18
,QWHUQHW 3URWRFRO YHUVLRQ ,3Y ホオチューテ・ ュュィキィィオ チ、オ」オ ヲョエュ {サエオヲトoチテティ・クチヲコーnオ・ーキチーヲrチネナoヲエェオ、キ・、ー・nオツ。ヲnョィオ・エノェティ ツィウオヲチキテーチヲコーnオ・ーキチーヲrチネチ}ナー・nオヲェチヲネェ ィナュホオエトオヲホオオー ーキチーヲrチネコー ーキチーヲrチネテヲテーィ ,QWHUQHW 3URWRFRO ケノヲウーoェ・ュnェュホオエ コー ョ、オ・チィーキチーヲrチネツーチヲュ ョヲコー ョヲコー ナー。クツーチヲュ ,3 $GGUHVV クノトoトオヲーoオーキチヲコノー ー、。キェチーヲrツィウーサヲrチヲコーnオ・nオ ヌ ーキチーヲrチネエノェティ チヲク・チュ、コーオヲトoオテヲォエ。r トオヲキnーュコノーュオヲエウoー、クチィョ、オ・チーヲrテヲォエ。rチ。コノートョoーoオーキシoヲエュオ・ナo ー、。キェチーヲrサ チヲコノートーキチーヲrチネネoー、クョ、オ・チィナー。クツーチヲュクノナ、nハホオエ サェエクノチヲオトoョ、オ・チィナー。クツーチヲュ、オヲオーーキチーヲrチネテヲテーィヲサnク,3 ケノチ}、オヲオトオヲュnoー、シィトチヲコーnオ・ーキチーヲrチネエハツne ォ エハクハオヲ・オ・エェ ーチヲコーnオ・ーキチーヲrチネトnェクノnオ、オ、クーエヲオオヲチキテー・nオヲェチヲネェ エェキエ・チヲキノ、。ェnオョ、オ・チィ ナー。クツーチヲュー ,3 ホオィエウシトoョ、ナ ナ、nチ。ク・。ーエオヲトoオーキチーヲrチネトーオ ケノ、ク オヲオウチエェnオョ、オ・チィナー。クツーチヲュー ,3Y ウ、クナ、n。ーエェオ、oーオヲトe ォ ツィウョオチキケハネョ、オ・ェオ、ェnオウナ、nュオ、オヲチコノー、nーーサヲrチヲコーnオ・チoオエヲウーキチーヲrチネ チ。キノ、ケハナoーク エエハウホオオ ,(7) 7KH ,QWHUQHW (QJLQHHULQJ 7DVN )RUFH ケノヲウョエケ{ョオ エィnオェケナo。エオーキチーヲrチネテヲテーィヲサnトョ、nケハ コー ヲサnクノ ,QWHUQHW 3URWRFRO YHUVLRQ ,3Y チ。クノーツーキチーヲrチネテヲテーィヲサnチキ、 オ、、オヲオoオ ,QWHUQHW 3URWRFRO ,3>5)&@ ウ、クオヲヲウサュnェクノチ}ヲサn 9HUVLRQ ー ,QWHUQHWZRUN JHQHUDO SURWRFRO ケノ YHUVLRQ チーヲr シヲウサトョoチ} ,QWHUQHW 3URWRFRO ,3 ュnェ YHUVLRQ チーヲr ナo、クオヲシホオナトoツィoェツィウヲウサトョoチ} 67 'DWDJUDP 0RGH 67 チクノ・ェoーエ ,QWHUQHW 6WUHDP 3URWRFRO エエハトオヲ。エオーキチーヲrチネテヲテーィヲサnトョ、n ケoートo YHUVLRQ チーヲr ョヲコー ,3Y チjオョ、オ・トオヲーーツ ,3Y ,3Y ナoヲエオヲーーツ、オチ。コノーュnチュヲキ、ヲウュキキ」オ。トオヲホオオツィウヲエチィクノ・オ ーチヲコーnオ・トョoチ}ナオ、ェオ、oーオヲナoチ}ー・nオク ツィウチコノーオェエサヲウュrチヲキノ、ツヲトオヲ ーーツ ,3Y エハコーチ。コノーオヲォケャオ ホオトョoサィエャウー ,3Y トョィオ・サィオ・チ}サoー・ チ。ヲオウ ナ、nナo、クオヲオオヲrチ。コノートoオオー・nオト{サエ

Internet Protocol version 6 (IPv6) · Internet Protocol version 6 (IPv6) นําเสนอโดย น.ส.สลิลลา เบญจมาภา รหัส 4840114 ป

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • Internet Protocol version 6 (IPv6) นําเสนอโดย น.ส.สลิลลา  เบญจมาภา  รหัส 4840114 

    ปจจุบันการใชเทคโนโลยีเครือขายอินเทอรเน็ตไดรับความนิยมอยางแพรหลายทั่วโลก และการเติบโตของเครือขายอินเทอรเน็ตเปนไปอยางรวดเร็ว กลไกสําคัญในการทํางานของ อินเตอรเน็ตคือ อินเทอรเน็ตโปรโตคอล (Internet Protocol) ซ่ึงประกอบดวยสวนสําคัญ คือ หมายเลขอินเทอรเน็ตแอดเดรส หรือ หรือ ไอพีแอดเดรส (IP Address) ที่ใชในการอางอิงเครื่อง คอมพิวเตอรและอุปกรณเครือขายตาง ๆ บนอินเทอรเน็ตทัว่โลก เปรียบเสมือนการใชงานโทรศัพท ในการติดตอส่ือสารกันจะตองมีเลขหมายเบอรโทรศัพทเพือ่ใหอางอิงผูรับสายได คอมพิวเตอรทุก เครื่องในอินเทอรเน็ตก็ตองมีหมายเลขไอพีแอดเดรสท่ีไมซํ้ากัน 

    ทุกวันที่เราใชหมายเลขไอพีแอดเดรสบนมาตรฐานของอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนที่ 4 (IP4) ซ่ึงเปนมาตรฐานในการสงขอมูลในเครือขายอินเทอรเน็ตตั้งแตป ค.ศ. 1981 ทั้งนี้การขยายตัว ของเครือขายอินเทอรเน็ตในชวงที่ผานมามีอัตราการเติบโตอยางรวดเรว็ นักวิจัยเริ่มพบวาหมายเลข ไอพีแอดเดรสของ IP4  กําลังจะถูกใชหมดไป ไมเพียงพอกับการใชงานอินเทอรเนต็ในอนาคต ซ่ึงมี การคาดคะเนกันวาหมายเลขไอพีแอดเดรสของ IPv4 จะมีไมพอกับความตองการในป ค.ศ.2010 และหากเกิดขึน้ก็หมายความวาจะไมสามารถเช่ือมตออุปกรณเครือขายเขากับระบบอินเทอรเน็ต เพ่ิมขึ้นไดอีก 

    ดังนั้นคณะทํางาน IETF (The Internet Engineering Task Force) ซ่ึงตระหนักถึงปญหา ดังกลาวจึงไดพัฒนาอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนใหมขึ้น คอื รุนที่ 6 (Internet Protocol version 6;IPv6) เพ่ีอทดแทนอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนเดิม 

    ตามมาตรฐานดาน Internet Protocol (IP)[RFC791] 2 จะมีการระบุสวนที่เปนรุน (Version) ของ Internetwork general protocol  ซ่ึง version เบอร 4 ถูกระบุใหเปน Internet Protocol (IP) สวน version เบอร 5 ไดมีการถูกนําไปใชแลวและระบุใหเปน ST Datagram Mode (ST) เกี่ยวของกับ Internet Stream Protocol ดังนัน้ในการพฒันาอินเทอรเน็ตโปรโตคอลรุนใหม จึงตองใช version เบอร 6 หรือ IPv6 เปาหมายในการออกแบบ IPv6 

    IPv6 ไดรับการออกแบบมาเพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพในการทํางานและปรับเปล่ียนขนาด ของเครือขายใหเปนไปตามความตองการไดเปนอยางดี และเนื่องจากวตัถุประสงคเริ่มแรกในการ ออกแบบ IPv4 นั้นคือเพ่ือการศกึษา ทําใหคณุลักษณะของ IPv4 ในหลายจุดกลายเปนจุดดอย เพราะ ไมไดมีการคาดการณเพื่อใชงานบางอยางในปจจุบนั

  • การใชงานอินเทอรเน็ตปจจุบันเปนปจจัยในชีวติประจําวันและเปนการใชงานในธุรกิจมาก ขึ้น การพัมนา IPv6 จึงมีการปรับปรุงโครงสรางของตัวโปรโตคอล โดย 

    1.  การปรับแกความไมเพียงพอของหมายเลขที่ใชอางอิงอุปกรณเครือขายและจดุดอยอ่ืน ๆ กลาวคือที่วาของแอดเดรสมีขนาดใหญขึน้ 

    2.  ปรับปรุงรูปแบบ packet ซ่ึงมีอยูใน  IPv4 3.  พัฒนาความสามารถในการปรับตั้งคาระบบเครือขายอัตโนมัติ (Autoconfiguration 

    protocol) ใหแก IPv6 เพ่ือชวยลดบทบาทความจําเปนหรือภาระของผูดูแลและผูใชงาน เครือขายในการติดตั้งไอพีแอดเดรสและคาพารามิเตอรในเครือขายดวยตนเอง 

    4.  ลําดับชั้นของการคนหาเสนทางซ่ึงมีโครงสรางและประสิทธิภาพที่ดีขึ้น (Adaptable routing heirarchy) 

    คุณลักษณะของ IPv6 IPv6 มีประโยชนในการใชงานมากมาย เนื่องจากมคีุณลักษณะดังนี้ 1.  มีจํานวนหมายเลขอางอิงบนเครือขายหรือไอพีแอดเดรสท่ีมากกวา ทําใหไมจําเปนตอง 

    ใชเทคนคิการแปลง IP ปลอมเปน IP จริง หรือ NAT (Network Address Translation) 2.  มีรูปแบบเฮดเดอรของตัวโปรโตคอลที่เรียบงายและยืดหยุนกวาทําใหประสิทธิภาพดี 

    ขึ้นในหลาย ๆ ดาน 3.  สนับสนุนแนวคดิการคนหาเสนทางแบบลําดับชั้น สงผลใหตารางการคนหาเสนทาง 

    ในเครือขาย backbone มีขนาดเล็ก 4.  สนับสนุนการกําหนดคุณภาพของบรกิาร (Quality of Service,OoS) 5.  สนันสนุนการติดตั้ง การปรับแตงระบบอัตโนมตัิ (Serverless Autoconfiguration) การ 

    ปรับเปล่ียนแอดเดรส (Renumbering) การเช่ือมตอตางผูใหบริการ (Multihoming) และ Plug-and-Play 

    6.  สนับสนุนกลไกการรกัษาความปลอดภัยบนพื้นฐานของ IPSec (IP Security) 7.  สนับสนุนการส่ือสารดวย IP แบบเคล่ือนที่ (Mobile IP) 8.  มีการปรับปรุงความสามารถในการติดตอแบบMulticast และ Anycast 9.  เครือขายนาเชื่อถือมากขึน้ เนื่องจากเปนการใชงานไอพีจรงิ ๆ (Real IP) ทั้งหมด 10.  ลดภาระของผูดูแลระบบเกี่ยวกับการติดตั้ง และการบริหารจัดการ 11.  เครือขายทํางานไดเร็วขึน้ มีประสิทธิภาพดีขึ้น

  • คุณสมบัติที่นิยมพดูถึง นั่นคือ ขนาดแอดเดรสท่ีเพ่ิมมากขึน้ ซ่ึง IPv4 มีแอดเดรสขนาด 32 บิต ทําใหไมเพียงพอกับการใชงานที่มกีารเติบโตทางอินเทอรเน็ตขึ้นมาก สวน IPv6 มีการเพ่ิม ขนาดแอดเดรสเปน 128 บิต ทําใหมีจํานวนแอดเดรสถึง 3.4x10 38 

    (340,282,366,920,936,463,463,374,607,431,768,211,456) ซ่ึงหมายความวาในอนาคตไมเฉพาะแต เครื่องคอมพิวเตอรหรือเราทเตอรเทานั้นทีจ่ะเชื่อมตออินเทอรเน็ตได แตจะรวมไปถึงอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสตาง ๆ เชน เครื่องใชไฟฟาในครวัเรือน ตูเย็น โทรทัศน เครื่องปรับอากาศ เราจะ สามารถส่ังงานเครื่องใชไฟฟาเหลานี้ผานทางอินเทอรเน็ตได มีการคํานวณไววา IPv6 จะทําใหมี จํานวนแอดเดรสไดหลายพันเบอรสําหรับทุก ๆ พื้นที่หนึ่งตารางเมตรของพื้นผวิโลก 

    ตัวอยางหมายเลข IPv6 หมายเลขแอดเดรสของ IPv6 มีลักษณะประกอบไปดวย กลุมตัวเลข 8 กลุม เขียนขั้นกัน 

    ดวยเครื่องหมาย : โดยแตละกลุมคือเลขฐาน 16 จํานวน 4 ตัว (16 bit) เชน 3FEE:085B:1F 1F:0000:0000:0000:00A9:1234 เขียนยอได คือ 3FEE:85B:1F 1F::A9:1234 ทั้งนี้มีเงื่อนไขในการเขียนรูปแบบยอ คือ หากมีเลขศูนยดานหนาของกลุมใด สามารถจะ 

    ละไวได และหากกลุมใดกลุมหนึ่ง (หรือหลายกลุมที่ตําแหนงติดกัน) เปนเลขศูนยทั้งหมด คือ 0000 สามารถจะละไวได แตจะสามารถทําลักษณะนี้ไดในตําแหนงเดียวเทานัน้ เพ่ือไมใหเกิดความ สับสน ความแตกตางระหวาง IPv4 และ IPv6 

    ความแตกตางระหวาง IPv4 และ IPv6 มีอยู 5 สวนใหญ ๆ คือ 1.  การกําหนดหมายเลขและการเลือกเสนทาง (Addressing & Routing) 2.  ความปลอดภัย 3.  อุปกรณแปลแอดเดรส (Network Address Translator:NAT) 4.  การลดภาระในการจัดการของผูดูแลระบบ 5.  การรองรับการใชงานในอุปกรณพกพา (Mobile Devices)

  • เปรียบเทียบ Header ของ IPv4 และ IPv6 เฮดเดอร (Header) ของขอมูลแบบ IPv6 ถูกออกแบบมาใหมีขนาดคงที่และมีรูปแบบที่งาย 

    ที่สุดเทาที่จะทําได โดยเฮดเดอรจะประกอบดวยตําแหนงตาง ๆ (field) ที่จําเปนตองใชในการ ประมวลผล packet ที่เราทเตอร (router) ทุก ๆ ตัวเทานั้น สวนตําแหนงที่อาจจะถูกประมวลผล เฉพาะที่ตนทางหรือปลายทาง หรือที่เราทเตอรบางตัว จะถูกแยกออกมาไวที่สวนขยายของเฮดเดอร (extended header) ดังรูป 

    0  15  15  31 ver  hlen  TOS  total length 

    identification  flags  Flag-offset TTL  protocol  header checksum 

    Source address Destination address Options and padding IPv4 

    ver  traffic class  flow label Payload length  next header  hop limit 

    source address destination address IPv6 

    จากรูปจะเห็นวาเฮดเดอรของ IPv6 ถึงแมจะมีความยาวกวา IPv4 แตจะดูเรียบงายกวาเฮด เดอรของ IPv4 มาก ทั้งนี้สามารถเปรียบเทียบความแตกตางไดดังนี้ 

    1.  ตําแหนงที่ตัดออก   Header length ถูกตัดออกไป เพราะเฮดเดอรของ IPv6 มีขนาดคงที่ท่ี 40 octets 

    (bytes) ทําใหประสิทธิภาพโดยรวมของการประมาลผล packet ดีขึ้น เพราะไม เสียเวลาในการคํานวณขนาดของ header 

      Identification, Flag, Segmentation, Protocol, Options และ Padding ถูกยาย ไปอยูในสวนขยายของเฮดเดอร (extended header) เพราะถือวาเปนสวนที่ไม จําเปนตองประมวลผลในทกุ ๆ เราทเตอร 

    20 bytes 

    40 bytes

  •   Header Checksum ถูกตัดออกเพราะวาซ้ําซอนกับฟงกชันของโปรโตคอลใน ชั้นที่อยูสูงกวา อีกทั้งเปนการเพ่ิมประสิทธิภาพของการประมวลผลดวย เพราะ checksum จะตองมีการคํานวณใหมที่  เราทเตอรเสมอ หากตดั ออกก็จะลดภาวะงานที่เราทเตอรไปได 

    2.  ตําแหนงที่ปรับเปล่ียน   Total Length เปล่ียนมาเปน  Payload length เพ่ือระบุขนาดของ payload ใน 

    หนวย octet (byte) ดังนั้นขนาดของ payload สูงสุดจะเปน 65,535 octets   Time-To-Live (TTL) ของ IPv4 เปล่ียนมาเปน Hop Limit เพราะ TTL ระบุ 

    เวลาที่  packet จะวนเวยีนอยูในอินเทอรเน็ต (หนวยเปนวนิาที) โดยระบุวาแต ละเราทเตอรตองลด TTL ลงอยางนอย 1 วินาที เราทเตอรจึงลด TTL ครั้งละ 1 หนวยเสมอแมวาจะใชเวลาประมวลผล packet นอยกวานัน้ ทําใหไมตรงกับ ความหมายของ TTL ดังนั้นจึงถูกเปล่ียนเปน Hop Limit เพ่ือใหตรงกับ ความหมายจริง ๆ ซ่ึงเหมาะสมและงายตอการประมวลผล 

      Protocol เปล่ียนมาเปน  Next Header ซ่ึงใชเปนตวับอกวา extended header ตัวถัดไปเปนเฮดเดอรประเภทไหน เชน Ipsec ซ่ึงเปน extended header ก็จะมี คา Next Header = 51 

    3.  ตําแหนงที่เพิ่ม   Flow label ใชระบุลักษณะการไหลเวียนของทราฟฟก ระหวางตนทางกับ 

    ปลายทาง เชน ใน application แบบ video conference มีทราฟฟกหลาย ลักษณะ เชน ภาพ เสียง ตัวอักษร ฯลฯ ใน application หนึง่จะสามารถสราง flow label ไดหลายลักษณะ และสามารถแยก flow  ของภาพและเสียงออก จากกันให 

      Traffic Class ใชระบุวา  packet นี้อยูในกลุมใดและมีระดับความสําคัญ เทาไหร เพ่ือที่เราทเตอรจะจัดลําดับขัน้การสง packet ใหเหมาะสม

  • เปรียบเทียบโครงสรางทางเทคนคิของ IPv4 และ IPv6 

    Feature  IPv4  IPv6 Address Space  32 bits  128 bits Management  Manual, DHCP 

    DHCP 

    Stateless autoconfiguration 

    Multicast/Multimedia  Multicast  Built-in features for multicast groups, management, and new “anycast” groups 

    Mobile IP  Yes  Eliminate triangular routing and simplify deployment of mobile    IP-based systems 

    Virtual Private Networks  Use IPsec (IP Security) to encrypt packet before sending it 

    Built-in support for ESP/AH encrypted/ authenticated virtualprivate network protocols; built-in support for QoS tagging 

    IPsec Support  Optional  Repuired QoS Support  Hosts and Router  Host only Header Checksum  Yes  No Linking-Layer  ARP  Multicast Neighbor 

    Discovery Messages Uses Broadcast  Yes  No DNS Name Queries  Use A Record  Use AAAA and A6 record DNS Server Queries  Uses IN_ADDR_ARPA  Use IP6.INT or 

    IP6.ARPA Minimum MTU  576 Bytes  1280 Bytes

  • การเริ่มตนใชงาน IPv6 การปรับเปล่ียนระบบจาก IPv4 ไปสู IPv6 มีเทคนิคหลักทีใ่ช 2 เทคนิค คือ 1.  การส่ือสารระหวางเครือขาย IPv6 ดวยกัน โดยมีเครือขาย IPv4 เปนส่ือคั่นกลางโดย 

    เทคนิคที่นยิมใชคือ 1.1  Dual Stacks (IPv6/IPv4) เปนการติดตั้งทั้ง IPv6 และ IPv4 คูกันไป โดยจะอาศัย 

    address version field เปนตัวตัดสินใจทีจ่ะเลือกชองทางใดในการติดตอ 1.2  IPv6-over-IPv4 Tunnel เปนการสรางทอในการรับสง IPv6 ผานไปบนเครือขาย 

    IPv4 ซ่ึงมีเทคนิคที่นิยมใช 3 วิธี คือ 1.2.1  Manually Configured คือ วิธีการสรางทอหรืออุโมงค (Tunnel) ผาน IPv4 

    network โดยการระบุ IPv6 address ตายตัวเพ่ือสราง Tunnel 1.2.2  Automatic คือ วิธีการสรางทออัตโนมัติโดยอาศัย IPv4 ซ่ึงจะฝง IPv6 

    address เขาไปพรอมกับ IPv4 address 1.2.3  Semi-automatic หรือ Tunnel broker คือ การสรางทออัตโนมัติโดย 

    ลงทะเบียนใชบรกิารกับผูใหบรกิาร ผูใหบริการจะสราง Tunnel ไปยัง เครือขาย IPv6 แทนผูที่มาลงทะเบียน ตัวอยาง website ที่ใหบริการ ไดแก http://www.freenet6.net และ http://ipv6.he.net 

    2.  การส่ือสารระหวางเครือขาย IPv4 และ IPv6 (เครือขาย IPv6 คุยกบเครือขาย IPv4) โดย เทคนิคที่นยิมใชในการปรับเปล่ียน คือ Network Address Translation-Protocol Translation (NAT-PT) ซ่ึงเปนการแปลงเฮดเดอรของไอพแีพ็กเก็ตจาก IPv6 เปน IPv4 หรือจาก IPv4 เปน IPv6 

    ทั้งนี้หากการปรับเปล่ียนเสร็จสมบูรณ เครือขายตนทางและปลายทางเปนการใชงาน IPv6 ทั้งหมด โดยปราศจากการใช IPv4 จะเรียกการเช่ือมตอลักษณะนี้วา IPv6-native network

  • อุปกรณและapplication ในปจจุบันที่สนับสนุน IPv6 1.  ระบบปฏิบัติการ (Operation System) 

    ปจจุบันระบบปฏิบัตกิารที่สนับสนนุการใชงาน IPv6 (IPv6 Ready) ไดแก Digital UNIX, HP-UX, AIX, BSDI, BSD, Linux, MS Windows 2000, XP. 9X, NT, Solaris, MAC OS X, open-VMS ฯลฯ 

    โดยในสวนของ Linux ผูใชสามารถดาวนโหลดโปรแกรมประยุกตและ service ไดจาก URL ตอไปนี้

      http://www.kame.net/   http://www.deepsapce6.net/dics/ipv6_status_page_apps.html   http://www.bieringer.de/linux/IPv6/index.html

  • สําหรับ Windows จะสามารถใชงานไดโดย;   windows9x มี Trumpet Winsock ซ่ึง version ลาสุดใช IPv6 ได   Windows 2000 ถาติดตั้ง SP1 ขึ้นไปแลวจะสามารถดาวนโหลด TCP/IPv6 มา 

    ลง ก็จะใชงาน  IPv6 ได   Windows 2003 และ Window XP สามารถใชงาน IPv6 ไดอยูแลว (IPv6 

    Ready) 2.  อุปกรณหรือผลิตภัณฑ (Product) 

    อุปกรณหรือผลิตภัณฑที่สนับสนุนการใชงาน IPv6 ซ่ึงมีในทองตลาดขณะนี้เริ่มม จํานวนมากขึ้น ยกตัวอยางเชน อุปกรณของบริษัท Cisco, Juniper, Nortel, Fujitsu, Hitachi ฯลฯ 

    3.  โปรแกรมประยุกตตาง ๆ (Application) ตัวอยางโปรแกรมประยกุตทีใ่ชงานบนเครือขาย IPv6 ไดในขณะนี้ ไดแก 

    WWW, DNS, Mail, FTP, Telnet, News, Firewall, GNU zebra ฯลฯ การเช่ือมตออินเทอรเน็ตแบบ IPv6 

    ในปจจุบันอินเทอรเน็ตทีใ่ชทุกวันนี้มีเครือขาย IPv6 ทํางานซอนอยูดวย Internet backbone ที่เปน IPv6 มีชื่อวา “6Bone” ซ่ึงใหบริการเช่ือมตอกับอุปกรณ IPv6 ที่อยูบน backbone นี้ ขณะนี้ 6Bone ยังเปนเครือขายสําหรับการทดสอบ IPv6 และยังไมมีการใหบริการในเชิงพาณิชย 

    หากไมสามารถเช่ือมตอกับเครือขาย 6Bone ไดโดยตรง ผูใชงานก็ยังมวีิธีอ่ืนในการใชงาน เครือขายอินเทอรเน็ตแบบ IPv6 ได คือ 

    1.  สราง tunnel ไปยังผูใหบริการ access point สําหรับการเช่ือมเขา 6Bone โดยผูใชงาน จะตองสราง tunnel เช่ือมไปหาผูใหบริการ หลังจากสมัครเปนผูใชงานแลวจะไดรับ IPv6 address มาใชงาน จากนัน้จึงจะสามารถติดตั้ง tunnel และ routing ได ผูใหบริการ เหลานี้มีอยูทั้งในและนอกประเทศ เชน ผูใหบริการ access point ในประเทศ http://www/ipv6.nectoc.or.th ผูใหบริการ access point นอกประเทศ http://www.freenet6/.net/ 

    2.  6 to 4 Relay (ซิกทูโฟร รีเลย) วิธีการนี้เหมาะสําหรับการตดิตั้งเครือขาย IPv6 อยางงาย เนื่องจากไมตองจดัหาหมายเลข IPv6 address แตสามารถสรางหมายเลข IPv6 address ขึ้นเองไดจากหนึ่งหมายเลขของ Public IPv4 โดยที่หมายเลข IPv6 address จะมี รูปแบบ คือ  (2002;::/32) ลักษณะการเช่ือมตอจะเปนการสรางทอ อัตโนมัติดวยสแตติก เราทติ้งโปรโตคอลผานเสนทางการเชื่อมตอ IPv4 ที่มีอยูมายัง ผูใหบริการ 6 to 4 relay ซ่ึงทําหนาท่ีเปนเกตเวยออกสูเครือขายอินเทอรเน็ต IPv6 ผู ใหบริการ 6 to 4 relay มีทั้งในและนอกประเทศ เชน

  • ผูใหบริการในประเทศ http://www.ipv6.nectec.or.th ผูใหบริการนอกประเทศ http://www.kfu.com/~nsayer/6to4 

    อนาคตโลกอินเทอรเนต็ =  อุปกรณ IPv6 โปรแกรมประยุกตใชงานตาง ๆ ที่มีอยูบนอินเทอรเน็ตปจจุบันที่ใช IPv4 สามารถแปลงไป 

    ใชงานบนเครือขาย IPv6 ไดเกือบทั้งหมด และจากขอไดเปรียบของ IPv6 ทําใหเกดิโปรแกรมและ อุปกรณใหม ๆ ที่ถูกออกแบบมาใชกับ IP รุนนีโ้ดยเฉพาะ และในที่สุดกจ็ะทําใหพฤตกิรรมการใช อินเทอรเน็ตเปล่ียนไปจากที่เปนอยูในปจจุบัน 

    ในอนาคตโลกอินเทอรเน็ตจะเขามามีบทบาทในชวีิตประจาํวันมากขึ้น อุปกรณอํานวย ความสะดวกตาง ๆ  จะเพิ่มความสามารถทางดานการติดตอส่ือสารซ่ึงจะกอใหเกิดววิัฒนาการไป อีกมากมาย อุปกรณเหลานี้สามารถมีหมายเลข IP address ของตัวเอง ทําใหการรับสงขอมูลทําได รวดเร็ว และสามารถติดตอกันไดโดยตรง ไมตองผานระบบอ่ืน ๆ 

    ตัวอยางอุปกรณที่ใชงาน IPv6

  • อาจแยกการใชงานในอนาคตไดดังนี้ 1.  การใชงานจากปลายทางสูปลายทางโดยตรง (peer-to-peer application) เนื่องจาก 

    จํานวน  IP address จะมีเหลือเฟอที่จะแจกจายใหแกอุปกรณทุกชนดิที่ตอกับ อินเทอรเน็ตไดไมวาจะเปนคอมพิวเตอร โทรศัพทมือถือ เครื่องใชไฟฟาภายในบาน หรือแมแตในรถยนต นอกจากนัน้เรายังสามารถจะใช  IPv6 รวมกับเทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) เพ่ือตรวจสอบสภาพแวดลอมได เชน วางไวใน ภูมิภาคตาง ๆ หรือติดไวกับสัตวหรือกับรถแท็กซ่ีเพ่ือตรวจสอบสภาพมลพิษในเมือง 

    รูปแสดงการตรวจสอบสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ เชน ปริมาณน้ําฝนบริเวณตาง ๆ

  • 2.  การติดตั้งกลอง Surveillance IPv6 camera เพ่ือดูแลความปลอดภัยหรือดูสภาพ การจราจร กลองเหลานี้สามารถเปน server ๆไดในตวั เก็บขอมูลได และติดตอกนัได โดยตรงเนื่องจากมีหมายเลข IP address จริงของตัวเอง 

    รูปแสดงการติดตั้งกลองดแูลความปลอดภยั

  • 3.  อุปกรณเครื่องใชไฟฟาภายในบานจะมี IP address ประจําทําใหแยกแยะและควบคุม ไดและเกิดเปนเครือขายภายในบานหรือระหวางบานได เชน   โทรทัศนในอนาคตจะเปนแบบ Interactive คือสามารถตอบโตกับผูชมได   เครื่องเลน DVD ก็สามารถรับ-สงหนังมาไดโดยตรงจากอินเทอรเน็ตหรือ 

    สามารถสงสัญญาณไปยังโทรทัศนที่อยูมุมตาง ๆ ของบานได   มาตรฐาน X.10 ของการสงสัญญาณไปบนสายไฟจะชวยใหสามารถส่ังปด- 

    เปด ควบคุม หรือตรวจสอบสถานะของเครื่องใชไฟฟาผานสายไฟฟาในบาน ได 

    ภาพแสดงการใชงาน IPv6 กับเครือขายของอปุกรณภายในบาน 

    4.  การใชงานอินเทอรเน็ตแบบ plug-and-play หรือ auto-configuration โดยผูใชไมตอง เรียนรูทางเทคนคิใด ๆ เพียงแตเสียบปล๊ักและสายส่ือสารก็สามารถเขาสูโลก อินเทอรเน็ตไดทันที นอกจากนี้ยังไมจํากัดสถานที่ที่จะใชงานอีกดวย ตัวอยางเชน เครื่องคอมพิวเตอรแบบโนตบุกสามารถนําไปตางจังหวัดแลวเสียบที่จุดเชื่อมตอของ จังหวัดนัน้กจ็ะเสมือนนั่งเลนอินเทอรเน็ตอยูท่ีบานได

  • 5.  ในอนาคต อาคารที่ทํางานหรือที่อยูอาศัยตาง ๆ จะมีการทํา Building Automation เพ่ือ ควบคุมการใชพลังงานและการทํางานของระบบตาง ๆ เชน การใชไฟฟา และกาซหุง ตม ซ่ึง IPv6 จะเปนสวนหนึ่งของการเช่ือมตอเครือขายควบคุมภายในอาคาร 

    6.  การใชงาน IPv6 สามารถชวยในระบบการดูแลผูปวยหรือผูสูงอายุ (Healthcare for senior citizens) เชน การใชงานอุปกรณทางการแพทยทีค่อยรายงานสภาวะของผูปวย (Monitoring) ยกตวัอยางเชน การวัดจังหวะการเตนของหัวใจ หรือการควบคุมระบบ แสงไฟในหองพักของผูปวย 

    7.  IPv6 เปนเครือขายที่นอกจากจะไรพรมแดนแลวยังไรขอจํากัดของสถานที่ การใช อุปกรณพกพา (Mobile Devices) จะสามารถทําใหเขาถึงอินเทอรเน็ตไดทกุจุดแมวา กําลังนั่งอยูในรถที่เคล่ือนที่ การใชงานก็จะไมสะดดุระหวางจุดเชื่อมตอของเครือขาย 

    สถานการณปจจุบัน ถึงแมจะเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวาสักวนัหนึ่งอินเทอรเน็ตจะตองปรับเปล่ียน 

    ไปใช IPv6 แตความตื่นตวัในการปรับเปล่ียนไดเกิดขึน้ชากวาที่คาดหมายกนัไว สาเหตุสําคัญ อาจ เนื่องมาจากทัศนคติที่วา ตราบใดที่อินเทอรเน็ตยังไมขาดแคลน IP address  IPv6 ก็ยังคงเปนส่ิง ฟุมเฟอยและยังไมจําเปนมากนกั ถึงกระนั้นก็ตาม IPv6 เริ่มไดรับการยอมรับเพิ่มมากขึน้ เพราะผู ใหบริการอินเทอรเน็ตตางตระหนักดีวา ไมชาก็เร็วปญหาการขาดแคลน IP address จะตองมาถึง และเม่ือถึงเวลานั้นผูที่มีความพรอมมากกวาจะเปนผูไดเปรยีบ นอกจากนั้น IPv6 ยังเปนทางออกที่ ถาวรทางเดียวในการแกปญหานี้ 

    การผลักดนัใหเกิดการนํา IPv6 ไปใชงานจริงมีจุดศนูยกลาอยูที่ทวีปยุโรปและเอเชียเปน หลัก สวนทวีปอเมริกาเหนือนัน้ยังไมมีจดุยืนที่ชัดเจน สาเหตุไดแก 

    ประการแรกซ่ึงเปนสาเหตุสําคัญ คือ ในปจจุบนัทวีปอเมรกิาเหนือมีสวนแบงของ IP address อยูถึงรอยละ 70 ของ IP address ทั้งหมดในโลก จงึยังไมเห็นความจําเปนของ IPv6 ในขณะ ที่ทางยุโรปและเอเชียตางพบปญหาการมี IP address ไมพอกับจํานวนผูใชอินเทอรเน็ต 

    ประการที่สอง สืบเนื่องมาจากเทคโนโลยีโทรศัพทเคล่ือนที่ยุคที่ 3 (3G wireless technology) ทั้งในยุโรปและเอเชียตางมีความตองการสูงทางดานเทคโนโลยี 3G ซ่ีงเทคโนโลยีนี้ทํา ใหเกิดความตองการ IP address ที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงพบวาผูผลิตฮารดแวร ซอฟตแวร และองคกรที่ ทําหนาที่กําหนดมาตรฐานตาง ๆ ในทวีปยโุรปและเอเชียตางสงสัญญาณที่จะแกปญหาการขาด แคลน IP address หรืออีกนัยหนึ่งการตอบรับตอ IPv6 อยางจริงจัง

  • สภาพปจจุบันของเครือขาย IPv6 ในประเทศไทย ในสวนของประเทศไทยเอง ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิคสและคอมพิวเตอร 

    แหงชาตินับวาเปนผูนําในการใหบริการเช่ือมตอเครือขาย IPv6 กับตางประเทศผานการทํา IPv6- over-IPv4 tunnel และการทํา 6 to 4 relay นอกจากนี้ศนูยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนคิสและ คอมพิวเตอรแหงชาติยังไดรับความรวมมือจากหลายมหาวทิยาลัยและบริษัทผูใหบรกิาร อินเทอรเน็ต ทําใหเกิดเครือขาย IPv6เพ่ือการทดสอบภายในประเทศ (Thailand IPv6 Testbad) ซ่ึงมี การเช่ือมตอดวยเทคโนโลยีที่หลากหลาย เชน dual stacke, IPv6-over-IPv4 tunnel และ Native IPv6 เปนตน 

    การดําเนนิงาน IPv6 ในประเทศไทยไดแก 1.  การจัดสรรหมายเลข IPv6 address 

    ในปจจุบันมีหนวยงานภาครัฐและผูใหบรกิารอินเทอรเน็ตในประเทศไทยหลายที่ ไดรับจัดสรร IPv6 address จาก 6Bone และ APNIC และไดนําหมายเลข IP address ชุดทีไดมา ใหบริการอ่ืน ๆ แกหนวยงานในประเทศที่ตองการทดลองใชและทดสอบการเช่ือมตอบนเครือขาย IPv6 ตารางแสดง IPv6 Top Level Aggregation provider Network ในประเทศไทย ลําดับที่  หนวยงาน/องคกร/ผูใหบริการ 

    อินเทอรเน็ต IPv6 address from 

    6Bone IPv6 addrss from 

    APNIC 1  NECTEC  3 ffe:4016::32  2001:f00::/32 2  UniNet  -  2001:3c8::/32 3  CAT  -  2001:c38::/32 4  TOT  -  2001:ec0::/32 5  InternetThailand  3ffe:400B::/32  2001:c00::/32 6  CS-Loxinfo  3ffe:4014::/32  - 7  AsiaInfonet  -  2001:fb0::/32 

    2.  การเช่ือมตอกับเครือขาย IPv6 ในประเทศไทยปจจุบันมีหนวยงาน องคกร และผูใหบริการอินเทอรเน็ตที่ทําการ 

    เช่ือมตอกับเครือขาย IPv6 ตางประเทศ และภายในประเทศ การเช่ือมตอไปยังเครือขาย IPv6 ตางประเทศสวนใหญจะเปนในรูปแบบของ BGP Tunnel สวนการเช่ือมตอภายในประเทศมีท้ังการ เช่ือมตอแบบ Native IPv6 (ระหวาง NECTEC, CAT, PSU) แบบ Tunnel และแบบ Dual stacks (PSU-UNINET)

  • 3.  การใหบรกิารเกี่ยวกับ IPv6 หนวยงาน องคกร และผูใหบริการอินเทอรเน็ตที่เริ่มใหบรกิารเกี่ยวกับ IPv6 มีดัง 

    ตอไปนี้ 7.1  ศูนยเทคโนโลยอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ 

      บริการการเช่ือมตอเครือขาย IPv6 ดวย Tunnel ทั้งแบบ BGP routing และ Static routing สูเครือขาย IPv6 ภายในประเทศและตางประเทศ (6Bone) 

      บริการ 6 to 4 Relay เพ่ือชวยใหเครือขายที่ใชงานหมายเลข IP address แบบ 6 to 4 สามารถทําการสื่อสารกับโหนดบนเครือขายอ่ืน ที่มาใฃหมายเลขแอดเดรสแบบ Native IPv6 ได 

      บริการ DNS และ Reverse DNS delegation: ns1.ipv6.nectec.or.th ns2.ipv6.nectec.or.th 

      บริการ IPv6 เวบไซด โดยมีชื่อวา http://www.ipv6.nec.tec.ot.th/   บริการ 6 to 4 prefix calculator ผานเวบไซด 

    http://www.ipv6.nectec.ot.th/   บริการ IPv6 address divider ผานเวบไซด 

    http://www.ipv6.nectec.or.th/ 7.2  บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) 

      บริการเช่ือมตอเครือขาย IPv6 ดวย Tunnel ทั้งแบบ BGP routing และ static routing 

      บริการ IPv6 Mail Server: mail6.ipv6.cattelecom.com   บริการ IPv6 DNS: 

    dns6.ipv6.cattelecom.com andaman.cattelecom.com 

      บริการ IPv6 เวบไซด โดยมีชื่อวา http://web.ipv6.cattelecom.com/

  • 7.3  บริษัท อินเทอรเน็ตประเทศไทย จํากดั (มหาชน)   บริการการเช่ือมตอเครือขาย IPv6 ดวย Tunnel ทั้งแบบ BGP routing 

    และ Static routing   บริการ IPv6 เวบไซด โดยมีชื่อวา http://www.v6.inet.co.th 

    7.4  บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน)   บริการการเช่ือมตอเครือขาย IPv6 ดวย Tunnel ทั้งแบบ BGP routing 

    และ Static routing   บริการ IPv6 เวบไซด โดยมีชื่อวา http://www.ipv6.loxinfo.net.th 

    7.5  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร   บริการ IPv6 Mail Server   บริการ IPv6 FTP Server   บริการ IPv6 SIP Proxy Server   บริการ IPv6 เวบไซด โดยมีชื่อวา http://ipv6.coe.psu.ac.th/news.php/ 

    4. Thailand IPv6 Forum ในปจจุบันไดมกีารกอตั้งคณะทํางานระดับประเทศขึน้ภายใตชื่อ Thailand 

    IPv6 Forum หรือโครงการความรวมมือพัฒนาและสงเสริมการใชเครือขาย IPv6 ตั้งแตปลายป พ.ศ. 2547 ซ่ึงเปนความรวมมือระหวางหนวยงานวจิัย ผูใหบริการอินเทอรเน็ต และผูผลิตหรือตัวแทน จําหนายฮารดแวรและซอฟตแวรระบบเครือขาย  โครงการนี้มีจุดมุงหมายเพื่อใหเกิดความรวมมือ ในการเผยแพร พัฒนา และสนับสนุนการใหบรกิารและใชงาน IPv6 ในเชิงพาณิชย กิจกรรมใน ปจจุบันไดแก การเขารวมเปนสมาชิกของ Asia-Pacific IPv6 Task Force และการเช่ือมตอแบบ Native IPv6 ภายในประเทศระหวางสามองคกรหลัก คือ ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิคสและ คอมพิวเตอรแหงชาติ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 

    กิจกรรมที่วางแผนไวในอนาคต ไดแก การสนับสนุนใหองคกรและหนวยงาน ตาง  ๆ ทําการเชื่อมตอแบบ Tunnel มายังสามองคกรหลัก รวมถึงกิจกรรมสัมมนาและฝกอบรมการ ติดตั้งเครือขาย IPv6 

    การจัดตั้ง Thailand IPv6 Forum นับเปนนิมิตหมายอันดีถึงความตื่นตัวของ ประเทศไทยในการรับมือกับการเปล่ียนแปลงทีก่ําลังจะเกดิขึ้น

  • แผนผังแสดงเครือขายทดสอบ Thailand IPv6 Testbed