> IPST DataSci หร ือถ าใช Windows 8 ขึ ้นไปให พ ิมพ ค นหาค ําว า DataSci ในช องค นหาโปรแกรม

ในชุ ดโปรแกรมของ DataSci มี โปรแกรมใช งาน 3 ตั วคื อ

DataSci Logger

DataSci Monitor

DataSci Reader

ซึ่ งจะได มี การอธิ บายการใช งานในลํ าดั บต อๆ ไป

Page 24: IPST-DataScience manual

24

3. ตรวจสอบการเช่ื อมต อกั บคอมพิ วเตอร (1) เชื่ อมต อกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ (Data Box) ของชุ ด IPST-DataScience เข ากั บพอร ต

USB ของคอมพิ วเตอร แล วเป ดสวิ ตช จ ายไฟ

(2) รอสั กครู ระบบจะจั ดการเชื่ อมต อทั้ งทางฮาร ดแวร และซอฟต แวร แล วแจ งว า อุ ปกรณ พร อมใช งาน

(3) ตรวจสอบพอร ตเชื ่อมต อในขั ้นต นได จาก My Computer > Properties > Hardware > DeviceManager > Ports หร ือ Control Panel > System > Hardware > Device Manager > Ports จะเห ็นชื ่อArduino Leonardo (COMx) ให จดจ ําหมายเลข COM ที ่ปรากฏขึ ้น ถ ึงขั ้นตอนนี ้ การเชื ่อมต อทางฮาร ดแวร ของกล องบ ันท ึกข อมู ลอ ัตโนมั ต ิในชุ ดอ ุปกรณ IPST-DataScience พร อมส ําหร ับการท ํางานก ับคอมพ ิวเตอร แล ว

Page 25: IPST-DataScience manual

25

4. DataSci Monitoringเป นโปรแกรมที่ ใช บั นทึ กข อมู ลจากตั วตรวจจั บในแบบเวลาจริ งหรื อรี ลไทม (real-time) โดย

แสดงผลที ่ว ัดได บนหน าจอภาพของคอมพ ิวเตอร ในร ูปของกราฟที ่หน าต างของโปรแกรม และบ ันท ึกข อมู ลลงในหน วยความจํ าของคอมพิ วเตอร ในรู ปของไฟล .CSV มี ขั้ นตอนการใช งานดั งนี้

(1) เป ดโปรแกรมโดยเลื อกที่ Start > DataSci > DataSci Monitoring

(2) หน าต างการทํ างานของ DataSci Monitoring ประกอบด วย

Connection – เลื อกการเชื่ อมต อโปรแกรมเข ากั บกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ ในชุ ดIPST-DataScience

Sensor List – เล ือกต ัวตรวจจ ับที ่ต องการอ านค าเมื ่อบ ันท ึกข อม ูลแบบเวลาจร ิงหร ือร ีลไทม

Sensor Config – ก ําหนดระยะเวลาบ ันท ึกข อม ูลจากต ัวตรวจจ ับในแต ละครั ้ง

Graph – พื้ นที่ แสดงกราฟ

Page 26: IPST-DataScience manual

26

Current Graph – เลื อกชนิ ดของตั วตรวจจั บท่ี นํ าข อมู ลมาแสดงบนกราฟ

(3) การเริ่ มใช งานต องเชื่ อมต อกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ ของชุ ด IPST-DataScience เข ากั บคอมพิ วเตอร ตรวจสอบตํ าแหน งพอร ตหรื อจุ ดต อ COM ที่ ใช งาน แต ถ าต อเข าไปที หลั ง ให คลิ กปุ มลู กศรวงกลมเพื่ อค นหาใหม (ถ าต อแล ว ค นหาไม พบให ตรวจสอบไดรเวอร ) เมื่ อเลื อกพอร ต COMเสร็ จแล ว คลิ กปุ ม Connect เพื่ อทํ าการเชื่ อมต อ

(4) เมื่ อเชื่ อมต อได แล ว ปุ ม Connect จะเปลี่ ยนเป นปุ ม Disconnect เพื่ อเปลี่ ยนเป นปุ มหยุ ดการเช่ื อมต อ ข อความแสดงสถานะทางด านล างจะแสดงสถานะว า Connected (เชื ่อมต อเร ียบร อยแล ว)

(5) โปรแกรมจะเริ ่มท ําการค นหาต ัวตรวจจ ับที ่เชื ่อมต ออยู แล วแสดงรายชื ่อในหน าต าง SensorList การค นหาทํ าได ด วยการคลิ กปุ ม Scan

Page 27: IPST-DataScience manual

27

(6) เมื ่อค นหาอ ุปกรณ เสร ็จแล ว ให ก ําหนดระยะเวลาที ่ต องการบ ันท ึกในแต ละครั ้ง ม ีหน วยเป นว ินาท ี เมื ่อก ําหนดค าเสร ็จแล ว คล ิกปุ ม Start เพื ่อเริ ่มท ํางาน

(7) จากนั ้นหน าต างสํ าหร ับบั นท ึกข อมู ลปรากฏขึ ้นมา เพื ่อให เลื อกที ่อยู และชื ่อไฟล ที ่ต องการบ ันท ึก เมื ่อเล ือกและก ําหนดชื ่อไฟล เสร ็จแล ว คล ิกปุ ม Save เพื ่อเริ ่มบ ันท ีกข อม ูล

Page 28: IPST-DataScience manual

28

(8) จากนั้ นโปรแกรมจะเริ่ มสั่ งงานให ชุ ดอุ ปกรณ IPST-DataScience ทํ าการบั นทึ กข อมู ลจากตั วตรวจจั บในแบบเวลาจริ งหรื อรี ลไทม (Real time) และแสดงข อมู ลล าสุ ดบนกราฟ

Page 29: IPST-DataScience manual

29

(9) ผู ใช งานสามารถเลื อกประเภทของตั วตรวจจั บที่ ต องการดู ข อมู ลในแบบกราฟได ด วยการเลื อกที่ หน าต าง Current Graph

Page 30: IPST-DataScience manual

30

(10) ในการดู ข อมู ลกราฟ ผู ใช งานสามารถขยายภาพเพื่ อดู ข อมู ลเฉพาะช วงที่ ต องการได ด วยการใช เมาส คล ิกลากคลุ มพื ้นที่ ที ่ต องการ โดยให คลิ กลากไปทางขวาล าง จะมี แถบสี นํ ้าเงิ นเกิ ดขึ ้นเพื ่อแสดงขอบเขตที่ ต องการขยาย

Page 31: IPST-DataScience manual

31

(11) ถ าต องการย อกล ับไปเป นขนาดเด ิม ให ลากเมาส แบบเด ิม แต ลากไปในท ิศทางอื ่นๆ ที ่ไม ใช ทิ ศทางขวาล าง

Page 32: IPST-DataScience manual

32

(12) เมื่ อต องการหยุ ด คลิ กที่ ปุ ม Stop ที่ อยู ในกรอบ Sensor Config

(13) เมื่ อบั นทึ กเสร็ จแล ว ผู ใช งานสามารถนํ าไฟล ดั งกล าวไปใช งานด านวิ เคราะห ต อไปได

Page 33: IPST-DataScience manual

33

DataSci Loggerเป นโปรแกรมสํ าหรั บตั้ งค าเพื่ อให ชุ ดอุ ปกรณ IPST-DataScience ทํ างานในโหมดเก็ บข อมู ล

หร ือ Logger โดยไม ต องเชื ่อมต อก ับคอมพ ิวเตอร ซึ ่งเหมาะก ับการน ําไปใช เพื ่อเก็ บข อม ูลจากพื ้นที ่เป าหมาย แล วค อยน ําข อมู ลมาถ ายโอนมายั งคอมพิ วเตอร ในภายหลั ง

มี ขั้ นตอนการใช งานดั งนี้

(1) เป ดโปรแกรมโดยเลื อกที่ Start > DataSci > DataSci Logger

(2) เมื่ อโปรแกรมเป ดขึ้ นมา จะมี หน าต างกํ าหนดการทํ างานดั งนี้

Connection – เลื อกการเชื่ อมต อโปรแกรมเข ากั บกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ ในชุ ดIPST-DataScience

Sensor List – เลื อกตั วตรวจจั บท่ี ต องการบั นทึ กค า

Record Setting – กํ าหนดจํ านวนข อมู ลท่ี ต องการบั นทึ ก

Interval Setting – กํ าหนดระยะเวลาการบั นทึ กข อมู ลในแต ละครั้ ง

Execute – สั ่งงานให กล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิในช ุด IPST-DataScience ทํ างานตามที่ กํ าหนดค าในกรอบ Sensor List, Record Setting และ Interval Setting

Page 34: IPST-DataScience manual

34

(3) ในการตั ้งค าจะต องเชื ่อมต อกล องบ ันทึ กข อมู ลอ ัตโนมั ต ิกั บคอมพิ วเตอร ให เร ียบร อยก อนàÁ×è Í àÅ× Í ¡ ªè Í §ã¹ ¡ ÒÃàª×è Í Áµè Í (ã¹ ·Õè ¹Õé ¤× Í COM 3) ä´é áÅé Ç ¤ÅÔ ¡ ·Õè »Øè Á Connect เพื่ อทํ าการเชื่ อมต อ

(4) เมื่ อเชื่ อมต อได แล ว ปุ ม Connect จะเปลี่ ยนเป นปุ ม Disconnect เพื่ อเปลี่ ยนเป นปุ มหยุ ดการเช่ื อมต อ ข อความแสดงสถานะทางด านล างจะแสดงสถานะว า Connected (เชื ่อมต อเร ียบร อยแล ว)

(5) โปรแกรมจะเริ ่มท ําการค นหาต ัวตรวจจ ับที ่เชื ่อมต ออยู แล วแสดงรายชื ่อในหน าต าง SensorList การค นหาทํ าได ด วยการกดปุ ม Scan

Page 35: IPST-DataScience manual

35

(6) เล ือกต ัวตรวจจ ับที ่ต องการตั ้งค าบ ันท ึกข อม ูล ผู ใช งานสามารถเล ือกได มากกว าหนึ ่งอ ุปกรณ

(7) เมื ่อเล ือกชน ิดของต ัวตรวจจ ับเสร ็จแล ว ล ําด ับต อไปเป นการเล ือกจ ํานวนของข อม ูลที ่ต องการบ ันท ึก และม ีระยะห างในการเก ็บข อม ูลนานเท าใด หร ือเล ือกอ ัตราการเก ็บข อม ูลนั ่นเอง จากภาพต ัวอย างก ําหนดให บ ันท ึกข อม ูลท ุกๆ 1 นาท ี เป นจ ํานวน 200 ครั ้ง หมายความว า การบ ันท ึกข อม ูลในต ัวอย างนี ้ใช เวลาทั ้งหมด 200 นาท ี หร ือ 3 ชั ่วโมง 20 นาท ี

Page 36: IPST-DataScience manual

36

(8) เมื่ อกํ าหนดค าเสร็ จแล ว คลิ กปุ ม Save Setting เพื่ อบั นทึ กการตั้ งค าไว ก อน หรื อคลิ กปุ มStart เพื่ อเริ่ มทํ างาน โดยทั้ งสองกรณี มี ความแตกต างกั นดั งนี้

(A) กรณี เลื อกคลิ กปุ ม Save Setting จะเป นการตั้ งค าให กั บกล องบั นทึ กข อมู ลอ ัตโนม ัต ิเพ ียงอย างเดี ยว ม ันจะเริ ่มท ําการบั นทึ กข อม ูล ก ็ต อเมื ่อกดสว ิตช CHECK BATT/RUN ที ่อยู บนกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ Data BOX แทนการคลิ กที่ ปุ ม Start ในโปรแกรม

(B) การคล ิกปุ ม Start บนโปรแกรมจะเป นการตั ้งค าให ก ับกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิเริ ่มบ ันท ึกข อม ูลท ันท ี

(9) โดยปกติ ในโหมด Logger หรื อโหมดบั นทึ กข อมู ล ควรเลื อกตั้ งค าด วยคลิ กที่ ปุ ม SaveSetting แล วนํ าชุ ดอุ ปกรณ IPST-DataScience ทั้ งกล องบั นทึ กข อมู ลและกล องตั งตรวจจั บไปวางไว ในบริ เวณที่ จะต องการบั นทึ กข อมู ล จากนั้ นกดสวิ ตช CHECK BATT/RUN ที่ อยู บนกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ เพื่ อให ระบบเริ่ มทํ างาน

(10) สํ าหร ับการบ ันท ึกข อม ูลด วยว ิธี ด ังกล าว เมื ่อเริ ่มทํ างานจะม ีเส ียงส ัญญาณตอบร ับจากกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิด ังขึ ้น และจะข ับเส ียงส ัญญาณด ังขึ ้นอ ีกครั ้งเมื ่อบ ันท ึกข อม ูลเสร ็จเร ียบร อยตามที ่ก ําหนดไว การเป ดด ูข อม ูลจากกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิจะต องใช โปรแกรม DataSci Reader ในการเป ดและบ ันท ึกไฟล ข อม ูลลงในคอมพ ิวเตอร

Page 37: IPST-DataScience manual

37

DataSci Readerเป นโปรแกรมส ําหรั บอ านข อมู ลที่ อยู ใน SD การ ดของกล องบั นท ึกข อมู ลอั ตโนมั ต ิ เพื่ อน ํามา

แสดงผลในคอมพิ วเตอร โดยมี การแสดงข อมู ลในรู ปแบบของตารางและกราฟ และสามารถบั นทึ กข อมู ลในรู ปของไฟล .CSV ที่ นํ าไปใช งานกั บซอฟต แวร Spreadsheet อย าง Microsoft Excel ได

มี ขั้ นตอนการใช งานดั งนี้

(1) เป ดโปรแกรมโดยเลื อกที่ Start > DataSci > DataSci Reader

(2) เมื่ อโปรแกรมเป ดขึ้ นมา จะมี หน าต างกํ าหนดการทํ างานดั งนี้

Connection – เลื อกการเชื่ อมต อโปรแกรมเข ากั บกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ ในชุ ดIPST-DataScience

File List – ช องแสดงรายชื่ อไฟล ที่ อยู ใน SD การ ดของกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ

Export Data to PC – ปุ มบั นทึ กไฟล ข อมู ลลงในคอมพิ วเตอร

Data Table – ตารางแสดงข อมู ล

Graph – ส วนของกราฟแสดงข อมู ล

Current Graph – เลื อกชนิ ดของตั วตรวจจั บท่ี นํ าข อมู ลมาแสดงบนกราฟ

Page 38: IPST-DataScience manual

38

(3) ในการตั ้งค าจะต องเชื ่อมต อกล องบ ันทึ กข อมู ลอ ัตโนมั ต ิกั บคอมพ ิวเตอร ให เร ียบร อยก อนàÁ×è Í àÅ× Í ¡ ªè Í §ã¹ ¡ ÒÃàª×è Í Áµè Í (ã¹ ·Õè ¹Õé ¤× Í COM 3) ä´é áÅé Ç ¤ÅÔ ¡ ·Õè »Øè Á Connect เพื ่อท ําการเช่ื อมต อ หร ือคล ิกปุ มล ูกศรวงกลมเพื ่อค นหาใหม เมื ่อเล ือก COM Port เสร ็จแล ว คล ิกปุ ม Connect เพื ่อท ําการเชื ่อมต อ

(4) เมื่ อเชื่ อมต อได แล ว ปุ ม Connect จะเปลี่ ยนเป นปุ ม Disconnect เพื่ อเปลี่ ยนเป นปุ มหยุ ดการเช่ื อมต อ ข อความแสดงสถานะทางด านล างจะแสดงสถานะว า Connected (เชื ่อมต อเร ียบร อยแล ว)

(5) โปรแกรมจะแสดงรายชื่ อไฟล ข อมู ลที่ อยู ใน SD การ ดของกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ ที่ หน าต าง File List

Page 39: IPST-DataScience manual

39

(6) เมื ่อกดเล ือกที ่ไฟล ข อม ูลใดๆ ข อม ูลจะถ ูกนํ ามาแสดงในหน าต าง Data Table และ Graph

(7) สํ าหร ับการแสดงข อม ูลในร ูปแบบของกราฟจะแสดงแยกออกไปตามชน ิดของต ัวตรวจจ ับผู ใช งานสามารถเลื อกดู ข อมู ลของตั วตรวจจั บที่ ต องการได จากกรอบ Current Graph ที่ อยู ด านล างของหน าต าง Graph

(8) ถ าต องการบั นทึ กไฟล ลงบนคอมพิ วเตอร ให คลิ กปุ ม Save ที่ ช อง Export Data to PC

Page 40: IPST-DataScience manual

40

(9) จะมี หน าต างบั นทึ กไฟล แสดงขึ้ นมา เพื่ อเลื อกที่ อยู ของไฟล และชื่ อไฟล ที่ ต องการบั นทึ กเมื่ อกํ าหนดเสร็ จแล วให คลิ กปุ ม Save

(10) เมื่ อบั นทึ กเสร็ จเรี ยบร อย ผู ใช งานสามารถนํ าไฟล ดั งกล าวไปประยุ กต ใช งานต อไปได จากภาพตั วอย าง นํ าไปเป ดใน Microsoft Excel

Page 41: IPST-DataScience manual

41

(11) ในกรณ ีที ่หน าต างโปรแกรมเล ็กเก ินไป อาจด ูข อม ูลในตารางและกราฟไม สะดวก ผู ใช งานสามารถขยายขนาดหน าต างได เหม ือนโปรแกรมทั ่วๆ ไป และปร ับขนาดระหว างตารางข อม ูลและกราฟได ด วยการนํ าเคอร เซอร ไปวางไว บร ิเวณพื้ นที่ ส ีเทาระหว างหน าต างทั้ งสอง แล วคลิ กเพื ่อปร ับขนาดระหว างตารางข อมู ลและกราฟได

Page 42: IPST-DataScience manual

42

Page 43: IPST-DataScience manual

43

สํ าหร ับแอปพลิ เคชั ่น DataSci เป นแอปพลิ เคชั่ นหรื อโปรแกรมประยุ กต ที ่ติ ดตั้ งบนอ ุปกรณ แอนดรอยด ม ีไว ใช งานร วมก ับ IPST-DataScience ช ุดบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิเพื ่อการศ ึกษาด านว ิทยาศาสตร เพื ่อใช ในการอ านค าจากกล องบ ันท ึกข อมู ลอ ัตโนม ัต ิแบบเวลาจร ิงหร ือ Real-time และแบบอ านค าจากหน วยความจ ํา SD การ ดภายในกล องบ ันท ึกข อม ูลหร ือโหมดล ็อกเกอร (Logger) เพื ่อนํ ามาแสดงผลบนหน าจอของอ ุปกรณ แอนดรอยด โดยข อม ูลเหล านั ้นได มาจากต ัวตรวจจ ับหร ือห ัวว ัดปร ิมาณทางกายภาพ

คุ ณสมบั ติ ของแอปพลิ เคชั่ น DataSci ติ ดตั้ งและทํ างานบนอุ ปกรณ แอนดรอยด ตั้ งแต เวอร ชั น 2.3.4 ขึ้ นไป

เชื่ อมต อกั บกล องบั นทึ กข อมู ลในชุ ดบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ เพื่ อการศึ กษาด านวิ ทยาศาสตร IPST-DataScience แบบไร สายผ านวงจรบล ูท ูธเมื ่อท ํางานในโหมดเวลาจร ิงหร ือร ีลไทม มอน ิเตอร (Real-time monitoring) และในโหมดล็ อกเกอร เพื ่ออ านข อม ูลจาก SD การ ดของกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัติ

เลื อกอ านค าจากตั วตรวจจั บได พร อมกั นสู งสุ ด 8 ช อง จากตั วตรวจจั บทุ กแบบ ขึ้ นอยู กั บการส งข อมู ลมาจากกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ

กํ าหนดอั ตราการสุ มสั ญญาณหรื ออ านข อมู ลได ทุ กๆ 1 วิ นาที ถึ งทุ กๆ 168 ช่ั วโมง 59 นาที 59 วิ นาที

แสดงผลการอ านข อมู ลในรู ปของกราฟและข อมู ลตั วเลข พร อมกั บบั นทึ กข อมู ลที่ เกิ ดขึ้ นตามเวลาจริ ง โดยแสดงได พร อมกั น 8 ช อง

ก ําหนดระยะเวลาในการอ านข อมู ลได พร อมกั บสร ุปค าส ูงส ุด ตํ่ าสุ ด และค าเฉลี ่ยของข อม ูลที่ อ านได ตามช วงเวลาที่ กํ าหนด

บั นทึ กภาพกราฟที่ แสดงผลในร ูปแบบไฟล .png และบั นท ึกข อมู ลที่ วั ดได ทั้ งหมดให อยู ในรู ปของไฟล นามสกุ ล .csv นํ าไปเป ดดู บน Microsoft Excel เพื่ อนํ าค าที่ ได ไปใช งานต อไป

DataSci

Page 44: IPST-DataScience manual

44

ติ ดตั้ งแอปพลิ เคชั่ น DataSciดาวน โหลดแอปพลิ เคชั่ น DataSci ได จาก https://play.google.com/store/apps/details?-

id=com.inex.datasci

เตรี ยมการเชื ่อมต ออุ ปกรณ ในชุ ด IPST-DataScienceหลั งจากติ ดตั ้งแอปพล ิเคชั่ นลงบนอุ ปกรณ แอนดรอยด แล ว จะต องเชื่ อมต ออุ ปกรณ ทั้ งหมดที่

เกี ่ยวข องให พร อมเส ียก อน ด ังนี้

(1) ต อกล องเชื่ อมต อบลู ทู ธ (กล องสี ฟ าใส) เข ากั บกล องบั นทึ กข อมู ลหลั ก

(2) ต อกล องตั วตรวจจั บที่ ต องการอ านค าเข ากั บกล องบั นทึ กข อมู ลหลั ก อาจต องต อสายเข ากั บกล องต อพ วงสั ญญาณหรื อ HubBOX ในกรณี ที่ ช องต อสั ญญาณของกล องบั นทึ กข อมู ลหลั กไม เพี ยงพอ (ปกติ รั บได สู งสุ ด 4 ช อง)

รู ปที่ 4 แสดงการต ออุ ปกรณ ในชุ ด IPST-DataScience เพื่ อติ ดต อกั บแอปพลิ เคชั่ น DataSci

ร ูปที ่ 4 การต ออ ุปกรณ ในช ุด IPST-DataScience เพ่ื อต ิดต อก ับแอปพล ิเคชั ่น DataSci บนอ ุปกรณ แอนดรอยด ในแบบไร สายผ านบล ูท ูธ

Page 45: IPST-DataScience manual

45

เมนู หลั กของแอปพลิ เคชั่ น DataSciหลั งจากดาวน โหลดและติ ดตั้ งแอปพลิ เคชั่ น DataSCi ลงในอุ ปกรณ แอนดรอยด แล ว ให เป ด

แอปนี้ ขึ้ นมาใช งานได ทั นที ที่ หน าจอหลั กของแอปพลิ เคชั่ นมี เมนู หลั ก 4 เมนู ดั งนี้

Real-time Monitoring ส ําหร ับอ านและบ ันท ึกข อม ูลจากต ัวตรวจจ ับที ่น ํามาต อก ับกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิในช ุด IPST-DataScience ณ ป จจ ุบ ัน พร อมทั ้งแสดงผลข อม ูลในร ูปของกราฟให เห ็นบนหน าจอของอ ุปกรณ แอนดรอยด

Record History อ านไฟล ข อม ูลที ่เคยบ ันท ึกไว ในการท ํางานแบบ Real-time Monitoring จ ึงเป ดด ูข อม ูลได โดยไม จํ าเป นต องต อก ับกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิในช ุด IPST-DataScience

Logger ตั ้งค าและสั ่งงานให กล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิในช ุด IPST-DataScience ท ํางานในโหมด Logger ที ่จะคอยบ ันท ึกข อม ูลตามช วงเวลาที ่ก ําหนดไว ล วงหน า ตั ้งค าเวลาในการบ ันท ึกค าล วงหน า แล วน ํากล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนมั ต ิและต ัวตรวจจ ับที ่ต องการใช งานไปต ิดตั ้งในบร ิเวณที ่ต องการเก ็บข อม ูล โดยไม จ ําเป นต องต อก ับอ ุปกรณ แอนดรอยด หร ือคอมพ ิวเตอร

Data Reader อ านไฟล ข อมู ลที ่บั นทึ กเก็ บไว ใน SD การ ดของกล องบั นท ึกข อมู ลอั ตโนมั ติ ในช ุด IPST-DataScience โดยนํ าข อม ูลด ังกล าวมาแสดงในรู ปของตารางข อม ูลและกราฟ ทั ้งยั งบั นท ึกข อมู ลเก็ บไว ในหน วยความจํ าของอุ ปกรณ แอนดรอยด ได

Page 46: IPST-DataScience manual

46

การทํ างานในโหมด Real-time Monitoring(1) กดเลื อกที่ เมนู Real-time Monitoring

(2) เมื ่อเข าสู โหมด Real-time Monitoring แล ว สิ ่งแรกที ่ต องท ําค ือ เชื ่อมต อก ับกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิในช ุด IPST-DataScience ก อน โดยให เล ือกชื ่อกล องบล ูท ูธที ่ต ออยู ก ับกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิ

(2.1) ในกรณ ีที ่ย ังไม เคยเช่ื อมต อมาก อนและไม ม ีรายชื ่อของอ ุปกรณ บล ูท ูธแสดงขึ ้นมาให กดปุ มรู ปแว นขยายเพื่ อทํ าการค นหาอ ุปกรณ รอสั กครู จะมี รายชื่ ออุ ปกรณ บลู ทู ธเพิ่ มเข ามา สั งเกตชื่ อของอุ ปกรณ ที่ ขึ้ นต นด วย IPST_BLUE แล วตามด วยหมายเลข 4 หลั ก (0000 ถึ ง xxxx)

(2.2) รออุ ปกรณ แอนดรอยด ทํ าการเชื่ อมต อกั บอุ ปกรณ บลู ทู ธของ IPST-DataScience

(2.3) ในกรณี ที่ เชื่ อมต อครั้ งแรกจะต องมี การใส รหั สผ าน ให ใส รหั ส 1234 แล วกดปุ มOK (ลั กษณะของหน าต างอาจแตกต างกั นออกไปตามเวอร ชั นของระบบปฏิ บั ติ การแอนดรอยด ของอุ ปกรณ แต ละเครื่ อง)

Page 47: IPST-DataScience manual

47

(3) เมื ่อเชื ่อมต อเร ียบร อยแล ว แอปพล ิเคชั ่น DataSci จะท ําการค นหาต ัวตรวจจ ับที ่ต ออยู ก ับกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิในช ุด IPST-DataScience โดยอ ัตโนม ัต ิ ในกรณ ีที ่ม ีอ ุปกรณ ต ออยู แต ค นหาไม พบหร ือหมายเลขของต ัวตรวจจ ับไม ตรง ให กดปุ มร ูปแว นขยายเพื ่อค นหาใหม อ ีกครั ้ง อาจกดปุ มล ูกศรชี ้ไปทางขวาเพื ่อหย ุดค นหาและไปย ังขั ้นตอนต อไป โดยจะต องค นหาต ัวตรวจจ ับให พบอย างน อยหนึ ่งต ัว

(4) เมื่ อค นหาตั วตรวจจั บเสร็ จแล ว ระบบจะเข าสู หน าตั้ งค าการทํ างานของโหมด Real-timeMonitoring ซึ่ งกํ าหนดได ว า ต องการให บั นทึ กข อมู ลในช วงเวลาใด (Interval) และบั นทึ กชื่ อไฟล ได ตามต องการ (Filename)

Page 48: IPST-DataScience manual

48

(5) เมื่ อกดที่ ต ัวเลขของ Interval จะมี หน าต างสํ าหรั บกํ าหนดค าเวลาที ่ต องการปรากฏขึ ้นมาโดยระยะเวลาที ่น อยที ่ส ุดจะขึ ้นอยู ก ับจ ํานวนต ัวตรวจจ ับที ่ต ออยู เนื ่องจากหากม ีการเชื ่อมต อต ัวตรวจจ ับจ ํานวนมากอาจไม สามารถอ านค าทั ้งหมดได ภายใน 1 ว ินาท ี ด ังนั ้นจ ึงต องม ีการก ําหนดระยะเวลาขั ้นต่ํ าโดยอ ิงจากจํ านวนต ัวตรวจจ ับไว

(6) เมื่ อกดที่ ชื่ อไฟล จะเป นการแก ไขชื่ อไฟล ที่ จะบั นทึ กข อมู ล ทํ าการใส ชื่ อไฟล ตามต องการ

Page 49: IPST-DataScience manual

49

(7) เมื ่อกํ าหนดค าเสร ็จแล ว กดปุ มล ูกศรชี ้ไปทางขวาม ือเพื ่อเริ ่มบ ันท ึกข อม ูลแบบเวลาจร ิงหร ือรี ลไทม (real time)

(8) เมื ่อแอปพลิ เคชั ่นเริ ่มทํ างาน จะอ านค าจากตั วตรวจจั บที่ เชื ่อมต อไว ในตอนแรก แล วแสดงค าให เห ็นบนหน าจอ

Page 50: IPST-DataScience manual

50

(9) ส ําหร ับกราฟแสดงข อม ูลจะแสดงแยกตามประเภทของต ัวตรวจจ ับ โดยสล ับให แสดงกราฟของตั วตรวจจั บชนิ ดต างๆ ได ด วยการเลื อกที่ ปุ มมุ มซ ายล าง

(10) สํ าหรั บปุ มดั งกล าวจะใช ตั วอั กษรแทนชื่ อชนิ ดของตั วตรวจจั บดั งนี้

T – Temperature S – Sound L – Light V – Voltage R - Resistance

(11) ในกรณี ที่ ไม ได เชื่ อมต อกั บตั วตรวจจั บชนิ ดนั้ นๆ จะไม มี ปุ มแสดงขึ้ นมาในหน ากราฟ

(12) ช องสี่ เหลี่ ยมที่ อยู ฝ งขวามื อจะเป นช องแสดงข อมู ลล าสุ ดของตั วตรวจจั บแต ละตั ว เช นค าล าสุ ด ค าเฉลี่ ย ค าสู งสุ ด เป นต น

Page 51: IPST-DataScience manual

51

(13) สํ าหรั บข อมู ลที่ แสดงในกราฟจะแสดงข อมู ลล าสุ ด 20 อั นดั บ ถ าต องการขยายดู ข อมู ลในแต ละจุ ด ทํ าได ด วยการจี บนิ้ วบนกราฟแล วเลื่ อนไปดู ข อมู ลช วงที่ ต องการได

Page 52: IPST-DataScience manual

52

(14) ตั วเลขวงกลมที่ อยู มุ มขวาล างของกราฟเป นจํ านวนข อมู ลที่ ได บั นทึ ก

(15) ในการบ ันท ึกข อม ูลแบบเวลาจร ิงหร ือ Real-time ผู ใช งานสามารถกดปุ ม Home เพื ่อย อหน าต างของแอปพล ิเคชั ่นลง แล วทํ างานเป นเบื ้องหล ังได โดยแอปพลิ เคช่ั นย ังคงทํ างานต อเนื่ องเมื ่อเล ือกให กลั บมาแสดงผลอี กครั้ ง

(16) หากต องการหยุ ดการทํ างานให กดปุ ม Back หรื อกดที่ มุ มซ ายบนที่ เป นสั ญลั กษณ ของโปรแกรมเพื ่อหย ุดการท ํางานก ็ได

Page 53: IPST-DataScience manual

53

การทํ างานในโหมด Record Historyในโหมดนี้ มี ไว สํ าหรั บเป ดดู ข อมู ลที่ เคยบั นทึ กไว จากการทํ างานในโหมด Real-time

Monitoring เพื่ อเลื อกดู ข อม ูลย อนหล ังได

(1) เริ่ มจากเลื อกไปที่ เมนู Record History

(2) ในกรณ ีที ่ม ีการบ ันท ึกข อม ูลมาก อน ก ็จะม ีแถบรายชื ่อไฟล ข อม ูลแสดงทางฝ งซ ายของหน าจอ

Page 54: IPST-DataScience manual

54

(3) เล ือกด ูข อม ูลในแต ละไฟล ด วยการกดเล ือกที ่แถบฝ งซ ายม ือ ข อม ูลจะถ ูกแสดงที ่ฝ งขวาของหน าจอ

ลั กษณะของกราฟจะค อนข างคล ายกั บในโหมด Real-time Monitoring มี การแสดงข อม ูลกราฟแยกตามชน ิดของต ัวตรวจจ ับ รวมไปถึ งการจี บนิ้ วเพื่ อย อหรื อขยายกราฟด วย แต ข อมู ลที่ แสดงอยู บนกราฟในโหมดนี้ จะเป นข อม ูลทั ้งหมดที ่บั นทึ กไว ในไฟล ข อมู ลนั ้นๆ ซึ ่งต างจากในโหมดReal-time Monitoring ที่ แสดงข อมู ลล าสุ ด 20 อั นดั บเท านั้ น

(4) การแสดงกราฟในโหมด Record History จะไม แสดงค าของข อมู ลบนเส นกราฟ แต ผู ใช งานสามารถกดเลื อกบนตํ าแหน งใดๆ ของเส นกราฟเพื่ อดู ค า ณ ตํ าแหน งนั้ นๆ ได

Page 55: IPST-DataScience manual

55

(5) นอกจากการดู ข อมู ลกราฟแล ว ผู ใช งานยั งสามารถดู ข อมู ลที่ บั นทึ กไว ในลั กษณะของตารางได ด วย โดยกดลู กศรชี้ ลงที่ อยู มุ มขวาล างของหน าจอแอปพลิ เคชั่ น

(6) หน าต างฝ งขวาจะเลื่ อนลงมาแสดงข อมู ลในรู ปของตาราง เพื่ อแสดงให เห็ นว า ข อม ูลที่ ได จากตั วตรวจจั บในแต ละช วงมี ค าเท าใด และมี รายละเอี ยดเล็ กน อยสํ าหรั บไฟล ข อมู ลนั้ นๆ

(7) หากต องการย อนกลั บไปดู ข อมู ลแบบกราฟ ให กดปุ มลู กศรชี้ ขึ้ น ก็ จะเลื่ อนหน าต างไปดู ข อมู ลแบบกราฟแทน

Page 56: IPST-DataScience manual

56

(8) ในกรณี ที่ ต องการลบไฟล ข อมู ล

(8.1) ให ใช นิ้ วแตะค างที่ ชื่ อไฟล นั้ นๆ

(8.2) จะมี หน าต างข อความแสดงขึ้ นมาเพื่ อยื นยั นการลบไฟล ถ าเลื อกเครื่ องกากบาทคื อยกเลิ ก ถ าเลื อกเครื่ องหมายถู กจะเป นยื นยั นลบไฟล ที่ เลื อก

(8.3) เมื่ อกดปุ มเครื่ องหมายถู กต อง แอปพลิ เคชั่ นจะลบไฟล นั้ นๆ ทิ้ ง

Page 57: IPST-DataScience manual

57

การทํ างานในโหมด Loggerโหมด Logger มี ไว สํ าหรั บกํ าหนดค าหรื อสั่ งงานให กล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ ของชุ ด

อุ ปกรณ IPST-DataScience ทํ าการบั นทึ กค าของตั วตรวจจั บตามที่ กํ าหนดไว โดยไม จํ าเป นต องเชื่ อมต อก ับอุ ปกรณ แอนดรอยด หรื อคอมพิ วเตอร โดยข อมู ลที่ ได จากตั วตรวจจั บจะได ร ับการบ ันทึ กไว ในSD การ ด จึ งเหมาะที่ จะนํ าไปใช เก็ บข อมู ลในภายนอกหรื อภาคสนาม

(1) การใช งานโหมดนี้ ให เลื อกไปที่ เมนู Logger

(2) ท ําการเชื ่อมต อก ับกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิ Data Box เข าก ับแอปพล ิเคชั ่น DataSci บนอ ุปกรณ แอนดรอยนด ผ านบล ูท ูธ ซึ ่งขั ้นตอนนี ้จะเหม ือนก ับการใช งานในโหมด Real-time Monitoring เมื ่อเชื ่อมต อส ําเร ็จแล ว จะท ําการค นหาต ัวตรวจจ ับที ่ต ออยู ก ับกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ ท ันที

Page 58: IPST-DataScience manual

58

(3) เมื ่อค นหาต ัวตรวจจ ับแล ว จะต องตั ้งค าระยะเวลาในการบ ันท ึกข อม ูลในแต ละครั ้ง (Interval)ก ับจํ านวนข อม ูลที ่ต องการบ ันท ึก ซึ ่งจะต างจากโหมด Real-time Monitoring ที ่บ ันท ึกข อม ูลได ต อเนื ่องจนกว าจะสั ่งให หย ุดท ํางาน ส ําหร ับโหมด Logger เป นการสั ่งงานให กล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ เก ็บข อม ูลไว ในตั วเอง สํ าหรั บจ ํานวนข อม ูลที ่บ ันท ึกได ของกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ ขึ ้นก ับความจ ุของSD การ ดที ่นํ ามาใช (ในชุ ดเตรี ยม SD การ ดขนาด 8GB ไว ให ใช งาน)

จากภาพเป นการเล ือกให บ ันท ึกข อม ูลท ุกๆ 3 ว ินาท ี จ ํานวน 10 ครั ้ง ด ังนั ้นตั วอย างนี ้ใช เวลาท ํางานทั ้งหมด 30 ว ินาท ี

(4) เมื่ อกํ าหนดค าเสร็ จแล ว จะมี ปุ ม 2 ปุ มสํ าหรั บกํ าหนดการทํ างาน

(4.1) ปุ มบนรู ปแผ นดิ สก เป นการเลื อกให เก็ บค าที่ กํ าหนดไว ในกล องบั นทึ กข อมู ลอ ัตโนม ัต ิก อน ยั งไม มี การอ านค าจากตั วตรวจจั บและบั นทึ กข อมู ลเกิ ดขึ้ น จนกว าจะมี การกดสวิ ตช CHECK BATT/RUN บนกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิ

Page 59: IPST-DataScience manual

59

(4.2) ปุ มล างเป นการเก็ บค าที่ กํ าหนดไว แล วสั่ งให กล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนม ัต ิ เริ่ มทํ างาน เก็ บข อมู ลจากตั วตรวจจั บทั นที

(5) เมื่ อเริ่ มต นทํ างานในโหมด Logger กล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ Data Box จะขั บเสี ยงสั ญญาณเพื ่อแจ งให ทราบว า เริ่ มทํ างานในโหมด Logger แล ว และข ับเส ียงสั ญญาณอ ีกครั ้งเมื ่อทํ างานเสร็ จตามที่ กํ าหนดไว

Page 60: IPST-DataScience manual

60

การทํ างานในโหมด Readerโหมด Reader ใช อ านข อมู ลที ่บ ันท ึกไว ใน SD การ ดของกล องบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิ Data Box

ที ่ได จากการท ํางานในโหมด Logger โดยจะอ านข อม ูลที ่อยู ใน SD การ ดมาแสดงในร ูปของตารางและกราฟบนหน าจออ ุปกรณ แอนดรอยด และบ ันท ึกลงในหน วยความจํ าของอ ุปกรณ แอนดรอยด ได ด วย

(1) การใช งานโหมดนี้ ให เลื อกไปที่ เมนู Data Reader

(2) ทํ าการเชื่ อมต อกั บกล องบั นทึ กข อมู ลอั ตโนมั ติ Data Box เข ากั บแอปพลิ เคชั่ น DataSciบนอุ ปกรณ แอนดรอยนด ผ านบลู ท ูธให เร ียบร อย

(3) เมื่ อเชื่ อมต อเสร็ จเรี ยบร อย แอปพลิ เคชั่ น DataSci จะอ านชื่ อไฟล ข อมู ลที่ อยู ใน SD การ ดแล วนํ ามาแสดงที่ แถบซ ายมื อของหน าจอ

Page 61: IPST-DataScience manual

61

(4) เมื่ อกดเลื อกชื่ อไฟล ข อมู ลใดๆ จะเป นการอ านข อมู ลที่ เก็ บไว มาแสดงทั้ งแบบกราฟและตาราง

แสดงข อมู ลแบบกราฟ

แสดงข อมู ลแบบตาราง

Page 62: IPST-DataScience manual

62

(5) ในกรณี ที่ ต องการลบไฟล ข อมู ลหรื อบั นทึ กเก็ บไว ในอุ ปกรณ แอนดรอยด

(5.1) ให แตะนิ ้วค างไว ที ่ชื ่อไฟล ข อม ูลที ่ต องการ จากภาพตั วอย างคื อไฟล DATA0009

(5.2) จะมี หน าต างแสดงขึ้ นมาเพื่ อถามว า ต องการลบไฟล ข อมู ล หรื อต องการบั นทึ กลงในอุ ปกรณ แอนดรอยด

(5.3) ในกรณี เลื อกที่ จะลบข อมู ล โปรแกรมจะมี หน าต างแสดงขึ้ นมาถามอี กครั้ ง เพื่ อยื นยั นการลบข อมู ล

(5.4) เมื ่อเล ือกลบไฟล ข อม ูล แอปพล ิเคชั ่นจะลบไฟล ข อม ูลที ่อยู ใน SD การ ดของกล องบั นท ึกข อม ูลอั ตโนมั ติ Data Box ด วย จึ งท ําให ไฟล ข อม ูลที่ ชื ่อว า DATA0009 ถู กลบออกไปเรี ยบร อย

Page 63: IPST-DataScience manual

63

(5.5) ในกรณี ที่ เลื อกบั นทึ กข อมู ลลงในอ ุปกรณ แอนดรอยด จะมี หน าต างแสดงขึ้ นมาเพื่ อให ตั้ งชื่ อไฟล ข อมู ล อาจใช ชื่ อที่ กํ าหนดให อั ตโนมั ติ หรื อแก ไขได ตามต องการ

(5.6) เมื ่อบ ันทึ กข อม ูลเสร ็จแล ว จะม ีหน าต างแสดงข อความเพื ่อแจ งว า ได บ ันท ึกข อม ูลลงในอุ ปกรณ แอนดรอยด เรี ยบร อยแล ว โดยที่ ตั วไฟล ข อมู ลจะเก็ บไว ใน /DataSci ซึ่ งเป นที่ เดี ยวกั บไฟล ข อมู ลที่ ได จากการทํ างานในโหมด Real-time Monitoring นั่ นเอง

ทั้ งหมดที่ นํ าเสนอในบทนี้ เป นการแนะนํ าการใช งานแอปพลิ เคชั่ น DataSci บนอุ ปกรณ แอนดรอยด เบื ้องต น ซึ ่งรองรั บทั ้งสมาร ตโฟนและแท็ บเล็ ตที ่มี บล ูทู ธให ทํ างานร วมกั บ IPST-DataScienceช ุดบ ันท ึกข อม ูลอ ัตโนม ัต ิเพื ่อการศ ึกษาด านว ิทยาศาสตร นั บเป นสื่ อเพื่ อช วยในการเรี ยนรู เกี่ ยวกั บการอ านและเก็ บข อมู ลของปริ มาณทางวิ ทยาศาสตร กั บอุ ปกรณ สมั ยใหม ที่ พั ฒนาขึ้ นโดยวิ ศวกรและโปรแกรมเมอร คนไทย 100% ตั วแรกที่ ท ํางานเชื ่อมต อก ับคอมพ ิวเตอร และอุ ปกรณ สื่ อสารสมั ยอย างใหม อย างสมาร ตโฟนและแท็ บเล็ ต

Page 64: IPST-DataScience manual

64