6
เนื่องในโอกาสครบรอบ 2 ปี สถานีรับสัญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ์ที่เปิดท�าการ จากจุดเร่มต้น เมื่อเดือนธันวาคม 2553 ที่มีการลงนามระหว่าง China Centre for Resource Satellite Data and Application (CRESDA) กับมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ร่วมลงนามในการสร้างสถานี รับสัญญาณดาวเทียมภาคพื้นดินและมีการติด ตั้งจานรับสัญญาณดาวเทียม ณ อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ ดังนั้นในเดือนธันวาคม 2555 จึงถือ เป็นวันที่สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ เปิดท�าการครบรอบ 2 ปี พอดีนั่นเอง ตลอด 2 ปี ท่ผ่านมา สถานีฯได้ปฏิบัติภารกิจ เสมือนเป็นคลังข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมและ ผลิตภัณฑ์จากการประมวลผลในด้านต่างๆ ไม่ ว่าจะเป็น ด้าน การติดตามสถานการณ์น�้า การ ติดตามสถานการณ์ภัยพิบัติ เช่น ดินโคลนถล่ม อุทกภัย ภัยแล้ง ไฟป่า เป็นต้น ผลการด�าเนินงานตลอดระยะเวลา 2 ปีทสถานีฯเปิดท�าการ สามารถสรุปได้ดังนี้ ในด้าน การเผยแพร่ข้อมูลดาวเทียม จากข้อมูลภาพถ่าย ดาวเทียม SMMS ในคลังข้อมูลของสถานีฯนั้นมี ถึง 91,117 ภาพ โดยแบ่งเป็น ภาพ CCD 33,122 ภาพ ภาพ HSI 54,221 ภาพ P1 / ครบรอบ 2 ปีสถานีฯ หน้าที่ ภารกิจ และผลการด�าเนินงานของ สถานีฯในรอบ 2 ปีท่ผ่านมา P2-P4/ Activities กิจกรรมการฝึกอบรมสัมมนา การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม อุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ DVB-S เพื่อ ปฏิบัติการฝนหลวง การประชุมสัมมนาโครงการ APSCO P5 / Satellite Application การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียม SMMS เพื่อการวิเคราะห์หาต�าแหน่งการเกิดและ ติดตามสถานการณ์ไฟป่า P6 / Remote Sensing in daily life. ภาพสีผสมจริงและภาพสีผสมเท็จ / Meteorology Corner การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม อุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ DVB-S CSRS N ews >> อ่านต่อหน้าถัดไป ฉบับที่ 2 ประจ�ำวันที่ 1 มกรำคม 2556 http://smms.eng.ku.ac.th/ ข่าวสถานี รับสัญญาณ ดาวเทียม จุฬาภรณ์ 2nd anniversary CSRS ภารกิจหลักของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ 3 ด้าน ได้แก่ ภารกิจ ในการเผยแพร่ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ภารกิจในการติดตามสถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและภัยพิบัติ และภารกิจในการให้บริการวิชาการ ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ภาพ IRS 3,774 ภาพ (ข้อมูล ณ วันที่ 12 ธ.ค. 2555) โดยได้ท�าการเผยแพร่ CCD HIS IRS 14,173 24,527 1,724 18,949 29,694 2,050 จ�านวนภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ในคลังข้อมูลของสถานีฯ ปี 2554 ปี 2555 HSI CCD IRS

CSRS NEWS Volume 2

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ข่าวสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ ฉบับที 2

Citation preview

Page 1: CSRS NEWS Volume 2

เนือ่งในโอกาสครบรอบ 2 ปี สถานรีบัสญัญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ที่เปิดท�าการ จากจุดเริ่มต้นเมื่อเดือนธันวาคม 2553 ที่มีการลงนามระหว่าง China Centre for Resource Satellite Data and Application (CRESDA) กบัมหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์ ร่วมลงนามในการสร้างสถานีรับสัญญาณดาวเทียมภาคพื้นดินและมีการติดตั้งจานรับสัญญาณดาวเทียม ณ อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ ดังนั้นในเดือนธันวาคม 2555 จึงถือเป็นวันที่สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์เปิดท�าการครบรอบ 2 ปี พอดีนั่นเอง

ตลอด 2 ปี ท่ีผ่านมา สถานีฯได้ปฏิบัติภารกิจเสมือนเป็นคลังข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมและผลิตภัณฑ์จากการประมวลผลในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ด้าน การติดตามสถานการณ์น�้า การติดตามสถานการณ์ภัยพิบัติ เช่น ดินโคลนถล่ม อุทกภัย ภัยแล้ง ไฟป่า เป็นต้น

ผลการด�าเนินงานตลอดระยะเวลา 2 ปีที่สถานีฯเปิดท�าการ สามารถสรุปได้ดังนี้ ในด้านการเผยแพร่ข้อมลูดาวเทยีม จากข้อมลูภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ในคลังข้อมูลของสถานีฯนั้นมีถงึ 91,117 ภาพ โดยแบ่งเป็น ภาพ CCD 33,122 ภาพ ภาพ HSI 54,221 ภาพ

P1 / ครบรอบ 2 ปีสถานีฯหน้าที ่ภารกจิ และผลการด�าเนนิงานของ

สถานีฯในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา

P2-P4/ Activitiesกิจกรรมการฝึกอบรมสัมมนา

การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม

SMMS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม

อุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ DVB-S เพื่อ

ปฏิบัติการฝนหลวง

การประชุมสัมมนาโครงการ APSCO

P5 / Satellite Applicationการประยกุต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทยีม SMMS

เพือ่การวเิคราะห์หาต�าแหน่งการเกดิและ

ติดตามสถานการณ์ไฟป่า

P6 / Remote Sensing in daily life.ภาพสีผสมจริงและภาพสีผสมเท็จ

/ Meteorology Cornerการประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม

อุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ DVB-S

CSRSNews

>> อ่านต่อหน้าถัดไป

ฉบับที่ 2 ประจ�ำวันที่ 1 มกรำคม 2556

http://smms.eng.ku.ac.th/

ข ่าวสถานีรับ สัญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ ์

2nd anniversary

CSRS

ภารกิจหลักของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ 3 ด้าน ได้แก่ ภารกิจในการเผยแพร่ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ภารกิจในการติดตามสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและภัยพิบัติ และภารกิจในการให้บริการวิชาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ

“”

ภาพ IRS 3,774 ภาพ (ข้อมูล ณ วันที่ 12 ธ.ค. 2555) โดยได้ท�าการเผยแพร่

CCD HIS IRS

14,173

24,527

1,724

18,949

29,694

2,050

จ�านวนภาพถ่ายดาวเทียม SMMSในคลังข้อมูลของสถานีฯ

ปี 2554 ปี 2555

HSICCD IRS

Page 2: CSRS NEWS Volume 2

ให้หน่วยงานภาครัฐ มหาวิทยาลัย หน่วยงานรฐัวิสาหกิจและบุคคลทัว่ไป ส�าหรบัการน�าไปใช้งาน ทัง้สิน้ 58 หน่วยงาน แบ่งออกเป็น ภาครฐั จ�านวน 23 หน่วยงาน มหาวิทยาลัย จ�านวน 31 หน่วยงานและภาครัฐวิสาหกิจและบุคคลทั่วไป จ�านวน 3 องค์กร จ�านวนข้อมูลภาพที่ให้บริการแก่หน่วยงานต่างๆ น�าไปใช้ประโยชน์ในด้านการศึกษาและงานวิจัย ทั้งสิ้น 4,233 ภาพ จ�านวนสมาชิกทั้งหมด 899 คน ในด้านการติดตามสถานการณ์ด้านทรัพยากรและภัยพิบัติ ได้มีการวิจัยและศึกษาในเรื่องของภัยพิบัติ ตลอดจนการจัดท�าแผนที่เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณชน ผู้ที่สนใจ ไม่ว่าจะเป็นการติดตามสถานการณ์มหาอุทกภัยปี 2554 ซึ่งทางสถานีฯได้จดัท�าแผนทีร่ายงานสถานการณ์น�า้ท่วมให้แก่ ศปภ. อุทกภัยในปี 2555 ทางสถานีฯก็ได้มีการศึกษาวิจัยร่วมกับส�านักเศรษฐกิจการเกษตรในการประเมินพื้นที่นาท่ีได้รับความเสียหายจากน�้าท่วมครั้งนี้ด้วย นอกจากนั้นยังมีการติดตามสถานการณ์ภัยแล้ง ปี 2555 ที่ท�าการศึกษาร่วมกับฝนหลวงภาคเหนือ ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกและเพชรบูรณ์และยังมีการจัดท�าแผนที่การติดตามสถานการณ์ไฟป่า การกัดเซาะชายฝั่ง การเปล่ียนแปลงทางพื้นที่ การบุกรุกป่า เป็นต้น ด้านการให้บริการวิชาการร่วมกับหน่วยงาน อื่นๆ ทางสถานีฯได้มีการจัดการสัมมนา อบรม ตลอดจนอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับหน่วยงานต่างๆในส่วนของการประยกุต์ใช้ข้อมลูภาพถ่ายดาวเทยีม SMMS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ DVB-S ให้กับหลายหน่วยงาน

เมื่อวันที่ 26-28 พฤศจิกายน และวันที่ 17 ธันวาคม 2555 สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ได้เปิดการอบรมสัมมนาเรื่อง “การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ DVB-S เพื่อปฏิบัติการ ฝนหลวงภาคเหนือ” ณ ห้อง 9901 สถานีรับสัญญาณดาวเทยีมจฬุาภรณ์ คณะวศิวกรรมศาสตร์ มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์ ในการอบรมสมัมนาครัง้น้ีมีวัีตถปุระสงค์เพื่อการประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ

DVB-S ในการประเมินพื้นท่ีแห้งแล ้ง ตลอดจนการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ (workshop) ฝึกการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ในการวิเคราะห์พื้นที่ภัยแล้งจากภาพถ่ายดาวเทียมท้ัง 2 รวมไปถึงการฝึก อบรมและปฎิบัติการ ท�าแผนที่เพื่อแสดงพื้นที่เส่ียงภัยแล้ง ด้วยโปรแกรมทางด้านระบบภูมิสารสนเทศ ทั้งนี้มีผูเ้ข้าร่วมอบรมจากฝนหลวงภาคเหนอืทัง้สิน้ 10 คน ซึง่จากการทดลองปฏิบัติการของผู้เข้าร่วมอบรมสามารถวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งและแสดงผลทางแผนที่ได้ตามเป้าประสงค์

>> ต่อจากหน้าแรกActivitiesTraining and Seminars

2

การฝ ึกอบรมสัมมนา “การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ DVB-S เพื่อปฏิบัติการฝนหลวงภาคเหนือ”

>> อ่านต่อหน้า 3

หน่วยงานภาครัฐ มหาวิทยาลัย รัฐวิสาหกิจ/บุคคลทั่วไป สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์หน่วยงานภาครัฐ มหาวทิยาลัย รัฐวสิาหกจิ/บุคคลทั�วไป สถานรัีบสัญญาณดาวเทยีมจุฬาภรณ์

280 70 0

1,881

531 415

40

1,006

สถิติการให้บริการข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ปี พ.ศ. 2554 และ 2555

ปี 2554 ปี 2555

หน่วยงานภาครัฐ มหาวทิยาลัย รัฐวสิาหกจิ/บุคคลทั�วไป สถานรัีบสัญญาณดาวเทยีมจุฬาภรณ์

280 70 0

1,881

531 415

40

1,006

สถิติการให้บริการข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ปี พ.ศ. 2554 และ 2555

ปี 2554 ปี 2555จ�านวนภาพการให้บรกิารข้อมูลดาวเทียม SMMS

ภาพ CCD ภาพ HSI ภาพ IRS จ�านวนหน่วยงาน

2554 2555 2554 2555 2554 2555 2554 2555

หน่วยงานภาครัฐ 222 519 58 6 - 6 12 23

มหาวิทยาลัย 56 392 14 21 - 2 12 31

รัฐวิสาหกิจและบุคคลทั่วไป - 37 - 3 - - 3

สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ 1,695 910 186 24 - 72 1 1

รวมทั้งหมด 1,973 1,858 258 54 0 80 25 58

Page 3: CSRS NEWS Volume 2

Geostationary Telecommunication Satellite and Its Application Project ที่ผ ่านมา โดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ หัวหน้าคณะท่ีปรึกษา และ ดร.พันศักดิ์ เทียนวิบูลย์ หัวหน้าคณะผู ้วิจัย ตลอดจนการระดมความคิดเห็นต่อโครงการ APSCO Geostationary Telecommunication Satellite and Its Application Project ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บริษัท กสท. โทรคมนาคม จ�ากัด (มหาชน)

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สจล. กรมป ้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนย์วิจัยดาวเทียมของมหาวิทยาลัยมหานคร กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม สถาบันป้องกันประเทศฯ บริษัทไทยคม จ�ากัด (มหาชน) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ บมจ.ทีโอที ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพวิเตอร์แห่งชาต ิและกองการสือ่สารจากส�านกังานปลัดกระทรวงกลาโหม

ActivitiesTraining and Seminars

การประชุมสัมมนาโครงการ “Geostationary Telecommunication Satellite and Its Application Project ภายใต้ความร่วมมือองค์การ APSCO”

เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2555 สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ได้จัดการประชุมสัมมนา โครงการ “APSCO Geostationary Telecommunication Satellite and Its Application Project” ณ ห้อง 9901 สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีผู้เข้าร่วมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 17 คน ทั้งนี้มกีารบรรยายสรปุโครงการภายใต้ความร่วมมอืองค์การ APSCO และการด�าเนินงานโครงการ APSCO

การประชุมระดมความคิดโครงการ ASIA-PACIF IC GROUND BASE OPTICAL SATELLITE OBSERVATION SYSTEM (APOSOS) ภายใต ้อนุสัญญาว ่าด ้วยความร ่วมมือด ้านอวกาศแห ่ง เอเชียแปซิฟ ิก (APSCO)

เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2555 สถานีรับสัญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ์ ได้มีการจัดการประชุมเพื่อแสดงความคิดเห็น โครงการความร่วมมือ Asia-Pacific Ground Based Optical Satellite Observation System (APOSOS) ภายใต้องค์กรความร่วมมืออวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก ณ ห้องประชุมสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ ชั้น 9 อาคารบุญสม สุวชิรัตน ์ คณะวิศวกรรมศาสตร ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีการบรรยายสรุปโครงการภายใต้ความร่วมมือองค์การ APSCO และการด�าเนินงาน โครงการที่ผ่านมา โดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชวงศ์ หัวหน้าคณะท่ีปรึกษา โดยมีผู้เข้าร่วมจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องท้ังหมด 9 คน จากกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หอดูดาวเกิดแก้ว หอดูดาว สิรินธร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษารังสิต ศูนย์วิจัยดาวเทียม มหาวิทยาลัยมหานคร และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สจล.

3>> ต่อจากหน้า 2

Page 4: CSRS NEWS Volume 2

Mr. Chathura H. Wickramasinghe Research Associate, GeoInformatics Center จาก AIT และ ดร. พนัศกัดิ ์เทยีนวบิลูย์ อาจารย์ประจ�าภาควชิาไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บรรยายในหัวข้อเกี่ยวกับเทคโนโลยีด้านการระบุพิกัดด้วยดาวเทียมและกล่าวถึงท่ีมาความส�าคัญของโครงการฯ ตลอดจนต�าแหน่งหน้าที่ในโครงการของประเทศไทย มีการเสวนาเรื่อง How Thailand can benefit from GNSS Technology for Emergency Management and Disaster Rescue (EMDR) ซึ่งมี ดร.พันศักดิ์ เป็นผู้ด�าเนินรายการ โดยมีการเปิดให้หน่วยงานต่างๆท่ีเข้าร่วมแสดงความคิิดเห็นเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดาวเทียมระบุพิกัดในการบรหิารจดัการภัยพิบตั ิในหน่วยงานของตนเอง แนวทางการประยุกต์ใช้ในอนาคต และตอบข้อข้อซักถาม แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นต่างๆ ท้ังน้ีเพื่อการจัดท�าแผนการด�าเนินงานของประเทศไทยในโครงการดังกล่าว

การจัดสัมมนาครั้ งที่ 1 ภายใต ้ โครงการศึกษาวิ จัยความร ่วมมือภายใต ้อนุสัญญาว ่าด ้วยความ ร ่วมมือด ้านอวกาศแห ่ง เอเชียแปซิฟ ิก (APSCO)

เม่ือวันที่ 24 ธันวาคม 2555 สถานีรับสัญญาณดาวเทียม จุฬาภรณ์ในฐานะที่ปรึกษากระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้จดังานสมัมนาครัง้ที ่1 ภายใต้โครงการศกึษาวิจยัความร่วมมอืภายใต้อนสุญัญาว่าด้วยความร่วมมอืด้านอวกาศแห่งเอเชยีแปซฟิิก (APSCO) “GNSS Technology for Emergency Management and Disaster Rescue” โดยมี นายไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์ ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นประธาน นาวาอากาศเอกคู่ชาติ นุชชะ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ นางทรงพร โกมลสุรเดช ผู ้อ�านวยการส�านักกิจการอวกาศแห่งชาติ รศ.วุฒิชัย กปิลกาญจน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ รศ.ดร.ธัญญะ เกียรติวัฒน์ คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าร่วมงาน ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 6 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ

“GNSS Technology For Emergency Management and Disaster Resue”

4

โดยมวีตัถปุระสงค์การจดังานเพือ่ ประชาสมัพนัธ์โครงการความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก น�าเสนอเทคโนโลยีด้านการระบุพิกัดด้วยดาวเทียม และการประยุกต ์ใช ้งานในด ้านการบริหารการจัดการภัยพิบัติให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และน�าเสนอรายละเอียดโครงการ Development and Demonstration Applications of Compatible GNSS Terminals for Emergency Management and Disaster Rescue (EMDR) ภายใต้ความร่วมมือองค์การ APSCO ซึ่งประเทศไทยได้เข้าร่วมและด�าเนินการรวบรวมข้อคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในรูปแบบของการเสวนา เพื่อการจัดท�าแผนการด�าเนินงานของไทยภายใต้โครงการดังกล่าว มีผู ้ เข ้าร ่วมงานจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องท้ังหมด 105 คน โดยมีวิทยากรผู ้บรรยายได้แก่ ศ.ดร.เฉลิมชนม์ สถิระพจน์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมส�ารวจ คณะวศิวกรรมศาสตร์ จฬุาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

Page 5: CSRS NEWS Volume 2

การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS (HJ-1A/B) ในการวิเคราะห์ต�าแหน่งการเกิดไฟไหม้ป่า ตลอดจนการติดตามสถานการณ์พื้นที่ที่เกิดไฟป่า จากข้อเด่นของข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ที่สามารถถ่ายและรับข้อมูลภาพได้ทุกวัน ท�าให้สามารถติดตามและรายงานผลสถานการณ์ได้ตลอดทุกช่วงของเหตุการณ์ ในส่วนของการวิเคราะห์หาต�าแหน่งการเกิดไฟป่านั้นเป็นการประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพในช่วงความความยาวคล่ืน Thermal Infrared ของ Sensor Infrared ของดาวเทยีม HJ-1B วเิคราะห์หาจดุความร้อนท่ีเกิดขึ้นภายในภาพถ่ายแล้วท�าการตรวจสอบผลการวเิคราะห์จดุความร้อนทีต่รวจพบกบัภาพถ่ายส ีCCD ใน ต�าแหน่งนั้นๆ ในวันที่และเวลาเดียวกัน โดยการสังเกต สภาพพื้นที่ป่าบริเวณใกล้เคียง ลักษณะควันที่เกิดขึ้น

อาศัยหลักการแปลตีความภาพถ่ายดาวเทียม ตลอดจนการหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อตัดสินว่าพื้นที่นั้นๆ มีการเกิดไฟป่าเกิดขึ้น ในส่วนของการติดตามการเกิดไฟป่านั้น เนื่องจากดาวเทียม SMMS มีความสามารถในการถ่ายภาพและส่งข้อมูลกลับมายังสถานีฯทุกวัน ดังนั้นจึงมีความสามารถในการติดตามสถานการณ์ภัยพิบัติต่างๆที่เกิดขึน้ได้เป็นอย่างด ีซึง่ในกรณกีารเกดิไฟป่ากเ็ช่นเดยีวกนั สามารถติดตามสถานการณ์การเกิด ตลอดจนการ กระจายของหมอกควนั อนัเป็นปัญหามลพษิทีส่่งผลเสยีต่อสุขภาพต่อประชาชนในพื้นที่ โดยทางสถานีฯ มีการท�าแผนที่แสดงต�าแหน่งการเกิดไฟป่าและหมอกควันเพื่อเตือนให้ภาคประชาชนและผู้ที่สนใจรับทราบและเตรียมตัวป้องกันต่อไป

การประยุกต ์ ใช ้ งานข ้อมูลดาวเทียม HJ-1A/B กับการติดตามวิ เคราะห ์หาต�าแหน ่งและการติดตามไฟป ่า ป ี2555

SMAC UPDATEไฟป่านอกจากจะท�าลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ส�าคัญของประเทศยังเป็นสาเหตุท�าให้เกิดปัญหาหมอกควัน ส่งผลให้คุณภาพอากาศแย่ลง และตามมาด้วยการเกิดปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ดังนั้นจึงต้องมีการติดตามเพื่อวางแผนป้องกัน

SatelliteApplications

http://smms.eng.ku.ac.th/

กำรลงทะเบียนเข ้ำ ใช ้ งำน การลงทะเบียนน้ันประกอบด้วยขั้นตอน 2 ส่วน ซึ่งผู้ใช้งานต้องท�าการ Register ทั้ง 2 ส่วนถึงจะสามารถสมัครเป็นสมาชิกและมีสิทธิ์ในการดาวน์โหลดข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ได้

SMAC หรือ ศูนย์จัดการและประยุกต์ใช้งานดาวเทียม สถานีรบัดาวเทียมจฬุาภรณ์ เป็นเวบ็ไซต์ท่ีให้บรกิารข้อมลูดาวเทียม SMMS (HJ-1A/B) การวเิคราะห์และประมวลผลภาพถ่ายดาวเทยีม SMMS ตลอดจนงานวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการน�าข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมไปประยุกต์ใช้ ซึ่งจะน�าเสนอการดาวน์โหลดภาพดาวเทียม SMMS มีขั้นตอนดังนี้

เป็นการดาวน์โหลดแบบฟอร์มค�าร้องการขอใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม หลังจากผู้ใช้งานท�าการสมัครสมาชิกในข้ันตอนแรกเสร็จส้ินเรียบร้อยแล้วท�าการกรอกข้อมลูตามแบบฟอร์มแล้วส่งกลบัมายงั E-mail : [email protected] หรอื Fax มาทีห่มายเลข 02-940-7052 เพือ่รอการตดิต่อกลบั

ส ่วนแรก : สมัครสมำชิก

เป็นการลงทะเบียนท่ีเว็บไซต์ SMAC หรือ http://smms.eng.ku.ac.th/ โดยท�าการกรอกข้อมลูส่วนตวัให้ครบตามทีก่�าหนดเพือ่สมคัรสมาชกิ

ส ่วนที่สอง : กำรกรอกค�ำร ้อง

5

Page 6: CSRS NEWS Volume 2

Remote Sensing In Daily life ท�าไมภาพถ่ายดาวเทียมที่เห็นส่วนใหญ่ถึงมีสีภาพแบบ

แปลกๆ ไม่คุ้นตา คุณเคยสงสัยม้ัย? ค�าถามนี้เราสามารถ

อธิบายให้ค�าตอบได้โดยหลักการของการรับรู้ระยะไกลหรือ

รีโมตเซนซ่ิง ซึ่งต่อไปนี้เทคนิคความรู้เรื่องรีโมตเซนซิ่งจะ

ไม่ใช่เร่ืองไกลตัวอีกต่อไปหากคุณคิดตามเกร็ดความรู้จาก

CSRS News ทุกๆฉบับ

กล้องภาพถ่ายดาวเทียมมีความสามารถในการถ่ายภาพในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นช่วงคลื่นตามองเห็น (สีแดง สีเขียว และสีน�้าเงิน) และช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้ กลาง ไกล และช่วงคลื่นอื่นๆ โดยทีี่ภาพถ่ายในแต่ละช่วงคลื่นน้ันๆก็จะมี็คุณสมบัติในการแสดงผลวัตถุปกคลุมผิวโลกที่แตกต่างกัน เช่น ในช่วงคล่ืนอินฟราเรดใกล้จะมีความสามารถในการแสดงผลวัตถุที่เป็นพืชได้ดี ในช่วงคลื่นตามองเห็นจะมีความสามารถในการแสดงผลวัตถุที่เป็นน�้าและผิวดินได้ดี จากคุณสมบัติเหล่านี้จึงมีการน�ามาแสดงผลเพื่อการแปลตีความ ในส่วนการแสดงผลภาพถ่าย โดยปกติคนเรามักจะคุ้นเคยกับภาพที่แสดงสีปกติแบบสีจริงตามธรรมชาติเหมอืนกบัการรับรูจ้ากการมองเหน็ของเรา นัน่กค็อืการทีี่ภาพมีการแสดงสีของพืชเป็นสีเขียว น�้าเป็นสีน�้าเงิน และดินเป็นสีน�้าตาล ในทางรีโมตเซนซิ่งเราเรียกการแสดงผลหรือการผสมสีแบบนี้ว่า “การผสมสีจริง” (True Color) เป็นการแสดงผลภาพถ่ายในช่วงคลื่นตามองเห็นสีแดง ให้แสดงเป็นสีแดง ภาพถ่ายช่วงคลื่นตามองเหน็สเีขยีวแสดงผลเป็นสเีขียว และภาพถ่ายช่วงคลื่นสีน�้าเงินแสดงผลเป็นสีน�้าเงิน

สถานีรับดาวเทียมจุฬาภรณ์

ศู นย ์ วิ จั ย เพื่ อ ความ เป ็ น เ ลิ ศทา งด ้ านวิ ช าการด ้ านการจั ดการภั ยพิ บั ติชั้ น 9 อ าคารบุญสม สุ วชิ รั ตน ์ คณะวิ ศวกรรมศาสตร ์ มหาวิ ทยาลั ย เ กษตรศาสตร ์ 50 ถนนงามวงศ ์ ว าน จตุ จั ก ร กทม . 10900

ht tp : / / smms .eng . ku . a c . th /

ในส่วนของภาพ “สีผสมเท็จ” (False Color) เป็นการแสดงผลภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงสีท่ีแตกต่างจากสีธรรมชาติ ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ท่ีเราต้องการจะแสดงหรือเน้นวัตถุประเภทใดบนภาพถ่ายจากคุณสมบัติของภาพถ่ายในแต่ละช่วงคลื่น ดังตัวอย่างภาพข้างล่าง มีการใช้ภาพในช่วงคลื่น Near Infrared แสดงผลเป็นสีแดง เน่ืองจากต้องการแสดงหรือเน้นวัตถุที่เป็นพืช ช่วงสีแดงมีความกว้างของช่วงสีมากกว่าในช่วงสีอื่นๆ ไล่ตั้งแต่ สีเหลืองอ่อน เหลืองเข้ม ส้ม ชมพู แดง เลือดหมู ไปจนถึงสีน�้าตาล ท�าให้สามารถจ�าแนกพืชออกได้หลายประเภท เช่น พืชช่วงเริ่มปลูก พืชช่วงเจริญเติบเต็มที่ พืชที่มีโรคพืช ฯลฯ ในช่วงคลื่นตามองเห็นสีแดงแสดงผลเป็นสีเขียว และช่วงคลื่นตามองเห็นสีเขียวแสดงผลเป็นน�้าเงิน เช่นกันจากคุณสมบัติของภาพถ่ายในช่วงคลื่นตามองเห็นที่สามารถแสดงรายละเอียดวัตถุประเภทน�้าและดินได้ดี จึงสามารถเห็นวัตถุที่เป็นน�้าเป็นสีน�้าเงิน และวัตถุที่ประเภทดนิเป็นสเีขยีว และน่ีคอืความแตกต่างของภาพสีผสมจริงกับภาพสีผสมเท็จ

ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา FY-2E มีเครื่องมือตรวจวดัหรอือปุกรณ์บนัทกึข้อมลู ทีเ่รยีกว่า “Radiometer” ซึ่งเป็นตัววัดการแผ่รังสีกลับของบรรยากาศ เมฆ และผวิโลก ในช่วงคลืน่ตามองเหน็จนถงึช่วงคลืน่ไมโครเวฟ ซึ่งท�าให้ได้อุณหภูมิยอดเมฆและความชื้นในอากาศ โดยสามารถประยุกต์ใช้เพื่อการประมาณปริมาณน�้าฝนจากข้อมูลอุณภูมิยอดเมฆ รวมทั้งการสร้างแบบจ�าลองวัฏจักรของน�้า ในส่วนของข้อมูลความชื้นในอากาศ สามารถประยุกต์ใช้ในการหาค่าพลังงานในชั้นบรรยากาศ เพื่อการหาความชื้นในดิน การหาค่าความแห้งแล้ง และการหาค่าการระเหยน�้าของพืชในบรรยากาศได้ เหล่านีเ้ป็นตวัอย่างการประยกุต์ใช้ข้อมลูจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา FY-2E

Meteorology Corner

R e d G r e e n B l u e N e a r R e d G r e e n

T r ue Co l o r Fa l se Co l o r

ภำพถ่ำยดำวเทียม SMMS

R e d G r e e n B l u e

แ ม ่ สี แ ส ง

6