217
รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชนโดยทีมวิจัย ผศ.ดร.ชะนวนทอง ธนสุกาญจน รศ. ดร.ประสิทธิลีระพันธ ผศ.ดร. ลักขณา เติมศิริกุลชัย ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล สนับสนุนทุนโดย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและองคการอนามัยโลก

Community Practice Systems Research

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ“โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน”

โดยทีมวิจัยผศ.ดร.ชะนวนทอง ธนสุกาญจน รศ. ดร.ประสิทธิ์ ลีระพันธผศ.ดร. ลกัขณา เติมศริกุิลชัย

ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตรคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลยัมหิดล

สนับสนุนทุนโดย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและองคการอนามัยโลก

Page 2: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ “โครงการวิจยัระบบสุขภาพชุมชน”

โดยทีมวิจัย

ผศ.ดร.ชะนวนทอง ธนสุกาญจน รศ. ดร.ประสิทธิ์ ลีระพันธ ผศ.ดร. ลักขณา เติมศิริกุลชัย

ภาควิชาสขุศกึษาและพฤตกิรรมศาสตร

คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลยัมหิดล

สนับสนุนทนุโดย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและองคการอนามัยโลก

Page 3: Community Practice Systems Research

  

คํานํา

การพัฒนาระบบสาธารณสุขในประเทศไทย ไดดําเนินการมาอยางมีประสิทธิภาพ จนเปนตัวอยางของโลกดังปรากฏในหนังสือ “Good health at low cost 25 years on what makes a successful health system?” โดย Dina Balabanova, Martin Mckee, และ Ann Mills

แตการพัฒนายังดําเนินการอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะในมิติของการพัฒนาสังคม ดานเศรษฐกิจ และการเมืองการปกครอง อันสงผลใหการพัฒนาระบบสาธารณสุข เกิดการคิดคนนวัตกรรมทางสังคม เพ่ือเติมเต็มและตอยอดระบบสาธารณสุข ไดสอดคลองกับขอตกลงที่เกิดขึ้นเม่ือป 1978 ณ เมือง อัลมาอัตตา ซ่ึงเนนเรื่องสิทธิประชาชน การลดชองวางของสังคม และความแตกตางทางเพศ

ดังน้ัน งานวิจัยชิ้นน้ีจึงเปนงานที่คณะนักวิจัยจากภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร ตระหนักถึงความสําคัญและไดปรับใชระเบียบวิธีวิจัยทางคุณภาพซึ่งเปนระเบียบวิธีวิจัยที่มีพัฒนาการมากกวา 20 ป จากผูเชี่ยวชาญดานชุมชนจากมหาวิทยาลัยในประเทศสหรัฐอเมริกา ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร ของคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยนอรทแคโรไลนา ซึ่งเปนพันธมิตรของภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร มหิดล ซ่ึงไดรวมมือกันออกแบบการใชระเบียบวิธีวิจัยแบบ CBPR ในครั้งน้ีซ่ึงนับเปนนวัตกรรมดานระเบียบวิธีวิจัยที่ทําใหสามารถสรางผลการวิจัย ที่มีกระบวนการมีสวนรวมจากภาคีในระดับสูง มีการตรวจสอบความเที่ยงตรงของขอมูลชุมชน จนสามารถสกัด รูปแบบ และเครื่องมือ ที่ชุมชนใชในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนไดในระยะเวลาที่สั้นมาก คณะนักวิจัยเชื่อวารายงานการวิจัยเรื่องระบบสุขภาพชุมชนฉบับน้ีจะเปนตนแบบการใชระเบียบวิธีวิจัยชุมชน และนําไปสูการพัฒนาตอยอดระบบสุขภาพชุมชนตอไปได

คณะผูวิจัย

Page 4: Community Practice Systems Research

  

คณะผูวจิัย

1. ผศ.ดร.ชะนวนทอง ธนสุกาญจน

2. รศ.ดร.ประสิทธิ์ ลีระพันธ

3. ผศ.ดร.ลักขณา เติมศิริกุลชัย

ภาควิชาสขุศกึษาและพฤตกิรรมศาสตร

คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลยัมหิดล

Page 5: Community Practice Systems Research

  

บทสรุปผูบริหาร

การพัฒนาสาธารณสุขมูลฐานไดเกิดขึ้นตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 4 (ป พ.ศ. 2520 – 2524) โครงสรางระบบบริการทั้งในและนอกระบบคือ โรงพยาบาลชุมชน และระดับตําบล หมูบาน คือ สถานีอนามัยไดเกิดขึ้นทั่วประเทศ พรอมๆ กับการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุข ผูสื่อขาวสาธารณสุขประจําหมูบานเพ่ือชวยแกปญหาการขาดแคลนบุคลากรดวยสาธารณสุขของประเทศ การมีบัตรประกันสุขภาพ เปนอีกกิจกรรมหนึ่งซ่ึงทําขึ้นเพ่ือเพ่ือการเขาถึงบริการของประชากรไทย การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขเกิดขึ้นไดอยางตอเน่ืองโดยการใชยุทธศาสตรบูรณาการเขากับแผนพัฒนาระดับประเทศและเนนการทํางานแบบมีสวนรวมกับทุกกระทรวง ความสําเร็จเกิดจากการทํางานรวมกับภาคีตางๆ ทั้งในภาคสวนดานสาธารณสุข และภาคีดานอ่ืนๆ การทําใหสุขภาพเปนประเด็นสําคัญของประเทศ และผนวกอยูในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การมีชมรมแพทยชนบทเปนกระบอกเสียงใหภาคประชาชนและภาควิชาชีพ ตลอดจนการทํางานโดยใชขอมูลยืนยัน ทําใหการพัฒนาเปนไปไดอยางตอเน่ือง สูการพัฒนาดานเศรษฐกิจ การลดความยากจน และการพัฒนาโครงสรางทางสาธารณูปโภคเปนปจจัยสนับสนุนที่สําคัญ หนังสือ “good health at low cost 25 years on what makes a successful health system” โดยนักวิชาการจาก the London School of Hygiene & Tropical Medicine 2011 กลาววา ความสําเร็จของความพยายามในการพัฒนาสุขภาพอนามัยแมและเด็กของประเทศไทยมากวา 40 ปเกิดจากการที่มีการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ และโครงสรางระบบตําบล หมูบาน ซ่ึงรับหนาที่เปนศูนยกลางในการนํานโยบายมาสูการปฏิบัติ การปฏิรูประบบสาธารณสุขเม่ือปพุทธศักราข 2544 ทําใหเกิดการมีหลักประกันถวนหนาสําหรับคนไทยทุกคน การพัฒนาเศรษฐกิจ และลดความยากจน ชวยลดปญหาความไมสามารถในการอานออกเขียนไดของคนไทย และลดปญหาความไมเทาเทียมระหวางเพศชาย และหญิงได ทําใหเกิดการพัฒนาดานสุขภาพใหเปนจริงได ดังน้ันปจจัยสําคัญของความสําเร็จอยูที่

การผนวกประเด็นสุขภาพและประเด็นการพัฒนาประเทศเขาดวยกัน การปฏิรูประบบสุขภาพเพื่อใหเกิดหลักประกันสุขภาพถวนหนา การทํางานโดยใชขอมูลเพ่ือประกอบการทําแผนพัฒนาระดับชาติ

การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนไดปรับเปลี่ยนจุดเนนจากเดิมที่เนนอนามัยแมและเด็ก ไปสูการพัฒนาอนามัยผูใหญโดยเนนที่ความเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง เชน การสูบบุหร่ี อุบัติเหตุ พฤติกรรมเส่ียงทางเพศ การเกิดโรคเอดสและ HIV และปจจัยกําหนดสุขภาพตางๆ ของแตละพ้ืนที่กอรปกับการปรับระบบการบริหารการเมืองการปกครองจากระบบรวมศูนยไปสูการกระจายอํานาจ ทําใหผูนําและระบบการปกครองระดับทองถิ่นและชุมชนมีความสําคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน รายงานองคการอนามัยโลกป 2000 เรื่องระบบสุขภาพ: การปรับปรุงศักยภาพ นิยามคําวาระบบสุขภาพวาเปนระบบที่ทุกองคกร ทุกกลุม ทุกคนทํากิจกรรมที่มีเปาหมายเพ่ือการมีสุขภาพที่ดี มีการดูแลรักษา และคงไวซ่ึงสุขภาพ ระบบสุภาพมีความหมายที่กวางกวาการจัดบริการในสถานบริการ

Page 6: Community Practice Systems Research

  

สาธารณสุข แตหมายรวมถึงกรณีตางๆ เชน การที่แมดูแลเด็กปวยที่บาน การมีคลีนิกเอกชน หรือการรณรงคเพ่ือการควบคุมแมลงหรือพาหะนําเชื้อโรค การประกันสุขภาพ การดูแลหรือออกกฎหมายใหเกิดความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ การทํากิจกรรมตางๆ เปนไปเพื่อการสรางความเทาเทียมของทุกคน ทั้งชายและหญิงตามสิทธิมนุษยชนที่ควรมี ในปจจุบันการสาธารณสุขมูลฐานไดพัฒนานวัตกรรม เชน การพัฒนาชุมชน การพัฒนาระบบการเงินชุมชน การปรับกลยุทธการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน การประสานงานและขับเคลื่อนภาคีเครือขาย การทํางานสาธารณสุขมูลฐานของประเทศไทย ไดประสบความสําเร็จจากยุทธศาสตรการขับเคลื่อนภาคีและการบูรณาการการทํางานรวมกันของพหุภาคี การมีสวนรวมของชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน การกระจายอํานาจในการวางแผน และ การบริหารจัดการ การกํากับติดตามสนับสนุนอยางตอเน่ืองจากระดับชาติ สูระดับปฏิบัติ และการพัฒนาอาสาสมัครสรางความสัมพันธในระหวางอาสมัคร เจาหนาที่ และแกนนําชุมชนอยางเทาเทียม (Sanguan, 1990) ในศตวรรษที่ 21 การสาธารณสุขมูลฐานกําลังถูกทาทายดวยปญหาใหมเชน โรคเร้ือรัง ประชากรกลุมใหม คือผูสูงอายุ และดวยนโยบายสังคมใหม เชน แรงงานขามชาติ ดังนั้นการมีสวนรวมของชุมชนจําเปนตองถูกปรับไปสูการกระจายอํานาจสูพ้ืนที่ รัฐบาลทองถิ่นจึงกลายเปนแกนนําสําคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน หนวยงานอิสระเพ่ือการพัฒนาสุขภาพ เชน สํานักงานกองทุนสรางเสริมสุขภาพ สํานักงานสุขภาพแหงชาติ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ และกองทุนสนับสนุนการวิจัยไดใหการสนับสนุนชุมชนในดานตางๆ ตามพันธกิจของแตละองคกรเพ่ือเปาหมายเดียวกัน คือการสนับสนุนใหชุมชนเขมแข็ง ซ่ึงทําใหเกิดคําถามในการวิจัยครั้งน้ี คือ คนในชุมนิยาม คําวาสุขภาพ และ ปจจัยกําหนดสุขภาพวาอยางไร คนในชุมชนพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนอยางไร คนในชุมชนใชกิจกรรมหรือกระบวนการอะไรที่ทําใหเกิดการเสริมพลังอํานาจชุมชน

คนในชุมชนใชกลไกอะไรที่ทําใหกลุมตางๆสามารถสรางและจัดการระบบสุขภาพของชุมชนได

ระเบียบวิธีวิจัยแบบ Community Based Participatory Research (CBPR) เริ่มดวยการเตรียมการเพื่อเรียนรูทุนสังคมและสรางทีมคณะกรรมการวิจัยของชุมชน (Quinn, 2004) การเรียนรู สรางสัมพันธกับคนในชุมชน เพ่ือระบุภาพและหรือ โครงการที่มีการเปลี่ยนแปลงในชุมชนตามที่คนกลุมตางๆ ในชุมชนรับรู การระบุประเด็นโดยการสนทนากลุม ผูใหขอมูลหลัก 4 กลุมคนหากระบวนการทํางาน กลไกที่สรางขึ้น ในการคิด และ การขับเคลื่อนใหเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยประชุมกลุมผูใหขอมูลหลัก 4 กลุมเพ่ือสรุปประชามติ (Jeremy Jones, Duncan Hunter, 2005) ถึงผลลัพธที่เกิดขึ้น จากการทํางานในโครงการสําคัญที่สรางการเปลี่ยนแปลงในชุมชนไดสําเร็จ นําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลใหกับชุมชน และ ผูใหขอมูลหลักเพ่ือสอบทานความถูกตองของขอมูลและผลการวิเคราะหขอมูล (ดวงพร เฮงบุณยพันธ, 2552) การเลือกพ้ืนที่ เลือกโดยแหลงทุน ไดทั้งหมด 8 พ้ืนที่ จากแตละภาค คือ ภาคเหนือ สองตําบล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสองตําบล ภาคกลาง สองตําบล และภาคใต สองตําบล โดยใชเกณฑการ

Page 7: Community Practice Systems Research

  

พัฒนาระบบสุขภาพโดยการสนับสนุนจากแหลงทุนใดแหลงทุนหน่ึงที่กลาวมาแลวและมีประวัติความสําเร็จ การเลือกผูใหขอมูลหลัก เลือกโดยกรรมการชุมชน ผูใหขอมูลระดับปฏิบัติโครงการเลือกโดยเทคนิค snow ball แตละพ้ืนที่จะมีผูใหขอมูลหลักประมาณ 40 คน ซ่ึงประกอบดวย ทองที่ ทองถิ่น องคกรชุมชน จิตอาสาและเครือขาย ตลอดจนเยาวชน รวมทั้งสิ้นเปนจํานวน 320 คน ผลการวิจัยสรุปไดวา ทุนมนุษยที่สําคัญในทุกตําบลที่ประสบความสําเร็จ คือแกนนําจากทองถิ่น และกลุมผูมีจิตอาสา ซ่ึงสวนใหญเปนอาสาสมัครสาธารณสุข สวนทุนสังคมที่สําคัญคือ ทรัพยากรที่มีอยูตามธรรมชาติ เชน ปาไม แหลงนํ้า นอกจากน้ียังพบวาทุกตําบลในพื้นที่วิจัยมีทุนการเงินที่จัดทําขึ้นเองเปนกองทุนชนิดตางๆ เชน กองทุนฌาปนกิจ กองทุนออมทรัพย และกองทุนสัจจะสะสมทรัพย ทุกตําบลมีคุณลักษณะการพึ่งตนเองไดอยางชัดเจน และความเชื่อม่ันของแกนนําคือ การระดมทุน การหาภาคี การปองกันควบคุมโรค การปองกันและการเฝาระวังโรค อันตรายหรือปญหา และ เฝาระวังภัยพิบัติ สวนนิยามคําวาสุขภาพโดยผูใหขอมูลสอดคลองกับนิยามขององคการอนามัยโลกคือ ครอบคลุมภาวะทางกาย ใจ สังคม และสิ่งแวดลอม ตลอดจนการดูแล จัดการ และสรางสมดุลยระหวางสิ่งแวดลอมและปจจัยที่เก่ียวของ สวนปจจัยกําหนดสุขภาพครอบคลุมสภาพแวดลอม ทรัพยากรที่มีอยู เชน ปาไม แหลงนํ้า ทุนสังคมดานกายภาพ

เคร่ืองมือที่ชุมชนใชในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนมี 3 ชุด คือ 1.ชุดเคร่ืองมือเพ่ือแกปญหาหรือปจจัยกําหนดสุขภาพของชุมชน 2.ชุดเคร่ืองมือเพ่ือพัฒนาการความเขมแข็งของชุมชน ประกอบดวยการพัฒนาเรียนรูของคน พัฒนาสิ่งแวดลอมใหเอ้ือตอการมีสุขภาพดี และสรางเสริมการมีสวนรวมของคนในชุมชน 3.ชุดเคร่ืองมือเพ่ือการขับเคลื่อนใหเกิดระบบสุขภาพชุมชนที่เขมแข็ง ในเคร่ืองมือทั้ง 3 ชุด เคร่ืองมือที่ชุมชนตองการการสนับสนุนเพ่ิมขึ้นและตอเน่ืองอีกระยะหนึ่งคือ เคร่ืองมือในการขับเคลื่อนโดยเฉพาะการทําวิจัยโดยชุมชน การทําสมัชชาพ้ืนที่ การทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร

ชุมชนมีความเห็นวาหนวยงานสนับสนุนจากภายนอกควรใหอํานาจคนในทองที่ตัดสินใจในการเลือกเคร่ืองมือ ยุทธศาสตร หรือกลยุทธในจัดการตนเองเพื่อใหชุมชนรูสึกวาตนเปนเจาของและสอดคลองกับภูมิสังคมเชิงประจักษของชุมชนดวยนอกจากน้ี ทั้ง 8 พ้ืนที่เห็นเหมือนกันวา เปาหมายระบบสุขภาพชุมชนเดิมที่ตองการเห็นชุมชนดูแลตัวเอง ชวยเหลือผูถูกทอดทิ้งและผูสูงอายุ ควบคุมและรักษาโรคเรื้อรังที่พบบอย ชุมชนไดเสนอใหเพ่ิมประเด็นการดูแลทรัพยากรปาไม แหลงนํ้า ทุนสังคมดานกายภาพ, การรักษามรดกทางวัฒนธรรม, การดูแลปญหาที่สงผลกระทบตอคนในสังคม เชน ยาเสพติด ความรุนแรง ภัยพิบัติ, และการจัดทําขอมูลชุมชนและระบบสื่อสารเพ่ือสรางเสริมสุขภาพแกคนในชุมชน เพ่ือเติมเต็มระบบบริการสงเสริมสุขภาพ ชุมชนเหลาน้ีสวนใหญมีกําลังคน กําลังปญญา กําลังทรัพย กําลังสังคมพรอม ดังน้ันระบบสุขภาพชุมชนสามารถกาวไปกวางไกลกวาการทํางานในระบบบริการสุขภาพ แตขยายไปสูการจัดการปจจัยกําหนดสุขภาพได ขอเสนอแนะจากชุมชนที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือหนวยงานภายนอกควรบูรณาการรูปแบบดําเนินงานรวมกันใหไดและใหการสนับสนุนชุมชนในประเด็นที่สอดคลองกับแผนของชุมชนและภาคีที่ชุมชนมีอยูเพ่ือเพ่ิมความเขมแข็งใหกับชุมชน

Page 8: Community Practice Systems Research

  

สาระสําคัญทายสุดสรุปไดวาระบบสุขภาพเกิดไดถามีปจจัยสําคัญ 2 ปจจัย คือ ทุนมนุษย และ ทุนสังคมซึ่งมีการปฏิสัมพันธกัน ดวยกลไกสําคัญ 3 กลไก คือ กลไกขอมูลและการบริหารจัดการขอมูลดวยตนเอง กลไกการมีสวนรวมในการตัดสินใจและวางแผน กํากับติดตามและประเมินผล และ กลไกการเรียนรูพัฒนาอยางตอเน่ืองซ่ึงจะสงผลใหคนเกิดพลังอํานาจและสรางการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืนใหกับชุมชนได จากโครงสรางและกลไกทั้งสามจะทําใหเกิดการรวมตัวเปนกลุมตางๆ ซ่ึงตองการขับเคลื่อนดวยเครื่องมือใหมๆ ในวงการสาธารณสุข น่ันคือ การทําสมัชชา หรือ ธรรมนูญ การทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร การทําแผนพัฒนาสุขภาพชุมชน และกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น

ระบบสขุภาพชุมชนโดยชุมชนเพือ่ชุมชน

คน..ผู นํา

คน..ทมี บทบาท

คน..การเรยีนรู

คน.. จติอาสา

ทนุสงัคมความสมัพนัธ กตกิา

กองทุนหลกัประกนัสขุภาพระดบัตาํบล

กลุม กลุม กลุมกลุม

กลุม

การตดัสนิใจรวมกนั

ในการวางแผน/ตดิตาม/ประเมนิ

-สมชัชา/ธรรมนูญ-สภา59-SRM-การวจิยั/แผนชุมชน-การมพี ืนทีส่าธารณะ/เวที

ระบบสุขภาพชุมชน

การจดัทํารายงานขอมลูเพือ่เฝ าระวงั ป องกนั และสรางสขุภาพ

การดแูลส ิง่แวดลอม/ทรพัยากรของชุมชน

การรกัษามรดกทางวฒันธรรมเพือ่สรางเสรมิทนุสงัคม

การจดัการปญัหาสงัคมและภยัพบิตั ิทีจ่ะกระทบตอพืนที่

สงัเคราะหผลการวจิยัและขอเสนอแนะ

ชวยเหลอืผู ถกูทอดทิง

ดแูลตนเอง

ดแูลอยางตอเนือ่ง

ควบคมุโรคทีพ่บบอย

ดแูลผู สงูอายุ โรคเรือรงัทีบ่ าน ชุมชนเขมแข็ง 80

 

Page 9: Community Practice Systems Research

  

 

Executive Summary 

 

  Thailand fully  launched the National PHC program  in the 4th National Development Plan  (  1977  –  1981)  Establishment  of  the  district  hospitals  and  health  centers  and  the creation of community health workers i.e., village health communicators, and village health volunteers  had  been  set  up  to  address  the  shortage  of  heath  professional.  The  prepaid health  card  scheme  was  introduced  as  a  financial  measure  to  improve  health  care accessibility.  The heath service was expanded throughout the country with the intersectoral collaboration strategy with all social ministries 

  Achievement was made  through  the Health  Sector  and  External  Partners  in  other sectors and roles of different partners were divided accordingly. The Health Sector, agenda‐setting and the visibility of the health plan in the NESDP process, the formation of the Rural Doctor  Society,  and  the  evidence‐based  approach  were  applied.    For  external  sectors, economic  growth  and  poverty  reduction  and  public  infrastructure  development  were contributing factors. 

  Good health at low cost 25 years on what makes a successful health system, London School of Hygiene & Tropical Medicine 2011 stated that 

  “More  than 40 years of maternal and child health achievement was done  through the  public  primary  care  and  district  health  infrastructure,  including  sub‐district  health centers and district hospitals functioning as strategic hubs, translating national health plans into effective programs on  the ground. Public health  reform  in 2001  resulted  in universal coverage; and economic growth and poverty reduction has helped increase adult literacy, a diminished  gender  literacy  gap. A high  level  of  female  literacy  has  contributed  to  health gains” 

Therefore, three key success factors of health service development in Thailand include 

• The interacting health and development policies 

• The 2001 health care reform program promoting universal coverage policy 

• The  evidence‐based  approach  to  policy  and  planning  as  a  guiding  tool  for  the National Health Plan. 

  The Health system development has been shifted from secured MCH, to  improving adult health by focusing on health risks; i.e., smoking, traffic accidents, HIV/AIDS and social determinants  of  chronic  non‐communicable  diseases.  This  is  due  to  the  political management system which shift its focus from centralization to decentralization.  Therefore local  government  and  community  people  become  significant  group  in  the  health  system development. 

  World  Health  Report  in  the  year  2000  titled  Health  Systems:  Improving Performance  has  defined  the  term  “health  system”  as  a  system  which  consists  of  all organizations, people and actions whose primary  intent  is  to promote health,  restore and maintain health. 

Page 10: Community Practice Systems Research

  

It  is more than the pyramids of publicly‐owned  facilities that deliver personal health services.  It  includes  such  as  a mother  caring  for  a  sick  child  at  home,  private  providers, vector‐control  campaigns,  health  insurance  organizations,  occupational  health  and  safety legislation. 

The  same WHO  report  has  also  emphasized  that  in  developing  the  health  system, guiding values have been articulated by is the commitment on gender and human rights. 

At  present,  PHC  has  evolved  through  many  innovative  health  activities:  community organization, community self‐financing and management, the restructuring of the health system and multisectoral  co‐ordination.    PHC  has  been  successful  in  Thailand  because  of  community involvement  in health, collaboration between government and non‐government organizations,  the integration of the PHC programme, the decentralization of planning and management,  intersectors collaboration  at  operational  levels,  resource  allocation  in  favour  of  PHC,  the  management  and continuous supervision of the PHC programme from the national down to the district level, and the horizontal training of villagers to villagers. (sanguan, 1990) 

In 21st century, community  involvement  in Primary Health Care has a new challenge due  to non  communicable  disease  in  the  elderly  population  and  some  of  the  social  development  policy causing  additional  set  of  health  problem  in  the migrant  population.    Therefore  the  community involvement  for  health  has  also  been  adjusted  according  to  decentralization  policy.  Local government  become  one  key  player  in  the  primary  health  care.    The  Thai  Health  Development organizations  such  as  Thai  Health  Foundation,  National  Health  Commission  Office  of  Thailand, National Health and Security Office and Thailand Research Fund have supported communities under different approaches, and strategies along with a  large amount of financial support. Outcomes are now put forward as research questions in this study. 

Research Questions 

• How do people define the terms “Health” and “Social Determinants of Health”? 

• How do they organize their health system? 

– What activities result in empowering the community? 

– What mechanisms does  the community group use  in order  to achieve  their community health system? 

Research Design and Methods 

  Community‐based participatory research methods were utilized through the 5 steps of data collection: 

1. Community  grand  tour  and    forming  a  research  ethical  committee  team  of  the community (Quinn, 2004) 

2. Community visit  to  learn more on  the way of  life and socio‐cultural context of  the community groups 

3. Agenda identification through focus group discussions with four  community groups 

4.  Consensus‐building among those community groups which also includes the ‘natural helper’ in the community 

5.  Presenting the collected data and the analysis results to the community groups to validate the findings and solicit suggestions  

Page 11: Community Practice Systems Research

  

Purposive sampling was applied in selecting the sites from the sub ‐ district short listed by  those Health Development  External  Partners.  8  sub‐districts were  selected,  based  on their  track  record with external donors  in health development, 1 district  from 1 province and 2 provinces from each of the north, northeast, central and south regions. 

Key informant selection was done in consultation with the community research ethical committee team, or the community committee.   The snowball technique was also used to select  key  informants  at  the  implementation  or  project  level.    Approximately  40  key informants participated  in  the  research  from each  site.   The  total of 320   key  informants were   the  local government  leader team,   the district  leader team and community groups including  the  natural  helpers  from  health,  welfare  or  community  justice  groups,  and teenagers. 

Results indicated that major Human capital who was the  leader in each sub – district were those from the  local government, where the significance workforce were the natural helper especially those who were village health volunteer. Social capital which is the major mobilizing factor of those sub‐district was the natural resources such as forestry and water reservoir. In addition every sub ‐ district has developed their own financial system through the funeral fund, income generated support fund, and self discipline fund. 

 Regarding  community  characteristics,  almost  all  sub‐districts  are  self  reliant community.  They are confident in seeking partners, raising fund, and carryout the disease, hazard, or disaster surveillance system. 

Finding on definition of “Health” and “Social Determinants of Health”, data revealed that definitions of those terms by “community  leaders and natural helpers are similar and cover  physical,  mental  and  social  environment  aspects  including  how  to  manage  and balance those components as a whole. 

Social determinants of health defined as existing resources which are problems facing community  and  required  collective  efforts  to  solve  such  as  forestry  problems,  water reservoir, and minerals mining, or existing occupation/lifestyle and social problems including disaster, both man made and natural. 

Regarding  tools  and  process  for  organizing  and  mobilizing  the  community  health system, results indicated that there are three sets of tools used by these communities.  The first  set  is  for  solving  community  problems  and  social  determinants  of  health while  the second  set  is  related  to  empowering  community  people,  improving  environment,  and promoting people’ and stakeholders’ participation.   The  third set of  tools  is  for mobilizing community  towards  public  policy  and  community  development  goal  which  includes community  health  system  goal  as  a  wholistic  view.  It  is  confirmed  by  these  studied communities that the community health system goal should not cover only the health and social welfare services, but also cover (1) social capital management, (2) social problems and disaster  surveillance  and management  systems,  (3)  preserving  culture  and  applying  local wisdom  to promote health.   Therefore  it  can be  concluded with evidence and  consensus that  the  community  healthy  system  can  go  beyond  heath  service  provision  but  social determinants of health management. 

Regarding external partners’ role and approaches  in providing technical and financial support to the communities, all eight communities suggested that external partners need to be more flexible in writing a contract and developing intervention guidelines.  Communities 

Page 12: Community Practice Systems Research

  

need to make decision based on their community development plan and resources in order to reach developmental sustainability. 

Finally, the critical condition which promotes community health system  includes two interactive  factors:  human  capital,  and  social  capital.  The  interaction  needs  three mechanisms, data or  information system mechanism, participatory decision mechanism  in planning, monitoring and evaluation mechanism, and learning and development mechanism which will  lead to forming and empowering community groups and natural helper groups. Once the community composes of many groups, the mobilizing tools will help attaining the community  health  system.  The  mobilizing  tools  include  health  assembly  or  charter development  process,  strategic  route map,  research  and  community  plan  development activities and community health fund. 

 

Health system by and for the community

Communication infrastructureCommunity data /reports for surveillance, prevention and health promotion

Resident…leader

Individual...team role

Individual…learning

Individual…volunteerism

Social capital, relationships, conventions

Community Health Fund

/NHSO

groupgroup group

group

group

Joint decision-making in planning,monitoring and evaluation

-Health Assembly/charter-Community Leader Committee59-Strategic Route Map (SRM)-Research/Community development plan-Public space/community forum

Community Health System

Care for the environment and community resources

Preservation of traditional culture and wisdom to build community Identity and social capital

Addressing social problems and natural disasters which affect the locality

Assist thedisadvantaged

Self-care

Continuation ofmedical care

Control of common illnesses

Home care of the elderly with chronic disease

Empowered/self reliance communities

Synthesis of research results and recommendations

 

Page 13: Community Practice Systems Research

  

กิตติกรรมประกาศ

การวิจัยคร้ังน้ีดําเนินการในเวลาสั้น และผานวิกฤตอุทกภัย ทําใหกระบวนการสรางสัมพันธกับ

พ้ืนที่วิจัยหยุดชะงักไปช่ัวคราว แตดวยความรวมมืออยางดียิ่ง ของผูบริหารระดับทองถิ่นของทุกตําบล ไดแก นายบรรจง ยัพวัฒนา นายกเทศมนตรีเทศบาลตําบลแมหลาย นายเกษม สิทธิพันธ กํานัน ตําบลแมถอด นายบัณฑิต นพเกตุ นายกองคการบริหารสวนตําบลหนองแหน และนายเกรียงไกร เตียวประเสริฐ รองนายกองคการบริหารสวนตําบลหนองแหน นายสําเนาว รัสมิทัต นายกองคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผึ้ง นายสิทธิศักด์ิ ศาสตรภักดี นายกองคการบริหารสวนตําบลไผ นายจํารัส ชมชาลี กํานันตําบลหวยสม นางสุภาพร นนทคําจันทร รองนายกองคการบริหารสวนตําบลหวยสม นางพิมพวิภา วรรณคีรี ผูใหญบานตําบลหวยสม ผูใหญโชคชัย ลิ้มประดิษฐ ผูใหญบาน บานหนองกลางดง ตําบลศิลาลอย นายเสนอ จันทนเทศ นายกองคการบริหารสวนตําบลศิลาลอย นายเมธา บุณยประวิตร ผูอํานวยการสํานักธรรมนูญสุขภาพตําบลชะแล ทําใหการวิจัยดําเนินตอไปไดจนเสร็จสมบูรณ นอกจากนี้ การวิจัยชิ้นน้ียังไดรับขอเสนอแนะดานวิชาการจาก Professor Dr. Edwin Fisher, Peers for Progress Global Director ซ่ึงไดลงพ้ืนที่ในระยะเริ่มพัฒนาโครงการ และ Professor Dr. Eugenie Eng ผูเชี่ยวชาญดานระเบียบวิธีวิจัยแบบ Community Based Participatory Research จากมหาวิทยาลัย นอรธแคโรไลนา ณ เมือง Chapel Hill ประเทศสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังมีผูวิจัยประจําพ้ืนที่และผูเก่ียวของในพื้นที่ ที่คณะนักวิจัยไมสามารถเอยนามไดทั้งหมด คณะนักวิจัยขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ีดวย การศึกษาครั้งน้ีไดรับการสนับสนุนจากองคการอนามัยโลกและสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข

Page 14: Community Practice Systems Research

  

สารบัญ

หนา

กิตติกรรมประกาศ

คํานํา

สารบัญ

คณะผูวิจัย

รายการอักษรยอ

บทที่ 1 บทนํา 1

ความเปนมาของปญหา 1

วัตถุประสงคการวิจัย 4

คําถามการวิจัย 4

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและระเบียบวธิวีจัิย 5

ปจจัยกําหนดสุขภาพ 5

งานวิจัยและสงัเคราะหบทเรียนในการจัดการสุขภาพของชุมชนที่เก่ียวของ 6

การพัฒนาระบบสุขภาพชมุชนในประเทศไทย 7

การสาธารณสขุมูลฐานในประเทศไทย 10

กรอบแนวคิดในการวิจัย 11

หลักการและระเบียบวธิีวิจัยในชุมชน 15

ระเบียบวธิีวิจัย 17

การเลือกพ้ืนที่ 18

กระบวนการเก็บขอมูล 18

ขอบเขตการวจัิย 22

การวิเคราะหขอมูล 23

บทที่ 3 ผลการวิจัย 24

ขอคนพบจากชุมชนในมิต ิทุนมนุษย ทุนสังคม ทุนการเงิน 24

ขอคนพบจากชุมชนในมิต ิความเขมแข็งของชุมชน 29

ขอคนพบจากชุมชนในมิต ิระบบสขุภาพ 30

ความโดดเดนของแตละชุมชน 37

นิยามระบบสุขภาพและปจจัยกําหนดสุขภาพโดยชุมชน 39

Page 15: Community Practice Systems Research

  

หนา

กลไกการจัดการระบบสุขภาพโดยชุมชน ที่เก่ียวของกับภาคีภายนอกชุมชน 53

บทที่ 4 เคร่ืองมือระบบการจัดการสุขภาพชุมชน 69

เคร่ืองมือในการแกปญหานําไปสูการเปนชุมชนเขมแขง็ 70

เคร่ืองมือสําคัญซ่ึงพ้ืนที่วิจัยใชในการพัฒนาสูการพ่ึงตนเอง 90

เคร่ืองมือสําคัญในการขับเคลื่อนระบบสขุภาพในมิติของการจัดการ 94

บทที่ 5 การบริหารจัดการภาคีภายนอก 98

ขอเสนอจากชุมชนตอการทาํงานรวมกับภาคี 116

บทที่ 6 สรุปผลการวิจัย 120

ผลการวิจัยทีส่ําคัญ 120

อภิปรายสังเคราะหผลการวจัิย 124

ขอเสนอแนะจากการวิจัยเชงินโยบาย 127

ขอเสนอแนะจากการวิจัยในระดับปฏิบตัิการ 129

เอกสารอางอิง

ภาคผนวก

ภูมิสังคมเชิงประจักษและความเขมแข็งระดับชุมชน

ภูมิสังคมเชิงประจักษ ตําบลบางน้ําผ้ึง

ภูมิสังคมเชิงประจักษ ตําบลหนองแหน

ภูมิสังคมเชิงประจักษ ตําบลแมหลาย

ภูมิสังคมเชิงประจักษ ตําบลแมถอด

ภูมิสังคมเชิงประจักษ ตําบลไผ

ภูมิสังคมเชิงประจักษ ตําบลหวยสม

ภูมิสังคมเชิงประจักษ ตําบลชะแล

ภูมิสังคมเชิงประจักษ ตําบลศลิาลอย  

Page 16: Community Practice Systems Research

  

รายการอักษรยอ อักษรยอที่ใชในเลม

ธ.ก.ส. = ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร

ปตท. = การปโตรเลียมแหงประเทศไทย

พม. = กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย

พมจ. = สํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัด

พอช. = สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน

มสช. = มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาต ิ

รพ. = โรงพยาบาล

รพ.สต. = โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล

สกว. = สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

สช. = สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ

สท. = สมาชิกสภาเทศบาล

สธ. = สาธารณสุข

สปสช. = สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ

สวรส. = สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข

สสส. = สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ

สอบต. = สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล

อบจ. = องคการบริหารสวนจังหวัด

อบต. = องคการบริหารสวนตําบล

อสม. = อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน

CBT-I = The Thailand Community Based Tourism Institute

CHIA = Community Health Impact Assessment

HIA = Health Impact Assessment

MOU = Memorandum of Understanding

SIF = Social Investment Fund

SRM = Strategic Route Map (แผนที่ทางเดินยทุธศาสตร)

SRRT = Surveillance and Rapid Response Team 

Page 17: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 1  

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาของปญหา

ในศตวรรษที่ 21 สิ่งทาทายใหมๆทางสุขภาพและชีวิตความเปนอยูของสังคมไทยที่กําลังปรากฏใหเห็นคือการเพ่ิมขึ้นของประชากรสูงอายุอยางรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของโรคจากปญหาโรคติดตอที่เปนปญหาหลักทางสุขภาพมาเปนโรคไมติดตอการเพ่ิมขึ้นของจํานวนผูพิการและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่สําคัญ ไดแกการขยายตัวของเขตเมืองอยางรวดเร็ว การเคล่ือนยายถิ่น ผูหญิงประกอบอาชีพมากขึ้นและการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของครอบครัวจากครอบครัวขยายมาสูครอบครัวเด่ียวดวยเหตุของการขยายตัวของเขตเมืองอยางรวดเร็วซ่ึงสัมพันธกับการเพ่ิมขึ้นของโรคไมติดตอและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทําใหการพัฒนาระบบการสงเสริมและการดูแลสุขภาพในชุมชนทั้งพ้ืนที่เขตเมืองและเขตชนบทเปนเปาหมายแรกของการดําเนินการเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว

การบริการชุมชนและการสาธารณสุขมูลฐานในประเทศไทยที่มีการพัฒนาขึ้นภายหลังการประชุม Alma-Ata ในป พ.ศ. 2521 ไดออกแบบเพ่ือครอบคลุมองคประกอบจําเปนอันรวมถึงการปองกันโรคติดตอ การสงเสริมดานอาหารและโภชนาการที่เหมาะสมความเพียงพอของน้ําสะอาดและการสุขาภิบาล การดูแลแมและเด็ก การใหบริการยาที่จําเปนและการจัดการปญหาสุขภาพที่พบบอย นับตั้งแตป พ.ศ. 2541 กลยุทธหลักของดําเนินการดานการสาธารณสุขมูลฐานในประเทศไทยเปนการใชกระบวนการเขาถึงกลุมประชากร (Population-based approach) โดยใชการรณรงคหรือดําเนินกิจกรรมในระดับชุมชนการสรางความมีสวนรวมของชุมชนผานทางกลุมอาสาสมัครสาธารณสุขและการจัดตั้งสถานีอนามัยที่เนนใหบริการแมและเด็ก การใหวัคซีนปองกันโรคและการรักษาพยาบาลพื้นฐานอยางไรก็ตามกลยุทธดังกลาวไมเพียงพอที่จะรองรับกับความทาทายใหมๆที่เกิดขึ้นในศตวรรษนี้โดยเฉพาะการขยายตัวของความชุกของกลุมโรคไมติดตอและผูพิการที่มาพรอมกับภาวะประชากรสูงอายุและการเคลื่อนยายประชากรฉะนั้น กลยุทธใหมเพ่ือตอบสนองตอความทาทายใหมๆเหลาน้ีจึงจําเปนที่จะตองไดรับการพัฒนาขึ้น เพ่ือใหการทํางานสุขภาพชุมชนไดมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น

แนวทางการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนไดนําแนวคิดของ ศาสตราจารยนายแพทยประเวศ วะสี ที่ไดใหคุณคาระบบสุขภาพชุมชนไววาเปนฐานที่สําคัญของระบบสุขภาพ คือ การดูแลตนเอง การดูแลในครอบครัว การดูแลในชุมชน หรือ รวมเรียกวา อัตนาภิบาล หากทําไดดีจะเปนระบบสุขภาพที่สําคัญที่สุด และชวยใหระบบบริการลงตัว ลดคาใชจายเร่ืองสุขภาพทั้งประเทศ ทําใหเกิดระบบสุขภาพทั้งหมดที่ดี มีคุณภาพ ทั่วถึง เปนธรรม และมีประสิทธิภาพ การพัฒนาระบบสุขภาพที่ผานมามีหลายหนวยงานเชน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ(สสส.) สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (สช.) และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ที่ไดดําเนินการพัฒนาระบบสุขภาพใน

Page 18: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 2  

ชุมชนดวยวิธีคิดและพ้ืนที่ทดลองที่หลากหลาย มีภาคีหลายภาคสวนเขามามีสวนรวมที่ทําใหเกิดผลลัพธ และผลกระทบ เปนนวัตกรรม และ/หรือ ระบบสุขภาพ และระบบอัตนาภิบาลที่ดี มีหัวใจของความเปนมนุษย สอดคลองกับวัฒนธรรมของชาวบาน และใหผลคุมคา

นอกจากนี้ พิจารณาจากหลักการ เปาหมายและมาตรการที่กําหนดไวในธรรมนูญวาดวยระบบสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2552 ซ่ึงเปนกรอบแนวทางการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรและการดําเนินงานดานสุขภาพของประเทศ พบวา ภาพอนาคตของระบบสุขภาพที่พึงประสงคภายในป 2563 ไดระบุไววาจะใหความสําคัญอยางมากตอการสรางความเขมแข็งและสามารถพึ่งพาตนเองไดในดานสุขภาพของชุมชนรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในระดับพ้ืนที่ ซ่ึงฝายเลขานุการ คณะกรรมการพัฒนาการวิจัยระบบสุขภาพเพ่ือสนับสนุนธรรมนูญวาดวยระบบสุขภาพที่มี ศาสตราจารยนายแพทยวิจารณ พานิช เปนประธาน ไดกําหนดให “ระบบสุขภาพชุมชน” เปนหน่ึงในหกเรื่องสําคัญที่ควรมีการพัฒนาระบบวิจัยเพ่ือสนับสนุนใหธรรมนูญฯเกิดผลทางปฏิบัติไดอยางแทจริง โดยเปนระบบวิจัยที่เนนการบูรณาการวิจัยประเด็นตางๆ เขาดวยกัน โดยยึดบริบทปญหาสุขภาพในระดับพ้ืนที่เปนจุดตั้งตน สําหรับประเด็นวิจัยเพ่ือสนับสนุนธรรมนูญฯ อีก 5 เรื่องประกอบดวย ดังแผนภาพที่ 1

1) ระบบบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ 2) การสรางเสริมสุขภาพ 3) การคุมครองผูบริโภค/คุมครองสิทธิดานสุขภาพ 4) การปองกันหรือระบบปองกันและควบคุมโรค และ 5) เรื่องสภาพแวดลอมที่มีผลกระทบตอสุขภาพ

แผนภาพที่ 1 การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพ่ือเสริมสรางความเขมแข็งของสุขภาพชุมชน

ทั้งน้ีกลยุทธที่สําคัญในการสรางระบบสุขภาพชุมชนที่พึงประสงคจะตองมีนโยบายสาธารณะเพ่ือสุขภาพแบบมีสวนรวมองคกรปกครองสวนทองถิ่นและชุมชนรวมมีบทบาทในการจัดบริการสาธารณสุขปฐมภูมิ การสรางเสริมสุขภาพ การปองกัน ควบคุมโรคและปจจัยคุกคามสุขภาพ และสนับสนุนการพ่ึงตนเองดานสุขภาพการคุมครองผูบริโภค การสนับสนุนภูมิปญญาทองถิ่นดาน

Page 19: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 3  

สุขภาพ ตลอดจนสนับสนุนกลไกและจัดใหมีทรัพยากรที่เพียงพอ มีระบบการติดตามประเมินผลและการตรวจสอบเพ่ือใหเกิดการบริหารจัดการที่มีธรรมาภิบาล

จากประเด็นความสําคัญดังกลาวจึงนํามาสูแนวทางการหารือเพ่ือการพัฒนางานวิจัยเพ่ือขับเคลื่อนธรรมนูญฯ ตามพันธกิจ ของคณะกรรมการพัฒนาการวิจัยระบบสุขภาพเพ่ือสนับสนุนธรรมนูญวาดวยระบบสุขภาพ ในประเด็นระบบสุขภาพชุมชนซ่ึงมีการประชุมคร้ังแรก เม่ือ 28 กันยายน 2552 และไดขอสรุปสําคัญ ดังแผนภาพที่ 2

แผนภาพที่ 2 การวิจัยเพ่ือการพัฒนาระบบสุขภาพชมุชน

ดังน้ันโครงรางการวิจัยน้ีจึงเปนการทํางานเพ่ือสังเคราะหบทเรียน สรุปเปนองคความรูที่เกิดจากความพยายามขององคกรตางๆเพ่ือ

1) สังเคราะหองคความรูและกรอบความคิดจากนวัตกรรมของตัวแบบ( Model ) ในสวนที่เก่ียวกับการพัฒนาความเขมแข็งของชุมชน รวมทั้งสังเคราะหปจจัยความสําเร็จ ปจจัยอุปสรรค และขอควรคํานึงถึงอ่ืนๆ

2) สังเคราะหทางเลือกของตัวแบบระบบจัดการสุขภาพชุมชนทั้งปจจัยกําหนดสุขภาพในชุมชน และระบบบริการสุขภาพ ที่มีตัวแบบกลไกหลัก กลไกรวมหรือกลไกสนับสนุน และเคร่ืองมือ

Page 20: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 4  

พัฒนาความเขมแข็งของระบบสุขภาพชุมชนที่ใชความตองการดานสุขภาพของพื้นที่/ชุมชนเปนปจจัยขับเคลื่อนระบบบูรณาการกับการจัดการจากแหลงทุนภายนอกผานกลไกหลักและกลไกสนับสนุน

วัตถุประสงคการวิจัย

1) เพ่ือศึกษา รูปแบบ วิธีการ ปจจัย และ กลไกที่ทําใหเกิดการจัดการเพ่ือใหเกิดชุมชนเขมแข็ง มีความตอเน่ือง และยั่งยืน

2) เพ่ือวิเคราะหเคร่ืองมือ (tool) และกระบวนการที่ใชในการพัฒนาระบบสุขภาพของชุมชน ที่สามารถเชื่อมโยงประเด็นตางๆกับสุขภาพภายใตสถานการณของปจจัยตางๆที่เก่ียวของได

คําถามการวิจัย

1. ชุมชนใหนิยามคําวา ระบบสุขภาพ และ ปจจัยกําหนดสุขภาพวาอยางไร ครอบคลุมอะไรบาง ดวยเหตุใดจึงกําหนดนิยามอยางน้ัน

2. ชุมชนรับรูบทบาท ของตนเองและภาคีที่เก่ียวของในการดําเนินงานที่เก่ียวของกับปจจัยกําหนดสุขภาพนั้นๆอยางไร ดวยเครื่องมือหรือเทคนิควิธีอะไร

3. ชุมชนมีการพัฒนากลไกหลัก และกลไกสนับสนุนที่กอใหเกิดความเขมแข็งของชุมชนและระบบจัดการกับปจจัยกําหนดสุขภาพละรูปแบบการทํางานของชุมชนเปนอยางไร

4. ชุมชนมีรูปแบบ กระบวนการในการคนหา และสรางพลังขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชนตามความตองการของชุมชนอยางไร และชุมชนมีบทเรียนในการดําเนินการอยางไร ทั้งในสวนที่เก่ียวกับทุนมนุษย ทุนทางสังคม ปจจัยเอ้ือ หรือ ปญหา อุปสรรคที่ผานมา

Page 21: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 5  

บทที่ 2

การทบทวนวรรณกรรมและระเบียบวิธีวิจยั

ปจจัยกําหนดสุขภาพ

องคการอนามัยโลก ไดใหความสําคัญกับปจจัยกําหนดสุขภาพเปนอยางมาก เน่ืองจากการทํางานดานสุขภาพมีเปาหมายเพื่อใหเกิดความเปนธรรมทางสังคม ดังน้ันจึงมีการรวบรวมขอมูลที่เชื่อวาเปนปจจัยกําหนดสุขภาพและผลกระทบตอสุขภาพออกมาเผยแพรใหนักสาธารณสุขและผูเก่ียวของไดนําไปพิจารณาในการจัดทําโครงการ ปจจัยกําหนดสุขภาพเหลาน้ันเก่ียวของตั้งแตเกิดถึงตาย เก่ียวของกับวิถีการดํารงชีวิตในแตละวัน การประกอบอาชีพ การเดินทางและรูปแบบการบริการ สวัสดิการที่มีอยูในแตละพ้ืนที่ ปจจัยเหลาน้ีมีมากมาย หลากหลายแตกตางไปตามพื้นที่(อําพล จินดาวัฒนะ,2550) และสามารถเขียนเปนแผนภูมิไดดังน้ี

2พลวตั

ความเชื่อมโยงของปัจจัยกาํหนดสุขภาพและพลวตัเกี่ยวกับสุขภาพ

กรรมพันธุ

พฤติกรรม

ความเช่ือ

จิตวิญญาณ

วิถีชีวิต

ปัจเจกบุคคล

สุขภาพ

สภาพแวดลอม

กายภาพ/ชีวภาพ

เศรษฐกิจ/การเมืองวัฒนธรรม/ศาสนาประชากร/การศึกษาความม่ันคงการส่ือสาร/คมนาคม

เทคโนโลยี/องคความรู

นโยบายสาธารณะ

ระบบบริการสาธารณสุข การแพทยทางเลือกอ่ืน ๆ

การแพทย&สาธารณสุข กระแสหลัก

การแพทยแผนไทย&พืน้บาน

บริการสงเสริม&ป องกัน&รักษา&ฟ้ืนฟู

แผนภาพที่ 3 ความเชื่อมโยงของปจจัยกําหนดสุขภาพและพลวัตรเกี่ยวกับสขุภาพ

กระบวนการสรางสุขภาพตามแนวทางขององคการอนามัยโลก คือแตละประเทศควรใหความสําคัญในการระบุปจจัยกําหนดสุขภาพ และหาทางสราง ผลักดันนโยบายสาธารณะที่เอ้ือใหเกิดโอกาสในการสรางสุขภาพในประชากรทุกกลุมอยางเทาเทียม เชนการสรางสิ่งแวดลอมที่ปลอดภัยทั้งที่บาน โรงเรียน ที่ทํางาน การสรางโอกาสในการเขาถึงบริการดานสวัสดิการตางๆที่ จําเปนใน

Page 22: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 6  

ชีวิตประจําวัน การสรางการกระจายรายได ทรัพยากร และอํานาจการตัดสินใจใหทั่วถึงในทุกกลุมประชากร ตลอดจนการสรางความตระหนักแกประชากรทุกกลุมในการประเมินและเฝาระวังปจจัยกําหนดสุขภาพ เพ่ือรวมกันสรางสุขภาพในสังคม

สําหรับประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ ไดผลักดันการสรางนโยบายสาธารณะออกมาในรูปแบบการมีธรรมนูญสุขภาพ ขับเคลื่อนดวยการทําสมัชชาโดยมีเครือขายตางๆที่มีความสนใจเขารวมในการผลักดันทั้งในระดับพ้ืนที่ และระดับชาติ งานวิจัยและสังเคราะหบทเรียนในการจัดการสุขภาพของชุมชนที่เก่ียวของ

รูปแบบการทํางานสรางสุขภาพหรือจัดการสุขภาพของชุมชน Best A, Stokols D, Green LW, Leischow S, Holmes B, andBuchholz K. (2003)ได

ทําการศึกษาดวยการใชกรอบแนวคิด 4 กรอบคือ 1) the Social Ecology; 2) the Life Course Health Development; 3) the Predisposing, Reinforcing, and Enabling Constructs in Educational/Environmental Diagnosis and Evaluation-Policy, 4) Regulatory and Organizational Constructs in Educational and Environmental Development; and the community partnering models. ผลการวิจัยใหขอเสนอวา กรอบที่เหมาะสมในการทํางานดานสุขภาพชุมชนควรเปนกรอบท่ีเปนระบบและสามารถผนวกแนวคิดหรือกรอบการทํางานตางๆเขาไปไดเพ่ือใหเหมาะสมกับความหลากหลายของบริบท และกระบวนการในการศึกษาวิจัยควรใชการเปดเวทีสนทนา แลกเปลี่ยนประสบการณเพ่ือใหเกิดการตกผลึกทางความคิด ไดขอสรุปที่เปนประชามติของผูที่มีสวนเกี่ยวของ

R E Glasgow, T M Vogt and S M Boles(2001) ไดทําการประเมินความสําเร็จของโครงการในชุมชนโดยใชกรอบแนวคิดที่ชื่อวา REAIM เพ่ือใหสามารถประเมินความสําเร็จไดครอบคลุมการทํางานในหลายระดับ และใชตัวชี้วัดการมีประสิทธิผลการทํางาน 5 ตัวชี้วัด คือ Reach, Efficacy, Adoption, Implementation, and Maintenance

K Mayer, J Appelbaum, T Rogers, W Lo, J Bradford and S Boswell(2001) ไดพัฒนารูปแบบFenwey LGBT community Model เปนการจัดบริการสุขภาพชุมชนใหกับผูรับบริการที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมทางเพศโดยทํางานรวมกับคนในชุมชน ทําใหเกิดความตระหนักของประเด็นความแตกตางของคนในชุมชน และสามารถตอบสนองความตองการน้ันๆได

Paula M. Lantz,Edna Viruell-Fuentes,Barbara A. Israel, Donald Softley,and Ricardo Guzman (2001) ไดทําการประเมินผลการทํางานระบบสุขภาพชุมชนซึ่งเปนการทํางานรวมกันระหวาง นักวิชาการ แกนนําชุมชน และ ระบบสาธารณสุข ไดขอสรุปวา ปจจัยที่เอ้ือใหเกิดระบบสุขภาพชุมชนท่ีดี และยั่งยืน ประกอบดวย ปจจัยดานโครงสรางและกระบวนการทํางานรวมกันและการตัดสินใจ ปจจัยความเชื่อม่ันระหวางกันของภาคีเครือขาย ภาวะผูนําและความมุงม่ันของแตละภาคี สําหรับปจจัยที่อาจ

Page 23: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 7  

เปนอุปสรรคหรือสิ่งทาทายในการทํางานคือ ขอจํากัดของแตละองคกรเอง เวลา และความสนใจของแตละภาคีที่อาจมีความแตกตางกันอยู การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนในประเทศไทย คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดทําวิจัยเรื่อง ระบบบริการสุขภาพชุมชนเขตเมือง โดยการสนับสนุนทุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข วัตถุประสงคหลักของโครงการคือการกําหนดรูปแบบการบริการดาน สุขภาพและสวัสดิการที่มีโครงสรางพ้ืนฐานคือพนักงานสาธารณสุขชุมชนและบุคลากรวิชาชีพดานสุขภาพตางๆที่จะตองใหบริการที่สอดประสานทั้งดานสุขภาพและสังคมและปฏิบัติงานอยางใกลชิดรวมกับกลุมผูดูแลสุขภาพที่ไมเปนทางการ อาทิ ครอบครัวเพ่ือน เพ่ือนบาน และอาสาสมัครตางๆ รูปแบบกรุงเทพฯยังมุงที่จะแสดงถึงความเปนไปไดในทางปฏิบัติของการสอดประสานระหวางระบบการบริการท่ีบาน ซ่ึงตองอาศัยความรวมมือระหวางสหสาขาวิชาชีพกับการดําเนินการกิจกรรมชุมชนที่ตองอาศัยความรวมมือระหวางภาคสวน/หนวยงานตางๆ (ระบบบริการสุขภาพชุมชน) จุดมุงหมายสําคัญจากการดําเนินการนี้คือการนําไปสูการพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่บูรณาการและสอดประสานเพียงพอที่จะตอบสนองและสนับสนุนระบบดูแลสุขภาพที่ไมเปนทางการ (Informal care) ใหดํารงอยูอยางมีประสิทธิภาพนอกจากน้ันยังมุงหวังใหประชาคมในชุมชนสามารถมีสวนรวมอยางเขมแข็งในการกําหนดแผนและดําเนินการจักการดานสุขภาพและสวัสดิการรวมกันระบบบริการสุขภาพชุมชนเปนรูปแบบที่ตอเติมจากระบบการดูแลสุขภาพระดับชุมชนที่เปนอยูในปจจุบันซึ่งยังคงวางอยูบนหลักส่ีประการของการสาธารณสุขมูลฐานคือ

1) การเขาถึงอยางถวนหนาและครอบคลุมความจําเปนพ้ืนฐาน 2) การมีสวนรวมของชุมชนและบุคคล และพ่ึงพาตนเองได 3) การมีสวนรวมระหวางภาคสวนตางๆ ในการดําเนินการเพ่ือสุขภาพ และ 4) การประยุกตใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีความคุมคาในทรัพยากรที่มีอยู

ระบบบริการสุขภาพชุมชนยังอาจพิจารณาวาเปนกลยุทธที่สรางเสริมโอกาสการเขาถึงระบบสุขภาพของบุคคลและชุมชนโดยเปนระดับแรกสุดภายใตกรอบการสาธารณสุขมูลฐานที่เชื่อมตอกับผูรับบริการซ่ึงก็คือบุคคลและชุมชน ระบบบริการสุขภาพชุมชน ประกอบดวยกิจกรรมหลากหลายที่จัดขึ้นเพ่ือประชาชนทุกกลุมอายุโดยเนนการสงเสริมใหมีการสอดประสานระหวางการดูแลสุขภาพที่เปนทางการและไมเปนทางการที่ตอบสนองตอสาระพ้ืนฐาน 8 ประการ ดังน้ี

1)การสงเสริมสุขภาพและการใหความรู 2)การปองกันและการควบคุมโรคติดตอและปญหาสุขภาพจําเพาะในพ้ืนที่ เชน การติดยาเสพ

ติดอุบัติเหตุ การด่ืมแอลกอฮอล ปญหาอาชีวอนามัย 3)สิ่งแวดลอม นํ้า และสุขาภิบาล 4)การดูแลแมและเด็กและการวางแผนครอบครัว 5)อุปทานดานอาหารและความปลอดภัยของอาหาร

Page 24: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 8  

6)การจัดการโรคเรื้อรัง โดยเนนการติดเน่ืองตอการรักษา 7)การรักษาพยาบาลขั้นพ้ืนฐานและการฟนฟูสมรรถภาพสําหรับปญหาทางสุขภาพที่รวมถึง

ภาวะทุพพลภาพ 8)การดูแลระยะยาว

ระบบบริการสุขภาพชุมชนจะตองจัดการบริการสุขภาพและสังคมที่สอดประสานกันและรุกเขาถึงครัวเรือนสําหรับรายบุคคลและครอบครัว (การบริการที่บาน –Home-based services) และการดําเนินการกิจกรรม/รณรงคระดับชุมชน (Community-based services) ทั้งน้ีการบริการทั้งสองประเภทจะตองประสานและสนับสนุนซึ่งกันและกันในขณะที่ความรวมมือระหวางภาคสวนเปนเง่ือนไขจําเปนของความสําเร็จของการดําเนินการกิจกรรม/รณรงคระดับชุมชนความรวมมือระหวางสหสาขาวิชาชีพก็เปนหัวใจสําคัญของการบริการที่บานและกิจกรรมบริการเพ่ือการสนับสนุนรูปแบบกรุงเทพฯไดรับการพัฒนาในพ้ืนที่สองแขวงที่เขตใจกลางของกรุงเทพมหานคร โดยครอบคลุมประชากรในพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 60,000 คนงานบริการดานสุขภาพในพื้นที่ทั้งสองแขวงอยูภายใตความรับผิดชอบของศูนยบริการสาธารณสุข16 ลุมพินี สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร ทั้งน้ีศูนยบริการสาธารณสุข 16 ซ่ึงเปนศูนยสุขภาพระดับชุมชนไดทําหนาที่เปนหนวยงานหลักของรูปแบบกรุงเทพฯและดําเนินการการบริการสุขภาพในชุมชนใหแกประชาชนในพ้ืนที่รับผิดชอบโดยมีโรงพยาบาลจุฬาลงกรณสภากาชาดไทยเปนหนวยรับการสงตอและรวมสนับสนุนการพัฒนารูปแบบกรุงเทพ อันประกอบดวย “ระบบการบริการท่ีบาน” และ “ระบบการบริการชุมชน” ระบบการบริการที่บานประกอบดวยกิจกรรมบริการที่หลากหลาย ดังน้ีบริการเยี่ยมบานประจํา การประเมินที่บาน การพยาบาลที่บานการฟนฟูสมรรถภาพที่บาน การใหความรู/ใหคําปรึกษาที่บานการบริการเพ่ือความตอเน่ืองตอการรักษาโรคเร้ือรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงวัณโรค) การบริการสังคม การบริการประคับประคอง และการดูแลระยะสุดทายของชีวิตกิจกรรมการบริการที่บานเหลาน้ีไดรับการสนับสนุนจากกิจกรรมการบริการที่ศูนยบริการสาธารณสุข 16 ไดแก การประชุม สหสาขาวิชาชีพ การบริการผูปวยนอก การบริการฟนฟูสมรรถภาพคลินิกเด็กดี คลินิกฝากครรภ บริการวางแผนครอบครัว คลินิกฝงเข็ม บริการสังคมและบริการดูแลทดแทน (Respite care) การมีสวนรวมของชุมชนเปนสิ่งจําเปนของทั้งระบบบริการท่ีบานและระบบบริการชุมชนอาสาสมัครสาธารณสุข และผูนําชุมชนไดรับการเชิญใหเขารวมในทุกขั้นตอนของการดําเนินการและการวางแผนหลังจากหน่ึงปของการพัฒนารูปแบบกรุงเทพฯ พบวาไดประสบความสําเร็จในการพัฒนาโดยผลการดําเนินงานไดรับการนําเสนอแกคณะผูบริหารของกรุงเทพมหานครและสํานักอนามัยและสงตอการบริหารจัดการระบบบริการของรูปแบบกรุงเทพใหกับสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ความสําเร็จดังกลาวยังไดรับการเผยแพรสูสาธารณะโดยผานสื่อสารมวลชน เชนหนังสือพิมพและโทรทัศน รูปแบบโครงการ กรุงเทพ และผลของการจัดบริการไดรับการบรรจุเปนหัวขออภิปรายหลักในการประชุมวิชาการในประเทศไทย อยางไรก็ตามสัญญาณที่ชัดเจนแหงความสําเร็จมาจากสํานักอนามัยที่ไดเร่ิมประยุกตเอารูปแบบกรุงเทพไปใชดําเนินการในพื้นที่อ่ืนของกรุงเทพมหานคร จากการศึกษาน้ีแสดงให

Page 25: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 9  

เห็นวารูปแบบกรุงเทพ ซ่ึงเปนตนแบบของระบบบริการสุขภาพชุมชนที่มุงใหเกิดการสอดประสานของระบบสุขภาพและสวัสดิการเปนกลยุทธใหมในระบบบริการสุขภาพเพื่อตอบสนองตอความทาทายที่เกิดขึ้นในประเทศกําลังพัฒนาอันรวมทั้งประเทศไทยและสามารถดําเนินการไดจริงในพื้นที่เขตเมืองรูปแบบนี้ชวยสรางความเขมแข็งของการเชื่อมโยงระบบท่ีเปนทางการเขากับระบบท่ีไมเปนทางการที่เปนสิ่งจําเปนของกระบวนการดูแลระยะยาวหลักการ รูปแบบระบบ และประสบการณของการจัดการในการพัฒนาจะเปนประโยชนตอการพัฒนาอ่ืนๆ ที่มุงเนนการสาธารณสุขมูลฐานและระบบสุขภาพและสวัสดิการ อยางไรก็ตาม รูปแบบกรุงเทพไมไดเปนรูปแบบอุดมคติที่จะเหมาะสมกับทุกกลุมประชากรและทุกพ้ืนที่ในประเทศไทยผูบริหารและผูใหบริการในพื้นที่อ่ืนๆทั้งในเขตเมืองและเขตชนบทควรพิจารณาดําเนินการประยุกตรูปแบบกรุงเทพอยางเหมาะสมและสอดคลองกับสภาพการดําเนินการในแตละทองถิ่น

เสรี พงศพิศ (2545) ไดดําเนินโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการการพ่ึงตนเองดานสุขภาพชุมชนในพ้ืนที่ 10 ชุมชนของเครือขายภูมิปญญาไท เพ่ือศึกษาระบบการจัดการสุขภาพอันจะนําไปสูการพ่ึงตนเองดานสุขภาพของชุมชนการศึกษาวิจัยน้ีใชเคร่ืองมือที่เรียกวา กระบวนการวิจัยและพัฒนาโดยประชาชนหรือ PR&D กระบวนการเรียนรูที่ใชในการวิจัยประกอบดวย การคนหาตนเองเปนการศึกษาขอมูลพ้ืนฐานของชุมชนหรือเครือขาย การคนหาทุนทั้งดานทรัพยากรภูมิปญญาและการจัดการของชุมชน การศึกษาลักษณะอาชีพ ที่มาของรายได รายจาย หน้ีสินความเจ็บปวยและวิถีที่เคยปฏิบัติมาแตอดีต จากการศึกษาพบวา แตละชุมชนมีทรัพยากรมีองคความรูมีภูมิปญญาที่สามารถนํามาจัดระบบเพื่อใหเกิดการพ่ึงตนเองดานสุขภาพไดบางชุมชนจัดการไดดี บางชุมชนสามารถใหบริการรักษาแบบพ้ืนบาน ทั้งการตรวจรักษาโรคการนวดแผนไทย การผลิตและจําหนายยาสมุนไพร การวิเคราะหชุมชนเปนการศึกษากระบวนการที่กอใหเกิดปญหาสุขภาพและแนวทางการจัดการในอนาคตของชุมชนดําเนินการทดลองกระบวนการเสริมสภาวะสุขภาพชุมชน ภายหลังการจัดเวทีการเรียนรูเกิดกิจกรรมเสริมสรางสุขภาพที่แตละชุมชนใหความสนใจแตกตางกันไป เชนการจัดระบบอาหาร การอบรมการนวดแผนไทย การใชสมุนไพรเพื่อดูแลสุขภาพตนเองดูแลครอบครัวและชุมชนการจัดตั้งกองทุนสุขภาพชุมชนเพ่ือการสงเสริมอาชีพที่เอ้ือตอการมีสุขภาพที่ดีกิจกรรมดังกลาวบางกิจกรรมจัดเวทีการเรียนรูรวมกันหลังจากนั้นจึงแยกกันไปทดลองปฏิบัติตามความเหมาะสมของแตละชุมชนบางกิจกรรมจัดเวทีการเรียนรูเพ่ิมเติมตามความจําเปนและศักยภาพของชุมชนนั้นๆ การทดลองดังกลาวมีการรวบรวมบันทึกผลที่เกิดขึ้นทั้งในดานผลกระทบตอสภาวะสุขภาพของชุมชนและองคความรูที่คนพบแผนแมบทสุขภาพชุมชนเปนแนวทางการจัดการระบบสุขภาพของชุมชนที่สมาชิกในชุมชนชวยกันระดมความคิดโดยอยูบนพ้ืนฐานของขอมูลดานความเปนอยู ทรัพยากรองคความรูและความสามารถในการจัดการ ความสําคัญของแผนแมบทสุขภาพชุมชน คือเปนแผนที่สามารถเชื่อมโยงเขากับกิจกรรมหรือแผนงานอ่ืนทุกๆ ดานที่เก่ียวของกับวิถีชีวิตของชุมชน ภายหลังการศึกษาวิจัยชุมชนไดขอสรุปวาเน้ือหาของกระบวนการเรียนรูทั้งที่ทําอยูแตเดิมและที่กําลังริเร่ิมจัดทําขึ้นใหมแทจริงคือการสรางภูมิคุมกันชุมชน ทําใหฐานรากของชุมชนเขมแข็ง มีศักยภาพมีความสามารถที่จะเลือกกําหนดแนวทางการจัดการ การ

Page 26: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 10  

พัฒนาชุมชนดวยตนเองรวมทั้งสามารถเลือกที่จะจัดระบบความสัมพันธกับหนวยงานภายนอกที่จะเขามาตอยอดไดอยางมีศักด์ิศรีมีอิสรภาพอยางแทจริง

ศูนยวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนไดทําการศึกษาระบบสุขภาพชุมชน:โดยการสังเคราะหความรูจาก 44 ตําบลเปาหมายของแผนงานพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชน แสดงใหเห็นบทเรียนที่เกิดขึ้นจากความพยายามและการดําเนินการเพ่ือยกระดับภาวะสุขภาพของประชาชนของผูเก่ียวของในแตละพ้ืนที่ ซ่ึงสามารถนําเสนอไดเปน 2 สวนคือขอความรูเก่ียวกับระบบสุขภาพชุมชน และสถานการณสนับสนุนการสรุปขอความรูเก่ียวกับระบบสุขภาพชุมชนพบวากระบวนการทํางานรวมกันของ 3 ระบบใหญในชุมชนในพื้นที่ ไดแก 1) ระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ 2) ระบบการดูแลตนเองและการชวยเหลือดูแลกันของประชาชนในชุมชน และ 3) ระบบการจัดการขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและองคกรตางๆในชุมชนและมีระบบปฏิบัติการระบบยอยในระบบสุขภาพชุมชนซึ่งเปนความพยายามในการสรางการมีสวนรวมของกลุมตางๆที่อยูในชุมชนเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคในการพ่ึงตนเองดานการดูแลสุขภาพ ของชุมชนโดยสามารถจําแนกระบบสุขภาพชุมชนที่ปฏิบัติการในพื้นที่ได 2 ระบบสําคัญคือ 1) ระบบหลักของการดูแลสุขภาพชุมชน และ 2) ระบบสนับสนุน สาระของเอกสารแสดงใหเห็นกระบวนการพัฒนาของแตละระบบยอยในประเด็นของกลุมปฏิบัติการที่เก่ียวของ เหตุปจจัยที่นําสูการพัฒนา ศักยภาพที่ใชในการจัดการเปาหมายการพัฒนา รูปธรรมบทบาทหนาที่ของผูรวมปฏิบัติการ รูปธรรมการจัดการกลไกการจัดการ และ ผลผลิตผลลัพธผลกระทบที่เกิดขึ้นซึ่งสามารถนําไปพิจารณาเปนแนวทางเพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนใหดียิ่งขึ้นตอไป

การสาธารณสุขมูลฐานในประเทศไทย

ประเทศไทยไดพัฒนาระบบสาธารณสุขมูลฐานโดยใหหลักการสําคัญคือ เทคโนโลยีที่เหมาะสมการมีสวนรวมภาคประชาชน การทําการแบบบูรณาการ และเปนการพ่ึงตนเองของชุมชน โดยมีกรอบแนวคิดสําคัญ คือ ทฤษฎี 3 ก. ของนายอมร นนทสูต ซ่ึงระบุวาในการขับเคลื่อนงานสาธารณสุขมูลฐานใหสําเร็จจําเปนตองมี (1) กรรมการ (2) กองทุน และ (3) กําลังคน และกิจกรรมสําคัญในการขับเคลื่อน คือ การติดตามและประเมินผล ในระยะแรกของการประเมินผล (Pantyp, 1997) ผลการประเมินสะทอนภาพการทําการที่ยังไมไดผลตามที่ตั้งวัตถุประสงคไว โดยเฉพาะในประเด็นการมีสวนรวมของชุมชน จึงไดทําขอเสนอใหมีการปรับกลยุทธการพัฒนาใหปรับเปลี่ยนตามแผนการพัฒนาประเทศดานตาง ๆ โดยเฉพาะการปกครองแบบประชาธิปไตยที่เนนการกระจายอํานาจ ตลอด 30 กวาป ของการพัฒนาประเทศไทยไดพิสูจนวาการมีโครงสรางระดับอําเภอ และตําบล เปนศูนยกลางในการทํานโยบายไปสูการปฏิบัติ ดังนั้น การมีโครงสรางโรงพยาบาลและสถานีอนามัยที่ครอบคลุมทั่วประเทศ ตลอดจนการมีแผนสาธารณสุขบูรณาการในแผนพัฒนาประเทศ (Sanguan, 1990) การเตรียมกําลังคนดานสาธารณสุขดวยเทคนิควิธีการทําขอตกลงกับโรงเรียนแพทย โรงเรียนพยาบาล และการสรางอาสาสมัครจากชุมชนมารวมงานที่สถานีอนามัย เปนการแกปญหาเนนเฉพาะเรื่องกําลังคนควบคูไปกับการมีสวนรวมของ

Page 27: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 11  

ชุมชน (Balabanova, 2011) ทําใหเกิดความเขมแข็งของชุมชนและพัฒนาตอยอดเปนระบบสุขภาพชุมชน โดยชุมชนเชื่อมตอกับระบบบริการสาธารณสุขที่มีอยูได 

กรอบแนวคิดในการวิจัย

เน่ืองจากโครงการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนเปนการทํางานเพื่อการรวมพลังภาคีเครือขายสองระดับ คือ ระดับปฏิบัติการ และ ระดับตําบลหรือสวนกลางดังนั้นการวิจัยคร้ังนี้จึงเลือกแนวคิดทฤษฏี Community Coalition เปนฐานคิดในการทํากรอบการประเมินครั้งนี้ซ่ึงเนนการตระหนักถึงความหลากหลายของชนิด บทบาทและความชํานาญของภาคี แตอยางไรก็ตาม กรอบในการประเมินความสามารถ การประเมินบทบาทหนาที่ของพลังภาคีเครือขายในการทํางานระดับปฏิบัติการในชุมชนของแตละตําบลจะดูจาก

1) การสรางพลังของภาคี 2) การสรางศักยภาพของชุมชน 3) การสนับสนุนผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนในระดับทองถิน่หรือชุมชน

ซ่ึงสามารถเขียนเปนกรอบแนวคิดที่จะใชในการคนหาคําตอบตามระเบียบวิธีวิ จัยแบบ

Community Based Participatory Research ไดดังน้ี

1) กรอบเปรียบเทียบชุมชน หรือตําบลในเชงิบริบทและความเขมแข็งในการเปรียบเทียบบรบิทของ

แตละพ้ืนที่ จะทําการเปรียบเทียบโดยใชกรอบทางภูมิสังคมเชิงประจักษ และ ทุนทางสังคม และ

ความเขมแข็งของชุมชนที่ครอบคลุมดานตางๆ

Page 28: Community Practice Systems Research

รายงานฉบบัสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 12  

แผนภาพที่ 4 กรอบแนวคดิที่ 1 กรอบการเปรียบเทียบภูมิสังคมเชงิประจักษและความเขมแข็งของชุมชน

การผลักดันดานนโยบายที่ผานมา

ความชดัเจนดานวิสัยทศัน พันธกิจ

การพัฒนาดานโครงสราง

สาธารณูปโภค

ความสัมพันธของคนในชุมชนและ

ภาคีเครือขาย

คานิยมในการทํางานเปนเครือขาย แนวโนมความยั่งยืน

ภูมิสังคมเชิงประจักษ

ดานสังคม/วัฒนธรรม ดานการเมืองการปกครอง ดานกายภาพสิ่งแวดลอม ดานเศรษฐกิจ

ความเขมแข็งของชุมชน

Page 29: Community Practice Systems Research

รายงานฉบบัสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 13

แผนภาพที่ 5 กรอบแนวคิดที่ 2 กรอบการสังเคราะหกระบวนการจดัการสุขภาพระดับหนวยปฏิบัติการในชมุชน

ศักยภาพ

แกนนํา

บริบท

ชุมชน

จํานวน

ภาคี

สมาชิก

กระบวนการทํางาน

ภาวะผูนําและการ

จัดการทีมงาน

โครงสราง

พหุพลัง(synergy)

ทรัพยากรรวม

ความสัมพันธของทีม

การประเมินและ

วางแผน

การจัดทํา

โครงการ

การเปลี่ยนแปลงใน

ชุมชน

ศักยภาพ สุขภาพ

สังคม

ผลผลิต

Page 30: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 14

สําหรับระบบในระดับตําบล การวิจัยครั้งนี้พัฒนากรอบแนวคิดในการประเมินการเปลี่ยนแปลงระบบกลไกในการทํางานและผลลัพธที่สะทอนปจจัยกําหนดสุขภาพ จาก Barbara et al. (2005) ซึ่งไดพัฒนากรอบแนวคิดที่ครอบคลุมการประเมินกลไกการทํางาน และกลไกการสรางความยั่งยืน ในมิติของระบบตางๆที่เกิดขึ้น ที่มีความสัมพันธกับผลลัพธทั้งที่เปนระยะสั้น และระยะยาว ผลลัพธทั้งที่เปนการเปลี่ยนแปลงระดับความสัมพันธของภาคี ความสามารถของบุคคล หรือกลุม /ชุมชน และผลลัพธดานสุขภาพ ซึ่งสามารถเขียนเปนกรอบแนวคิดไดดังนี้

ความสัมพันธขององคกรภาค ี

กิจกรรมที่จัดทําขึ้น

ระบบและการบรูณาการ

กิจกรรมพัฒนาศักยภาพในชุมชนและภาค ี

กิจกรรม/กลไกที่สําคัญที่สรางความยั่งยนื

กลไกระดมทุน

กลไกทีมงาน

กลไกการกําหนดบทบาท

กลไกการผลักดันนโยบาย

กลไกการกํากับ ตดิตามและประเมินผล

กลไกการพัฒนาระบบเพื่อสรางความยั่งยนื

ความยั่งยืนของเครือขาย หุนสวน

โครงสรางองคกร พันธกิจ รูปแบบบริการ

ความยั่งยืนของกิจกรรม/โครงการ

o การเปลี่ยนแปลงในระบบบริการ

o การเปลี่ยนแปลงนโยบาย

o การเปลี่ยนแปลงระบบสนับสนนุสิ่งแวดลอม

o การเกิดระบบตดิตามประเมินผล

การเปลี่ยนแปลงของศักยภาพในชุมชน

ความสัมพันธของคน หรอื การเกิดองคกรใหม

ปจจัยที่มีอิทธิพล เชน แหลงทุน หนวยงานภายนอก อิทธิพลจากสังคมนอกชมุชน

สภาวะสุขภาพ

พฤติกรรม

สิ่งแวดลอม

การมีงานทํา

เศรษฐกิจ

ระยะเริ่ม ระยะปรบัเปลี่ยน ระยะแสดงผล ผลลัพธสุดทาย

แผนภาพที่ 6 กรอบแนวคิดที่ 3 กรอบการประเมินการเปลี่ยนแปลงระบบกลไกในการทํางานและผลลัพธที่สะทอนปจจัยกําหนดสุขภาพ

Page 31: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 15

หลักการและระเบียบวิธีวิจัยในชุมชน Barbara A. Israel และคณะ( 2005) ไดทําการทบทวนและสรุปหลักการสําคัญของการทําวิจัยใน

ชุมชนไววา เปนการทํางานแบบการสรางแนวคิดหรือบทเรียนรวมกันระหวางวิชาชีพ และคนในชุมชน บนพ้ืนฐานความแตกตางทางบริบทของแตละชุมชน ดังนั้นหลักการสําคัญ คือ การทํางานรวมกันของนักวิจัยและคนในชุมชน ซ่ึงควรประกอบดวยคนกลุมตางๆ คือ นักวิชาการ ผูนําชุมชน แกนนําหรือสมาชิกชุมชน เจาหนาที่ภาครัฐ และ NGO ที่ทํางานในชุมชนนั้น ซ่ึงเปนประเด็นที่สอดคลอง กับแนวคิดของ ขนิษฐา นันทบุตร และคณะ (อางใน ดวงพร เฮงบุณยพันธและคณะ,2552) การมีสวนรวมของคนเหลาน้ี นอกจากจะทําใหไดขอมูลที่เปนจริง เชื่อถือได แลวยังทําใหไดมุมมองของคนในชุมชนมาใชในการอธิบายปรากฏการณที่เกิดขึ้นดวย ทําใหการสังเคราะหบทเรียนอยูบนพ้ืนฐานความเปนจริง ชวยใหขอเสนอแนะในการขยายผลเปนไปไดจริง นักวิจัยสามารถสรางการมีสวนรวมของคนกลุมตางๆไดโดยการตั้งเปนกรรมการการวิจัยในชุมชนเพื่อดูทั้งประเด็นและการดําเนินการวิจัยใหเปนไปตามหลักสิทธิมนุษยชน และหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย

หลักการสําคัญของนักวิจัยในชุมชนที่กลาวถึงโดย Barabra Israel และคณะ( 2005), และ Allan Steckler และคณะ (1993) ใน Health Education Quarterly ตามหลักการของ Guy W Steuart ที่วา

1) นักวิจัยพึงตระหนักวา ชุมชน เปน หนวยที่สะทอนภาพลักษณของกลุมคน และ บุคคลที่อาศัยอยูในบริเวณนั้นซ่ึงมีความผูกพันทางสังคม และ ปฏิสัมพันธกันเพ่ือความเปนหน่ึงเดียวกันของกลุมดังน้ันนักวิจัยตองทําความเขาใจในความผูกพันทางสังคมดวยมุมมองของคนในชุมชน

2) การทํางานของชุมชนในการจัดการปญหาท่ีเผชิญอยูมักจะดําเนินการดวยทุนทางสังคมที่โดดเดน หรือมีอยู ทั้งที่เปนรูปธรรม เชน ทรัพยากร วัฒนธรรม เทคโนโลยี ความชํานาญ หรือทักษะของคน และ นามธรรม เชน อารมณ ภาพลักษณ และ ศักด์ิศรี

3) การทําวิจัยในชุมชนจะหลีกเลี่ยงการสรางความสัมพันธกับคนในชุมชนเปนระยะๆ ไมได ดังน้ันนักวิจัยตองสามารถสรางความเปนหุนสวนในการเรียนรูรวมกันกับคนในชุมชน

4) การดําเนินงานวิจัยควรทําใหเกิดประโยชนกับทั้งสองฝาย 5) การทํางานวิจัยควรตั้งอยูบนพ้ืนฐานของการเรียนรูรวมกันและเสริมพลังอํานาจทุกฝายที่

เก่ียวของ 6) การทําวิจัยในชุมชนควรใชกระบวนการที่เปนวงจรแหงการเรียนรู (Cyclical Process) และการ

ทบทวนตรวจสอบ Iterative Process เพ่ือใหกระบวนการวิจัยเปนกระบวนการทํางานรวมกันอยางเปนธรรมชาติ เอ้ือใหคนในชุมชนไดเรียนรูอยางตอเน่ือง

7) การทําวิจัยควรมุงเนนประเด็นที่เปนบวกของชุมชน และสภาวะสุขภาพ และครอบคลุมมุมมองแบบองครวมแหงสุขภาพ

8) การทําวิจัยในชุมชนตองมีการนําเสนอขอมูลหรือผลการวิจัยที่ได คืนใหสมาชิกชุมชนและทีมวิจัยจากชุมชนไดทราบ และ รวมตรวจสอบและอธิบายผลท่ีเกิดขี้น เพ่ือความเที่ยงตรงของการ

Page 32: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 16

วิจัย และเพื่อกระตุนใหคนในชุมชนตระหนักถึงความเปนเจาของ และตองการนําผลการวิจัยไปใชประโยชนตอไป

กระบวนการในการสรางความเปนหุนสวนหรือเปนเจาของควรตองเร่ิมตั้งแตตนในการวางแผน

และตัดสินใจรวมกันในประเด็นที่จัดทําการวิจัย และขอมูลที่ตองการเนนย้ํา Meredith Minkler 2005, Ann C. Macaulay, และคณะ(1999, 2001) และ Loretta Jones, MA, Kenneth Wells (1999) Rains, J. W. and Ray, D. W. (1995), ไดเนนย้ําในประเด็นสําคัญสองประเด็นของกระบวนการวิจัยแบบมีสวนรวม คือ (1) การทําวิจัยตองไดขอมูลที่ถูกตอง เปนจริง ซ่ึงความถูกตองและเปนจริงตองไดรับการยืนยันจากคนในชุมชน ทั้งในสวนที่เก่ียวของกับ ปจจัยเสี่ยง ความเสมอภาค การเขาถึง หรือ ขอจํากัดในชุมชน เปนตน (2) การเปนเจาของรวมกันโดยการใหนักวิจัยตองมีการเรียนรูชุมชน และรับผิดชอบในการขอคําปรึกษาจากสมาชิกในชุมชน หรือในรูปของกรรมการการวิจัยของชุมชน ในการระบุประเด็นการวิจัย ผูใหขอมูลหลัก และ กระบวนการหรือแนวทางในการเก็บขอมูล และ การวิเคราะห แปลผลการวิจัยอีกดวย

วิธีการเก็บขอมูลในการวิจัยชุมชนแบบมีสวนรวมสามารถแบงไดเปนกลุมวิธีการตามเปาหมายของแตละขั้นตอน คือ

1. ขั้นตอนการสรางความสัมพันธระหวางผูวิจัยกับพ้ืนที่ และผูวิจัยกับคนในชุมชน โดยการเก็บขอมูลวิถีชุมชนดวยการสังเกต การทําแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพ ที่เปนภาพการรวมกลุม พ้ืนที่รกราง และวิถีชีวิตในแตละพ้ืนที่ของชุมชน ลักษณะการแสดงวิถีการแตงกาย ระเบียบวิธี สัญลักษณ และการปฏิสัมพันธที่สะทอนการเปนกลุมกอนของสังคมหรือชุมชน

วิธีการสรางสัมพันธเพ่ือเขาถึงความเปน “คนใน” ของชุมชน สามารถใชขอมูลจากภาพ “ภาษาที่เห็น” มาเปนประเด็นในการใชกระบวนการกลุม เปนเทคนิคในการพูดคุยสรางความสัมพันธตอไป

นอกจากนี้เพ่ือทําใหการเก็บขอมูลเปนขั้นตอนของคนในชุมชนใหมาเปนนักวิจัย อาจใชการขอคําปรึกษาของแกนนําของชุมชน เพ่ือเสนอชื่อผูที่จะเปนที่ปรึกษากับนักวิจัย และชวยกําหนดประเด็น และกลุมผูใหขอมูลรวมกับทีมวิจัย เปนการสรางความถูกตองของขอมูล และสรางความเปนกันเองของงานวิจัยรวมกันแตตน

2. ขั้นตอนการประเมินชุมชนตามกรอบทุนมนุษยทุนสังคม หรือระบุระดับความเขมแข็ง หรือศักยภาพชุมชน อันถือเปนขอมูลสะทอน “ภูมิสังคมเชิงประจักษ” ของพื้นที่ วิธีการเก็บขอมูลอาจทําไดโดยใชเทคนิค Action Oriented Community Diagnose (AOCD) เพ่ือดูภาพความสัมพันธของกลุมคนและการกําหนดบทบาทของคน ภาคีกลุมตางๆ ทั้งที่เปนคนในชุมชนกันเอง และภาคีภายนอก ซ่ึงมี

Page 33: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 17

หัวใจสําคัญอยูที่ผูกําหนด แผนคน แผนกิจกรรม และขอมูลคือคนในชุมชนและนักวิจัยรวมกิจกรรมของ AOCD ประกอบดวยการสังเกต การสังเกตแบบมีสวนรวม การสัมภาษณเจาะลึก การสนทนาผูนํา และการทําเวทีประชาคม

3. ขั้นตอนการเรียนรู “ความหมาย” และวิถีชุมชน ซ่ึงวิธีการท่ีใชประกอบดวยการสํารวจแบบมีสวนรวม การทําสนทนากลุม การทําแผนที่ การใชภาพสะทอนเหตุการณ (Photo voice) และการเลาเรื่องราวตางๆ

4. ขั้นตอนการวิเคราะหจัดทําขอมูลสะทอนภาพปรากฏการณและความสัมพันธกับภาคี ทั้งที่เปนคนในและคนนอกชุมชน กระบวนการเก็บขอมูลในขั้นนี้ เปนการนําขอมูลที่เก่ียวของกับคน ภาคี กลไก การทํางานรวมกันมาประมวลเขาเปนภาพที่สามารถกระตุน การส่ือสารกับสมาชิกชุมชนหรือผูใหขอมูลกลุมตาง ๆ จนเกิดการลงความเห็นรวม รับรองความถูกตองของขอมูลและขอสรุปของทีมนักวิจัย กิจกรรมหลักคือการพูดคุยดวยแผนผัง การพูดคุยในเชิงบวกและสรางสรรค เพ่ือสกัดหรือถอดรหัสภาพเคลื่อนไหวและตัวละครในแตละปรากฏการณ

5. ขั้นตอนการคืนขอมูลใหชุมชน เพ่ือเปนการรับรองความถูกตองของขอมูล แลวยังเปนการกระตุนความรูสึกการเปนเจาของขอมูล อันจะสงผลใหมีการนําขอมูลไปใชเปนหลักฐานเพ่ือเผยแพร เปนหลักสูตรหรือตอกย้ําบทเรียน และภาพลักษณของชุมชนเสริมสรางความยั่งยืนในการพัฒนาชุมชน ดวยขอมูลหรือบทเรียนเชิงประจักษ

การทําวิจัยแบบมีสวนรวมจะชวยใหการวิจัยประสบความสําเร็จและนําไปใชประโยชนตอไปไดจริง จําเปนตองดําเนินการในขั้นตอนการวิจัยที่สําคัญคือการระบุประเด็นที่จะศึกษาเพ่ือใหไดประโยชนทั้งสองฝาย การทําแนวทางในการดําเนินการวิจัย ซ่ึงควรนําทักษะ ความสามารถของคนในพื้นที่เขามาเปนแนวทางที่จะดําเนินการเก็บขอมูลดวย ดังนั้น การประชุมปรึกษาหารือ และตัดสินใจรวมกันเปนเรื่องสําคัญเพ่ือออกแบบ วิเคราะห และ เผยแพรผลการวิจัยผลการสรางความเปนหุนสวนยังทําใหเกิดการเสริมพลังของนักวิจัยและคนในชุมชน Francisco, Paine, & Fawcett, (1993) ซ่ึงจะทําใหชุมชนสามารถกําหนดเปาหมายของการนําผลวิจัยไปใชตอ หรือ การปรับปจจัยกําหนดสุขภาพใหเกิดประโยชนตอไปเพราะการมีสวนรวมตลอดกระบวนการทําใหเกิดการยอมรับในผล และเกิดความเชื่อม่ันในการแกไขไดทั้งในสวนที่เปนปจจัยกําหนด ปจจัยเอ้ือ ปจจัยเสริม และสวนที่เปนเรื่องของทรัพยากรและทุนทางสังคมของชุมชน นอกจากน้ี Fawcett และคณะ ยังไดชี้ประเด็นการเสริมพลังเกิดจากปจจัยในแตละกระบวนการวิจัย เชน การไดฟงคนในชุมชนพูดจากการสัมภาษณ การไดเดินสํารวจพ้ืนที่ในชุมชน หรือการพบปะผูคนที่เปนผูใหขอมูลหลัก ไดรับฟงความเห็น และไดรับการฝกฝนทักษะ ทําใหทีมวิจัยจากชุมชนเกิดความม่ันใจเปนตน  ระเบียบวิธีวจิัย

ระเบียบวธิีวิจัยเปนการวิจัยแบบ Community Based Participatory Research (CBPR)

Page 34: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 18

การเลือกพื้นที่ โดยการสุมอยางเจาะจงจากแหลงทุนโดยมีพ้ืนที่ที่แหลงทุนและภาคีในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนเห็นพองกันวานาจะมีระบบสุขภาพชุมชนเกิดขี้นแลวและมีประวัติความสําเร็จซ่ึงมีทั้งหมด 8 พ้ืนที่ คือ ภาคกลาง จังหวัด สมุทรปราการ และ ฉะเชิงเทรา จังหวัดละ 1 ตําบล

ภาคเหนือ จังหวัด แพร และ ลําปาง จังหวัดละ 1 ตําบล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัด เลย และ สุรินทร จังหวัดละ 1 ตําบล ภาคใต จังหวัด สงขลา และ ประจวบคีรีขันธ จังหวัดละ 1 ตําบล

การเลือกผูใหขอมูลหลัก โดยการเสนอแนะของคณะกรรมการวิจัย หรือ กรรมการของชุมชน ผูใหขอมูลในระดับโครงการถูกเลือกโดยวิธีsnow ball แตละพ้ืนที่จะมีผูใหขอมูลประมาณ 40 คน ซ่ึงประกอบดวย ทองที่ ทองถิ่น องคกรชุมชน จิตอาสาและเครือขาย ตลอดจนเยาวชน รวมทั้งสิ้นเปนจํานวน 320 คน กระบวนการเก็บขอมูล ประกอบดวย

1) การเตรียมการเพื่อสรางทีมคณะกรรมการวิจัยของชุมชน (Quinn, 2004) เพ่ือทําหนาที่ดูแลและใหคําปรึกษาแกทีมวิจัยในการทําวิจัยใหสําเร็จและเปนไปตามหลักจริยธรรม

2) การเรียนรู สรางสัมพันธกับคนในชุมชน 4 กลุม คือ กลุมผูดอยโอกาส กลุมคนทํางานอาสมัครชวยงานชุมชน กลุมแกนนําชุมชน และ กลุมผูมีสวนไดสวนเสียอ่ืนๆในชุมชน เพ่ือระบุ

ก. ภาพและ หรือ โครงการท่ีมีการเปลี่ยนแปลงในชุมชนที่คนกลุมตางๆในชุมชน

รับรู

ข. ระบบสุขภาพชุมชนที่เปนอยู หรือมีอยูตามปจจัยกําหนดสุขภาพของชุมชน

ค. โครงสรางของชุมชน กลไกของชุมชนที่เก่ียวของกับระบบสุขภาพชุมชนที่มี

ชุมชนเปนศูนยกลาง หรือชุมชนเปนผูจัดการระบบดวยตนเอง

3) การสนทนากลุม ผูใหขอมูลหลัก 4 กลุม(อางใน ดวงพร เฮงบุณยพันธและคณะ,2552) ไดแก 1) ทองถิ่น- อบต. เทศบาล ปลัด 2) ผูนําชุมชน กํานัน ผู ใหญบาน 3) แกนนําองคกรชุมชนในพ้ืนที่ ประธานกลุมตางๆและ 4) หนวยราชการในพ้ืนที่เพ่ือคันหากระบวนการทํางาน กลไกที่สรางขึ้น ในการคิด และ การขับเคลื่อนใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

4) ประชุมกลุม ผูใหขอมูลหลัก 4 กลุมเพ่ือสรุปประชามติ ( Jeremy Jones, Duncan Hunter, 2005) ถึง ผลลัพธที่เกิดขึ้น ในสวนที่เก่ียวของกับระบบการจัดการ การบริหารความสัมพันธระหวางชุมชน กับภาคี หรือองคกรใหทุน และ ความเขาใจ หรือการรับรูของคนในชุมชนเรื่องสุขภาพชุมชน และ ปจจัยสุขภาพชุมชน ตลอดจน บทเรียนสําคัญที่เกิดขึ้นจากการทํางานที่สรางการเปลี่ยนแปลงในชุมชนไดสําเร็จ

Page 35: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 19

5) นําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลใหกับชุมชน และ ผูใหขอมูลหลักเพ่ือสอบทานความถูกตองของขอมูลและผลการวิเคราะหขอมูล ทั้งน้ี มีรายละเอียดคําถามการวิจัย วิธีการเก็บขอมูล กลุมเปาหมายและแนวคําถามตาม

รายละเอียดในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 คาํถามการวิจัย วิธีการเก็บขอมูล กลุมเปาหมายและแนวคําถาม ลําดับท่ี คําถามการ

วิจัย วิธีการเก็บขอมูล

ผูใหขอมูล แนวคําถาม แนวการสังเกต/หลักฐาน

ขั้นท่ี 0

แนวทางการทําวิจัยควรจะเปนอยางไร

ประชุมพูดคุย(Dialogue)

กรรมการวิจัยของชุมชน

เรื่องหรือประเด็นท่ีควรพิจารณาในการทําวิจัยมีอะไรบางเพ่ือใหบรรลุปาหมายตามโครงรางการวิจัย ผูใหขอมูลในแตละขั้นนาจะเปนใคร

เทปการประชุม

ขั้นท่ี 1

ชุมชนแหงนี้ ตําบลนี้มีพัฒนาการในดานใดบางท่ีเกิดขึ้นอยางนาภาคภูมิใจและนําไปสูการมีสุขภาวะท่ีดีขึ้นของคนในชุมชน

สัมภาษณ พูดคุยอยางไมเปนทางการ

ประชาชนทั่ ว ไป และแกนนําชุมชน จํานวนอยางนอย 15-20 คนตอชุมชน โ ด ย ป รึ ก ษ า กั บคณะกรรมการวิจัยของชุมชน

ในชวงชีวิตท่ีทานอยูในตําบลนี้ ทานคิดวาตําบลนี้มีการเปล่ียนแปลงในเรื่องใดท่ีทําใหเปนท่ีรูจัก หรือทําใหคนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น มีสุขภาพดีขึ้น

ปญหาวิถีชีวิต หรือปญหาสุขภาพ อะไรท่ีหายไป

ใครบางท่ีเปนคนสําคัญทําใหเกิดความสําเร็จดังกลาว

ภ า พ ถ า ย ห รื อ ทบทวน เอกสารหลักฐานท่ีพบไดจากคําบอกเลาของผูใหขอมูล

ขั้นท่ี 2

ชุมชนมีรูปแบบ กระบวนการในการคนหา และสรางพลังขับเคล่ือนระบบสุขภาพชุมชนตามความตองการของชุมชนอยางไร

สัมภาษณเจาะลึก

แกนนําโครงการท่ีได รับการอ าง ถึงจากประชาชนกลุมต า ง ๆ ใ น ก า รสัมภาษณแบบไมเปนทางการในขั้นท่ี 1 อยางนอยชุมชนละ 1-2 เรื่อง

มีใครเปนแกนนํา สําคัญ หรือ มีเหตุการณใดเปนเหตุจูงใจสําคัญ ท่ีทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงดังกลาว

มีกระบวนการเรียนรู ระบุปจจัยสุขภาพอยางไรหรือไมในการคิดโครงการจัดการปญหาสุขภาพนั้นๆ เชน ปญหาออกกําลังกาย ปญหาการใชบริการ สวัสดิการชุมชน (mapping technique)

หรือการใชระบบขอมูลอะไรของชุมชนมาชวยในการระบุป จจั ยกําหนดสุขภาพ

มีกระบวนการหาคน หรือรวมกลุมคนมาชวยกันอยางไร

โครงสรางของชุมชน กลไกของ

จดบันทึก อัดเทปคํ า บอก เ ล า ข อ งผูใหขอมูล เก็บขอมูลท่ีชุมชนอาจใชเทคนิค เลาเรื่องด วยภาพ (Photo voice) หรือ show and tell

Page 36: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 20

ลําดับท่ี คําถามการวิจัย

วิธีการเก็บขอมูล

ผูใหขอมูล แนวคําถาม แนวการสังเกต/หลักฐาน

ชุมชนที่เกี่ยวของกับระบบสุขภาพชุมชนที่มีชุมชนเปนศูนยกลาง หรือชุมชนเปนผูจัดการระบบดวยตนเอง

มีการสรางพลัง และ การเดินหนาทํางานไปสูความสําเร็จดวยกิจกรรม เครื่องมือหรือขั้นตอน กระบวนการอะไรบางอยางไร

ขั้นท่ี 3

ชุมชนรับรูบทบาท ของตนเองและภาคีท่ีเกี่ยวของในการดําเนินงานท่ีเกี่ยวของกับปจจัยกําหนดสุขภาพนั้นๆอยางไร

สนทนากลุม 4 กลุม

ท อ ง ถ่ิ น -อ บ ต . เทศบาล ปลัด ผูนําชุมชน กํานัน ผู ใหญบาน แ ก น นํ า อ ง ค ก รชุ ม ช น ใ น พ้ื น ท่ี ประธานกลุมตางๆ ผูมีจิตสาธารณะ หนวยราชการในพ้ืนท่ี

จากการพูดคุยกับคนในชุมชนทําเห็นภาพความสําเร็จของตําบลนี้ในเรื่อง (ท่ีระบุในขั้นท่ี 1)จากการมีสวนรวมของทาน ทานเห็นวามีใครทําบทบาทอะไร ในแตละเรื่อง และใชเวลาเทาไร ในแตละขั้น และไดทรัพยากรสนับสนุนจากไหนบาง ไดมาไดอยางไร

มีใครทําหนาท่ีจัดการระบบสุขภาพชุมชน และจัดการความสัมพันธกับแลงทุน หรือองคกรภายนอกบาง และทําอยางไร

จดบันทึก อัดเทปคํ า บอก เ ล า ข อ งผูใหขอมูล รวบรวมเอกสารเท า ท่ี ห า ไ ด แ ล ะเกี่ยวของ

3 ชุมชนมีการพัฒนากลไกหลัก และกลไกสนับสนุนท่ีกอใหเกิดความเขมแข็งของชุมชนอยางไร

สนทนากลุม (ตอ)

ท อ ง ถ่ิ น -อ บ ต . เทศบาล ปลัด ผูนําชุมชน กํานัน ผู ใหญบาน แ ก น นํ า อ ง ค ก รชุ ม ช น ใ น พ้ื น ท่ี ประธานกลุมตางๆ ผูมีจิตสาธารณะ หนวยราชการในพ้ืนท่ี

จากขั้ นตอน กระบวนการที่ ทํ ามาแลว ถาจะเขียนเปนโครงสราง บทบาท หนาท่ี ท่ีเชื่อมตอกันวาใครทําอะไร ตอนไหน อยางไรบางจะเขียนเปนแผนผังไดอยางไร

ถาจะระบุส่ิงท่ีทําขึ้นจะครอบคลุมอะไรบางในเรื่อง

การส่ือสาร ชักชวน หรือใหขอมูลกันอยางไร

กลไก และ ระบบการทําและใชขอมูลเปนอยางไร

กลไก และ ระบบการวางคนและพัฒนาคน

กลไก และ ระบบการแสวงหาหรือ

เก็บหลักฐาน แผนพับ เอกสารท่ีทําขึ้ น ใ น แ ต ล ะโครงการ

Page 37: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 21

ลําดับท่ี คําถามการวิจัย

วิธีการเก็บขอมูล

ผูใหขอมูล แนวคําถาม แนวการสังเกต/หลักฐาน

ระดม ทรัพยากร

กลไก และ ระบบการตัดสินใจ

อะไรอยูในกลไกหลัก อะไรอยูในกลไกสนับสนุนจากประสบการณของทาน

3 ชุมชนมีการจัดทําระบบจัดการกับปจจัยกําหนดสุขภาพของชุมชนอยางไร มีใครทําบทบาทอะไร

สนทนากลุม (ตอ)

จากกลไกท่ีเลามา ชุมชน หรือคนกลุมไหนไดนํ ามาทํา เปนระบบหรือไม ดวยวิธีอะไร ไดกี่ ระบบ อะไรบาง และ ระบบนั้นๆสามารถนําเสนอไดอยางไร ยังใชงานอยูหรือไม

การทํางานในรูปแบบที่ดําเนินการไปแลวทําใหปจจัยกําหนดสุขภาพอะไรเปล่ียนแปลงไปบางหรือไม

เก็บหลักฐาน แผนพับเอกสารท่ีทํ า ขึ้ น ใ น แ ต ล ะโครงการ

ขั้นท่ี 4

ชุมชนมีบทเรียนในการดําเนินการอยางไร ท้ังในสวนท่ีเกี่ยวกับทุนมนุษย ทุนสังคม ปจจัยเอื้อ หรือ ปญหา อุปสรรคท่ีผานมา

ประชุมกลุมหาประชามต ิ

เ ชิ ญ ผู ใ ห ข อ มู ลท้ั ง ห ม ด ท่ี ร ว มกิจกรรมในขั้นท่ี 1, 2, และ 3

ถาจะสรุปบทเรียนไปบอกชุมชนอื่นเวลามาดูงาน ทานคิดวาชุมชนทานมีบทเรียนแหงความสําเร็จ อะไรบาง บทเรียนท่ีอยากแนะนําไมใหคนอื่นทํามีอะไรบ าง ใครเปน เจ าของบทเรียนนั้นๆบาง

เก็บแบบระบุบทเรียนท่ีแตละกลุมจัดทําขึ้น

4 1. ชุมชนใหนิยามคําวา ระบบสุขภาพ และปจจัยกําหนดสุขภาพวาอยางไร

2. ครอบคลุมอะไรบาง ดวยเหตุใด

ประชุมกลุมใหแตละคนวาดรูป เติมขอความหรือเขียนขอความบันทึกในใบงาน

ทองถ่ิน- อบต. เทศบาล ปลัด ผูนําชุมชน กํานัน ผู ใหญบาน แกนนําองคกรชุมชนในพ้ืนท่ี ประธานกลุมตางๆ ผูมีจิตสาธารณะ หนวยราชการในพ้ืนท่ี

จ ากป ร ะ สบกา รณ ก า ร ทํ า ง านแกปญหา หรือจัดการสุขภาพในชุมชนทาน ทานสามารถนํามาพูดใหความหมายคําวาสุขภาพ ระบบสุขภาพ

และ ปจจัยกําหนดสุขภาพดวยคําของทานเองไดวาอยางไรบาง

ทานจะเชื่อมโยงกับปจจัยใดของสุขภาพ ดวยเหตุใด

เก็บใบงานที่แตละคนเติ มข อมู ล ใหครบถวน

Page 38: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 22

ลําดับท่ี คําถามการวิจัย

วิธีการเก็บขอมูล

ผูใหขอมูล แนวคําถาม แนวการสังเกต/หลักฐาน

จึงกําหนดนิยามอยางนั้น

ขั้นท่ี 5

คืนขอมูลใหกับชุมชน

จัดเวทีเสวนา ผูใหขอมูลจากทุกพ้ืนท่ี

ผลการวิจัย เปนจริ งและอธิบายไดมากนอยแคไหนในมุมมองของทานในแตละพ้ืนท่ี

การประกาศรับรองผลและขอเสนอ แนะของรายงานการวิจัย

คําถามเฉพาะท่ีทีมวิจัยตองการเจาะลกึ คือ

1) องคกรชุมชนที่เขมแข็ง และเปนแกนในการขับเคลื่อนของแตละพ้ืนที่คือใครบาง 2) แตละพ้ืนที่ใชเคร่ืองมืออะไรในการทํางานตอไปน้ี

- รวมกลุมคน - พัฒนาคน หรือ ภาคี - จัดการผูมีสวนไดสวนเสีย แหลงทุน และ ภาคีจากภายนอก - สรางการมีสวนรวม - เก็บขอมูลเปนหลักฐานเชิงประจักษ

3) เคร่ืองมือหลักเชน ธรรมนูญชุมชน สมัชชาสุขภาพ กองทุนสุขภาพระดับทองถิ่น ที่ใชในพ้ืนที่ของการวิจัย มีมิติที่เก่ียวของกับการนําใชอะไรบางอยางไร

- ผูนําเสนอเคร่ืองมือใหกับพ้ืนที่ และผูสนับสนุนการใชเคร่ืองมือในพื้นที่ - กระบวนการสรางยอมรับเครื่องมือ หรือนวัตกรรมนั้นๆในพื้นที่ - กระบวนการจดัการทําใหเกิดการเชื่อมโยงการใชเคร่ืองมือกับระบบสขุภาพของชุมชน และระบบบรกิารสาธารณสขุ

- ปจจัยเอ้ือใหเกิดการนําใชเคร่ืองมืออยางมีประสิทธิภาพ - อุปสรรคในการนําใชเคร่ืองมือเพ่ือการจัดการสุขภาพในชุมชน

4) ผลสัมฤทธิ์ของการนําใชเคร่ืองมือ ในมิติของ จํานวนคนที่เขารวม การยอบรับเครื่องมือและการจัดการสุขภาพ ประสิทธิผลของการใชเคร่ืองมือเพ่ือการจัดการสุขภาพ การดําเนินการ และการสรางความยั่งยืนของโครงการเพื่อจัดการระบบสุขภาพของชุมชน

ขอบเขตการวิจัย

การศึกษาคร้ังน้ีทําในพ้ืนที่ระดับตําบลที่มีการพัฒนาจาก 3 หนวยงานคือ สปสช. สสส. และ สช. จํานวนทั้งสิ้น 8 พ้ืนที่ ซ่ึงจะมีการคัดเลือกจากรายชื่อที่เสนอแนะตอไปน้ี

1. ตําบลแมหลาย อําเภอเมือง จังหวัดแพร

Page 39: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 23

2. ตําบลแมถอด อําเภอเถิน จังหวัดลําปาง 3. ตําบลหนองแหน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา 4. ตําบลบางน้ําผ้ึง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ 5. ตําบลไผ อําเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร 6. ตําบลหวยสม อําเภอภูกระดึง จังหวัดเลย 7. ตําบลศิลาลอย อําเภอสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ 8. ตําบลชะแล อําเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

การวิเคราะหขอมูล

1. ใช Milestone analysis เพ่ือใหเห็นภาพพัฒนาการของชุมชน 2. ใช Mapping เหตุการณ สิ่งแวดลอม เพ่ือสะทอนปจจัยกําหนดสุขภาพของพื้นที่ 3. ใช การวิเคราะหเปรียบเทียบหลักฐานจากภาพ (Photo voice) หรือ เน้ือหาในเรื่องเลา

(Show and tell data analysis) เพ่ือสะทอนกระบวนการระบุ หรือจัดการเพ่ือเปลี่ยนแปลงปจจัยกําหนดสุขภาพ และ กระบวนการรวมพลัง ขับเคลื่อนชุมชนในการจัดการสุขภาพ

4. ทํา Matrix analysis เพ่ือสังเคราะหองคความรู กลไกการจัดการสุขภาพของชุมชน ตามคําถามการวิจัย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 40: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 24

บทที่ 3

ผลการวิจัย

ขอคนพบจากชุมชนในมิติ ทุนมนุษย ทุนสังคม ทุนการเงินซ่ึงเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนของแตละพ้ืนที่ และสรางครอบคลุมประชากรในพื้นที่เพ่ือสงเสริมการเขาถึงบริการและสรางความเทาเทียมเสมอภาคไดทั้ 8 พ้ืนที่วิจัย สามารถน้ําสนอในตารางที่ 2 – 5 ตอไปน้ี สวนรายละเอียดของภูมิสังคมเชิงประจักษนําเสนอในภาคผนวก

ทุนมนุษย

พืนที่ทุนมนุษย ทีพ่บใน

ทองถ ิน่ ทองที่จติอาสา/

กลุมองค กรชุมชน 1. บางนํ าผ ึง

2. หนองแหน

3. แมถอด

4. แมหลาย

5. หวยสม

6. ไผ

7. ศลิาลอย

8. ชะแล

( 1 หนวย ,, แทนจํานวน 10 หนวยโดยประมาณ )

ตารางที่ 2 ขอคนพบจากชุมชนในมิติทุนมนุษย

การวิเคราะหขอมูลดานทุนมนุษยพบวา คนสําคัญในการขับเคลื่อนระบบสขุภาพชมุชน คือ คน

3 กลุม ทองที่ ทองถิ่น และจิตอาสา คนที่ทําใหสําเร็จในการทําและผลักดัน คือ ทองถิ่น แตคนที่เปนทัพ

หลังหนุนเสริมคือจิตอาสาที่มีศักยภาพพิเศษคือ “สวมหมวกหลายใบ” และสวนใหญมีหมวกใบสําคัญของ

ระบบสขุภาพ น่ันคือหมวกอสม.

Page 41: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 25

ทุนสังคม 

ชุมชนทุนสังคมที่เปนเคร่ืองขับเคล่ือน

ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ ทุนสังคมดานความสัมพันธ วัฒนธรรม

1. บางน้าํผึ้ง น้ําทวม ปาชายเลน ชุมชนเครือขายครอบครัว แนวพระราชดําริ

2. หนองแหน ปาผากไผชุมชน ชุมชนเครือขายครอบครัว วัฒนธรรมชุมชน

3. แมถอด ปา ชุมชนคนอพยพยายถิ่น วัฒนธรรมลานนา

4. แมหลาย ที่ทิ้งขยะ ชุมชนเครือขายครอบครัว วัฒนธรรมภาคเหนือ

5. หวยสม ปา ชุมชนคนอพยพยายถิ่น สมัชชาคนจน

6. ไผ - ชุมชนเครือขายครอบครัว วัฒนธรรมและหลักศาสนา

7. ศิลาลอย ปา ความสัมพันธแบบเครือขาย การเปนประชาธิปไตยและรับผิดชอบ

8. ชะแล สถานทีท่องเที่ยว ชุมชนเครือขายครอบครัว สังคมแบบพุทธ

 

ตารางที่ 3 ขอคนพบจากชุมชนในมิติทุนสังคม

การพัฒนาระบบสุขภาพสวนใหญมีจุดเร่ิมตนจากปญหาปา ซ่ึงเปนแหลงอาหารและเศรษฐกิจ

ของชุมชน รองลงมาคือ เรื่องของขยะหรือส่ิงแวดลอม ความผูกพันยึดโยงกัน ดวยความเอ้ืออาทรเปน

ทุนสังคมที่สําคัญมากที่จะเอ้ือใหเกิดการขับเคลื่อนดานสุขภาพของชุมชน โดยเฉพาะในเรื่องผูสูงอายุ ผู

พิการ ผูดอยโอกาส 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 42: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 26

ทุนการเงิน  

พืนที/่ กองทนุ

ชุมชนคดิ รฐัคดิ

ฌาปนกจิ สวสัดกิารชุมชน

สจัจะออมทรพัย

กองทุนกลุมอาชพี

สถาบนัการเงนิ

SML กองทุนเงนิล าน

กองทุนอ ืน่ๆ

บางนําผึง X X X XXXX X O O -

หนองแหน X X X XX X O O -

แมหลาย X X X XXXXXX XX O O -

แมถอด X X X XXXXXX XX O O -

ไผ X X X XXX XX O O O

หวยส ม X X X XXX XX O O O

ศลิาลอย X X X XX X O O -

ชะแล x x x XX X o o -     

( 1 หนวย x , o แทน 1-2 หนวยของกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชุมชน) ตารางที่ 4 ขอคนพบจากชุมชนในมิติทุนการเงิน

พ้ืนที่การวิจัยทั้ง 8 แหง มีการริเริ่มจัดตั้งกองทุนฌาปนกิจหรือดูแลกันเองดวยทุนสังคมแบบเอ้ืออาทร ตามดวยกองทุนเพ่ือการประกอบอาชีพ เพ่ือเปนการสรางความม่ันคงในชีวิต มีการกูยืมไปประกอบอาชีพ ลดการเปนหนี้นอกระบบ ตอมาเปนภาพการกูกองทุนเพ่ือมาหมุนเวียนใชหน้ีกองทุนอีก ซ่ึงทําใหเกิดการพัฒนาที่มีเปาหมาย ในการสรางนิสัยการออม เปนกองทุนสัจจะออมทรัพย ทําใหทุนการเงินของชุมชนเพ่ิมขึ้นแบบมีสวนรวมและสรางลักษณะนิสัย เม่ือรัฐบาลรวมสรางโอกาสการเขาถึงทุนการเงินใหแกหมูบาน ตําบล ทําใหชุมชนมีโอกาสเพ่ิมพูนทักษะการบริหารการเงิน การตัดสินใจและคืนประโยชนสูการพัฒนาสังคมของตนเองอยางยั่งยืน ทําใหรูปสวัสดิการและการดูแลสุขภาพตลอดจนทักษะของคนในชุมชนดานการบริหารการเงินก็เพ่ิมพูน มีการทํางานแบบโปรงใสมากขึ้น เปนการสรางเสริมพลังอํานาจมากขึ้น               

Page 43: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 27

ตารางที่ 5 ทนุการเงิน กองทุนในชุมชน พื้นท่ี ฌาปนกิจ สวัสดิการ

ชุมชน เงินลาน SML สัจจะออม

ทรัพย สถาบันการเงินอ่ืนๆ

กองทุนอ่ืนๆท่ีเกิดข้ึนเอง

1. ตําบลบางนํ้าผึ้ง มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

2. ตําบลหนองแหน

มี ไมม ี คิดเอง รัฐคิด

ม ี

ไมม ี คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

ม ี

ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง รัฐคิด

ม ี

ไมม ี คิดเอง รัฐคิด

3. ตําบลแมหลาย

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

ม ี

ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

ม ี

ไมม ีคิดเอง

รัฐคิด 4. ตําบลแมถอด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง รัฐคิด

5. ตําบลไผ

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

6. ตําบลหวยสม

มี ไมม ี

คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

7. ตําบลหนองกลางดง

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

8. ตําบลชะแล

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง รัฐคิด

มี ไมม ี

คิดเอง

รัฐคิด

มี ไมม ี คิดเอง รัฐคิด

Page 44: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 28

หมายเหตุ รูปแบบการบริหารจัดการกองทุนมีลักษณะพิเศษแตกตางกันดังน้ี ตําบลบางนํ้าผ้ึง

การปนผลนําไปเปนทุนการศึกษา เงินฌาปนกิจ โดยเก็บเปนรายครอบครัว แตคุมครองเปนรายบุคคล ตําบลหนองแหน สวัสดิการชุมชน บริหารโดยคณะกรรมการ SML: เปนมติของชมุชน กองทุนอ่ืนๆ กองทุน ตําบลแมหลาย สถาบันการเงินอ่ืนๆ คิดเอง – ธนาคารหมูบานหมูที่ 2, 3 กองทุนอ่ืนๆ คิดเอง – กองทุนกลุมสตรีแมบาน (ใหออมเงิน แลวใหสมาชกิกูยืม) – กองทุนศูนยสงเคราะหราษฎรหมูบาน เชน ชวยผูพิการ,ชวยผูประสบภัย

หนาว – กองทุนแมของแผนดิน หมูที่ 3 (เนนเยาวชนเปนหลกั ใหทุนการศึกษา และ

แกไขปญหายาเสพติด) – กองทุนพัฒนาหมูบาน (หมูที่4, 7) (ไดรับเงินจากการจัดผาปา จากการระดม

ทุนการกูยืม การปลอยกู การเอาเงินจากสวนอ่ืนมาหมุน การบริจาคจากสวนอ่ืน เชน เงินบริจาคคนยากจน ผูประสบภัย)

– กองทุนกลุมอาชีพ (เกษตรกรรม,หัตถกรรม,อุตสาหกรรมในครัวเรือน)ตางๆ เชน กองทุนกลุมอาชีพทําพรมเช็ดเทาแฟนซี หมูที่ 5, กองทนุกลุมอาชีพทํา ผาหม หมู ที่ 2,5,6,7

ตําบลไผ กองทุนสวนมากจะมาจากหนวยงานรัฐ กองทุนอ่ืนๆ: คิดเอง -“รานคาชุมชน” คนในชุมชนรวมลงทุนปนผล

1) ตามมติหมูบาน 2) เฉลี่ยคืนตามยอดซื้อ ตําบลหวยสม ฌาปนกิจ คิดเอง - ฌาปนกิจหมูบาน

รัฐคิด - ฌาปนกิจออมทรัพย เงินลาน คิดเอง - กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต

รัฐคิด - กองทุนสวัสดิการชุมชน ต.หวยสม (กองทุนวันละบาท) SML คิดเอง - สถาบันการเงิน ต.หวยสม กองทุนอ่ืนๆ คิดเอง - กลุมแปรรูปผลไม, กลุมเลี้ยงเปดเทศ, กองทุนนํ้าประปา, โรงสีชุมชน,

ธนาคารขาวกลุมปุยอินทรีย ชีวภาพ, กลุมเลี้ยงโค, กลุมถักทอ

Page 45: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 29

รัฐคิด - กองทุน กขคจ. (กองทุนแกไขปญหาความยากจน), กองทุนสงเคราะหหมูบาน กองทุนหลักประกันสุขภาพ

ตําบลหนองกลางดง กองทุนอ่ืนๆ ที่เกิดขึ้นเอง คิดเอง – กองทุนกลางเพ่ือการพัฒนาหมูบาน

กองทุนแมของแผนดิน, กองทุนปุย ตําบลชะแล สถาบันการเงินอ่ืนๆ คิดเอง - ธนาคารหมูบาน  

ขอคนพบจากชุมชนในมิติ ความเขมแข็งของชุมชน  

ตารางที่ 6 ระดับความเขมแข็งของชุมชนที่เปนพ้ืนฐานในการพัฒนาระบบสุขภาพ พ้ืนที่ คุณลักษณะสําคัญและตัวช้ีวัดความเขมแข็งของชุมชน

ผูนําและทีม

ความสามัคคีของผูนําและกลุมองคกร

ความ สามารถในการเรียนรู

การส่ือสารเพ่ือการเปล่ียน แปลง

ความมุงมั่น

คนท่ีมีจิตอาสา

โครงสรางและกลไกการทํางาน

เครื่องมือ เทคนิค วิธี

ตําบลบางน้ําผึ้ง จ.สมุทรปราการ

3 3 3 3 3 3 3 3

ตําบลหนองแหน จ. ฉะเชิงเทรา

3 3 3 3 3 3 3 3

ตําบลแมหลาย จ แพร

3 3 3 3 3 3 3 3

ตําบลแมถอด จ. ลําปาง

3 2 3 2 3 3 2 2

ตําบลไผ จ. สุรินทร

3 3 3 3 3 3 3 3

ตําบลหวยสม จ. เลย

3 3 3 2 3 3 2 3

ตําบลศิลาลอย จ.ประจวบคีรีขันธ

3 3 3 3 3 3 3 3

ตําบลชะแล จ. สงขลา

3 3 3 3 3 3 3 3

ระดับคะแนน 3 = ดีมาก หรือ สูง 2 = ดี หรือ ปานกสาง 1 = พอใช

Page 46: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 30

ขอคนพบจากชุมชนในมิติ ระบบสุขภาพ ระบบบริการที่ชุมชนสามารถทําไดสอดคลองกับเปาหมาย 6 ประการที่ ศาสตราจารยนายแพทย

ประเวศ วะสี ประกาศเผยแพร เม่ือวันที่ 13 กันยายน 2549 ซ่ึงสามารถสรุปไดตังตารางขางลางน้ี

Page 47: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 31

ตารางที่ 7 เปรียบเทยีบภาพระบบสขุภาพชุมชนที่เกิดเปนความสําเร็จของตําบล ตามเปาหมายระบบสขุภาพชุมชนที่พึงประสงคสอดคลองกับ แนวคิดศาสตราจารยนายแพทย ประเวศ วะส ี

พื้นที่ ชวยเหลือผูถูกทอดทิ้ง/

ผูดอยโอกาส ดูแลตนเองในการเจ็บปวยเล็กนอย

ดูแลเชิงบุคคล และตอเนื่อง

ในโรคเบาหวาน ความดัน

ดูแลผูสูงอายุ ควบคุมโรค ที่พบบอย

ชุมชนเขมแข็ง สรางเสริมสุขภาพได

1.ตําบลบางน้ําผึ้ง จ.สมุทรปราการ

มีระบบรวมกันของ อบต. และ รพ.สต. ดําเนินการโดยอสม.

ดําเนินการโดยอสม. มีระบบรวมกันระหวางอบต. และรพ.สต.

มีศูนยดูแลในชุมชน “โฮมแคร” รวมตัวกันเดิน ทุกวันอาทิตย

โรคไขเลือดออก ออกกําลังกาย อนุรักษปา และสิ่งแวดลอม ดูแลสุขภาพดวยทรัพยากรในพื้นที่

2. ตําบลหนองแหน จ.ฉะเชิงเทรา

มีระบบรวมกันของ อบต. และ รพ.สต. ดําเนินการโดยอสม.

ดําเนินการโดยอสม. ชมรมผูสูงอายแุละกองทุนสวัสดิการชุมชน

มีระบบรวมกันระหวางอบต.และรพ.สต.โดย อสม. ผูสูงอายุ และ กองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่นและกองทุนสวัสดิการชุมชน

มีกลุมผูสูงอายุที่เขมแข็งไดรับรางวัลและทํางานรวมกับอสม.

โรคไขเลือดออก โรคเอดส โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง พิษสุนัขบา

อนุรักษปา “ไผผาก” การออกกําลังกายของกลุมผูสูงอายุ เปตอง ชมรมจักรยาน สภาชุมชน

3. ตําบลแมหลาย จ.แพร

มีระบบรวมกันของ อบต. และ รพ.สต. ดําเนินการโดยอสม.

ดําเนินการโดยอสม. มีระบบรวมกันระหวางอปทโดยมีเทศบาลตําบลเปนหลัก. และรพ.สต.โดย อสม ใชภูมิปญญาทองถิ่นกับเบาหวาน

มีระบบผานกองทุนสุขภาพระดับตําบล

โรคไขเลือดออกโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง โรคมะเร็ง

ชุมชนสรางสุขภาพ “เมืองนาอยู”

4.ตําบลแมถอด จ.ลําปาง

มีชื่อเสียงเปนตัวอยางของประเทศ เรื่องผูพิการดําเนินการโดยอสม.และจิตอาสา, อพม.

ดําเนินการโดยอสม. ผูนํา

ชุมชน , กํานัน , ผญบ,

สอบต.

มีระบบรวมกับจติอาสาในชุมชน รพสต , อสม

มีระบบรวมกับจติอาสามีระบบรวมกับจิตอาสา

อสม. ,อพม.,กํานัน ,

มีระบบการเฝาระวังโรคไขหวัดนก

SRRT โดยชุมชน,

ชุมชนสรางสุขภาพ ตาม

ธรรมนูญ เนน “ธรรม

รักษา” ตําบลสุขภาวะ

Page 48: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 32

พื้นที่ ชวยเหลือผูถูกทอดทิ้ง/

ผูดอยโอกาส ดูแลตนเองในการเจ็บปวยเล็กนอย

ดูแลเชิงบุคคล และตอเนื่อง

ในโรคเบาหวาน ความดัน

ดูแลผูสูงอายุ ควบคุมโรค ที่พบบอย

ชุมชนเขมแข็ง สรางเสริมสุขภาพได

กองทุนสวัสดิการชุมชน

กองทุนหลักประกันสุขภาพ (สปสช.)

กิ่งกาชาดอําเภอสนับสนุนงบประมาณ

และถุงยังชีพใหกับ

ผูดอยโอกาส

อบต.สนับสนุน เบี้ยยัง

ชีพ เบี้ยคนพิการ

ไดรับรางวัลจิตอาสาดูแลคนพิการดีเดนระดับ

จังหวัด ไดไป

แสดงผลงาน รวมกับ

8 จังหวัดภาคเหนือที่

ม.นเรศวร

ผูใหญบาน อพส. (อาสาสมัครดูแล

ผูสูงอายุ) ชมรมผูสูงอาย ุ กองทุนผูสูงอาย ุ อบต. จายเบี้ยผูสูงอาย ุ

อสม, เจาหนาที่รพ.

สต. ,ผูนํา กรรมการ

หมูบาน

ชมรมฟาใส เครือขายเอดสระดับอําเภอ ดําเนนิการอยูที่โรงพยาบาลเถิน แตไมตอเนือ่ง ยังอยูในระหวางการศึกษา ใหผูปวยยอมรับตนเอง

กลุมจิตอาสา ที่เขมแข็ง

สภาเยาวชน

ไดรับประกาศ เปนตําบล

ปลอดเหลาในงานศพ

5. ตําบลไผจ.สุรนิทร

มีระบบรวมกันของ อบต. และ รพ.สต.และเชื่อมโยงกับกองทุนสวัสดิการชุมชน

สอดคลองกับธรรมนูญ

มีการคัดกรองสุขภาพโดยอสม.

มีศสมช.ทุกหมูบาน มีภูมิปญญาทองถิ่น

เชนหมอปางูสวัด

มีระบบรวมกันของอบต. และรพ.สต.โดยมีการคัดกรอง

มีระบบฐานขอมลูแบงกลุมผูปวย

มีชมรมผูสูงอายดุูแลกันเองในกลุม มเีงินฌาปนกิจศพ มีเบี้ยยังชีพ มีการเชื่อมโยงกันระหวางชมรมกับกองทุนสวัสดิการ

โรคไขเลือดออกมีทีมเคลื่อนที่เร็ว SRRT ของตําบล มีระบบการประชาสัมพันธที่ดีรวดเร็ว มีผูเฝา

โครงการ ลด ละ เลิก เหลาในงานศพ

มีกองทุนสวัสดิการชุมชน ตอมากลายเปนกองทุนคุณธรรมซึ่งเปนการออม

Page 49: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 33

พื้นที่ ชวยเหลือผูถูกทอดทิ้ง/

ผูดอยโอกาส ดูแลตนเองในการเจ็บปวยเล็กนอย

ดูแลเชิงบุคคล และตอเนื่อง

ในโรคเบาหวาน ความดัน

ดูแลผูสูงอายุ ควบคุมโรค ที่พบบอย

ชุมชนเขมแข็ง สรางเสริมสุขภาพได

กระดูกหัก มีระบบการดูแลตอเนื่อง

มีการทํางานรวมกับอบต.

มีชมรมไมพลอง มีระบบรวมกันของ อบต.

และ รพ.สต.สอดคลองกับธรรมนูญ

ระวังเหตุในชุมชน มีการประสานงานที่ดีระหวางชุมชน อบต.

มีมาตรการรณรงคปองกันพรอมใหความรู

มีนวัตกรรมสมุนไพรทําลายแหลงเพาะพันธยุงลาย

มีการควบคุมปองกัน3ขั้นตอน คือ กอนเกิดเหตุ ขณะเกดิเหตุ หลังเกิดเหตุ

สามขา มีกองทุนสปสช. มีแผนชุมชนคุณภาพไดรับ

การรับรองจากกรมพัฒนาชุมชนใหเปนแผนระดับA

มีธรรมนูญสุขภาพ

6. ตําบลหวยสม จ.เลย

มีการเยีย่มบาน โดยจนท.รพ.สต.และอสม.

คัดกรองสุขภาพเบื้องตน

แนะนําการปรับพฤติกรรมการกินอาหารเค็ม

ติดตามผลและประเมินผูปวยเบาหวาน

มีฐานขอมูล และระบบดูแลตอเนือ่ง

มีการเยีย่มโดยนสค. มีอสม.ไปเยีย่มตอสอบถามพูดคุย ออก ติดตาม อบต. จัดเบี้ยยังชีพใหครบทุกคน

ยังไมมีโรคระบาดรายแรง ในพื้นที่ การทํางานเปนหนาที่ของรพ.สต.เปนหลักแตวัสดุมาจากอบต. และ CUP

งานศพปลอดเหลา แกปญหาความยากจนและยาเสพติด

มีคณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพหวยสม 44โดยการคัดเลือก(ทีมงานทันตสาธารณสุขนําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร และงบสองหมื่นบาท เปนจุด

Page 50: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 34

พื้นที่ ชวยเหลือผูถูกทอดทิ้ง/

ผูดอยโอกาส ดูแลตนเองในการเจ็บปวยเล็กนอย

ดูแลเชิงบุคคล และตอเนื่อง

ในโรคเบาหวาน ความดัน

ดูแลผูสูงอายุ ควบคุมโรค ที่พบบอย

ชุมชนเขมแข็ง สรางเสริมสุขภาพได

เริ่มใหชวนคิดชวนคุย ไดคนมาทํางานและมีขอมูลมาใชทําโครงการ

มีกลุมตางๆที่ซอนทับกันเปนฐานในการเกดิชุมชนเขมแข็ง

มีผูนําทีเ่ปนจิตอาสา 7. ตําบลศิลาลอย จ. ประจวบครีีขันธ

มีกองทุนรวม(กองทุนแมของแผนดิน)เพื่อชวยเหลือกลุมเหลานี้ ซึ่งไดมาจากเงินปนผลจากกลุมตางๆ 20%มาเขากองทุน มีสวัสดิการดานอาชีพ การดูแลชวยเหลือลูกหลานในดานทุนการศึกษา และชวยดูแลในเรื่องของหนี้สิน

มี อสม. ชวยปฏิบัติงาน จํานวน 23 คน ซึ่งไดรับรางวัลอสม.ดีเดนระดับจงัหวัด

มีเครือ่งมอืปฐมพยาบาล

มีศสมช. ที่ชวยดูแลรักษา มีเตียง ตูยา และมีการบันทึกขอมูลดานการเขารับการรักษาพยาบาล

มีการประชุมประจําเดือน ทุกวันอาทิตยที่ 2 ของเดือนที่รพ.สต. เพื่อทําการตรวจสุขภาพประชาชนทั้งตําบล

มีการประชุมทกุเดือนทีร่พ.สต.

จัดตั้งชมรมผูสูงอายุ รวมกับอสม. เพื่อชวยดูแลผูสูงอาย ุ

โรคที่พบบอยในชุมชน ไดแก โรคไขขอ โรคที่เกี่ยวของกับกลามเนื้อ ปวดเมื่อย (จะพบมากในกลุมประชากรวัยทํางาน) โรคความดันโรคเบาหวาน (พบมากในกลุมผูสูงอายุ)

เปนชุมชนที่พึ่งตนเองได คนในชุมชนดูแลกันเอง ตรวจรักษาโรคเบื้องตนกันเอง มีการประชุมตอเนือ่งทุกเดือนเปนระยะเวลากวา 16 ปมาแลว มีสภาผูนําชุมชน มีการจัดทาํแผนสุขภาวะชุมชน ระบบขอมูลการจัดการชุมชน มีการทําโครงการอาหารปลอดภัย ปลอดสารพิษ การปลูกขาวปลูกพืชแบบเกษตรอินทรยี มีโรงสีขาวของชุมชน

Page 51: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 35

พื้นที่ ชวยเหลือผูถูกทอดทิ้ง/

ผูดอยโอกาส ดูแลตนเองในการเจ็บปวยเล็กนอย

ดูแลเชิงบุคคล และตอเนื่อง

ในโรคเบาหวาน ความดัน

ดูแลผูสูงอายุ ควบคุมโรค ที่พบบอย

ชุมชนเขมแข็ง สรางเสริมสุขภาพได

8. ตําบลชะแล จ.สงขลา

รวมกับ วพ.สงขลา และ มอ.สงเสริมใหมีการจัดตั้งคลินิกแพทยทางเลือกในการเยียวยา

• วิทยาลัยพยาบาล(วพ.)สงขลา + มอ. จะชวยดูแลสุขภาพของผูที่ถูกทอดทิ้ง/หรือผูดอยโอกาส

• สภาเด็กฯ ชวยสราง หรือซอมบานให

• พมจ ตั้งศูนยพัฒนาครอบครัว

• สัจจะวันละบาท ชวยสวัสดิการ

• อสม.

มีการใหความรูดานสมุนไพรไทยที่มีคุณสมบัติในการปองกัน/รักษาแกกลุมผูปวยเพื่อลดการใชยาแผนปจจุบัน

มีงานวิจัยการดูแลสุขภาพ ฯ ของตําบลชะแลโดยวทบ.บรมราชชนนี สงขลา

การทําบันทึกครัวเรือนโดยใชธรรมนูญสุขภาพมาเปนเครื่องมือ

หมอพื้นบาน มีการนําเอาภูมิปญญาพื้นบาน มาดูแลสุขภาพ (พวกสมุนไพร มีการรณรงคปลูกพืชสมุนไพร)

มีการใชกองทุนสัจจะวันละ1 บาทตําบลชะแล รวมกับสถานีอนามัย/อบต/วทบ. สงขลา จัดโครงการพัฒนากลุมผูปวยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง

จัดเวทีสนทนากลุมผูปวยเรื้อรังเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณในการดูแลรักษาตนเอง

วพ มอ เทศบาล พระสงฆ(ดานจิตใจ) สํานักฯ เปนการรวมมือกัน ใน

จัดกิจกรรมอบรมใหความรูแกผูสูงอายุ เชน การออกกําลังกาย อาหาร

จัดกิจกรรมนันทนาการแกสมาชิก

จัดกองทุนสวัสดิการศพแกสมาชิกที่เสียชีวิต โดยสมาชิกจายคนละ 50 บาท/ศพ (ปจจุบันมีสมาชิก 230 คน)

เยี่ยมเยียนผูสูงอายุที่ยากไร โดยใหความชวยเหลือเบื้องตนตามสมควร และประสานกับศูนยเยียวยาสิงหนคร (พมจ.จังหวัดสงขลา) เพื่อชวยเหลือตอไป

มีบริการตรวจสมรรถภาพรางกาย

โรคไขเลือดออก ไขเลือดออก(มี

การฉีดพนควัน มีการรณรงคใสทราย คว่ําไห กะลา มีการเดินรณรงคปละ 1 ครั้ง โดยเยาวชน และ อสม) โรคพิษสุนัขบา มีการออกฉีดยาใหกับสุนัขทุกบาน

โรคเอดส

สังคมปลอดเหลา การออกกําลังกาย มโนราหบิค การทําบันทึกครัวเรือนโดย

นําประเด็นในธรรมนูญสุขภาพมาเปนเปาหมาย

ใชธรรมนูญสุขภาพเปนเครื่องมือ โดยมีองคกรตางๆในชุมชนเปนตัวขับเคลื่อน ใน 14 ระบบยอย จนเกิดเปนขอตกลงครัวเรือนเพื่อ ลด ละ เลิก พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ

มีศูนยพัฒนาคุณธรรม

Page 52: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 36

พื้นที่ ชวยเหลือผูถูกทอดทิ้ง/

ผูดอยโอกาส ดูแลตนเองในการเจ็บปวยเล็กนอย

ดูแลเชิงบุคคล และตอเนื่อง

ในโรคเบาหวาน ความดัน

ดูแลผูสูงอายุ ควบคุมโรค ที่พบบอย

ชุมชนเขมแข็ง สรางเสริมสุขภาพได

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และการดูแลรักษาเบื้องตนตางๆ

เชน วัดความดันโลหิต ระดับน้ําตาลในเลือด สมรรถภาพปอด พลังแขน ความยืดหยุนกลามเนื้อ-มวลกาย พรอมทั้งบันทึกลงสมุดประจําตัว บูรณาการกิจกรรม ในวันจายเบี้ยยังชีพผูสูงอายุประจําเดือน

รวมกับ วพ. สงขลา และ มอ พมจ เทศบาล มีชมรมผูสูงอายุ รพสต

 

      

 

Page 53: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 37

โดยสรุปผลการวิจัยสะทอนภาพระบบสุขภาพชุมของทั้ง 8 พ้ืนที่ สามารถทําไดครอบคลุมทุก

ระบบที่ปรากฏในแนวคิดของศาสตราจารยนายแพทยประเวศ วะสี และจากขอมูลเจาะลึกของผูนําทองถิ่นและทองที่ยืนยันตรงกันวา การดําเนินงานในระบบการดูแลผูพิการ ผูถูกทอดทิ้ง ผูสูงอายุ เปนการดําเนินงานจากแนวคิดของคนในชุมชนดวยทุนสังคมของตําบล หมูบาน กันเอง สวนการดูแลการเจ็บปวยเล็กๆ นอย การดูแลผูปวยเรื้อรัง และการควบคุมโรค เกิดขึ้นจากการทํางานระบบที่รพ.สต. และอสม. ซ่ึงเปนตัวแทนภาคประชาชนที่เชื่อมตอกับระบบสุขภาพ

 

ความโดดเดนของแตละชุมชน สืบเน่ืองจากจุดเร่ิมตน และ กระบวนการพัฒนาตามทุนทางสังคมที่มีอยูจึงทําใหระบบสุขภาพ

ชุมชนที่เกิดขึ้นในแตละพ้ืนที่มีความโดดเดนแตกตางกันแตจะมีเปาหมายเดียวกัน ความโดดเดนเหลาน้ันสามารถสรุปไดดังปรากฏในตารางตอไปน้ี

 

Page 54: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 38

ตารางที่ 8 ความสําเร็จที่โดดเดนและผลักดันใหเปนรูปแบบระบบสุขภาพชุมชนโดยชมุชน พื้นที่ ความสําเร็จทีโ่ดดเดนและทําใหเกิดเปนระบบสุขภาพชุมชน 1.ตําบลบางน้ําผึ้ง จ.สมุทรปราการ ตลาดน้ําและการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ

2. ตําบลหนองแหน จ.ฉะเชิงเทรา เพื่อนคูใจวัยพยุง กองทุนหลกัประกันสุขภาพระดับทองถิ่นตนแบบของจังหวัด กองทุนสวัสดิการชุมชนที่มีสมาชิกมาก

ที่สุดในจังหวัด ธรรมนูญสุขภาพตําบลนํารอง 3. ตําบลแมหลาย จ.แพร การบริหารเทศบาลนาอยูยั่งยืน การบรหิารจัดการพลังงานและสิ่งแวดลอมตนแบบ กองทุนศูนยการเรยีนรูหลักประกัน

สุขภาพ และเสนทางการเรียนรูตําบล 4. ตําบลแมถอด จ.ลําปาง

ระบบ ดูแล คนพิการ จิตอาสาดีเดนระดับจังหวัด ระบบเฝาระวังเพื่อการปองกนัโรคโดยทีมเคลื่อนที่เร็ว (SRRT)ภาคประชาชน ตําบลปลอดเหลางานศพ

5. ตําบลไผ จ.สุรินทร

ตําบลลด ละ เลิก เหลา และปลอดอบายมุข ธรรมนญูสุขภาพตําบลแหงแรกของภาคอีสาน

6. ตําบลหวยสม จ.เลย

SRM กับการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ คณะกรรมการพฒันาระบบสุขภาพหวยสม กลุมองคกรตางๆ ในชุมชน

7. ตําบลศิลาลอย จ. ประจวบคีรีขันธ แผนชุมชน ระบบขอมูล และสภาผูนําชุมชน

8. ตําบลชะแล จ.สงขลา ธรรมนญูสุขภาพตําบลแหงแรกของประเทศไทย โนราหบิค ระบบสุขภาพที่มีหมอยา หมอนวดและหมอตอกระดูก และแผนพัฒนาสุขภาพตําบล

Page 55: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 39

นิยามระบบสุขภาพและปจจัยกําหนดสุขภาพโดยชุมชน

เมื่อทําการเจาะลึกในกระบวนการพัฒนาตั้งแตจุดเริ่มตนพบวาแตละพื้นที่มีปจจัยกําหนดสุขภาพ เครื่องมือที่ใชในการพัฒนา และผลลัพธที่แตกตางกัน

ทําใหเกิดรูปแบบระบบสขุภาพที่แตกตางกัน ซึ่งสามารถสรุปผลการวิจัยตามคําถามการวิจัย ไดดังนี้

คําถามการวิจัยที่ 1 ชุมชนใหนิยามคําวา ระบบสุขภาพ และ ปจจัยกําหนดสุขภาพวาอยางไร ครอบคลุมอะไรบาง ดวยเหตใุดจึงกําหนดนิยามอยางนั้น

ตารางที ่9 นิยามคําวา ระบบสุขภาพ และ ปจจัยกําหนดสุขภาพ

พื้นที่ ระบบสุขภาพ ปจจัยกําหนดสุขภาพ เครื่องมือที่ชุมชนใช

บางน้ําผึ้ง

การผลิตและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ปญหาน้ําทวม ขายที่ทํากินและเปลี่ยนไปทําโรงงาน จนเจอปญหาเศรษฐกิจ ตกงาน ทําใหทองถิ่นตองแกไขพฒันาพื้นที่ใหเปนที่ทํากินที่ปลอดภัย

1.การทําขอตกลง 2.การถอดรหัสแนวพระราชดาํริ 3.ทุนสังคมทางภูมิศาสตร คอืสิ่งแวดลอมและสังคมศาสตรคือการไวเนื้อเชือ่ใจระหวางผูนาํและคนในตําบล 4.การเรียนรูโดยการพูดกันประชุมกันเอง การเรียนรูจากภายนอกโดยการออกไปดูงาน รวมประชุม และ การรับผูดูงาน นกัศึกษาฝกงาน และเฝาระวังพื้นที่ของตนเอง

Page 56: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 40

พื้นที่ ระบบสุขภาพ ปจจัยกําหนดสุขภาพ เครื่องมือที่ชุมชนใช

หนองแหน

1.ปาไผผาก ซึ่งเปนแหลงอาหารและสมุนไพร 2.ชมรมผูสูงอายุ 3.กองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น 4.ชมรม อสม.

-ปญหาการทิ้งขยะจาก กทม. -ทุนทางสังคมความเอื้ออาทร -ผูนําในทุกระดับมีจิตสาธารณะ -ปาไผผากที่ยังคงความอุดมสมบูรณ

1.การประชุม แลกเปลี่ยนกันอยางเปนประชาธิปไตยและสม่ําเสมอ 2.การใชเงื่อนไขจากทุนภายนอกเชน สปสช .มาปรับใชใหเกิดการทํางานดานสุขภาพอยางยั้งยืน 3.ภาวะผูนําในแกนนําทุกระดบั (อบต. ผูใหญบาน ประธานกลุมตางๆ)

แมถอด

ระบบธรรมนญูดวยวิถีคนแมถอด ตําบลสุขภาวะ

สิ่งแวดลอม ทรัพยากร ปาไม(เปนแหลงอาหารชุมชน เห็ด หนอไม ผกัหวาน สมุนไพร รอยกวาชนิด และเปนแหลงรายได;ของปา) เหมืองแร แหลงน้ํา ฟลูออไรดเกนิพอดี หินปูนสูงในแหลงน้ํา ทรัพยากรธาตุเหล็ก และธาตุทองในปาบนภูเขา ทุนทางสังคมดานจิตใจ ความสามัคคี ศาสนา

เครือขายจิตอาสา เครือขายอสม/อพม. ทุนทางสังคมดานทรัพยากรมนุษย กายภาพ ชมรมผูสูงอาย ุกองทุน แกนนําหลักในการทํางาน(ลุงหมื่น เปนอช.อสม กลุมผูพิการ เอดส วิจัยแหลงอาหาร SRRT ที่เปนที่ยอมรับของคนแมถอด) ฌาปนกิจ ที่ปจจุบันนําขาวสารมางานศพบานละลิตร แรงงานไปตางประเทศ สมัยซาอุฯ อางเก็บน้ํา(จากงบสมาชิกสภาผูแทนราษฎร) ลงแขก(เอาแฮงกัน)หากไมพอ จึงเปน เงิน เปนขาว(ยืมเงิน ขาวไดโดยไมเสียดอกเบี้ย)

Page 57: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 41

พื้นที่ ระบบสุขภาพ ปจจัยกําหนดสุขภาพ เครื่องมือที่ชุมชนใช

การมีสวนรวมภาคประชาชน:SRRTภาคประชาชนคนแมถอด

SRRTภาคประชาชน(หมออดุม ผญบ.พระ คณะครู ทองถิน่ เยาวชน(กลุมหนุมสาว) อสมและบางครัวเรอืน) ทําหนาที่เฝาและคุมโรคใหอยูตามปฎิทินชุมชน(ตรวจสอบคนเขาออกหมูบาน/scanไขหนาเสาธง/ซอมแผนปองกนั/ซอทําความสะอาด/รณรงค/แนะนําสุขปฎิบัติ/ผญบประชาสัมพันธ)(ปฎิทินชุมชน:หนานา ก.ค.-ส.ค. (เฝา ไขหวัดใหญ ไขเลือดออก โรคฉี่หน ูยาฆาหญา) ถึงหนาแลง มี.ค.-เม.ย. (เฝาอุจจาระรวง/พิษสุนัขบา) จนไมมีทั้งไขหวัดใหญสายพันธใหม2009/ไขเลือดออก(นอกจากcaseน้ําเขาจากตําบลอื่นใชสื่อขาวระหวางหมูบานโดยประธานอสม.) ที่เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตจากเปนโรคแลวตาย(ไหลตาย)มาสู ชะลอการเปนโรคดวยการเฝาและคุม(เฝาcase ลกูน้ํา ใสรองเทาบูท ถุงมือ คดักรองความดัน เบาหวาน pap smear ตรวจเตานม เฝาระวังน้ํามันหมู รูจกัเลือกกิน น้ําเตาหูหวานนอยลง ชัง่น้ําหนัก ตรวจน้ําตาล ไปหาหมอ ดูแลกนั ลดการนอนที่โรงพยาบาล รบัการดูแลตอเนื่อง ลดการตาย)

Page 58: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 42

พื้นที่ ระบบสุขภาพ ปจจัยกําหนดสุขภาพ เครื่องมือที่ชุมชนใช

แมหลาย

การพัฒนาอยางมีสวนรวมของทองถิ่น ทองที ่ประชาชน

หมูบานนาอยู ตําบลนาอยูดวยคนในตําบลมีทุนทางสังคมที่มีความไววางใจเอื้ออาทรและเรียนรูอยางตอเนื่องเพื่ออัตลักษณของตําบล ความเปนคนแมหลาย

การประกวดและการพัฒนาเกณฑอยางมีสวนรวม การดูงานและเรียนรูรวมกันอยางกวางขวางทั้งจากการเลาเรื่อง การทดลองทําแลวถอดบทเรียน การมีคนภายนอกมาประเมินแลวสะทอนภาพ สะทอนบทเรียน

หวยสม

ระบบสุขภาพโดยนักสรางสุขภาพครอบครัว

ชุมชนปลอดเหลา สรางสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการมีสุขภาพดี ปา ภัยจากไฟปา หรือ ปาคือแหลงอาหารและเศรษฐกิจ

การประชุมหมูบานสัญจร การดูงานโดยตัวแทนและเลาเรื่อง การไววางใจกันของคนในตําบล การเรียนรูรวมกันในการทาํโครงการตางๆบนเงื่อนไขสําคัญคือ เปนการคิดรวมกันของทีมแกนนํา เปนการทําจากพื้นฐานของความพรอมของทุกกลุมในตําบล ยังไมพรอมไมทํา เปนการตัดสินใจรวมกันบนเปาหมายประโยชนรวมของตําบล กองทุนสุขภาพตําบล ที่มีหมออนามัยมาชวนคนที่มีจิตสาธารณะคุย ทําSRM ป53หลังไปดูงานที่เหมืองใหม อัมพวารวม44 คน โดยแสดงความคิดเห็นในกระดาษจาก “ ทําอยางไรใหคนหวยสมมีสุขภาพดี” กํานันได

Page 59: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 43

พื้นที่ ระบบสุขภาพ ปจจัยกําหนดสุขภาพ เครื่องมือที่ชุมชนใช

หวยสม (ตอ)

ขอมูล”คนหวยสม”และนําไปเสนอในที่ประชมุ(4-5ครั้ง) จึงเกดิเปนโครงการปลอดเหลาไดผลและเกิดเปนประหนึ่งนโยบายสาธารณะเล็กวา”งานศพ งานเศรา ไมมนี้ําเมา มีแตน้ําใจ” ติดไวในงานและการรณรงค ใชขอมูล “คนหวยสม”(ไมรูอาจพลาดได) และเมื่อสําเร็จใชขอมูลอีกในการแสดงใหเห็นผล เชนโครงการปลอดเหลา ใชขอมูลทําโครงการลดปญหา และใชขอมูลคาใชจายชี้ใหเห็นผลโครงการวาลดคาใชจายได จาก30,000บาทตอศพมาเปน 15,000เปนตน -ฌาปนกิจสงเคราะห หลังคาเรือนละ 20บาท -หลักคิด(และมีกํานันเปนผูนําความคิดที่ไดมาจากผูใหญคนกอน:อ วีรพล)รวมวา 1.“คนหวยสมเมื่อคุยกันแลว เขาใจก็ปฏิบัติ” ที่มีพัฒนาการมาจากคุณวีรพล เจริญธรรมที่เปนคณะทํางานกองทุน SIF เปนทั้งลูกเขย ผูใหญบาน จากการอนุรักษปาและอื่นเรื่อยมานับแตป2543จนปจจุบัน ถงึแมรัฐเปลี่ยนนโยบายใดๆ แตดวยหลักคิดนี้ ชุมชนก็ยังทาํได 2.ไมทิ้งคนสวนนอยที่ไมเห็นดวยหรือไมให

Page 60: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 44

พื้นที่ ระบบสุขภาพ ปจจัยกําหนดสุขภาพ เครื่องมือที่ชุมชนใช

ความรวมมือนั้นมองวา เขายังคิดไมทัน รอได เขาทําได ยกยองทันทีเมื่อเขาไดทําดวยหอกระจายขาว

ไผ ระบบสุขภาพที่สรางความเทาเทียม มีศักดิ์ศรีของคนในบานไผ การเปนสังคมที่ปลอดเหลา ปลอดอบายมุข

ระเบียบ ประเพณี วัฒนธรรม คนตําบลไผ

ใชขอมูลทุนมนษุยทุนสังคมที่ตําบลมีอยูซึ่งพัฒนาจากโครงการ SIF ใชปญหารวมคอืเหลา วัฒนธรรม ประเพณี คือ งานศพ และผูนํา คือ กํานนัอบต. มาเปนChange agent และ ขอมูลดานการเงินมาเปนสิ่งสนับสนุนใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ใชการสรางอัตลักษณของตําบลมาเปนเครื่องมือสรางการมีสวนรวมในการพัฒนาทุกดาน รวมทั้งดานสุขภาพและธรรมนญูสุขภาพ

ศิลาลอย

พื้นที่ที่สามารถจัดการตนเองแลวมีคําตอบตามที่ตองการ

ความรวมมือ รวมใจของประชาชนผานกระบวนการกลุม

- การประชุมชาวบาน เปน ประจําทุกเดือนไมเคยขาด ตลอดเวลา 16 ปที่ผานมา จนถงึปจจุบัน (ประชุมสภาตอนเชา และตอนบายประชุมชาวบาน มีการถายทอดสดทางหอกระจายขาว) - กลุมอาชีพ 14 กลุม - สภาผูนําชุมชน (ตัวแทนจากทุกกลุม) - แผนแมบทชมุชน - ทุนทางสังคม และเศรษฐกิจ (ความมั่นคงทางรายได และอาชีพ

Page 61: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 45

พื้นที่ ระบบสุขภาพ ปจจัยกําหนดสุขภาพ เครื่องมือที่ชุมชนใช

ชะแล

ธรรมนญูสุขภาพ เปนเครื่องมอืและกระบวนการสภาสุขภาวะชุมชน การมีสวนรวมในการบริหารจัดการสุขภาพ เพื่อ สุขภาวะทั้ง 4 มิติ

ประชาชนขาดการมีสวนรวมพัฒนาชุมชน ในขณะที่ ชุมชนมีทนุทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม และทุนทางสิ่งแวดลอม สืบทอด เปนของชุมชนมานาน แตขาดการนํามาใชเปนทุนการพัฒนาคนและพัฒนาชุมชน พฤติกรรมบุคคล และสิ่งแวดลอม (ทั้งทางกายภาพ และสังคม)

- การทําสมัชชาชุมชนเพื่อยกรางธรรมนญูสุขภาพตําบล ที่ทําใหประชาชนมีสวนรวมเรียนรูและพัฒนา - ธรรมนญูสุขภาพตําบลชะแลเปนทั้งเปาหมาย กลยุทธและกลไกการพัฒนา - ภาคีเครือขายภายนอกชุมชน สนับสนนุชวยใหโดยเฉพาะทางวิชาการและเงินทุน

Page 62: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 46

ผลการวิจัยเพ่ือตอบคําถามการวิจัยที่ 1: ชุมชนใหนิยามคําวา ระบบสุขภาพ และ ปจจัยกําหนดสุขภาพวาอยางไร ครอบคลุมอะไรบาง ดวยเหตุใดจึงกําหนดนิยามอยางน้ัน

ในการการเก็บขอมูลเพ่ือตอบคําถามการวิจัยคร้ังนี้ ทีมวิจัยไดใชกระบวนการวิจัย CBPR ที่มีความระมัดระวังในการระบุผูใหขอมูลโดยใหกรรมการในชุมชนเปนผูระบุเพ่ือม่ันใจวาคําตอบหรือขอมูลที่ไดจะเปนองคความรูที่เกิดขึ้นในคนทํางานรวมในการสรางระบบสุขภาพชุมชนที่แทจริง ในการเก็บขอมูลดวยขั้นตอนที่สี่ คือ การประชุมหาประชามติของแตละพ้ืนที่ ตามแนวคิดการเรียนรูแบบ คอนสตรัคทิวิซ่ึม (Constructivism) คือ รูปแบบที่ผูเรียนเปน ผูสรางความรู ไมใชเปนผูรับอยางเดียว หรือการเรียนรูแบบ คอนสตรัคชั่นนิสซ่ึม (constructionism) โดย ซีมัวร พารเพิรท (Seymour Papert) และ ศาสตราจารย มิทเชล เรสนิก (Mitchel Resnick) คือ ทฤษฎีการศึกษาการเรียนรูที่มีพ้ืนฐานอยูบนกระบวนการการสราง 2 กระบวนการดวยกันคือ

1. ผูเรียนเรียนรูดวย การสรางความรูใหม ขึ้นดวยตัวเองไมใชรับแตขอมูล ที่หลั่งไหลเขามา ในสมองของผูเรียน เทาน้ัน โดยความรูจะเกิดขึ้นจาก การแปลความหมาย ของประสบการณที่ไดรับ

2. กระบวนการการเรียนรูจะมีประสิทธิภาพมากที่สุด หากกระบวนการนั้นมีความหมายกับ ผูเรียนคนนั้น

การวิจัยคร้ังน้ีไดมีคําถามเพ่ือสังเคราะหองคความรูของผูใหขอมูลโดยการถามถึงนิยามความหมาย ซ่ึงก็คือบทเรียนที่เขาสรางดวยตนเองจากประสบการณการเรียนรูของการสรางระบบสุขภาพชุมชนในบริบทของเขา พบวา นิยามของคําสําคัญๆในการทํางานสรางสุขกาพที่เขาทําอยูมีในเรื่องตอไปน้ี

1) สุขภาพ หรือ “ การมีสุขภาพดี”

2)การจัดการสุขภาพ หรือ“ตําบลจัดการสุขภาพ”

3) ผลลัพธการมีสุขภาพดี หรือ การทํางานเพ่ือการมีสุขภาพดี ไดแกคําวา

1) ความยั่งยืน

2) ความปลอดภัย

3) ความม่ันคง

4) ศักด์ิศรีความเปนมนุษย

Page 63: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 47

ผลการระดมความคิด สรุปไดวา

การมีสุขภาพดี หรือ ผลการสรางสุขภาพ หมายถึง

“การมีสภาพรางกาย จิตใจ และ ปญญาที่ดี มีการอยูอาศัยในสังคมที่เปนมิตร และ ปลอดภัย ไวเน้ือเชื่อใจ รวมใจในการแกปญหาและพัฒนาอยางตอเน่ืองโดยตองมีองคความรู มีการเรียนรู ถายทอด ในการจัดการสุขภาพ เชน การสรางสุขภาพ การควบคุมปองกันโรค การฟนฟู และ การใชภูมิปญญา”

“การมีสภาพรางกาย จิตใจ และ ปญญาที่ดี มีการอยูอาศัยในสังคมที่เปนมิตร และ ปลอดภัย ไวเน้ือเชื่อใจ รวมใจในการแกปญหาและพัฒนาอยางตอเน่ือง”

“การมีภาวะที่เปนสุขที่ครอบคลุม ตอเน่ือง ทุกชวงชีวิต ตั้งแตเกิด จน ตาย และ หลังตาย ครอบคลุม วิถีการดําเนินชีวิตเพ่ือสรางเสริมสุขภาพ ปองกันการเจ็บปวย การรักษาโรค และการฟนฟูสุขภาพแบบวิถีไทย ตลอดจนการมีสิ่งแวดลอมที่ดี”

“ การมีรางกาย จิตใจที่ดี มีครอบครัวที่ดี บานเรือนที่ดี ทําใหมีความสุขและครอบคลุมถึงสิ่งแวดลอมในวงกวาง ….. การเลือกรับประทานอาหารที่ดี อยูในสภาพแวดลอมที่ดี และมีอาชีพที่เหมาะสม ปลอดภัย”

“ การมีภาวะที่เปนสุขเพ่ือการดําเนินชีวิตที่ยืนยาวของทุกคน ที่ครอบคลุม ตอเน่ือง ทุกชวงชีวิต ตั้งแตเกิด จน ตาย และ หลังตาย ครอบคลุม มีวิถีการดําเนินชีวิตเพ่ือสรางเสริมสุขภาพ ปองกันการเจ็บปวย การรักษาโรค และการฟนฟูสุขภาพ ที่มีความสัมพันธที่เชื่อมโยงกับปจจัยตางๆรอบตัวมากมายมีการอยูอาศัยในสังคมที่เปนมิตร และ ปลอดภัย ไวเน้ือเชื่อใจ รวมใจในการแกปญหาและพัฒนาอยางตอเน่ือง”

ถาเปาหมายการทํางานสรางเสริมสุขภาพ คือ การสรางใหทุกคนดํารงชีวิตไดตามสิทธิและมีศักด์ิศรีของความเปนมนุษย การวิจัยคร้ังน้ีไดรับคํานิยามของคําวาศักด์ิศรีความเปนมนุษยที่ผูใหขอมูลหลักไดอธิบายไววา

ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย คือ

“ ไมตองขอใคร ชวยเหลือตนเองได ลดการพ่ึงพิงจากหนวยงาน”

“ ความภูมิใจในคุณคาของตนเอง ทําเองไดทัดเทียมกัน และรูถึงคุณคาของผูอ่ืนดวย”

“ ความภาคภูมิใจในความสามารถของตนเองที่จัดการตนเองได”

“ การมีสิทธิออกเสียง แลกเปลี่ยนได และอยูในชุมชนที่มีประชาธิปไตย”

ในกระบวนการพัฒนาของชุมชน มีภาพการทํางานของทองถิ่นเพ่ือสรางความม่ันคงและปลอดภัยใหเกิดขึ้นในพื้นที่และมีความเชื่อมโยงกับการสรางสุขภาพของระบบบริการ ดังน้ันมุมมอง หรือ นิยามคําวา “ ความม่ันคง” “ ความปลอดภัย” แปลวาอะไร ผูใหขอมูลหลักไดใหนิยามไวดังน้ี

Page 64: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 48

“ การมีบานดี สิ่งแวดลอมดี ใหูพออยูโดยไมมี ลักขโมย มีตํารวจ พอ มีกูภัย”

“ การอยูโดยไมมีความวิตกกังวล”

“ การมีโรงสีขาวชุมชน มีการทําเกษตรอินทรีย ทําใหเกิดความม่ันคงดานอาหาร”

“ ชุมชนสามารถพ่ึงตนเองได มีการรับรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง”

“ ชุมชน สามารถพ่ึงตนเองได มีการรับรูเทาทันโรคภัยไขเจ็บตางๆ และพฤติกรรมตางๆได”

สวนประเด็นความปลอดภัย ผูใหขอมูลหลัก สะทอนความหมายไววา ความปลอดภัยหมายถึง

“ สิ่งแวดลอมปลอดภัย ไมไดรับผลกระทบจากสารเคมี เชนโรงไฟฟาแมเมาะ”

“ไมมีปญหาอาชญากรรม มีทรัพยสินและคุณภาพชีวิตที่ดี”

“ มีระบบการดูแลบานซาย ขวา มี อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ประจําหมูบานจํานวน 64 คน ออกตรวจหมูบาน”

ในมิติ ผลลัพธการจัดการระบบสุขภาพที่ยั่งยืน ในมุมมองของผูใหขอมูล ชี้วา ความยั่งยืนเก่ียวของกับ

“ การที่เราสามารถสืบทอดตอคนรุนใหมได การมีกิจกรรมตอเน่ือง”

“ การที่เราสามารถทําการประชุมประจําเดือนตอเน่ืองไดถึง 16 ป และ มีการเก็บขอมูลเปนประจําทุกป”

“ การมีกระบวนการสืบทอด การทํางานอยางตอเน่ือง มีการถายทอด การสงตอ”

“ เปนการทํางานที่มีตนแบบ”

ผลการวิจัยเพื่อตอบคําถามการวิจัยที่ 2: ชุมชนรับรูบทบาท ของตนเองและภาคีที่เก่ียวของในการดําเนินงานที่เก่ียวของกับปจจัยกําหนดสุขภาพนั้นๆอยางไร ดวยเครื่องมือหรือเทคนิควิธีอะไร

ภาพเสนทางการพัฒนา และกลไกการขับเคลื่อน เกิดจากการรับรู บทบาท ปญหา/สถานะการณที่เกิดขึ้นหรือ การเปลี่ยนแปลง ในหมูบาน/ ตําบล

1. การรับรูบทบาท 2. การทํากิจกรรมการพัฒนาความเขมแข็งของหมูบาน ตําบล ที่มีระบบสอดคลองกับภูมิสังคม

ของพื้นที่โดยมีรูปแบบการพัฒนา 3 ดาน คือ คน สิ่งแวดลอม และ การมีสวนรวม 3. กิจกรรมที่เก่ียวของกับความตองการของหมูบาน ตําบล และ เปาหมายการพัฒนา ที่สามารถ

เชื่อมโยงกับการมีสุขภาพดีไดในเวลาตอมา

Page 65: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 49

เมื่อสรุปภาพกลไกโดยจําแนกภาคีที่เกี่ยวของและเทคนิควิธีหรือ นวตักรรมที่ใชในแตละพื้นที่ พอจะสรุปไดตามตารางตอไปนี้ ตารางที่ 10 เปรียบเทียบภาคีโครงสรางเทคนิค วิธี และอปุกรณ หรอืนวัตกรรมที่เอื้อใหเกิดการพัฒนาความเขมแข็งของชุมชนและเชื่อมโยงสูระบบสุขภาพชุมชน

พื้นที่ ภาคีและโครงสราง เครื่องมือ

โครงสรางหลัก

ทองที ่ ทองถิน่ ราชการ เอกชน เทคนิค วิธ ี อุปกรณ นวัตกรรม

1. ตําบลบางน้ําผึ้ง จ.สมุทรปราการ

อบต. กํานัน อสม. จิตอาสา

กํานัน

อบต. มหาวิทยาลัย รพ.สต. พม. กระทรวงเกษตร กระทรวงทองเที่ยวและกีฬา

CBT-I สกว. ปตท. บางจาก

1. การประชุมบอยๆ โดยที่ประชุมตัดสินใจ 2. แนวทางของพระบาทสมเด็จ - พระเจาอยูหัว 3. เครือขายภายนอกตามประเด็นปญหา

1) Branding ตลาดน้ําที่สะอาด เปนธรรมชาติปลอดภัยตอสุขภาพ 2) การประยุกตแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงใหเหมาะกับภูมิสังคมของพื้นที่ 3) ผลิตภัณฑสุขภาพจากสมุนไพรในทองถิ่น

2. ตําบลหนองแหน จ.ฉะเชิงเทรา

รพ.สต. อบต. จิตอาสา

จิตอาสา ขาราชการบํานาญ

อบต. สอบต. สภาองคกรชุมชน

ปาไม รพ.สต. โรงเรียนวัดหนองแหนสถาบัน ราชภัฏราชนครินทร ฉะเชิงเทรา

- 1. ประชุมแกนนําตามปญหา 2. เครือขายแกนนํา 3. ทํางานเชิงรุกเพื่อปองกันมากกวาแกไข

กระบวนการใชกลุมผูมีจิตอาสาเฉพาะเรื่อง

Page 66: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 50

ตารางที่ 10 เปรียบเทียบภาคีโครงสรางเทคนิค วิธี และอปุกรณ หรอืนวัตกรรมที่เอื้อใหเกิดการพัฒนาความเขมแข็งของชุมชนและเชื่อมโยงสูระบบสุขภาพชุมชน (ตอ)

พื้นที่ ภาคีและโครงสราง เครื่องมือ

โครงสรางหลัก

ทองที ่ ทองถิน่ ราชการ เอกชน เทคนิค วิธ ี อุปกรณ นวัตกรรม

3.ตําบลแมหลาย จ.แพร

ทต. สถาบันวิชาการในทองที่ รพ.สต.

ทช สทต กํานัน ผูใหญบาน

อบต. สอบต.

กระทรวงพลังงาน เกษตร พม. รพ. แพร ราชภัฏอุตรดิตถ ม.แมโจ

ธ.ก.ส. สสส. รานคาทองถิ่น หอการคาแพร DTAC

1. การประเมินผลการทํางานดวยนักวิชาการภายนอก 2. การมีสวนรวมของทุกฝาย 3. สรางเครือขายที่หลากหลายตามประเด็นปญหาและการพัฒนาระบบบริหาร

1. รูปแบบการบริหารจัดการที่ดี เทศบาลนาอยู 2. รูปแบบการบริหารกองทุนสุขภาพตําบล 3. รูปแบบการบริหารจัดการพลังงานและสิ่งแวดลอม (ไดรับรางวัลขับเคลื่อนตอเนื่องทุกป)

4. ตําบลแมถอด จ. ลําปาง

จิตอาสา และทองที่

จิตอาสาและอสม.

เจาหนาที่สาธารณสุข อบต. อสม. อบจ.

รพ.สต. พม. ปาไมอําเภอ มหาดไทย(นายอําเภอ) ราชภัฏลําปาง

NGO สช. รานคาในตลาด

1. การคนหาปญหา ทําขอมูล และใชจิตอาสาเปนแกนในการแกไขปญหาและขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชน 2. การผลักดันนโยบายตามสิทธิและปญหา 3. เครือขายตามปญหาทั้งระดับตําบลและอําเภอ

1. กระบวนการผลักดันนโยบายผานสื่อ และการทําขอตกลง 2. สวัสดิการกองทุนวันละบาทมีขอกําหนดคนพิการเก็บเงินสะสมเฉพาะปแรก ปตอไปจายเฉพาะเงินสมทบปละ 50บาท สงเสริมอาชีพผูสูงอายุ แมบาน คนพิการ ผูดอยโอกาสนวัตกรรมการสานตะกรา, ทําไมกวาด, กลุมเจียระไนแหวนโปงขาม (หมู 4,5) เย็บผาโหล(หมู 3) กลุมทําขนม(หมู 10)

Page 67: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 51

ตารางที่ 10 เปรียบเทียบภาคีโครงสรางเทคนิค วิธี และอปุกรณ หรอืนวัตกรรมที่เอื้อใหเกิดการพัฒนาความเขมแข็งของชุมชนและเชื่อมโยงสูระบบสุขภาพชุมชน (ตอ)

พื้นที่ ภาคีและโครงสราง เครื่องมือ

โครงสรางหลัก

ทองที ่ ทองถิน่ ราชการ เอกชน เทคนิค วิธ ี อุปกรณ นวัตกรรม

5. ตําบลไผ จ.สุรินทร อบต. เจาคณะตําบล ประชาชน

กํานัน ผูใหญบาน

อบต. สอบต. จิตอาสา สภาเยาวชน ต.ไผ

พม. โครงการ SIF

สกว. สสส. สวรส.

1. วิถีพุทธและวิถีวัฒนธรรม ธรรมนูญตําบล 2. เครือขายทุนสังคมของชุมชน สกว. สสส. สช.

1. การใช ICT 2. การทําฐานขอมูลทุนสังคม

6. ตําบลหวยสม จ.เลย

ทองที่ ทองถิ่น สอบต. องคกรสตรี อสม. วัด

กํานัน ผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน สารวัตร

อบต. สอบต. ปศุสัตว รพ.สต. ศูนยอนามัยที่5 ขอนแกน รพ.ภูกระดึง พัฒนาชุมชนอําเภอ

- 1. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร และวิถีวัฒนธรรมของพื้นที่ 2. เครือขายปศุสัตว ธนาคารและสถาบันการเงิน เครือขายทองที่ กํานัน ผูใหญบาน และแกนนํา

1) เทคนิคการประชุมที่วัด และการประชุมสัญจร ในแตละหมูบาน โดยกํานันและการทําขอตกลง 2) นักสรางสุขภาพครอบครัว 3)คณะกรรมการสุขภาพหวยสม

Page 68: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 52

ตารางที่ 10 เปรียบเทียบภาคีโครงสรางเทคนิค วิธี และอปุกรณ หรอืนวัตกรรมที่เอื้อใหเกิดการพัฒนาความเขมแข็งของชุมชนและเชื่อมโยงสูระบบสุขภาพชุมชน (ตอ)

พื้นที่ ภาคีและโครงสราง เครื่องมือ

โครงสรางหลัก

ทองที ่ ทองถิน่ ราชการ เอกชน เทคนิค วิธ ี อุปกรณ นวัตกรรม

7. ตําบลศิลาลอย จ.ประจวบคีรีขันธ

สภาผูนําชุมชน จํานวน 59 คน

ผูใหญบาน อบต. หนวยงานราชการสวนตางๆ เชน เกษตร ปศุสัตว พัฒนาชุมชนรพ.สต.

พอช. สสส.

1.ระบบขอมูล ซึ่งจะมีการตรวจเช็คขอมูลทุกเดือน 2.การจัดการระบบอาหารปลอดภัย โดยเริ่มตั้งแตขาวสารปลอดสาร ผักปลอดสาร 3.มีกองทุนรวม 4. การทําขอ (เปนการนําหนวยงานตางๆมาทํากิจกรรมโครงการรวมกัน)

รูปแบบการจัดการที่ประกอบดวย 1.การจัดการประชุมอยางตอเนื่อง 2.มีทีมผูนํา ที่ไมเนนผูนําเดี่ยว 3.มีกองทุนเปนของตัวเอง สามารถซื้อที่ดินเปนของหมูบานไดจํานวน 5ไร 4.มีการลองผิดลองถูก และทบทวนขอมูลจากความลมเหลว 5.เนนมองคนในชุมชนวามีความตองการอะไร หรือมีปญหาอะไรบาง

8. ตําบลชะแล จ.สงขลา

สํานักธรรมนูญ

กํานัน ผูใหญบาน ประธานกลุมแกนนําทั้ง 14 ระบบ สภาองคกรชุมชน

เทศบาล และ สํานักธรรมนูญ

รพ.สต. พมจ. สถาบัน การศึกษา

สช. สสส. ปตท.

การขับเคลื่อนดวยขอมูลและการทําธรรมนูญสุขภาพตําบล

1. การสื่อสาร 2. การทําแผนสุขภาพ 3. ธรรมนูญสุขภาพตําบล 4. มโนราบิค

Page 69: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 53

กลไกการจัดการระบบสุขภาพโดยชุมชน ที่เก่ียวของกับภาคีที่เก่ียวของกับชุมชน

กระบวนการขับเคลื่อนนอกจากเกิดจากการทํางานกับภาคีตามโครงสรางที่นําเสนอมาแลว ยังมี

กระบวนการภายในชุมชนท่ีเกิดจากการรับรูปจจัยกําหนดสุขภาพ การรับรูปญหา และบทบาทของตน

และภาคีที่เขามาเก่ียวของจนเกิดเปนโครงการ หรือกิจกรรมของระบบสุขภาพในแตละพื้นที่ พอสรุปได

ดังน้ี

Page 70: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 54  

ตารางที่ 11 การรับรูบทบาท ของตนเองและภาคีที่เกี่ยวของในการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับปจจัยกําหนดสุขภาพของชมุชน

พื้นที่ ปจจัยกําหนดสุขภาพ

แกนนําชุมชนที่มีบทบาทเกี่ยวของกับปจจัยกําหนด

สุขภาพ

การรับรูปญหาหลักที่กระตุนการพัฒนาของ

พื้นที่

บทบาทของคนขับเคลื่อนในตําบล

ภาคีที่เกี่ยวของ

บางน้ําผึ้ง

ปญหาน้ําทวม ขายที่ทํากินและเปลี่ยนไปทําโรงงาน จนเจอปญหาเศรษฐกิจ ตกงาน ทําใหทองถิ่นตองแกไขพัฒนาพื้นที่ใหเปนทีท่ํากินที่ปลอดภัย

นายก อบต. กํานัน ผูใหญบาน เจาหนาที่ อบต. อสม.

ความไมมั่นคงในชีวิตของคนบางน้ําผึ้ง

ใชนายกอบต. เปนศูนยกลางในการคิด การรับขอมูล มีเจาหนาที่พัฒนาสังคมของอบต. เปนผูประสานหลักทั้งหมด

สํานักงานเกษตร เกษตรอําเภอ ชมรมคนพิการบางน้ําผึ้ง กองทุนสวัสดิการชุมชน กระทรวงทองเที่ยว สํานักพัฒนาการทองเที่ยว กระทรวงพม. องคกรอืน่ๆ และโครงการตางๆ สภาองคกรชุมชน โครงการสายใยรัก สกว. สปสช.ปตท. บางจาก

หนองแหน -ปญหาการทิ้งขยะจาก กทม. -ทุนทางสังคมความเอื้ออาทร -ผูนําในทุกระดับมีจิตสาธารณะ -ปาไผผากที่ยังคงความอุดมสมบูรณ

จิตอาสา อสม. ชมรมผูสูงอาย ุรพ.สต. อบต. ผอ.โรงเรียน

ปญหาสิ่งแวดลอม ปญหาบอฝงกลบขยะ

ใชเจาหนาที่ รพ.สต. เปนศูนยกลาง

1.กลุมกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น 2.กองทุนสวัสดิการชุมชน 3.สภาองคกรชุมชน 4.ชมรมผาสูงอายุ 5.ชมรมอสม. 6.กลุมไผผาก

แมถอด สิ่งแวดลอม แกนนําชุมชน อสม. สารเคมีที่มีในน้ํา เจาหนาที่สาธารณสุขอบต.เปน พระ อบต. NGO กํานัน ผูใหญบาน

Page 71: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 55  

พื้นที่ ปจจัยกําหนดสุขภาพ

แกนนําชุมชนที่มีบทบาทเกี่ยวของกับปจจัยกําหนด

สุขภาพ

การรับรูปญหาหลักที่กระตุนการพัฒนาของ

พื้นที่

บทบาทของคนขับเคลื่อนในตําบล

ภาคีที่เกี่ยวของ

ทรัพยากร ปาไม(เปนแหลงอาหารชุมชน เห็ด หนอไม ผักหวาน สมุนไพร รอยกวาชนิด และเปนแหลงรายได;ของปา) เหมืองแร แหลงน้ํา ฟลูออไรดเกนิพอดี หินปูนสูงในแหลงน้ํา ทรัพยากรธาตุเหล็ก และธาตุทองในปาบนภูเขา ทุนทางสังคมดานจิตใจ ความสามัคคี ศาสนา การมีสวนรวมภาค

ผูนําชุมชน ทองที่ ทองถิ่น

สิ่งแวดลอม และ การทําลายทรัพยากร แหลงน้ํา แหลงอาหารของพืน้ที ่

ศูนยกลาง แกนนําการเมอืงทองถิน่ และทองที่พยายามคานอํานาจโดยการรวมกลุมคน การจัดทําขอมูล การพึ่งพิงเครือขายในพื้นที่ ตําบลใกลเคียง หรอื องคกรภายนอก

จิตอาสา

Page 72: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 56  

พื้นที่ ปจจัยกําหนดสุขภาพ

แกนนําชุมชนที่มีบทบาทเกี่ยวของกับปจจัยกําหนด

สุขภาพ

การรับรูปญหาหลักที่กระตุนการพัฒนาของ

พื้นที่

บทบาทของคนขับเคลื่อนในตําบล

ภาคีที่เกี่ยวของ

ประชาชน:SRRTภาคประชาชนคนแมถอด

แมหลาย หมูบานนาอยู ตําบลนาอยูดวยคนในตําบลมีทุนทางสังคมที่มีความไววางใจเอื้ออาทรและเรียนรูอยางตอเนื่องเพื่อ อัตลักษณของตําบล ความเปน คนแมหลาย

สิ่งแวดลอม และอาชีพมีความสัมพันธกัน เชนที่ทิ้งขยะ อาชีพดูดสิ่งปฏิกูล

ใช นายกเทศมนตรีเปนศูนยกลาง แลวจึงกระจายทีม

สท.(สมาชิกสภาเทศบาล) กํานัน ผูใหญบาน แกนนํา ผูนําชุมชน ภาคีที่เกี่ยวของ มหาวิทยาลัย บริษัทเอกชน

หวยสม ปา ภัยจากไฟปา หรือ ปาคือแหลงอาหารและเศรษฐกิจ วิถีชุมชนเรือ่งเหลา สรางปญหาความยากจนหนี้สิน สิ่งแวดลอมเอื้อตอ

แกนนํา 44 คนตอมากลายเปนกรรมการสุขภาพตําบล

ใชกํานัน ผูใหญบาน ทองถิ่น และ วัดเปนเครื่องมอืในการขับเคลือ่น

ทองที่ ทองถิ่น ตัวแทนกลุมตางๆ

Page 73: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 57  

พื้นที่ ปจจัยกําหนดสุขภาพ

แกนนําชุมชนที่มีบทบาทเกี่ยวของกับปจจัยกําหนด

สุขภาพ

การรับรูปญหาหลักที่กระตุนการพัฒนาของ

พื้นที่

บทบาทของคนขับเคลื่อนในตําบล

ภาคีที่เกี่ยวของ

การมีสุขภาพดี โดยเปนแหลงอาหารและเศรษฐกิจ

ไผ ระเบียบ ประเพณี วัฒนธรรมการดื่มเหลา การพนนัของคนตําบลไผทําใหเกิดความยากจน และความสูญเสีย

สภาอบต. เหลา และ อบายมุข หนี้สิน

ทองที่ ทองถิ่น ตัวแทนกลุมตางๆ

หนองกลางดง ปญหาปาและการครอบครอง ปญหายาเสพติด โจรขโมย ไมปลอดภัยในทรัพยสิน วิถีการใชชีวิตแบบตางคนตางอยูขาดการรวมพลัง

ผูใหญบาน สภาผูนําชุมชน 59คน การประชุมชาวบานเปนประจําทุกเดือน กิจกรรมกลุม 14 กลุม

ความไมปลอดภัยในหมูบาน

- ประชาชนทุกคนรับรูสถานการณพัฒนาชุมชน อยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ - ประชาชนมีสวนรวมในการตัดสินใจ และรบัผิดชอบดําเนินงาน

- ภาคีภายในทองที่เขารวม ของชุมชน - ภาคีนอกทองถิ่นรวมเรียนรูและแลกเปลี่ยน

ชะแล ชุมชนมีทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม และทุนทาง

ผูบริหาร อบต.ซึ่งตอมามีการปปรับเปนเทศบาล

การเจ็บปวยที่ตองมีการนําสงโรงพยาบาลจํานวนมากถึง 25 ครัง้ตอเดือน

แกนนํากลุมของระบบยอยมีสวนสําคัญในการปฏิบัติการพัฒนาสุขภาวะ ตามธรรมนูญสุขภาพ

- การดําเนินการ ผานกลุมในชุมชน - ภาคีเครือขายภายนอก สนับสนุนกิจกรรม

Page 74: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 58  

พื้นที่ ปจจัยกําหนดสุขภาพ

แกนนําชุมชนที่มีบทบาทเกี่ยวของกับปจจัยกําหนด

สุขภาพ

การรับรูปญหาหลักที่กระตุนการพัฒนาของ

พื้นที่

บทบาทของคนขับเคลื่อนในตําบล

ภาคีที่เกี่ยวของ

สิ่งแวดลอม สืบทอด เปนของชุมชนมานาน ผูนําทองถิ่นมีการพัฒนาในเชิงโครงสรางทางกายภาพ และขอมูลทําใหเห็นประเด็นความเจ็บปวยจํานวนมาก จนตองหาวิธีแกปญหาและสรางสุขภาพ

รองนายก อบต. - ผอ.รพ.สต. - ผอ.สํานักธรรมนูญสุขภาพ - ประธานชมรมผูสูงอายุ พัมนาธรรมนญูสุขภาพ และขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพสูการปฏิบัติจริง

- สสส. ใหเปนแมขายโครงการพัฒนาสุขภาวะ

จากการรับรูบทบาท รับรูปญหา และความตองการ ทําใหเกิดกิจกรรมในการตั้งเปาหมายรวมกัน และ มีกิจกรรมที่สรุปเปนรูปแบบการทําความเขาใจ อันนําไปสูระบบ หรือกลไกการทํางานอันประกอบดวยกิจกรรมที่หลากหลายขึ้นอยูกับภูมิสังคมเชงิประจักษของแตละพื้นที่อีกเชนกัน ดังขอมูลในตาราง

Page 75: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 59  

ตารางที่ 12 เปาหมายการพัฒนารูปแบบการทําความเขาใจระบบการทํางาน

พื้นที่ เปาหมายการพัฒนา รูปแบบการทาํความเขาใจ ระบบการทํางาน บางน้ําผึ้ง

การอยูดี กินดี มั่นคง ปลอดภัย ประชุม พูดคุยกันทั้งเปนทางการ และไมเปนทางการ การใชขอมูลในการพูดคุยกัน

สรางคน รุกไปหาเครือขาย เจรจาตอรอง ประชุม ประชาคมเพื่อตัดสินใจรวมกัน

หนองแหน

ตําบลนาอยู มีสุขภาพดี มีความสุข ใชเวทีประชาคม พูดคุยแบบเปนทางการและไมเปนทางการ สรางแกนนํา หาเครือขายทาํงาน

แมถอด

อยูดี มีสุข ธรรมรักษา ใชเครือขาย อสม. เปนตัวแทนชี้แจง ใชแนวทางแหลงทุน นกัวิชาการ ใชตัวแทน จิตอาสา ใชขอตกลง

แมหลาย เทศบาลนาอยูอยางยั่งยืน การเรียนรูรวมกันในเวทีหมูบาน ตําบล โดยการประกวด การประมินผลงานโดยคนภายนอก

การสรางทีมงาน การแบงงานชัดเจน การใหความสําคัญกับภาคีเครอืขาย เนนการมีสวนรวม ความโปรงใส การทํางานอยางเปนรูปธรรม

หวยสม มีกิน สุขภาพแข็งแรง ใชผูรูที่มีความชํานาญในการสรางการเรียนรู สรางคน ใชภาพ ใชการพัฒนาทักษะการเรียนจากสังคมใกลตัว ใชการดูงานและเลาเรื่อง

การประชุมเปนนิจ

ไผ ลดปญหาเหลา อบายมุข ใชเครือขายกรมศาสนา ใชผูนํา เปนตนแบบ ใชพิธีกรชุมชน

หาคน ใชขอมูล ใชตัวอยางเหตุการณจริง ใชตัวแบบที่มีในสังคม

Page 76: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 60  

พื้นที่ เปาหมายการพัฒนา รูปแบบการทาํความเขาใจ ระบบการทํางาน ประชาคม

หนองกลางดง

ชุมชนเขมแข็ง เนนการพึ่งพาตนเองไดเปนหลัก

การประชุมตอเนื่อง มีทีมผูนํา มีขอมูลในการจัดทําแผนขอมลูชุมชน

-ตัวอยางเหตุการณจริง -ใชตัวแบบที่มีในสังคม -การประชาคม

ชะแล

ชาวบานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใหเอื้อตอการมีสุขภาพดี ที่สอดคลองตามธรรมนูญสุขภาพ

-การประชุม สมัชชา -การพูดคุย การประชาสัมพันธ การเปดเวที

ผลการวิจัยเพื่อตอบคําถามการวิจัยที่ 3: ชุมชนมีการพัฒนากลไกหลัก และกลไกสนับสนุนที่กอใหเกิดความเขมแข็งของชุมชนและระบบจัดการกับปจจัยกําหนดสุขภาพและรูปแบบการทํางานของชุมชนเปนอยางไร

ผลจากการรับรูบทบาทและการทําความเขาใจเปาหมายรวมกันระหวางชุมชนและภาคตีางๆทั้งในและนอกชุมชน ทําใหชุมชนมีการพัฒนากลไกหลัก และกลไกสนับสนุนที่กอใหเกิดความเขมแข็งของชุมชนและระบบจัดการกับปจจัยกําหนดสุขภาพของชุมชนซึ่งพอสรุปไดดังนี้

Page 77: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 61  

ตารางที่ 13 การพัฒนากลไกหลัก และกลไกสนับสนุนที่กอใหเกิดความเขมแข็งของชุมชนและระบบจัดการกับปจจัยกําหนดสุขภาพของชุมชน พื้นที่ กลไกการพัฒนาความเขมแข็งของชุมชน การจัดการ

ดานการเงนิ กองทนุ ดานโครงสราง การสื่อสาร ดานระบบขอมูล วิชาการ ดานกําลังคน ดานแผนและการพัฒนาคณุภาพ

รูปแบบการทาํงานรวมกนั

บางน้ําผึ้ง

กลไกการขับเคลื่อนตามแนวพระราชดําริเพือ่ความมั่นคงของระบบการผลิตและภาพหลักของตําบล

ระบบสุขภาพ กับ คุณภาพชีวิต ตองบวกกันใหได เนนลดรายจาย ไมเจ็บไมปวย โดยมีโครงสรางพื้นฐานที่ดี ปลูกฝงตั้งแตเล็ก การจัดการประกอบดวยการจัดตั้งกองทุนและนํารายไดสวนหนึง่มาพัฒนาเปนสวัสดิการและคาใชจายอื่นๆที่ชวยพัฒนาสิ่งแวดลอม

ทํางานรวมกันทั้งทองที่ทองถิน่ ประชาชน องคกรรัฐ และเอกชน

หนองแหน

กลไกการรวมกลุมของชุมชนรวมมือกันขับเคลื่อน มีกลุมผูสูงอายุ กลุมสภาองคกรชุมชน ซึ่งเปนกลุมแกนนําของชมุชนขับเคลื่อน และใชธรรมนญูสุขภาพกํากับ

การจัดการระบบความสัมพันธ การสื่อสาร ที่เปนประชาธิปไตย เอื้อเฟอ และใหเกียรติ พัฒนากลุมองคกรขึ้นมาใหเขมแข็งและชัดเจนในการทํางาน

ใชสภาองคกรชุมชน เปนเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู การทํางานหรือประชาสัมพันธงานของเครอืขาย

แมถอด

กลไกการแกปญหาของแตละหมูบาน หรือกลุมหมูบาน และ การใชธรรมนญูสุขภาพเพื่อแกปญหาของหมูบาน

การจัดระบบกําลังคน โครงสรางการรวมตัว การรวบรวมขอมูลเพือ่พัฒนาธรรมนญูขึ้นมาเพื่อใชเปนเครือ่งมือในการทํางานรวมกัน

ตัวแทนชุมชน อสม. และแกนนําชุมชนใชรูปแบบสมัชชาพื้นที่และการสรางธรรมนูญ

Page 78: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 62  

พื้นที่ กลไกการพัฒนาความเขมแข็งของชุมชน การจัดการ ดานการเงนิ กองทนุ ดานโครงสราง การสื่อสาร ดานระบบขอมูล วิชาการ ดานกําลังคน ดานแผนและการพัฒนาคณุภาพ

รูปแบบการทาํงานรวมกนั

แมหลาย กลไกการบริหารของทองถิน่ ดวยระบบคุณภาพ และ การบริหารกองทนุหลักประกันสุขภาพระดับตําบล กับ ทุนทางสังคม

การใชกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวนเปนหลัก รวมกับการสรางการเรียนรูตลอดเวลาเพื่อประโยชนในการพัฒนาอยางตอเนื่อง

การทํางานรวมกันดวยทุนสังคม และความมุงมั่นที่จะพัฒนาไปสูวิสัยทัศนที่เปนเปาหมายของทุกคนดวยการเรียนรู

หวยสม กลไกการเรียนรูรวมกันของกระบวนการทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรSRM และการบริหารกองทนุหลักประกันสุขภาพถวนหนา

พัฒนาการมีสวนรวมในการตัดสินใจโดยใชขอมูลที่คนในตําบลรวมกันทําขึ้นเพื่อความถูกตองของขอมูล

การผนึกกําลังและพัฒนา การดูงาน

ไผ กลไกการมีสวนรวมในการแกปญหาและการเปนตนแบบในการสรางสุขภาพ(สสส. สํานัก 1,3)

ใชการมีสวนรวมและขอมูลเปนพื้นฐานสําคัญในการพัฒนาและใชธรรมนูญมาเปนเปาหมายในการพัฒนาตอไป

การแลกเปลี่ยนเรียนรู การดูงาน

หนองกลางดง

- สภาผูนําชุมชน 59 คน - แผนแมบทชมุชน

การจัดโครงสรางเพื่อการตัดสินใจแกปญหาบนพืน้ฐานขอมูลเชงิประจักษ และทุกคนมีสวนรวม

สภาผูนําชุมชน เปนศูนยกลางการทํางาน รวมกัน ที่ทําใหการทํางานของแตละกลุมแบบบูรณาการและไมโดดเดี่ยว

ชะแล

- การจัดโครงการ ชุมชนตามธรรมนญูสุขภาพ เชน สํานักธรรมนญูสุขภาพตําบลชะแล - แผนที ่ชุมชน ของ อบต.เปนไปตามเปาหมายของธรรมนูญสุขภาพ

การจัดโครงสรางเพื่อใหแกนนําชุมชนแตละกลุม เปนคนขับเคลื่อน และมีการประสานงานรวมกันอยางหลวมๆ

สํานักธรรมนูญสุขภาพตําบลชะแลยังคงเปนแกนกลางประสานงานและรวมมือทํางานของทุกกลุม / องคกร

Page 79: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 63  

พื้นที่ กลไกการพัฒนาความเขมแข็งของชุมชน การจัดการ ดานการเงนิ กองทนุ ดานโครงสราง การสื่อสาร ดานระบบขอมูล วิชาการ ดานกําลังคน ดานแผนและการพัฒนาคณุภาพ

รูปแบบการทาํงานรวมกนั

- การใชภาคีเครือขาย ภายนอกสนับสนุน การพัฒนา ใชธรรมนญูสุขภาพ เปนเครื่องมือ - มีกลุมใน 14 ระบบยอยนําธรรมนญูสุขภาพสูการปฏิบัติ - การทํางานรวมกับภาคีเครือขายทั้งภายในและภายนอก

ใชระบบการทํางานของกลุมทั้ง 14 ระบบยอย เปนแหลงปฏิบัติการ

ตางๆ แตยังขาดความเขมขนในการ ใชระบบสุขภาพเปนเปาหมาย การพัฒนาดานสุขภาวะแบบมีสวนรวม

Page 80: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 64  

ผลการวิจัยเพื่อตอบคําถามการวิจัยที ่4: ชุมชนมีรูปแบบ กระบวนการในการคนหา และสรางพลังขับเคลื่อนระบบสขุภาพชุมชนตามความตองการของชุมชนอยางไร และชุมชนมีบทเรียนในการดําเนินการอยางไร ทั้งในสวนที่เกี่ยวกับทุนมนุษย ทุนทางสังคม ปจจัยเอื้อ หรือ ปญหา อุปสรรคที่ผานมา ตารางที่ 14 รูปแบบ กระบวนการในการคนหา และสรางพลังขับเคลือ่นระบบสุขภาพชุมชนตามความตองการของชุมชน

พื้นที่ แกนนําในการสรางพลัง ความตองการของชุมชน ทุนมนุษย ทุนทางสังคม ปจจัยเอื้อ หรือ ปญหา

บางน้ําผึ้ง

กํานันผูใหญบาน นายก อบต. เจาหนาที่พัฒนาชุมชน ประธาน อสม. ปราชญชาวบาน

อาชีพและความมั่นคงของชีวิต มีทุนมนุษย : เปนคนในพืน้ที ่มีจิตอาสา รักและหวงแหนชุมชน

มีทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ: ดินดีอุดมสมบูรณทําการเกษตรแบบพอเพียงพึ่งตนเองได

ปจจัยเอื้อ: มีตลาดน้ําที่เปนจุดศูนยรวมของชุมชน ใหไดเปนที่ทํากิน และหมุนเวียนผลผลิตตางๆ มีตลาดเปนที่กระจายผลผลิตของตนเอง เกิดกลไกการมีสวนรวมอยางยั่งยืน

ปจจัยเอื้อ: ดานการเปนชุมชนทองเที่ยว ทาํใหเปนที่รูจักและตองรักษาความเปนเอกลักษณของตนเองไว

มีการรวมตัวกันเพื่อแกปญหาสิ่งแวดลอมการตอรองกับองคกรภายนอกตาง

หนองแหน

กลุมรักปา กลุมผูสูงอายุ และ อสม. อบต. รพ.สต.

อนุรักษแหลงอาหาร ขาราชการบํานาญ วัฒนธรรม ประเพณี และ พืน้ที่ที่จํากัด ทําใหสามารถใกลชิดกันไดงาย

Page 81: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 65  

พื้นที่ แกนนําในการสรางพลัง ความตองการของชุมชน ทุนมนุษย ทุนทางสังคม ปจจัยเอื้อ หรือ ปญหา

แมถอด

เจาหนาที่สาธารณสุข อบต. อสม.

รักษาทรัพยากร ปาไมเหมืองแร ความสามัคคีในกลุมยอย และทรัพยากรที่มีในบางพื้นที่เปนสาเหตุการรวมตัวไดยาก

แมหลาย นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี / เจาหนาที่เทศบาล ประธานอสม. 8 หมูบาน ผูนําชุมชน คณะกรรมการหมูบาน

การดูแลสิ่งแวดลอม และ อาชีพที่เกี่ยวของกับปญหาสิ่งแวดลอม

ทุนสังคม ระบบบริหารคณุภาพของเทศบาลที่ทําอยางตอเนื่อง

หวยสม กํานัน ผูใหญบานเกา และปจจุบัน รองนายกอบต. 40 คนที่รวมตัวกันในการทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร

รักษาทรัพยากร ปาไม พัฒนาตําบลเพื่อใหคนในตําบลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ผูใหญบานที่มคีวามชํานาญในการพัฒนาคนและเปนที่ไววางใจของชาวบาน

ไผ นายกอบต. กํานัน พระ

ลดปญหาหนี้สิน เหลา ระบบการเมืองทองถิ่น ทุนมนุษยการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

หนองกลางดง

ผูใหญบาน ผูนําของแตละกลุม

มีความสุข ...ความปลอดภัยและมั่นคงทุกดาน

- การพัฒนาผูนําชุมชน และผานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู ภาคการประชุมชาวบาน - การพัฒนาที่เปนไปในแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงที่มีการใชปญหาเปนตัวนํา และเปนไปตามแนวทางของทางสายกลางหรือความพอเพียง และการชวยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชน

Page 82: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 66  

พื้นที่ แกนนําในการสรางพลัง ความตองการของชุมชน ทุนมนุษย ทุนทางสังคม ปจจัยเอื้อ หรือ ปญหา

ชะแล อดีต - นายก -ทีมงานกลุมแกน นําชุมชน - ภาคีเครือขาย ภายนอก ปจจุบัน - กลุมแกนนําชุมชน (เดิม) - ภาคีเครอืขายภายนอก ยังคงมีอยูแตลดความเขมขนลง

- ตองการเห็นธรรมนญูสุขภาพมีผลทางปฏิบัติและบรรลุผล - ความภูมิใจของชุมชน ที่มีธรรมนญูระบบตําบล เปนแหงแรกของประเทศไทย และของโลก

- ทุนทางสังคม ทุนทางมนุษย ทุนทางวัฒนธรรม และทุนทางสิ่งแวดลอมมีคอนขางพรอม - การหยุดชะงกัของกระบวนการพัฒนาของระบบและกลไกการพัฒนาหลังอดีตนายก อบต. เสียชีวิต - สสส. ใชตําบลชะแล เปนแมขายการพัฒนาตําบลสุขภาวะ ซึ่งอาจเปนทั้งปจจัยเสริมพลังการพัฒนาและ บั่นทอนการพัฒนาได หากมีการบริหารจัดการไมดี

สืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ที่มีการกําหนดเงื่อนไขของทองถิ่นในการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาสังคม เชน การดูแลผูดอยโอกาส สิทธิมนุษยชน ดังนั้น ทองถิ่นจึงจําเปนตอง ดําเนินกิจกรรมสําคัญๆ ไดแก 1) ทําความเขาใจและ ออกแบบระบบการทาํงานที่ทําใหเกิดการทํางานรวมกัน 2) จัดการสุขภาวะของชุมชนใหไปสูระบบทีป่ระชาชนมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี และ กําหนดการพัฒนาไดดวยตนอง

ดังนั้น พื้นที่ตางๆของโครงการวิจัยครั้งนี้ ไดมีกระบวนการดําเนินกิจกรรมการพัฒนาความเขมแข็งของหมูบาน ตําบล ที่มีระบบสอดคลองกับภูมิ

สังคมสูการพึ่งตนเองของพื้นที่จําแนกไดเปน 3 ดาน คือ คน สิ่งแวดลอม และ การมีสวนรวม ที่พอจะสรุปไดดังตารางตอไปนี้

Page 83: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 67  

ตารางที่ 15 รูปแบบและเครือ่งมือที่ใชการพัฒนา 3 ดาน คือ คน สิ่งแวดลอม และ การมีสวนรวมจําแนกตามพื้นที่

พื้นที่ รูปแบบการพัฒนาคนของพื้นที ่

เครื่องมือที่ใช รูปแบบการพัฒนาสิ่งแวดลอม

เครื่องมือที่ใช รูปแบบการพัฒนาการมสีวนรวม

เครื่องมือที่ใช

บางน้ําผึ้ง

การใหโอกาสทุกคนไดเรียนรู

การสงไปอบรม การใหทุนเรียนตอ การเปนที่ฝกงาน การทําโครงการ

การทําตลาดน้ําที่ปลอดภัย

การวิจัย การเฝาระวัง การประชุม การทํากองทุนเพื่อดูแลสิ่งแวดลอมของตลาดน้ํา

การประชุมเปนประจําโดยใชพื้นที่สาธารณะของตําบล

พื้นที่สาธารณะ กติกา ขอตกลง

หนองแหน

การคัดเลือกและสงเสริมเยาวชน

อสม. รักษาปาชุมชน สงเสริมกลุมอนุรักษ

การสงสริม การเฝาระวัง

ประชาสัมพันธ ประชุมเปนประจํา ทําขอตกลง

มีสภาองคกรชุมชน

แมถอด

การรวมกลุมเพื่อชวยกันแกปญหา

การประชุม การอบรม

การอนุรักษทรัพยากรแหลงน้ําและปา

การทํา CHIA

การทําขอตกลง สมัชชา ธรรมนญู ศูนยเรียนรูประชาธิปไตย

แมหลาย การประกวด การดูงาน การทําโครงการกับสถาบันการศึกษา

การทําแผนที่เสนทางการเรียนรู

การทําแผนที ่ศูนยเรียนรู

การประชุม การประกวด

เทศกาล ประเพณี รางวัล

หวยสม การประชุมเรียนรูรวมกัน

การดูภาพ การหาคําตอบ การทดลองทํา การดูงาน

การอนุรักษปา การรวมกลุม การยื่นหนงัสือรองเรียน

การพัฒนาแกนนําเพื่อเรียนรูรวมกัน

การประชุมสม่ําเสมอ

Page 84: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 68  

พื้นที่ รูปแบบการพัฒนาคนของพื้นที ่

เครื่องมือที่ใช รูปแบบการพัฒนาสิ่งแวดลอม

เครื่องมือที่ใช รูปแบบการพัฒนาการมสีวนรวม

เครื่องมือที่ใช

ไผ การทําโครงการเพื่อแกปญหา

การมีพี่เลี้ยง การดูงาน

การสรางสังคมปลอดเหลา

การอบรมแกนนํา การมีตนแบบ

การทําธรรมนญู การประชุมเพื่อทําธรรมนญู

หนองกลางดง

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันบนพื้นฐานขอมูลชุมชน 

-ระบบขอมูลชุมชน-แผนแมบทชุมชน -การมีสวนรวมในการทํากิจกรรม 

-ปาชุมชน-จัดทําแผนแมบทชุมชน -มีคณะกรรมการปาชุมชน และมีกฎระเบียบแนวทางในการอนุรักษปาชุมชน 

-ระบบขอมูล-แผนที่ปา -ขอมูลปา -ภาคีเครือขายจากภายนอก ไดแก กรมปาไม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม  

-แผนชุมชน-คณะกรรมการสภาผูนําชุมชน -กฎระเบียบของชุมชน 

-ระบบขอมูลชุมชนที่มีการเก็บทุกป -การประชุมชาวบานเปนประจําทุกเดือน  

ชะแล การดูงาน การอบรม การเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติจริง การสื่อสาร

- การมีพี่เลี้ยง - การเปนลูกขายของ โครงการ ตําบลสุขภาวะ ของตําบลทาขาม

- การมีสวนรวมในการทํางาน โครงการตางๆในทุกขั้นตอน

- การมีธรรมนญูสุขภาพเปนเครื่องมือหลัก

- การดูแลปาชายเลน - การละ เลิก พฤติกรรมเสี่ยง ภายใตธรรมนญูสุขภาพ

ธรรมนญูสุขภาพเปนเครื่องมือการจดักิจกรรม ของหนวยงานและองคกรในชุมชน

ใชสภาเทศบาลสนับสนุนในการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพอยางมีสวนรวม

ธรรมนญูสุขภาพ

Page 85: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 69 

บทที่ 4

เครื่องมือระบบการจัดการสุขภาพชุมชน

วัตถุประสงคการวิจัยที่สําคัญขอหน่ึงในการวิจัยคือเพ่ือวิเคราะห เคร่ืองมือและกระบวนการท่ีชุมชนใชในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนที่สามารถเชื่อมโยงกับปจจัยกําหนดสุขภาพของพ้ืนที่น้ันๆ เพ่ือใหเห็นภาพการใชเคร่ืองมือ การนําเสนอในบทนี้จึงเรียงลําดับดังน้ี

1) ภาพปจจัยกําหนดสุขภาพสําคัญและเครื่องมือที่กระตุนใหเกิดการแกปญหานําไปสูการเปนชุมชนเขมแข็ง และเชื่อมโยงสูความเขมแข็งจนกลายเปนฐานการเกิดระบบสุขภาพ

2) เครื่องมือสําคัญที่ใชในการพัฒนาสูชุมชนเขมแข็งพึ่งตนเองไดซ่ึงเปนฐานของการสรางระบบสุขภาพชุมชน คือ การพัฒนาคน การพัฒนาสิ่งแวดลอม และการพัฒนาการมีสวนรวม

3) เคร่ืองมือสําคัญในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพในมิติของการจัดการ ดานการเงิน ดานขอมูล ดานการวางแผน และ ภาคีภายในและภายนอก

 

   

แผนภาพที่ 7 ภาพปจจัยกําหนดสุขภาพสําคัญที่กระตุนใหเกิดการเปนชุมชนเขมแข็ง    

Page 86: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 70 

1. เครื่องมือในการแกปญหานําไปสูการเปนชุมชนเขมแข็ง ในการพัฒนาระบบสุขภาพของแตละพ้ืนที่มีจุดเร่ิมตนของการพัฒนามีความหลากหลายแตกตาง

กันไปตามบริบท สามารถเชื่อมโยงเปนภาพและกลไกที่เปนปจจัยเอ้ือใหเกิดการขับเคลื่อนไดดังน้ี  

เม่ือเห็นภาพกระบวนการระบบสุขภาพชุมชนของแตละพ้ืนที่ ทีมวิจัยใชกรอบแนวคิดที่ 2 ในการสังเคราะหกระบวนการจัดการสุขภาพระดับหนวยปฏิบัติการในชุมชนโดยการเจาะลึกกลุมสําคัญๆ ของแตละพ้ืนที่ เพ่ือดูกระบวนการจัดการในมิติของศักยภาพกลุมแกนนํา จํานวนภาคีสมาชิก กระบวนการทํางานดานความสัมพันธ ดานทรัพยากร และโครงการที่เกิดขึ้นและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชน ตามกรอบแนวคิดการวิจัยที่ 2 จนสามารถสรุปไดเปนภาพพัฒนาการตามปจจัยกําหนดสุขภาพและกระบวนการขับเคลื่อนในแตละพ้ืนที่  

ตําบลบางนํ้าผ้ึง 

ป 40ทําสวนเกษตรทฤษฎีใหม

รับแนวคิดตลาดนํ้าแตยังไมมีท่ีจําหนาย

ป 47ตลาดนํ้ามีเทคนิคใหคนมารวมลงทุนในตลาดนํ้า

ปจจุบันป 2555

ป 52เร่ิมมีนา รักษปา

ป 53

รักษปากํานันเปนประธานปตท.มีเคร่ืองมือมาเก็บขอมูลทําแผน 11 หมู ไดห็นปญหาเร่ืองน้ําทําบัญชีครัวเรือน

-กลุมโฮมสเตย ป 49-เร่ืองเยาวชน-พลังงานเตาเผาถาน

มีเวทีประชุมทุกเดือน

มศก.ทองเท่ียวโดยชุมชนมสธ. , สกว. และ CBT-Iประเด็นทองเท่ียว

ป 54

อ.สมศักด์ิ อ.ณรงคสอนทําบอบําบัดสอนทําน้ําจุลินทรียการหมักจุลินทรีย

รักษปามีเวทีประชุมทุกเดือน

บางจากมาทอดผาปา ปลายป 52 (แกปญหาผลกระทบกับพ้ืนท่ี)

เกิดกลุมตางๆ ชมุชนพอเพียง. บางน้ําผ้ึงพอเพียง มีกลุมสมุนไพร

ใหความรู อบรมแกนนํา

-กองทุนปาและน้ําปดทองหลังพระ

ธ.ค. 54 ปดโครงการรักษปาตอยอดศูนยเรียนรูจับกลุมพูดคุยกัน

ป 48-49

ป 48 ตลาดนํ้ารุงเรืองป 49 มีคนมาเท่ียว

47

ตําบลบางน้ําผึ้ง: ภาพพัฒนาการของพื้นที่

 

แผนภาพที่ 8 ภาพพัฒนาการของพื้นที่ตาํบลบางน้ําผ้ึง   

Page 87: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 71 

1ส่ิงแวด ลอม

4สุขภาพ

บริหารการเงินชุมชน

กลุมวิสาหกิจชุมชนมากมาย

สถาบันการเงิน พัฒนามาจากออมเดือนละ100

กองทุนหมูบาน หมู4

2 อาชีพใน

ชุมชน

กลุมอสม.เขมแข็ง /ปาฉวี+ทองถ่ิน อบต.

กองทุนหลักประกันสุขภาพ

การมีสวนรวมมาตรวจคนไข รพ.กรุงเทพ รพ.บางจาก

ผูสูงอายุมีผูดูแลโฮมแคร

ขยะหอม / อบต.

กลุม Bee Power

งานวิจัยหิ่งหอย

กลุมแมบานเกษตรกร

กลุมโฮมสเตย

รักษปา / ปตท.

บอบําบัด/ปดทองหลังพระ/กสิกรไทย /ปตท.

เตาประหยัดพลังงาน / กระทรวงพลังงาน

ปุยน้ํา / บางจาก

วิสาหกิจพอเพียง

วิสาหกิจหัตถศาสตร

กลุมตลาดนํ้าบางน้ําผ้ึง

OTOP

กลุมวิจัยทองเท่ียว CC / สกว.

ชมรมผูสูงอายุ

เงินเขากองทุน

กองทุนตลาดนํ้า(สวัสดิการใหแมคาในตลาด)

หมูบานเศรษฐกิจชุมชน

สวัสดิการชุมชน

ออมวันละบาท

คนพิการใชเงินสวัสดิการ

500บาท

ปาชุมชน บางน้ําผ้ึง

งานวิจัย cc/ สกว.

เยาวชนรักษปา / ปตท.

มาจากตลาดนํ้า

3.ทองเท่ียวเสนเลือดใหญของชุมชน

48

ตําบลบางน้ําผึ้ง : กลไกการขับเคล่ือนระบบสุขภาพชุมชน

 

แผนภาพที่ 9 ประเด็นขับเคลื่อนในชุมชนสูระบบสขุภาพชุมชนตําบลบางน้ําผ้ึง การขับเคลื่อนสูระบบสุขภาพชุมชนของบางน้ําผ้ึงเกิดจากความสัมพันธของผูนําและคนในชุมชน

ในการเผชิญปญหานํ้าทวม และปากทอง จนคิดคนระบบการดูแลภัยพิบัติ ดูแลสิ่งแวดลอมและการใชเงินระดมทุน นําไปสูระบบการผลิตในชุมชน ทําใหพ้ืนที่มีชื่อเสียงเรื่องของความปลอดภัย และการเฝาระวังทําใหเกิดความปลอดภัยของระบบสุขภาพจากความม่ันคงในการสรางเศรษฐกิจชุมชน

เครื่องมือที่ใชคือ

การถอดรหัสแนวทางของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวโดยนายกองคกรบริหารสวนตําบลซ่ึงมีศรัทธาในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่ทรงดูแลชาวไทยโดยเฉพาะที่ชาวบางน้ําผ้ึงไดรอดพนจากปญหานํ้าทวมจากการมีแกมลิง และการที่ทําใหพ้ืนที่ที่ตําบลบางน้ําผึ้งตั้งอยูไดเปนปอดของคนกรุงเทพมหานคร ดังนั้น นายก อบต. จึงอานพระราชดํารัส พระราชดําริและโครงการตางๆที่ทรงดําเนินการมาใชในการพัฒนาชุมชนตลอดมา ซ่ึงสอดคลองกับแนวทางของอดีตกํานันในการพัฒนาพ้ืนที่ปาชายเลน การพัฒนาพื้นที่ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงโดยการพื้นฟูที่ดิน ปา เพ่ือใหเกิดการผลิตพืชผลดานการเกษตรจนมีเพียงพอที่จะบริโภคเปนอาหาร และเหลือขายเปนสินคา เกิดเปนแนวคิดในการสรางตลาด ตอมามีการประชุมโดยนายก อบต. เปนแกนนําในการสรางความโดดเดนของตลาดดวยการผสมผสานเขากับการมีแผนชุมชนดานการทองเที่ยว มีโฮมสเตย มีความเกาแกทางวัฒนธรรม ปาชายเลน และมีแมนํ้าเจาพระยาเปนทุนทางสังคมที่สามารถนํามาใชสรางเศรษฐกิจและความมั่นคงของคนบางนํ้าผึ้งได จากเวทีประชาคมสูการจัดระบบบริหารจัดการดวยการระดมความคิด ระดมทุนเพ่ือนํามาใชพัฒนาส่ิงแวดลอม มีการประชุมผูคาของตลาดน้ํา มีการเก็บขอมูลรายได มีการประชุมเพ่ือ

Page 88: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 72 

ชวยเหลือรานคาที่มีรายไดนอย มีการสรางระบบความปลอดภัย ตอมามีการวิจัยเพ่ือพัฒนาขีดความสามารถในการรองรับ และกาวสูการเปนตลาดและตําบลปลอดขยะตอไป 

เทคนิคการพัฒนาตําบลอยูบนเงื่อนไขการไวใจและใหเกียรติกันและกันของผูนําและคนในพื้นที่เน่ืองจากเปนคนด้ังเดิม เปนเครือญาติจึงอาศัยทุนสังคมนี้ในการพัฒนาความเขมแข็งของตําบลไปสูการพ่ึงตนเองได ตําบลหนองแหน

ตําบลหนองแหน: ภาพพัฒนาการของพ้ืนที่

30 ป ที่ผานมาปาไผผากอุดมสมบูรณ

ปจจุบันป 2555

ป 53ป 54-55

นิคมอุตสาหกรรมเขามามีการยายเขาเกิดไขเลือดออก

ป 50

กลุมผูสูงอาย ุเดนชัดการดูแลสุขภาพจนไดรับรางวัชระดับจงัหวัดป 52

ป 51ปาไผผากข้ึนทะเบยีนกรมปาไมป 49

กองทุนหลักประกันสุขภาพคิดยาว ชาวบานไดประโยชนสนับสนุนชมรมผูสูงอายุ

ป 44ตอสูปญหาบอขยะ

สมัชชาสุขภาพระดับจังหวัด

สภาองคกรชุมชนพอช.

ป 52ตําบลสุขภาวะแหลงเรียนรู

แหลงเรียนรูผูสูงอายุ

สมัชชาสุขภาพระดับพื้นที่

กองทุนสวัสดิการชมุชน

ธรรมนูญสุขภาพ

พื้นที่ในการเรียนรูธรรมนูญสุขภาพตําบล

  แผนภาพที่ 10 ภาพพัฒนาการของพื้นที่ตําบลหนองแหน  

 

Page 89: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 73 

2 สิ่งแวดลอม

อบต.

แกนนําชุมชน

รพ.สต.

1แกปญหาขยะ

ชุมชนปลอดภัย

กลุมปาไผผาก

4 เพ่ือนคูใจ วัยพยุง

5สภาองคกรชุมชน

เลนกีฬาเปตอง

ประกวดไดรางวัล

กองทุนหลักประกันสุขภาพ

ข้ึนทะเบียนปาไม

กลุมกองทุนสวัสดิการ

ยุติธรรมชุมชน

“แกนนํา 59”

การประกวดหมูบาน

ดูแลคุณภาพชีวิต

50

ตําบลหนองแหน : กลไกการขับเคล่ือนระบบสุขภาพชุมชน

 

แผนภาพที่ 11 กลไกขับเคลื่อนในชุมชนสูระบบสขุภาพชุมชนตําบลหนองแหน กระบวนการขับเคลื่อนของตําบลหนองแหน เกิดภาพจากการมีทองถิ่นที่มีประชาธิปไตย สรางการมีสวนรวมนําไปสูจิตอาสาที่มองหาความแข็งแรง สมบูรณของผูสูงอายุที่มีอยูในชุมชน โดยการสรางสิ่งแวดลอมปาไผผากและสรางระบบการดูแลที่เขมแข็ง จนกลายเปนความโดดเดนของพื้นที่ เครื่องมือที่ใช 1. การประชุมแบบไมเปนทางการและการประสานงานแบบเครือญาติ เปนเคร่ืองมือในการชวนคุยเพ่ือรวมกันแกปญหาและพัฒนาพื้นที่ จากพัฒนาการของตําบลหนองแหนที่เร่ิมจากการมีสวนรวมของผูมีจิตอาสาในพื้นที่ มีการหารือ ประชุมในการแกปญหาส่ิงแวดลอมตั้งแตป 2544 เปนตนมามีการรวมตัวกันเรื่องการแกปญหาขยะ การอนุรักษปาไผผาก และการรวมตัวกันในเรื่องตางๆตามมา สิ่งที่เห็นเดนชัดคือการรวมตัวของกลุมปาไผผาก ที่รวมกันดูแลปาไผและมีการออกขอกําหนดรวมกันจนไดขึ้นทะเบียนปาชุมชนกับกรมปาไม ดานผูสูงอายุรวมตัวกันเปนชมรมผูสูงอายุมีกิจกรรมในการขับเคลื่อนมากมายและไดรับรางวัลเปนชมรมผูสูงอายุดีเดนของจังหวัดในป 2552 การประชุมอยางไมเปนทางการแตมีการประชุมเปนนิจ นํามาสูการประชุมเปนทางการในกลุมแกนนําของชุมชนและเปนกลุมกรรมการของโครงการตางๆ จากการพูดคุยในแตละประเด็นสูการขยายผลเชิงนโยบายโดยมีโครงสรางของคณะกรรมการ อาทิ กรรมการกลุมปาไผผาก กรรมการชมรมผูสูงอายุ กรรมการสภาองคกรชุมชน กรรมการกองทุน กรรมการสมัชชาสุขภาพฯ ฯลฯ ทําใหเกิดการขับเคลื่อนและขยายผลสูการดูแลคุณภาพชีวิตของประชาชนอยางเปนรูปธรรมและมีความยั่งยืนในที่สุด 2. การทดลองแหลงเรียนรู จากปญหาปาไผผากที่ถูกบุกรุกจึงไดนําไปสูกลุมอนุรักษปาไผผาก และมีคณะกรรมการบริหารปา มีการกําหนดเวลาเขาออก และกฎระเบียบตางๆ และบริหารจัดการพ้ืนที่

Page 90: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 74 

โดยการทําเปนแหลงเรียนรูเพ่ือเปนเครื่องมือในการอนุรักษปา แหลงเรียนรูปาไผผากเปนพ้ืนที่ทดลองของชุมชน ปลูกสมุนไพรและมีฐานเรียนรูตางๆ เคร่ืองมือการทดลองแหลงเรียนรูน้ีจึงเปนกลไกที่สําคัญในการรวมพลังและความสามัคคีของชุมชนเพื่อจะรักษาทรัพยากรที่มีคาไว 3. การพัฒนาคนจากการมีสวนรวม จากการเขารวมกองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลหนองแหน โดยแกนนําชุมชน อบต. และรพ.สต.ที่มีการดําเนินงานอยางจริงจังมีการสนับสนุนจากชมรมผูสูงอายุพัฒนาเปนโครงการตางๆมากมาย และมีกองทุนสวัสดิการชุมชนเกิดขึ้นรวมกันระหวางรพ.สต.อบต.และแกนนํา15 หมูบาน มีการขับเคลื่อนประเด็นรวมของพ้ืนที่โดยรวมตัวแกนนําเปนคณะกรรมการสมัชชาสุขภาพระดับพ้ืนที่ มีการรวมคุยรวมคิดจึงเกิดประเด็นสุขภาพระดับพ้ืนที่ขึ้น 4 ประเด็น ไดแก 1)ประเด็นเด็กและเยาวชน 2) ผูสูงอายุ 3) การเขาถึงบริการของระบบ สุขภาพ และ4) ประเด็นสิ่งแวดลอม (ขยะในครัวเรือน ขยะในโรงงาน) ประเด็นผูสูงอายุ ชมรมผูสูงอายุเปนเจาภาพหลักในการดําเนินงาน ประเด็นเด็กและเยาวชน โรงเรียนเปนเจาภาพในการดําเนินงาน นอกจากน้ันยังมีการรวมตัวกันของผูนํา 59 เปนสภาองคกรชุมชนที่เชื่อมโยงกับสถาบันพัฒนาองคกรชุมชนในระดับจังหวัด จากการมีสวนรวมของสมาชิกในชุมชนในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ และการเขารวมเปนคณะกรรมการสมัชชาสุขภาพระดับจังหวัดในป 2554 นํามาสูแนวทางการกําหนดขอตกลงรวมกันของชุมชนเปนธรรมนูญสุขภาพขึ้น ซ่ึงเปนขอตกลงเรื่องสุขภาพทุกมิติในตําบลใหประชาชนทุกคนยอมรับและเสนอแนะในขอตกลงรวมกัน จะมีผลบังคับใชในเดือนเมษายน 2555 นอกจากน้ีตําบลหนองแหนยังไดรับเลือกใหเปนพ้ืนที่ในการเรียนรูเรื่องธรรมนูญสุขภาพตําบลอีกดวย  

ตําบลแมหลาย 

แมหลายคือท่ีท้ิงขยะ

เกิดกองทุนหมูบาน / ครอบครัวมีระบบบริการกองทุน

ปจจุบันป 2555

มีการพัฒนาคนในชุมชนและภาคีเรียนรูทําวิจัยดานขยะและภูมิทัศน

เนนเกณฑกองทุนเงินออมวันละบาทและการแบงปน

ประกวดหมูบาน

ป 50

มีศูนยการเรียนรู

ทุนสังคมเอ้ืออาทรมีการดูแลคนแกโดย

กิจกรรมฌปานกิจ

ตําบลแมหลาย: ภาพพัฒนาการของพืน้ที่

 

แผนภาพที่ 12 ภาพพัฒนาการของพื้นที่ตําบลแมหลาย  

Page 91: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 75 

พ้ืนที่แมหลายมีปญหาสิ่งแวดลอม ขยะ กระตุนใหคนแมหลายอยากแกไข พัฒนา กระบวนการมีสวนรวม เรียนรู และตัดสินใจโดยใชการประกวดดวยเกณฑที่สรางขึ้นเองจากคนแมหลายเอง และรางวัล ทําใหเปนวัฒนธรรมการพัฒนา เม่ือมาผสมผสานกับระบบบริหารเชิงคุณภาพของเทศบาล และการกํากับติดตามเพ่ือความโปรงใส ทําใหมีการพัฒนาอยางตอเน่ือง ยั่งยืน ดวยทุนสังคมที่เหนียวแนน ทุนมนุษยที่พรอมเรียนรู จึงทําใหเกิดชุมชนเขมแข็งขึ้นได

เร่ิมจาก1. ส่ิงแวดลอมอาชีพ - วิถีชีวิต : ดูดส่ิงปฏิกูล,เกษตร2. ทุนทางสังคม- เครือญาติ

- เนนมาแตดึกดําบรรพSocial capital(ความผูกพันปรองดอง)3.ทุนมนุษย -คนเกง

-กลุมคน -ระบบเอื้ออาทร

เ กิ ด กา ร พัฒนา ร ะ บบสวัสดิการจากการตายไปสูการดูแลครบวงจร

ไปเกาะกับระบบ รพ.

4.การพัฒนาเนนที่การเรียนรู

4.4 ทําโครงการ

4.2 ประกวดโดยการรวมกันทําเกณฑการประกวด

5. ระบบสุขภาพของ

ประชาชน

4.3 การวิจัยการประเมินผล

4.1 มีเทคนิคการดูงานท่ีมีจุดเนนของตนเอง

ใหเขียนหรือเลาวา เห็นอะไร เรียนรูอะไร จะเอาอะไรมาใช

ผลลัพธคือความคิดเปล่ียน เชน- ผักปลอดสารพิษ- จักรยาน

ผูสูงอายุ เกิดเปนกองทุนสวัสดิการ

52

แมหลาย : ภาพกลไกการขับเคล่ือนระบบสุขภาพของพืน้ที่

แผนภาพที่ 13 กลไกการขบัเคลื่อนในชมุชนสูระบบสขุภาพชุมชนแมหลาย

เครื่องมือที่ใชคือ 1. การประกวดหมูบานนาอยูตอมากลายเปนเทศบาลนาอยู การประกวดหมูบานนาอยูเริ่มตั้งแตป 2548 กอนที่รัฐบาลจะจัด ทั้งน้ีเน่ืองจากความตองการ

ใหหมูบานตางๆมีการพัฒนาดานสิ่งแวดลอมและสุขลักษณะ ทีมผูบริหารทองถิ่นไดจัดทําเกณฑดานความสะอาด สุขลักษณะขึ้น แตพบวา ชาวบานไมรวมมือ ไมใหกรรมการเขาไปทําการตรวจและใหคะแนน เพราะกรรมการไมมีใครเปนตัวแทนของชุมชนเลย และกรรมการไมมีการติดตามการดําเนินงานของหมูบานอยางตอเน่ือง ผูบริหารทองถิ่นจึงเชิญชวนใหชาวบานมารวมสรางเกณฑและเปนกรรมการดวยกัน จนเปนที่ยอมรับมีการทําการตรวจประมินปละ 2 คร้ัง และมีการพัฒนาเกณฑโดยการผนวกแนวคิดตางๆที่ทันสมัยเชน แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดประหยัดพลังงานเพิ่มเขาไป ในปจจุบันเกณฑครอบคลุม ดานการบรรยายสรุปและการนําเสนอซึ่งตองครอบคลุมดานขอมูลพ้ืนฐาน ความตองการ และการพัฒนาของหมูบาน กิจกรรมของกลุมตางๆในหมูบาน ดานการวางแผน ซ่ึงประกอบดวยกฎระเบียบของหมูบาน การรับรูขอมูลขาวสาร การระดมทุนเพ่ือเสริมสรางความเขมแข็ง

Page 92: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 76 

หรือแกปญหา การอนุรักษณวัฒนธรรม ประเพณี ดานคุณธรรมละการสรางจิตสํานึกรวม ซ่ึงประกอบดวยขอมูลที่ครอบคลุมการทํางานดานเศรษฐกิจพอเพียง ดานบุคคลตัวอยาง ดานการแกปญหาสิ่งแวดลอม เร่ืองขยะและการจัดการ กิจกรรมดานพลังงาน และกิจกรรมดานสาธารณสุขและสุขภาพ และดานกองทุนชุมชนซึ่งครอบคลุมดานชนิด จํานวนกองทุน ระบบการจัดการบัญชี กติกาและการไมปฏิบัติตามกติกา สมาชิกและการประชุม ระบบการระดมทุน และการจัดสรรกําไรเพ่ือสาธารณะประโยชน การประชุมชี้แจง สรุปผลการดําเนินงาน กระบวนการพัฒนาที่มีจุดเร่ิมตนจากการแกปญหาสิ่งแวดลอมไดกลายมาเปนความโดดเดนที่สงผลใหเทศบาลแมหลายกลายเปนเทศบาลนาอยูอยางยั่งยืนในป 2552 ตามองคประกอบเมืองนาอยูอยางยั่งยืน 5 องคประกอบ คือ ความเปนเมืองอยูดี คนมีสุข สิ่งแวดลอมยั่งยืน องคกรแหงการเรียนรูและพัฒนา และ การมีการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล อน่ึงการประเมินความเปนเทศบาลนาอยูอยางยั่งยืน จําเปนตองผานการประเมินทั้งที่เปนระบบการทํางานปกติของเทศบาล และระบบที่เปนตัวชี้วัดทาทายซึ่งมีความจําเพาะของตัวชี้วัดปกติ คือ ความเปนเมืองอยูดีเนนเมืองมีระเบียบ คนมีวินัย คนมีสุขเนน คนมีสุขภาพดีทั้ง กาย และใจ สิ่งแวดลอมยั่งยืน เนน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม องคกรแหงการเรียนรูและพัฒนาเนนการพัฒนาศักยภาพและขวัญกําลังใจของทีมงานดวยกิจกรรมการเรียนรู การใชเทคโนโลยี การทํางานเปนทีม และการใชขอมูล และ การมีการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล เนนการพัฒนากลไกขอรองเรียน การมีสวนรวมของภาคประชาชนในการตัดสินใจ ติดตามงาน ประเมินผลงาน และประเมินการรับรูภาคประชาชน

2. การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลแมหลายโดยอิงแนวคิดหลักการ

ของสปสช.แตใชกระบวนการคุณภาพและทุนทางสังคม ตลอดจนเปาหมายของการพัฒนาตําบลแมหลาย

นากเทศมนตรีมีการทบทวนสรางความเขาใจในหลักการของกองทุนและนําเสนอในที่ประชุมของตําบลดวยการตั้งประเด็นคุณลักษณะพิเศษของกองทุน บทบาทของเทศบาล ความคาดหวังและฐานรากที่สําคัญของการมีกองทุนโดยมีการใชคําพูดวา

“กองทุนหลักประกันสุขภาพเปนนวัตกรรมในระบบสุขภาพเพื่อใคร อยางไร และโดยใคร” “ เทศบาลยินดีออกเงินสมทบเกิน50% เพราะถือวาการพัฒนากองทุนนี้เปนบานรากสําคัญของ

ตําบลเพ่ืออนาคตของแมหลาย” “การทํางานกองทุน เนนหลักธรรมาภิบาลโดยประกาศให ประชาชนมีสิทธิในการประเมินการ

ทํางานของกองทุนได” นอกจากน้ียังมีการประกาศแนวทางการบริหารจัดการซ่ึงเปนการผนวกระเบียบ กติการของ

กองทุน เขากับระบบบริหารคุณภาพของเทศบาลนาอยูอยางยั่งยืน โดยเนน 1) หัวใจการทํางาน คือ ประชาชนเปนศูนยกลาง เนนแผนที่เกิดจากชุมชน เพราะ ปญหาความ

ตองการของเขา เขายอมรู น่ันคือสิ่งที่เขาอยากทํา เขามองกระบวนการออกวาเขาจะทําอยางไร

Page 93: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 77 

2) การสรางการมีสวนรวมน้ันมันยาก แตที่ทําใหงาย คือ การใหโอกาส การใหเกียรติพ่ีนองในชุมชน เน่ืองจากบานเปนของเขา แลวมาแลกเปลี่ยนกันในเวทีกลั่นกรองแผนงานโครงการ โดยตั้งเปน คณะทํางานกลั่นกรองแผนงาน ทําใหเกิดเปนกระบวนการมีสวนรวมที่แทจริง มีการแลกเปลี่ยนและชี้แจงรายละเอียดดานงบประมาณระหวางคณะกรรมการกลั่นกรอง และ รพ.สต. อสม. และ สมัชชา

สําหรับการดําเนินการของกองทุน มีการทํางานตามหลักการบูรณาการความรวมมือ ดวยการกําหนดโครงสราง กลไกหรือระบบการทํางานในการอนุมัติโครงการ ในการจัดทําแผนกองทุนตามทฤษฎี 3 ก และแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร ละมีการทํางานตามวงจรคุณภาพ Plan Do Check Act อยางครบถวนพรอมหลักฐานเอกสารเชนระดับความพึงพอใจ ขอเสนอแนะในการพัฒนาคุณภาพ และ ความรูสึกวาใครเปนเจาของโครงการ

3. การบริหารจัดการพลังงานและสิ่งแวดลอม สืบเน่ืองจากปญหาพื้นที่ดานสิ่งแวดลอมและขยะ ทําใหเขารวมโครงการจัดทําแผนพลังงาน 80 ชุมชน สนองพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง ของสํานักพลังงานภูมิภาคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก มหาวิทยาลัยแมโจ จังหวัดแพร และสํานักพลังงาน จังหวัดแพร ทีมบริหารตําบลแมหลายไดทําการศึกษากอนตัดสินใจในเรื่องพลังงานวามีความสอดคลองกับปญหาของพื้นที่ในเรื่องบอขยะและแมลงวันจํานวนมาก ทําใหเกิดนํ้าเสีย เปนมลพิษของหมูบาน จึงไดมีการใชกระบวนการมีสวนรวม ดวยการจัดโครงสรางอันประกอบดวยสามเสาหลัก คือ อปท. ชาวบานในชุมชน และ นักวิชาการจาก โรงเรียนและมหาวิทยาลัยแมโจมารวมกันทํางานบนหลักการแลกเปลี่ยนเรียนรูในกลุม นอกกลุม ระดมความคิดเห็นรวมกันทุกเดือนโดยมีขั้นตอนการทํางาน 10 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นประชุมชี้แจงเจาหนาที่ที่เก่ียวของ 2) ประชุมชี้แจงชุมชน 3) จัดเก็บขอมูล 4) ประมวลและวิเคราะหผล 5) สะทอนขอมูลแกชุมชน 6 ) ศึกษาดูงานเทคโนโลยีพลังงานยั่งยืน 7) จัดทํารางแผน 8) ประชาพิจารณรางแผน 9) ดําเนินโครงการ 10) สรุปและรายงานผล ความโดดเดนในเรื่องการมีสวนรวม ประกอบกับการจัดทําโครงสรางที่เปนเครือขายอาสาสมัครพลังงานชุมชนในทุกหมูบานทํางานรวมกับกระบวนการมีสวนรวมในการประกวดหมูบานเดิมทําใหเกณฑหลังงานปรากฏในการประกวดหมูบาน และ เกิดการพัฒนาในรูปโครงการตางๆจนกลายเปนศูนยเรียนรูดานพลังงานชุมชนอีกสามศูนย เทคนิควิธีที่สําคัญ คือ การตอยอดทุนทางสังคมที่มีอยูเดิม การมองปญหาเปนโอกาสในการพัฒนา การใชเครือขายทั้งในตําบลและนอกตําบล ดวยกระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวมและตัดสินใจบนพ้ืนฐานของขอมูลทั้งที่เปนสาเหตุของปญหา และ ผลลัพธจากการทดลองนํารอง ทั้งหมดนี้เปนเทคนิควิธีสําคัญในการพัฒนาจากปญหาสูการมีระบบสุขภาพชุมชนที่จัดการกับปจจัยกําหนดสุขภาพดานสิ่งแวดลอมและพลังงาน ปจจัยสําคัญของความสําเร็จคือการมีเปาหมายตนเองโดยกําหนดเปนวิสัยทัศนวา “ คุณภาพชีวิตดีถวนหนา สาธารณูปโภคไดมาตรฐาน นอมนําเศรษฐกิจพอเพียงขับเคลื่อนดวยตนเอง โดย ทํางานรวมกับภาคี”

Page 94: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 78 

ตําบลแมถอด

“งานชุมชน”

วัด

นา

ศพ

2.ฌาปณกิจ เร่ิม2บาท

10

50

ประถม 2525 3.ไปซาอุ

4 เอดส

เสพติด

SRRT, ไขหวัดใหญ2009

อช หมูละ4 คน

กํานันจรัญ หมู10

มีทุนดี รถมอเตอรไซค+รถไถ

ผลผลิต มีเงินสงลูกเรียน

2529 อางเก็บน้ํา

3. ทํานาตอนวาง

ระบบกูยืมขาว

เงิน

1. ปา

ธรรมนูญแมถอด

NGOอบรม

ชุมชนขวัญเสีย ทัศนียสอบต.

SIFเร่ิมลดเหลานอภ.สุวิทยคาแรง

นโยบายประหยัด

ป34 +ขาวสารคนละ

ลิตร

เงินชวย

สส

53

แมถอด : ภาพพัฒนาการของพืน้ที่

แผนภาพที่ 14 ภาพพัฒนาการของพื้นที่ตําบลแมถอด

กองทุน

สปสช

.

ระบบดูแลและปองกันโรค

ผูพิการ ผูสูงอายุ

ผูปวย

ระบบส่ิงแวดลอม

แกนนําชุมชน

คนจิตอาสาในแมถอด

เครือขายNGO

ระบบเศรษฐกิจกองทุน

การเก็บเงินกองทุนแตละกลุม มาสนับสนุนผูสูงอายุ/ผูพิการ

54

แมถอด: ภาพกลไกการขับเคล่ือนระบบสุขภาพชุมชน

แผนภาพที่ 15 กลไกการขับเคลื่อนชุมชนสูระบบสุขภาพชุมชนแมถอด

Page 95: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 79 

ประเด็นการพัฒนาของพื้นที่มีความโดดเดนดวยทุนสังคม จิตอาสา และบทเรียนการตอสู ปองกันปา เหมืองแร ทําใหเกิดการรวมตัวกัน ดังน้ัน การมีเคร่ืองมือ เชน สมัชชา CHIA และธรรมนูญสุขภาพ จึงเปนการสนับสนุนใหเกิดการรวมตัว

เครื่องมือที่ใชคือ 1) การคนหาปญหาจากการสังเกต แจงนับคนพิการที่มีมาแตกําเนิดจํานวนมากในพื้นที่เปน

จุดเร่ิมตนของการพัฒนาระบบสุขภาพของชุมชน ทั้งนี้เพราะคนในชุมชน อันไดแก ผูใหญบาน และ จิตอาสา มองเห็นความพิการของคนในหมูบาน หลังจากมีการเรียนรูจากเจาหนาที่ของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยทําใหเกิดการรวมตัว รวบรวมขอมูลและเขาสูการเปนสมาชิกเครือขายของทางราชการ เริ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจนทําใหนิยามคําวา คนพิการสามารถปรับเปลี่ยน และสิทธิการคุมครองคนพิการโดยปรับระดับความพิการจนการเขาถึงสิทธิของผูพิการเกิดขึ้นไดทั่วถึงมากขึ้น กลายเปนนโยบายและขอตกลงระบบสวัสดิการในสังคม และเกิดตนแบบจิตอาสาทําหนาที่การดูแลกันเองในตําบลของคนแมถอดกลายเปนระบบสุขภาพชุมชนในเวลาตอมา

2) การจัดทําระบบสวัสดิการโดยการตั้งเปนกองทุนเพื่อสรางความเขมแข็งดานศรษฐกิจ ลดปญหาความยากจน พัฒนาทุนมนุษย สรางความสัมพันธในชุมชนและนําไปสูระบบสวัสดิการที่บริหารโดยคนในชุมชนเอง

การดําเนิการเกิดขึ้นเนื่องจากการดูแลคนพิการในพื้นที่ และปญหาหน้ีสินความยากจนของพื้นที่ในบางหมูบานที่ทรัพยากรเปนปญหา จึงมีกํานันเปนตนคิดในการจัดตั้งกองทุนชนิดตางๆเริ่มกองทุนออมทรัพยสัจจะหมู 10 เริ่มป 2542 มีเง่ือนไขเก็บเงินวันละบาทรับสมัครสมาชิกแรกรับ 20 บาทมี 40 คน ปจจุบัน 132 คนจากการระดมเงินฝากของสมาชิก ฝากเงินจํานวนเทากันทุกเดือนเปนเวลาหนึ่งปโดยมีกติกาการเบิกจายและปนผลเพื่อสาธารณประโยชนเชน หมู 10 นําไปซ้ือจาน ชามถวายวัด ซ้ืออุปกรณสนับสนุนกลุมแมบาน เยี่ยมสมาชิกปวย มอบเงิน 500 พวงหรีดและเปนเจาภาพหน่ึงคืนกรณีสมาชิกเสียชีวิต และ 200 สําหรับคนในครอบครัว สมาชิกกูเงินไดหาเทาของเงินฝาก เสียดอกเบี้ยรอยละหนึ่งบาท สิ้นปปนผลรอยละ 8-10 บาท หมู 9 ขึ้นทะเบียนกับอําเภอ เม่ือมีปญหา อําเภอจะเขามาชวย ปนผลรอยละ 9 สมาชิกกูเงินรอยละสอง สนับสนุนกิจกรรมปลูกผัก ในชุมชน

กองทุนที่ดูแลคนพิการคือกองทุนวันละบาทของหมู 5 รับสมัครสมาชิกแรกเขา 50 บาทและเก็บเงินออมจากสมาชิกวันละหนึ่งบาทแตไมไดเก็บทุกวันเก็บเปนรายเดือนรายปนําเงินมาเปนสวัสดิการใหคนพิการและคนพิการไดสิทธิ จายปเดียว

นอกจากน้ียังมีกองทุนผูสูงอายุ กองทุนเงินลานกองทุนแมเร่ิมป 2547 กองทุนหมูกองทุนSMLกองทุนกขคจ.กองทุนหมูบานทองเที่ยวโอทอป ผลจากการมีกองทุนมีขอดี คือลดปญหาเงินกูนอกระบบเพราะมีแหลงเงินกู ดอกเบี้ยต่ํา ทําใหชาวแมถอดมีหน้ีสินลดลง การกินอยูดีขึ้น สามารถหาทุนประกอบอาชีพและสรางรายได ไดงายขึ้น นอกจากนี้ ยังเปนการพัฒนาทุนมนุษย คนที่เปนกรรมการ ไดเรียนรูเรื่องบัญชี การบริหารจัดการ มีเครือขายทํางาน เรียนรูการทํางานรวมกัน รูเร่ืองระบบการเงิน ของหมูบาน มีโอกาสไปศึกษาดูงาน มีความคุนเคย มีความสามัคคีกันมากขึ้นเพราะมีโอกาสพบกันบอย ในวันประชุมประจําเดือนของกองทุน บางคนแปนสมาชิกทุกกองทุน ประชุมเกือบทุกอาทิตย

Page 96: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 80 

แตอยางไรก็ตามยังมีขอเสียที่เห็นๆกันเปนสวนนอยคือ คนที่ไมมีวินัยทางการเงิน ก็จะมีหน้ีตลอด เพราะมีแหลงกูเงิน ที่เขาถึงงาย ทําใหหมุนเงินกองนี้ไปใชกองโนน แขงขันกันทางวัตถุเพิ่มขี้น ตําบลหวยสม

ทุนมนุษย

การตั้งคําถาม

ปญหาไฟไหมปา ป 39

ทุนสังคม

ภูคอภูกระแต

เครือขายอนุรักษปา

ป 42 ระบบการออมธนาคารขาว

+กองทนุหมูบาน

+ แหลงอาหาร

ระบบการดูแลกันเอง/สวัสดิการ

55

หวยสม : ภาพพัฒนาการของพืน้ที่

 

แผนภาพที่ 16 ภาพพัฒนาการของพื้นที่ตําบลหวยสม

ครอบครัว

ตําบล/หมูบาน - ปลอดอุบัติเหตุ - ปลอดการทะเลาะวิวาท - ปลอดเหลา

โครงการพัฒนาขอมูลงานศพปลอดเหลากองทนุไอโอดีนแกนนําเยาวชน

กรรมการ 44 คน

SRM

15 คน : กรรมการกองทนุ สปสช.

ระบบบริการสุขภาพทีอ่นามัย

+

บริการ นักสรางสุขภาพครอบครัว. + อสม.

7 ปอนมุัติ

คิดรวมกันวาควรทาํโครงการอะไรบาง

56

หวยสม: ภาพกลไกการขับเคล่ือนระบบสุขภาพชุมชน

 

แผนภาพที่ 17 กลไกการขบัเคลื่อนชุมชนสูระบบสขุภาพของตําบลหวยสม

Page 97: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 81 

พ้ืนที่หวยสมเปนพ้ืนที่ชนบท มีปาไม ภูเขา มีปญหาปากทอง ที่ตองการการพัฒนา ดังนั้น กระบวนการพัฒนาคนท่ีเกิดขึ้นจากการเผชิญปญหามาถูกกระตุนอีกคร้ังดวยการมารวมกันคิด แผนท่ีทางเดินยุทธศาสตร และการสรางกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น ทําใหเกิดการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ เชื่อมตอตัวอสม. และนักสรางสุขภาพครอบครัว

เครื่องมือที่ใชคือ 1. การประชุมสัญจรไปตามแตละหมูบานที่เสนอโดยกํานันตามที่เคยไปดูงานในพื้นที่อ่ืนแลว

รูสึกวาการไดเขาไปเรียนรูในพ้ืนที่อ่ืนๆทําใหเกิดภาพและความเขาใจจึงคิดริเริ่มทําขึ้น ในตอนแรกพบวาลมเหลว เพราะเจาของพื้นที่ตองมีการเลี้ยงดู ปูเสื่อ ทําใหเกิดเปนภาระ และไมมีการพูดคุยเรียนรูปญหาที่แทจริง จึงมีการปรับกติกา หามไมใหมีการเลี้ยงดูของเจาภาพ และใหแตละคนหอขาวมากินรวมกัน ตอมาพบวาประสบความสําเร็จ และเมื่อมีการสนับสนุนโครงการจัดทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร จากศูนยอนามัยที่ 6 ทําใหเกิดการประชุมมากขึ้นจึงหันมาใชวัดเปนพ้ืนที่กลาง ร้ือพ้ืนที่สาธารณะการประชุม และเกิดกติกาใหมคือ ขอใหมาประชุม จะน่ังหรือนอนก็ไดขอเพียงใหมาเพราะอยางนอยก็ไดยิน ไดฟง ไดรับรูวามีการพูดคุยกัน และสามารถตัดสินใจรวมกันได

2. นักสรางสุขภาพครอบครัว เปนแนวคิดที่เกิดขึ้นจากตนแบบคือโรงพยาบาลภูกระดึงซ่ึงตองการใหโรงพยาบาลทําบทบาทการเปนสวนหนึ่งของชุมชนจึงมอบหมายใหเจาหนาที่แตละคนมีพ้ืนที่ดูแล รับผิดชอบทั้งรักษา สงเสริม ฟนฟู ปองกัน และเจาหนาที่ทําบทบาทผูจัดการ ตอมาแนวคิดน้ีไดมีการปรับประยุกตใหที่สถานีอนามัยซ่ึงในปจจุบันคือ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพระดับตําบลซึ่งมีหนาที่หลักในการดูแลสรางเสริมสุขภาพของชุมชน โดยเนนการทําตัวเปนเหมือนคนในครอบครัวโดยไมแยกวิชาชีพ ใหถือวาทุกคนเปนนักสรางสุขภาพครอบครัว เจาหนาที่ 1 คนดูแลใกลชิดคนจํานวน 1280 คน และมีทีมงานคือ อสม. 20 คน กิจกรรมหลักคือ การเยี่ยมบานและสานสัมพันธกับสมาชิกทุกคน ทุกเพศ ทุกวัยในครอบครัวที่ตั้งอยูในความรับผิดชอบและเชื่อมประสานกับระบบบริการเชนโรงพยาบาลกรณีมีความจําเปนตองสงตอ รูปแบบการทํางานที่สําคัญคือ การทํางานเปนทีม มีการวางแผนรวมกันของทุกคนที่ รพ.สต. และความสัมพันธของเจาหนาที่กับคนในครอบครัวเกิดไดโดยการเย่ียมบานและการพูดคุยทางโทรศัพท

3. คณะกรรมการสุขภาพหวยสม จํานวน 44 คน ซ่ึงเกิดขึ้นโดยการรับโครงการจัดทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรซ่ึงมีผูนําทางความคิด คือ อดีตผูใหญบาน ซ่ึงเปนคนที่ชาวบานรักใครนับถือ และนําพาใหมีการเปลี่ยนแปลงในหวยสมมาโดยตลอดตั้งแตปญหาปาไม ไฟไหมปา การขาดแคลนอาหาร กระตุนใหเกิดธนาคารขาวเพ่ือเอาไวชวยเหลือคนจนเพิ่มเติมจากการมีกองทุน ซ่ึงมีการโกงกันได

ในกระบวนการทําแผนที่ยุทธศาสตรของหวยสม มีการดําเนินการโยการใหดูภาพของตําบลหวยสม แลวถามวาเห็นอะไร คนบางคนตอบวาเห็นตนไม บางคนตอบวาเห็นภูเขา ดังนั้นจึงสรุปเปนกติกาวา เห็นม้ัยวา คนเรามองสิ่งเดียวกัน แตเห็นตางกัน เราจึงตองมารวมกันพัฒนาโดยใชคนแกนนําเปนฐาน มาพัฒนาความคิดดวยกัน กติกาที่ 2 คือ อยาเร่ิมที่เงิน เริ่มที่ภาพท่ีเห็น เห็นใครทําอะไร เห็นทันตาภิบาลกวาดพ้ืน เห็นขาราชการกวาดพื้น เราไมมีชนชั้น เรามีแตความเทาเทียม เรามาอยูรวมกัน ลดความเปนปจเจก แลวเริ่มตนดวยคําถามวา

Page 98: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 82 

“ เรามาเปนผูนํากันทําไม” คําตอบคือ อยากเห็นพ่ีนองเปนสุข” คําถาม “เราจะรูไดอยางไรวาเปนสุข?” “ มีบานไหน มีใคร มีขอมูลบาง?” “ขอมูลที่มีเปนจริงม้ัย”

“ทําอยางไรใหมีขอมูลที่เปนจริง” เราจะเอาขอมูลมารวมกันดูวา อะไรเปนจริง อะไรเปนปญหา แลวจึงมาคิดวิธีการ

ดังน้ันการทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรของหวยสมจึงตางไปจากตําบลอ่ืนของจังหวัดเลย เพราะเริ่มดวยขั้นตอน

1) รวมคนแกนนําที่มีใจ 2) ระบบขอมูล ตองเปนของเรา อยูบานเรา 3) ขอมูลตองมีการคืนใหชาวบาน มาน่ังวิเคราะหกันวาปญหาแบบน้ี จะแกแบบไหน แลวราง

ขอเสนอ 4) เสนอชาวบาน เอาขอมูลมาใหประชาพิจารณ รางเปนนโยบายสาธารณะแบบมีสวนรวมของ

ตําบลหวยสม แลวถามวาจะเพ่ิมอะไรอีกม้ัย 5) นํารางเขาที่ประชุมอีกคร้ัง แลวจึงประกาศใช ใครไปใครมาก็ตองใช เพราะเปนของทุกคน กระบวนการทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรของหวยสมสะทอนวา เปนอุบายในการรวมคนมา

ชวยกันคิด แลวคนที่ทําหนาที่เอ้ืออํานวยใหเกิดการรวมตัวและการคิดจึงนําขอตกลงไปใสลงในตาราง 11 ชอง ไมใชการเอา 11 ชองไปใหชาวบานกรอก

กระบวนการทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรเดินมานานถึงหกเดือนในการพัฒนาคนใหคิดรวมกัน จนเกิดการพัฒนาขอมูลที่สะทอนปญหาสามารถพิจารณาทางเลือกเปนโครงการขึ้น 4 โครงการและเกิดขอตกลงใหแกนนําทั้ง 44 คนเปนกรรมการสุขภาพของตําบลหวยสม และคัดเลือก 15 คนจากกรรมการสุขภาพไปเปนกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพของสปสช.                   

Page 99: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 83 

ตําบลไผ 

1.SIF แกนนําบ านนาอุดม - เกษตรอนิทรีย

พม.ทุนสังคม เกดิทักษะ 13-> 49

2.วดัเหล าสสส1

3 ชมุชนเหล า+อบายมุข+การพนัน

สสส3

กองทุนสวสัดกิารชมุชน ตําบล

กองทุน สปสช.

ธรรมนูญ

545251

กองทุน สปสช. ถกูเชญิ สมัคร ใบสมัคร มีกรรมการ ประชมุกําหนดแผนการ ตาม4หมวด

สปสช.เขต9 สสจ.เชญิท องถ ิน่/นายกประชมุเพื่อชีแ้จงและสมัครหลักเกณฑสมทบ20%

1 ปปชยังไมได สมทบ

2 ตัง้งบประมาณ37.50บ.

3 ระบบบรกิาร

มีปรับเร่ืองเบีย้ประชมุเป็น 200บาท/ครัง้

ผลติระเบยีบกองทุนหลักประกันสุขภาพท องถ ิน่ใหม คือ เบกิ 40,000บาท ถ าเกนิ40,000ต องขอมตกิรรมการ

งบบรหิารจัดการตามเดมิ

41

ภาพเสนทางการพฒันาของตําบลไผ

แผนภาพที่ 18 ภาพพัฒนาการของตําบลไผ

 

วิถีการดํารงชีวิตทางศาสนา และประเพณี ทําใหเกิดปญหาหน้ีสินและสุขภาพ ดังนั้น การแกปญหาดวยมาตรการทางสังคม กติกา จิตอาสา ของชุมชนเองทําใหเกิดการพัฒนาคนและสังคมของการติดเหลาไปสูการลด ละ เลิก เพราะการด่ืมเหลาสงผลตอสุขภาพในเวลาตอมาได 

ระบบสุขภาพชุมชน

1.เหลา/วิถีสังคม + 2.วิถีพุทธ

3. ศาสนพิธี ศักด์ิศรี

ธรรมนูญสุขภาพ

ความเทาเทียม

การพัฒนา

“เงิน” สวัสดิการดูแลคนเกิด - ตาย

ศักด์ิศรี

1.ฌาปนกิจ กองทนุเงินออม

58

ตําบลไผ: ภาพกลไกการขับเคล่ือนระบบสุขภาพชุมชน

 

แผนภาพที่ 19 กลไกการขบัเคลื่อนชุมชนสูระบบสขุภาพของตําบลไผ

Page 100: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 84 

เครื่องมือที่ใช

1) การใชฐานขอมูลทุนทางสังคม ซึ่งมีตัวแทนของคนในชุมชนเขารวมโครการพัฒนาทุนสังคมของกระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย ไดมีการทํางานรวมกับหมู 4 ตําบลไผในการทําแผนที่ทางสังคม (Social Mapping) ซ่ึงเปนโครงการที่ชวยสรางความเขาใจวาทุนไมไดหมายถึงแตเฉพาะเงิน แตหมายถึงสิ่งดีๆที่มีอยูในพ้ืนที่และสามารถนํามาใชพัฒนาหรือแกไขปญหาของชุมชนได ผลลัพธจากโครงการนี้นอกเหนือไปจากการมีฐานขอมูลวาใครเกงอะไร และพ้ืนที่มีทรัพยากรอะไรแลว ยังนําไปสูการสรางความเช่ือม่ันของคนในหมูบานเชนกลุมโตะจีน และนําไปสูการทําแผนชุมชนซึ่งใชเปนแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาของหมูบานไดดวย

2) การใชวัฒนธรรม ศาสนา และคานิยมของคนในตําบลมาใชปรับเปลี่ยนวิถีประเพณีที่ทําลายสุขภาพ เน่ืองจากคนในตําบลทั้งที่เปนแกนนํา และผูนําทองถิ่น ทองที่เล็งเห็นวิถีชีวิตของคนในตําบลวาเต็มไปดวยการใชจายเงินเกินตัว กินเหลา กูเงินมาซ้ือมอเตอรไซด จึงมีการพูดคุยกับชาวบานเปนจุดๆไปโดยใชวัดเปนสถานที่ในการพูดคุย การพูดคุยทําโดยการใชคําถาม เชน เราจะทําอยางไรใหคนเลิกเหลา จะไดลดปญหาครอบครัว ปญหาหน้ีสิน เรามาสรางวินัยในตนเองกันไดม้ัย กินเหลากันไปแลวเจาภาพไดอะไรเราควรจะทํากันอยางไร การพูดคุยในเวทีแบบน้ีเกิดขึ้นตามจุดตางๆของตําบลจนเกิดแนวคิดวานาจะทําโดยใชการทํางานแบบมีสวนรวมโดยการตั้งเปนคณะกรรมการ และใชงานบุญของกํานันเปนตัวแบบ มีการขึ้นปายประชาสัมพันธ ตอนแรกก็มีคนคาน ไมเห็นดวย แตเม่ือมีการเก็บขอมูลคาใชจายที่ลดลง ทําใหเจาภาพมีเงินเหลือ จึงทําใหเกิดการยอมรับมากขึ้น กระบวนการทั้งหมดนี้ไดมีการสนับสนุนทางวิชาการจากสํานักงานกองทุนสรางเสริมสุขภาพซึ่งมีวิทยาลัยการจัดการทางสังคม ภาคอีสานเปนผูดําเนินงาน

Page 101: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 85 

ตําบลศลิาลอย 

ป 2537 ป 2539 ป 2541 ป 2542 ปจจุบันป 2555

ปญหายาเสพติดลักขโมยบอนการพนัน

เร่ิมการประชุมประจําเดือนใชวันอาทิตยเชาตนเดือน

บายเสียงตามสาย

+

ใชหมูบานเฝาระวังปญหายาเสพติดการพนัน

เขาโครงการ SIFไปดูงานไมเรียง

คิดทําสภาผูนําและระบบสวัสดิการ

หาผูนําตามแนวคิดศ.ประเวศ

ฉลาดมีวิสัยทัศน จิตใจดี

พูดจารูเร่ือง สงคนไปเรียนรูแลวกลับมา

แผนชุมชน

การทําวิจัยใหเกิดความรูมือหนึ่ง

สรางสังคมประชาธิปไตย

สรางแนวคิดชุมชนพ่ึงตนเอง

จัดโครงสรางและกลไกการจัดระบบการประชุม + เสียงตามสาย

ป 2544

กองทุนพัฒนาหมูบาน

แผนแมบท

59

ภาพของการพัฒนา ตําบลศลิาลอย

 

แผนภาพที่ 20 ภาพการพัฒนาตําบลศิลาลอย  

1สังคมมี

ปญหา 3.การมีสวนรวมของชุมชน

ทุนสังคม ทุนทรัพยากร

3.การรวมกลุมอาชีพ

2.ผูนํา

เงื่อนไข

4.สภาผูนาํ

60

ศิลาลอย:ภาพกลไกการขับเคล่ือนระบบสุขภาพชุมชน

แผนพัฒนากองทุนกลางเพ่ือพัฒนาชุมชน

 

แผนภาพที่ 21 กลไกการขบัเคลื่อนชุมชนสูระบบสขุภาพชุมชนตําบลศลิาลอย  

Page 102: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 86 

การพัฒนาโครงสรางการอยูรวมกันแบบประชาธิปไตย กระตุนใหทุกคนมีสวนรวมเปนเครื่องมือ และกลไกในการพัฒนาระบบสุขภาพของพื้นที่หนองกลางดงและการเรียนรูรวมกันดวยขอมูลและการมีโอกาสตัดสินใจทํารวมกันหาทางแกปญหา ซ่ึงทําใหการพัฒนาสามารถไปสนับสนุน ระบบสุขภาพได เครื่องมือที่ใชคือ

1) รูปแบบการจัดการปญหาและพัฒนาชุมชนแบบประชาธิปไตย เนนการเรียนรู ตัดสินใจรวมกันโดยใชขอมูลชุมชน กติกา และขอตกลงเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชน ผูใหญของหมูบานนหองกลางดงเปนผูริเร่ิมแนวคิดการพัฒนาบนพื้นฐานประชาธิปไตยเพื่อการพ่ึงตนเองโดยไดแรงบันดาลใจจากการเรียนรูการจัดการของชุมชนไมเรียงทําใหเร่ิมตนกระบวนการคนหาคนมีเกงความสามารถและมีจิตอาสา มองหากลุมตางๆที่มีอยูในหมูบาน ทั้ง 14 กลุมไดกลุมละ 4 คน และเชิญแกนนําชุมชน จากกลุม พระ ผูสูงงอายุ ผูทรงคุณวุฒิ สมาชิกสภาตําบล กํานัน ผูใหญบาน รวมเปน 59 คน มาเปนคนทํางานใหหมูบานดวยจิตอาสา มารวมกันคิดถึงปญหาและความตองการของคนกลุมตางๆในชวงเชาของวันอาทิตยตนเดือน พอชวงบายจะมีการเชิญประชาชนมารวมประชุม และถายทอดการประชุมผานเสียงตามสาย ดังน้ันประชาชนจะมีสวนรวม และรับรูในการตัดสินใจในเรื่องที่สภาผูนําพูดคุยกัน ผลการพูดคุยทําใหเห็นประเด็นในการพัฒนาและสามารถนํามารอยเรียงออกมาเปนแผนของชุมชนที่เกิดจากขอมูลปญหาที่ทุกคนรับรู รับทราบ และเกิดกิจกรรมที่ทุกคนชวนกันคิด นําไปสูการเกิดทีมงาน การรวมกลุมเพ่ือชวยกันพัฒนา และเห็นความสําคัญของการเงินเพ่ือนํามาใชในการดําเนินการ จึงเกิดเปนการจัดตั้งกองทุนกลางเพ่ือพัฒนาหมูบานขึ้น ประโยชนอ่ืนๆของการรวมกันคิด รวมกันทํา คือการเห็นทางเลือก หรือทางออกของปญหา เม่ือนํามาคุยกันเกิดการเรียนรูรวมกัน เกิดระบบการทํางานที่ใชกระบวนการวิจัยเชิงการทดลอง และมีการประเมินผลเปรียบเทียบขอมูลในแตละป ทุกคร้ังที่มีการวางแผน เกิดการพัฒนาคนในหมูบาน กลายเปนตนแบบของการใชประชาธิปไตยระดับพ้ืนที่เพ่ือแกไขปญหาที่เปนปจจัยกําหนดสุขภาพ และนําไปสูการเกิดระบบสุขภาพชุมชน ดูแลกันเองที่ยั่งยืนขึ้นมา                  

Page 103: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 87 

ตําบลชะแล  

สาเหตุ

/สถานการณ

กิจกรรมที่ตอบสนอง

เวลา

2520-2529

2540-2545 2546-2549

2552

กระทรวงสาธารณสุขใช

กลยุทธสสม.

เกิดผสส,อสม

ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

2530- 2539

กลุมแมบานเกษตรกร

กระทรวงมหาดไทย

กองทุนหมูบาน

กลุมหมอดินอาสา

พรบ.สุขภาพพอช.

อบต.

กลุมโนราบิค

-ชมรมผูสูงอายุ-กองทุนฌาปนกิจฯ

นโยบายอบต.

สภาวัฒนธรรม

กองทุนสัจจะ

ธนาคารหมูบาน

อปพร.

อพมก.

อส.สํารอง

มหาดไทย

พมจ.

2550

กองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลฯ

นโยบายอบต.ปชช.ตองการเพ่ิมรายได

ธนาคารขยะเยาวชนวัยใสฯศูนยขอมูลตําบล

2551

สํานักธรรมนูญสุขภาพ

สภาองคกรชุมชน

พรบ.สภาองคกรชุมชน

ดูแลกลุมผูสูงอายุ

ดูแลผูปวยเร้ือรัง

ทองเท่ียว

กรรมการทองเท่ียว

เปดโลกทะเล คร้ังท่ี 1

สมัชชาสุขภาพคร้ังท่ี1

ศูนยพัฒนาคุณธรรม

รสต.ชะแล

นโยบายกท.สาธารณสุข

เกษตร

เสริมรายได

61

เสนทางการพัฒนาแหลงปฏิบตัิการตําบลชะแล

 

แผนภาพที่ 22 ภาพการพัฒนาตําบลชะแล 

1ศูนยขอมูลตําบลที่พัฒนามาจากสกว.

2. EMS 25 ครั้ง/เดือน

3 สงเสริมทองเท่ียว

ทําแผนทองเท่ียว

3 ระบบการสรางสุขภาพ

2.ปญหาเศรษฐกิจ

สกว.

4แผนพัฒนาสุขภาพ

การสรางสุขภาพตามธรรมนูญ

62

ชะแล:ภาพกลไกการขับเคล่ือนระบบสุขภาพชุมชน

 

แผนภาพที่ 23 กลไกการขบัเคลื่อนตําบลชะแล

Page 104: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 88 

การพัฒนาบนพ้ืนฐานของขอมูลที่สะทอนปญหาสุขภาพนําไปสูการคิดที่เปนระบบเปนแผนเปนแนวทาง เม่ือมาผสมกับเปาหมายการพัฒนาซึ่งมี “ธรรมนูญ” เปนเคร่ืองมือที่พ้ืนที่นํามาใช จึงเปนหนทางในการพัฒนาระบบสุขภาพของชุมชน

 

เครื่องมือที่ใชคือ 1) การส่ือสารดวยขอมูล เกิดขึ้นจากการเขารวมกิจกรรมการพัฒนาฐานขอมูลซ่ึงสนับสนุน

โดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ทําใหแกนนํา และผูนําทองถิ่นจัดทําระบบการจัดเก็บ และวิเคราะหขอมูลที่เก่ียวของกับคนในชุมชน ผลการจัดเก็บขอมูลพบวา คนในชะแลเรียกใชรถพยาบาลฉุกเฉินสูงถึง 25 คร้ังตอเดือนทําใหทีมผูบริหารระดับทองถิ่นหันมาทบทวนและตั้งคําถามวาคนในชะแลสุขภาพไมดีจริงหรือไม และจะแกไขอยางไร จึงเปนจุดเร่ิมตนของการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพคนชะแล ควบคูไปกับแผนพัฒนาตําบลอ่ืนๆเชน แผนพัฒนาการทองเท่ียวของตําบล

2) การทําแผนสุขภาพ โดยนายกเทศมนตรีชะแลเปนคนใฝเรียนรู เขาเครือขายตางๆท่ีมีเชนเครือขายพัฒนาลุมนํ้าเกิดการมองประเด็นการทําแผน การเขียนโครงการตางๆ มองเห็นแหลงเงินนอกระบบและภาคีตางๆที่สามารถมาชวยในการพัฒนา เชน มหาวิทยาลัย วิทยาลัยพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏสามารถมาชวยกันพัฒนาสุขภาพคนชะแลได เชนการดูแลคนแก กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยมีโครงการพัฒนาเยาวชน ชะแลก็มีการจัดตั้งสภาเยาวชนขึ้น

3) การพัฒนาธรรมนูญตําบล เกิดในระหวางการทํางานแผนสุขภาพของตําบล มีตัวแทนของสช . ถือรางธรรมนูญสุขภาพแหงชาติมาคุยกับคณะกรรมการแผนสุขภาพจํานวน 31คน คณะกรรมการทําขอตกลงรวมกันเปลี่ยนตัวเองเปน คณะกรรมการสํานักธรรมนูญและแบงงานเปน 4ชุด คือ คณะอนุกรรมการรับฟงความคิดเห็น คณะอนุกรรมการวิชาการ คณะอนุกรรมการส่ือ และคณะอนุกรรมการประเมินผล

การทํางานที่สําคัญ คือ คณะอนุกรรมการสื่อมีการคิดรูปแบบการสื่อสารเพ่ือสรางความตระหนักในการเขารวมกิจกรรมจัดทําธรรมนูญ เชนการใชรถแห การขึ้นปายประชาสัมพันธขนาดใหญ การแตงเพลงปลุกใจ การจัดเวทีเสวนาควบคูไปกับการตรวจสุขภาพ นอกจากนี้มาการประชุมแสดงความเห็นวาไมควรใชคําวิชาการ ควรเปนคําพูดของชาวบาน แลวจึงทําประชาพิจารณ แลวจึงประกาศใช หลังประกาศใช มีการปรับจากอบต. เปนเทศบาล ใชเวลานานถึง 7 เดือนตอมานายกอบต.เสียชีวิต การทํางานชะงัก กิจกรรมที่ทําไดตอเน่ือง คือโครงการสรางสุขภาพมโนราบิก มีการประกวด การถอดบทเรียน เปนโครงการที่ดําเนินตอไดระหวางการขาดผูนําการขับเคลื่อนธรรมนูญไดพยายามใหเกิดขึ้นตอเน่ืองโดยมีการมอบหมายผูรับผิดชอบในแตละหมวดไป เชน วิทยาลัยพยาบาลรับสังเคราะหขอมูลหมวดที่เก่ียวกับผูสูงอายุ ผูปวยเร่ือรัง และภูมิปญญาทองถิ่น และมีการทํากิจกรรมดานการสงเสริมการดูแลสุขภาพของคนในชะแล

ดังนั้นการขับเคลื่อนธรรมนูญทําไดโดยคนในและนอกชุมชน ธรรมนูญทําใหเกิดประเด็นรวมในการพูดคุยโดยใชขอมูลและรวมกันในการทํางานเพ่ือพัฒนาสุขภาพโดยตองมีเทคนิควิธีประสานเครือขาย เชน รพ.สต. กับวิทยาลัยพยาบาล การมีสํานักธรรมนูญ การมีคนประสานและมีเปาหมายทํา

Page 105: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 89 

ใหเกิดการขับเคลื่อน นําธรรมนูญไปใชได สวนหนวยงานในพื้นที่ที่เก่ียวของ เชน รพ.สต. เกิดการเรียนรูวา “รพ.สต.ไมใชเจาภาพในการทําธรรมนูญสุขภาพ แตเปนผูสนับสนุน เปนผูไปแอบดู แอบมอง และ แอบชวย” รพ.สต. ตองเปดเวทีที่หลากหลาย ตองมีแนวคิดในการสื่อสารแบบใหมๆแมเรื่องที่พูดจะเปนเรื่องเกา การทํางานเปลี่ยนจากเดิมที่ทําเพ่ือหนวยงาน มาเปนการทําเพ่ือชุมชนมากขึ้น

นอกจากน้ี ภาพการเชื่อมตอของธรรมนูญกับเปาหมายในการพัฒนาของตําบลใหเปนตําบลทองเที่ยวเกิดขึ้นโดยการทําบันทึกขอตกลงระดับครัวเรือน เพ่ือตรวจสอบกันเองวาการปฏิบัติตนอยูในหมวดไหนของธรรมนูญ ผลลัพธของธรรมนูญที่นอกเหนือไปจากการมีธรรมนูญแลว คือ

1.การมีศูนยพัฒนาคุณภาพ ศูนยขอมูล คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ของตําบล 2.วัฒนธรรมการพูดคุยเปลี่ยนไป ปจจุบันการมีนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลมาทําใหชาวบาน

พูดคุยผานนักศึกษาทําใหเห็นมิติการพัฒนาการเรียนรูของคนในชะแล ประเด็นการพูดคุยเรื่องสุขภาพ เดิมจะเปนเรื่องการไปคลีนิค พบแพทย เร่ืองการดูแลตนเองเปนเรื่องที่ไมเปดเผย แตปจจุบันเม่ือมีธรรมนูญประเด็นการดูแลตนเองโดยปฏิบัติมีการพูดคุยเพ่ิมขึ้น

Page 106: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 90 

2. เครื่องมือสําคัญซึ่งพื้นที่วิจัยใชในการพัฒนาสูการพึ่งตนเองจําแนกเปน 3 มิติของการพัฒนา คือเรื่องคน ส่ิงแวดลอม และการมีสวนรวม สรุปไดดังน้ี 2.1.เคร่ืองมือพัฒนามนุษย

2.1.1การอบรม กิจกรรมการอบรมสวนใหญจัดขึ้นโดยภาครัฐ แตพ้ืนที่จะมีวิธีการคัดเลือกคนใหเขารวมตางกัน พ้ืนที่ม่ีมีความพรอมดานงบประมาณ จะเปดกวางใหผูที่สนใจไดเขารับการอบรมไดอยางกวางขวางเชนในพื้นที่แมหลาย บางน้ําผ้ึง สวนในพื้นที่ที่มีขอจํากัดดานงบประมาณ แกนนําจะมีขอตกลงมอบหมายใหคนบางคนที่มีทักษะการเรียนรูดีและมีจิตอาสาเขาประชุมทุกเร่ืองเพ่ือประโยชนของการเชื่อมโยง การถายทอดใหคนในพื้นที่ไดรับทราบ นอกจากน้ียัมีความคาดหวังวาคนๆน้ีจะสามรถตัดสินใจแทนคนในชุมชนไดเปนอยางดี ซ่ึงภาพนี้มีชัดเจนในพื้นที่ชนบทและมีทุนสังคมในการไวเน้ือเชื่อใจสูง กิจกรรมการอบรมไมคอยปรากฏวาทองถิ่น จะจัดขึ้นเอง สวนใหญจะเปนการไปเขารวม ดังน้ันเง่ือนไขสําคัญที่ทองถิ่น หรือ แกนนําตกลงกันไว คือ ผูเขารับการอบรมตองกลับมาเลาใหที่ประชุมทราบ และ ผูเขาอบรมควรสรุปดวยวาไดเรียนรูอะไรและจะนํากลับมาใชประโยชนอะไรไดบาง

2.1.2 การใหทุน พ้ืนที่ที่มีนโยบายใหทุนคือพ้ืนที่ที่พรอมดานงบประมาณจะมีการใหทุน

เจาหนาที่ของทองถิ่นเอง และใหทุนเจาหนาที่ รพ.สต. หรือ คนในชุมชนไปเรียนตอแลวกลับมาทํางานใหชุมชนทั้งที่เปนหลักสูตรระยะสั้น 3 เดือน 6 เดือน และ หลักสูตรระดับปริญญาตรี ปริญญาโท

2.1.3 การเปนที่ศึกษาดูงานของมหาวิทยาลัย ทุกพ้ืนที่วิจัยมีการตอนรับผูดูงานเปนปกติอยู

แลว แตมีบางพื้นที่เชน ชะแล และบางนํ้าผ้ึงซ่ึงใชภาคีภายนอกเชน มหาวิทยาลัยในการดูงาน ฝกงานนักศึกษา เทคนิคสําคัญของการเปนพ้ืนที่ดูงาน คือ การประสานงานทั้งชะแล และ บางน้ําผ้ึงมีคนทําหนาที่หลักในการประสานงานเพื่อสรางความชัดเจนในเร่ืองหรือประเด็นสุขภาพที่ตองการ มีการแลกเปลี่ยนมุมมองและเปาหมายการพัฒนาของทั้งสองฝาย จนสามารถทําใหการเปนภาคีกลายมาเปนหุนสวนในการทํางานตามเปาหมายระบบสุขภาพชุมชนได ผลที่ตามมาของการมีนักศึกษาฝกงาน คือการสรางบรรยากาศการเรียนรูและการเห็นคุณคาของเยาวชน

2.1.4 การดูงานจากพื้นที่ตนแบบ ทุกพ้ืนที่วิจัยใชการดูงานจากพ้ืนที่ตนแบบมาเปน

เคร่ืองมือหลักในการพัฒนา พ้ืนที่ดูงานมีทั้งที่มากับเครือขายเดิมเชนเครือขาย โครงการSIF เครือขายเทศบาล หรือมาจากการแสวงหาของชุมชนเองในเรื่องหรือประเด็นการพัฒนาที่เปนเปาหมายของตําบล หลักกติกาของการดูงานชัดเจนสอดคลองกัน คือ การไปดูงานตองมีการวางแผน ใคร ไปดูอะไร เห็นอะไร และ จะนําอะไรมาใชตอ ประเด็นการดูงานมีทั้งที่ระบุโครงการเปาหมายลวงหนา และทั้งที่เปนเรื่องใหมที่คนในพ้ืนที่สนใจ ทั้งน้ีขึ้นกับงบประมาณที่มีของแตละพ้ืนที่ ประเด็นที่พบวาทุกพ้ืนที่ใชการดูงานคือ เรื่องการบริหารกองทุนและระบบสวัสดิการ เร่ืองการปรับพฤติกรรมปญหา เชนการลดละเลิกเหลา เปนตน

Page 107: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 91 

2.1.5 การทําโครงการ ทุกพ้ืนที่วิจัยมีการทํางานในรูปแบบโครงการเปนจํานวนมาก

โดยเฉพาะเม่ือตองใชเงินจากกองทุนสุขภาพระดับตําบล เทคนิคการทําโครงการ การเขียนโครงการไดรับการพัฒนาจากเครือขายภายนอก เชน สํานักจัดการระบบสุขภาพ ของภาคใต หรือ วิทยาลัยการจัดการภาคอีสานของกลุมทางอีสาน การพัฒนาการเขียนโครงการทําใหเกิดการคิดเปนระบบ การส่ือสารดวยหลักฐาน ทําใหคนในชุมชนรูสึกเชื่อม่ันที่จะสื่อสารและดําเนินการไดดวยตนเอง นอกจากน้ี ในบางพ้ืนที่มีการแตงตั้นคนในพื้นที่ใหเขามาเปนคณะอนุกรรมการในการกลั่นกรองหรือติดตามโครงการ เกิดการเรียนรูรวมกันในการทํางาน และเรียนรูปญหาของพ้ืนที่เพ่ิมเติม อันเปนการเสริมพลังซ่ึงกันและกันดวย อีกโครงการหนึ่งที่ดําเนินการในพื้นที่วิจัยหนองแหนทําใหเกิดการทํางานที่เปนระบบ มีการจัดเก็บขอมูล การแสวงหาเครือขาย และ การเรียนรูในการสรางสุขภาวะของเคร่ือขาย คือ โครงการตําบลสุขภาวะที่สนับสนุนโดย สสส. ผานมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

2.1.6 การประชุมเรียนรูรวมกัน ทุกพ้ืนที่มีกิจกรรมการประชุมจํานวนมาก แกนนํารับรู

บทบาทการประชุมตามกําหนดนัดที่ไดระบุไวแลวตามปฏิทินชุมชน วัฒนธรรมการประชุม คือ การมาโดยพรอมเพรียง การรับฟงความเห็น และ การนําเสนอมุมมองเต็มไปดวยบรรยากาศการแลกเปลี่ยน และ การใหเกียรติกัน มองเห็นเปาหมายการพูดคุยเชื่อมโยงกับเปาหมายของตําบล นอกจากน้ียังมีระบบการจัดการ หรือ สนับสนุน เชนสถานที่ อุปกรณ เคร่ืองมือ เอกสาร และ อาหารวาง ชุมชนที่เขมแข็งมาก จะมีสถานที่ประชุมเปนสวนสาธาณะ เชน หองประชุมของอบต. ของชุมชนเอง หรือ ของรพ.สต. สําหรับพ้ืนที่ที่ทรัพยากรจํากัด ที่ประชุมจะเปนที่วัด หรือ รพ.สต. และ บรรยากาศแบบนั่งนอน ตามสบายขอเพียงใหมาพบกัน เตรียมอาหารมารับประทานรวมกัน เปนบรรยากาศทางวัฒนธรรมสังคมเอ้ืออาทรใหเห็นได แตเม่ือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นก็ทํากันอยางจริงจัง และมีกฎกติกา เชน ตองฟงเม่ือคนอ่ืนพูด ไมวากันเม่ือมีใครคิดตาง และ รอใหเขาใจตรงกันกอนจึงจะเริ่มทําโครงการ เชนที่หวยสม บางพื้นที่มีกิจกรรมการประชุมมาก บอย เพราะสะดวกในการเดินทางเน่ืองจากเปนตําบลเล็กทําใหการประชุมเกิดขึ้นไดบอยคร้ัง การขับเคลื่อนเปนไปไดเร็วและทั่วถึง

2.2 เคร่ืองมือพัฒนาสิ่งแวดลอม 2.2.1การวิจัย ทุกพ้ืนที่มีประสบการณการวิจัยในการทํางานกับภาคีภายนอกที่แตกตางกันขึ้นกับประเด็นการวิจัย เชน แมหลายเรียนรูการวิจัยกับทีมนักวิชาการแมโจและกระทรวงพลังงาน ในขณะท่ีบางนํ้าผึ้งเรียนรูและทําวิจัยกับสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยเรื่องการทองเที่ยว แมถอดเรียนรูการทําวิจัยกับสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติเร่ืองปาและสมุนไพร เปนตน พ้ืนที่ไดประโยชนจากการวิจัยโดยนําผลการวิจัยไปใชในการตัดสินใจ หรือ จัดทํานโยบายสาธารณะ ดังนั้นมุมมองของพ้ืนที่จึงเปนไปในทางบวกกับการวิจัย และตองการใหภาคีภายนอกเขามาสนับสนุนตอเน่ืองเพ่ือใหคนในชุชนทําวิจัยได ใชวิจัยเปน จนกลายปนวัฒนธรรมชุมชน

Page 108: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 92 

2.2.2การเฝาระวัง กิจกรรมการเฝาระวังที่เกิดในพ้ืนที่วิจัยมีทั้งที่เปนทางการตามระบบระบาดวิทยา เชนการเฝาระวังโรคติดตอที่แมถอด แตประเด็นในการเฝาระวังมีกวางขวางกวา เชน เฝาระวังคนเขาออกในพ้ืนที่ เฝาระวังจํานวนสุนัขที่มีในตลาดนํ้า เฝาระวังคนพิการหรือภาวะความพิการของพื้นที่ ทั้งน้ีขึ้นกับปจจัยกําหนดสุขภาพและเปาหมายการพัฒนาของพื้นที่ตามแผนการพัฒนา กิจกรรมการเฝาระวังและทีมงานสวนใหญของทุกพ้ืนที่จะเปนไปตามธรรมชาติตามกลุมอาชีพ หรือกลุมอนุรักษ เน่ืองจากทุนสังคมที่เอ้ืออาทรตอกัน ประเด็นการเฝาระวังมักเปนในเรื่องภัยพิบัติ และความปลอดภัย เชนเรื่อง ไฟปา การบุกรุกที่ดิน ผลการเฝาระวังจะมีการรายงานในที่การประชุมและการสื่อสารจะยังคงเปนการเลาเร่ือง ยังขาดระบบการบันทึกอยางเปนทางการ มีเพียงพ้ืนที่เดียวที่มีการบันทึกเร่ืองราวเปนลายลักษณอักษรแตก็เปนการบันทึกโดยการเขียนลงสมุดที่หาซ้ือมาจากรานคาในชุมชนเอง 2.2.3 การทดลองเรียนรูในพื้นที่ทดลอง กิจกรรมการทดลองมักปรากฏในพื้นที่ที่นําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทางการพัฒนา และตอมากลายเปนแหลงเรียนรูใหกับคนในชุมชนหรือสังคมทั่วไป เคร่ืองมือการทําเปนพ้ืนที่ทดลองเพ่ือการแกปญหา เชนปญหาปาไผผากของหนองแหนที่ทํารวมกับกรมปาไม ปญหาความเชื่อวาการเผาปาจะทําใหผลิตผลการเกษตรดีที่หวยสม หรือการนํานวัตกรรมใหมมาใชในชุมชนจึงจําเปนตองสรางการยอมรับ เชน การลดละเลิกเหลาในงานบุญที่ไผ การเลี้ยงนกกระจอกเทศแทนการเลี้ยงวัวที่หวยสม การใชเคร่ืองมือการทําพ้ืนที่ทดลองนี้ชวยใหคนในชุมชนเกิดความเชื่อม่ันจากการเรียนรูจากประสบการณตรงของตนเอง เกิดเปนความภาคภูมิใจและสามารถเชื่อมโยงบทเรียนของตนเองสูระบบตางๆในชุมชน รวมทั้งระบบสุขภาพชุมชนได 2.2.4 การทําแผนที่ แผนที่เปนเคร่ืองมือที่ใชเพ่ือการส่ือสาร การรวมพลังทุนทางสังคม เชนแผนที่ทุนสังคมของไผ แผนที่เสนทางการเรียนรูของแมหลาย แผนที่สมุนไพรในปาของแมถอด แผนที่ปาไผผากของหนองแหน แผนที่เปนอุบายใหคนมารวมตัวและแลกเปลี่ยนขอมูลกันไดเปนอยางดีในทุกพ้ืนที่ ตอมาเม่ือมีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรเขามาในระบบกระทรวงสาธารณสุข พบวา แผนที่ไดกลับเขามาในกระบวนความคิดของแกนนําในพื้นที่ อีกคร้ังแตการเขียนแผนที่ยุทธศาสตร เปนการเขียนที่ตองการขอมูลทางสังคม วัฒนธรรม และมนุษย จึงเกิดการรวมตัว ระดมความคิด และตองเกิดขึ้นบนพ้ืนฐานของการมีเปาหมายอัยเดียวกัน ดังน้ันเทคนิคการทําแผนที่ไมเปนเพียงการขีดเขียนแผนท่ี แตเปนการกระตุนความคิด รวมพลัง และ กอตั้งระบบขอมูลเพ่ือนําไปใชในการพัฒนาทั้งสิ่งแวดลอม และคนที่อาศัยในสิ่งแวดลอมน้ันๆดวย 2.3 เคร่ืองมือพัฒนาการมีสวนรวม 2.3.1การจัดทําแผน เปนกิจกรรมที่กระตุนใหคนรวมตัว พูดคุย หารือ นําขอมูลมาใชรวมกัน เพ่ือการกําหนดเปาหมายรวมกัน เชนตัวอยางของการทําแผนชุมชนของหนองกลางดง หรือ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตรของหวยสม แมหลาย ไผ หัวใจสําคัญของการทําแผน คือขอมูล และคน หรือภาคีที่เขารวม ทุกพ้ืนที่วิจัยมีกระบวนการทําแผน แตบางพื้นที่วิจัย เชน ศิลาลอย แมหลาย บางน้ําผ้ึง ที่มีการ

Page 109: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 93 

ใชแผนใหเกิดประโยชนเต็มที่ในการรวมคน ในการเรียนรู อนุมัติโครงการ กํากับ ติดตาม และประเมินผล 2.3.2 การจัดตั้งสภา เปนกิจกรรมที่ทําขึ้นเพ่ือกระตุนการอยูรวมกันแบบมีความรับผิดชอบ รับรูบทบาทของตนเองและสิทธิของผูอ่ืน ดังน้ัน กระบวนการจัดตั้งสภาจึงเปนกระบวนการสรางรากฐานการเรียนรูเรื่องสิทธิ เสรีภาพของปจเจก และกลุมคน หรือสังคม ในการอยูรวมกันอยางมีกติกา มีการรับฟงความคิดเห็นและตัดสนใจรวมกัน ความแตกตางของสภาที่พบคือ องคประกอบของสมาชิกสภา และ กระบวนการในการตัดสินใจเพื่อเปาหมายอยางใดอยางหน่ึง กรณีของตําบลหนองแหน การจัดตั้งสภาองคกรชุมชน ที่มีการเรียนรูจากการดูงานที่อบต.ควนรู ในป 2552 ไดเห็นการทํางานของสภาองคกรชุมชน ประกอบกับกองทุนสวัสดิการ มีการเชื่อมโยงกับสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน(องคการมหาชน) (พอช.) ในระดับจังหวัดซ่ึงมี รพ.สต./อบต.เปนเครือขายการประสานงานอยู จึงไดเปดเวที จดแจงและรับรองกลุมขึ้นในระดับหมูบานและตําบลเพ่ือกอตั้งเปนสภาองคกรชุมชน ในป 2553 ซ่ึงเปนสภาของคนในชุมชนโดยมีการพูดคุยกันอยางนอยปละ 4 คร้ัง ตามพรบ.สภาองคกรชุมชน ในการพูดคุยกันจะมีการแลกเปลี่ยนกันตามประเด็นกลุมที่ตั้งขึ้น เชน ผูสูงอายุนําเสนอกิจกรรมและปญหาอุปสรรคใน การดําเนินงาน กลุมอสม./กลุมอาชีพตางๆ 2.3.3 การทําขอตกลง เปนกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่วิจัยทั้งที่เปนขอตกลงใหมีก กติกาของหมูบาน ตําบลในการทํา หรือไมทําพฤติกรรม หรือ กิจกรรมบางอยาง การทําขอตกลงมีไดทั้งระดับคนในชุมชนกันเอง เชนขอตกลงการใชที่ดินที่บางน้ําผึ้ง การใชนํ้าทําประปาภูเขาที่แมถอด หรือขอตกลงระหวางหนวยงาน กับพ้ืนที่ เชน กองทุนหลักประกันสุขภาพตําบล แมประเด็นขอตกลงจะมีความแตกตาง แตกระบวนการทําขอตกลงมีความคลายคลึงกัน คือ ประกอบดวยการมองหาประเด็นรวม การตั้งเปาหมายรวม และ เขียนขอตกลงและประกาศขอตกลงใหคนในพ้ืนที่และคนที่เก่ียวของไดรับทราบ ตัวอยางประเด็นที่พบในกิจกรรมขอตกลง เชนประเด็นขยะ หรือ สิ่งแวดลอมที่แมหลาย และ บางน้ําผ้ึงที่ทําใหผูนําทองถิ่นของบางน้ําผ้ึงไปติดตอทําขอตกลงในการแกปญหาส่ิงแวดลอมจากภาคเอกชนเพ่ือจัดหาบอกําจัดขยะมาใหกับตําบล นอกจากน้ียังมีการทําขอตกลงในการระดมทุน การจัดทําโครงการ หรือการเปนภาคีในการทํากิจกรรมรวมกันซึ่งเปนขอผูกพันทั้งมิติกิจกรรมและงบประมาณก็เปนได 2.3.4 การทําสมัชชา พ้ืนที่วิจัยสวนใหญที่พูดถึงสมัชชาจะมีการทําสมัชชาเม่ือมีการเผชิญปญหาและไดรับคําแนะนําจากจังหวัดหรือสวนกลางหรือมีโอกาสในการเขารวมสมัชชาระดับจังหวัด หรือระดับชาติ ในการทํากิจกรรมการรวมกลุมเพ่ือจัดทําขอมูล ขอความคิดเห็น พูดคุยหาทางแก และเพ่ือการรวมตัวของคนที่เก่ียวของในการกําหนดเง่ือนไข ขอตกลง และผลักดันใหเปนนโยบายสาธารณะตอไป ประเด็นในการทําสมัชชามักจะเปนประเด็นที่เก่ียวของกับทุนทางสังคม หรือ ปจจัยกําหนดสุขภาพไดแก ประเด็นปา และทรัพยากร ของพ้ืนที่หวยสม แมถอด ชะแล ประเด็น เด็กและเยาวชน ผูสูงอายุ การเขาถึงบริการของระบบ สุขภาพ และสิ่งแวดลอม (ขยะในครัวเรือน ขยะในโรงงาน) จะเปนของพื้นที่หนองแหน แมหลาย และไผ อน่ึง ที่แมหลาย มีการใชสมัชชาในการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตําบล แตคําวาสมัชชาหมายถึงกลุมคนท่ีรวมตัวกันและไดรับการพัฒนาจากจังหวัดแพรใหมี

Page 110: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 94 

ทักษะการสื่อสารประเด็นสุขภาพเพ่ือสรางกระแสในการทํากิจกรรมเพ่ือการสรางสุขภาพใหมากขึ้นและสมัชชากลุมน้ีไมมีการใชกระบวนการสมัชชาของสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงขาติแตอยางใด 2.3.5 การประชาสัมพันธ คือ ชองทางการส่ือสารที่สงถึงคนหมูมากเพ่ือใหเกิดการรวมตัวทํากิจกรรม วิธีที่มักพบเปนประจําคือการใหอสม. บอกคนในพื้นที่การดูแลของตน ตามในโครงการนี้พบวา มีการประชาสัมพันธดวยปายประกาศขนาดใหญราวกับจะมีงานดนตรีของดาราดังๆ แตเปนการเชิญชวน เชนการเขารวมพูดคุยในเวทีแลกเปลี่ยนเพ่ืการจัดทําธรรมนูญของชะแล หรือเพ่ือสรางชองทางใหเกิดการรับรูขาวสารหรือมีสวนรวมในการตัดสินใจในการพัฒนาหรือแกไขปญหาของพ้ืนที่ เชนการประชุมผานเสียงตามสาย 3. เครื่องมือสําคัญ ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพในมิติของการจัดการ ดานการเงิน ดานขอมูล ดานการวางแผน และ ภาคีภายในและภายนอก สามารถสรุปเปนภาพไดดังน้ี

•ปัจจัยด านการเงนิ กองทุนหลักประกนัสุขภาพตําบล

•ปัจจัยด านข อมูล การวจัิยแผนทีท่างเดนิยุทธศาสตรสมัชชาพืน้ที่HIA หรอื CHIA

•ปัจจัยด านคน แผนทีท่างเดนิยุทธศาสตรสมัชชาพืน้ที่

•ปัจจัยด านภาคภีายในและภายนอก การทําข อตกลง MOUการจัดเวท ีและการจัดทําธรรมนูญ

เครือ่งมอืทีใ่ช ในการจัดการปัจจัยแหงความสําเร็จในการขับเคลือ่นระบบสุขภาพชุมชน

เคล่ือนได โดย

แผนภาพที่ 24 เคร่ืองมือที่ใชในการจัดการปจจัยแหงความสําเร็จในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชน

ในภาพรวมทุกพ้ืนที่มีการใชเคร่ืองมือดังน้ี 3.1 กองทุนหลักประกันสุขภาพเปนเครื่องมือ ในการจัดการดานการเงินเพ่ือขับเคลื่อนระบบ

สุขภาพของชุมชน ซ่ึงทุกพ้ืนที่จะมีการพัฒนาความเขมแข็งของชุมชนดวยเคร่ืองมือ หรือเทคนิควิธีที่แตกตางกัน แตเม่ือตําบลมีเปาหมาย สามารถพึ่งตนเองได มีแผนการพัฒนาของตนเอง มีระบบการดูแลกันเอง ระบบกองทุนหรือสวัสดิการที่ม่ันคง กองทุนหลักประกันสุขภาพเปนเคร่ืองมือที่ทุกพ้ืนที่วิจัยใชโดยการปรับเพ่ิมโครงสราง เพ่ือใหเกิดการมีสวนรวม มีการหาเงินสมทบดวยวิธีตางๆ เชน ใชเงินจิต

Page 111: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 95 

อาสา อสม. เดือนละ 10,000 บาทมาสมทบใหกอนในชวงเริ่มตนของกองทุนที่บางน้ําผ้ึง หรือ การใหประชาชนบริจาคเปนรายครอบครัว เพ่ือการไดรับบริการเพ่ิมเติมที่ หนองแหน หรือการใชเงินกองทุนอ่ืนๆตามกติกามาเปนเงินสมทบ เปนตน นอกจากนี้ การบริหารกองทุนยังมีการคิดวิธีสรางความเขาใจและการมีสวนรวมอยางกวางขวางในระดับการรวมตัดสินใจเชนในพื้นที่แมหลาย หนองกลางดง เปนตน ดังนั้นจึงพอสรุปจากขอคิดเห็นของทองที่และทองถิ่นในทุกพ้ืนที่วา กองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช. เปนเคร่ืองมือการขับเคลื่อนที่มีประโยชน และพลังที่ทําใหเกิดระบบสุขภาพของชุมชน โดยชุมชนที่แทจริง อน่ึงแมพ้ืนที่จะมีประสบการณในการบริหารกองทุนชนิดอ่ืนมามากมาย แตยังไมมีพ้ืนที่ใดที่จะคิดนําประสบการณการบริหารกองทุนอ่ืนๆที่เติบโตอยางม่ันคงมาบริหารกองทุนนี้ ทั้งน้ีอาจเปนเพราะการรับรูในกติการการใชเงินกองทุนมีการควบคุมตรวจสอบโดยสํานักงานตรวจเงินแผนดิน จึงทําใหการรับรูเปนกองทุนราชการหรือก่ึงราชการมากกวากองทุนที่ชุมชนตั้งขึ้นเอง

การขับเคล่ือนระบบสุขภาพชุมชน กบั ระบบกองทนุ สปสช.

กองทนุ

SRM

ผูนํา

สภาผูนํา

ผูสูงอายุ

สภาองคกรชุมชน

จิตอาสา

อสม.

สภาตําบล

กรรมการกองทุน

วิสัยทัศน

หวยสม

แมหลาย

แมถอดชะแล

หนองแหน +

+บางน้ําผึ้ง

หนองกลางดง

ธรรมนูญ

สมทบให10,000

ระบบสุขภาพชุมชน

อนุมัติแผนตาม SRM

อนุมัตติามวิสัยทัศน/ ทุนสังคม

ระบบสุขภาพชุมชนการสมทบโดยภาคประชาชน

สังเคราะหผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

สมทบใหเพ่ิม 30 บาท

79

แผนภาพที ่25 การขับเคลือ่นระบบสุขภาพชุมชนกับระบบกองทุน สปสช.

3.2 เครื่องมือในการจัดการดานขอมูลที่สําคัญ คือ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร และ การวิจัย ดังตัวอยางการใชกระบวนการทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรของตําบลหวยสมที่แตกตางไปจากพ้ืนที่อ่ืน เน่ืองจากใชกระบวนการเปนขั้นตอนเริ่มตั้งแตการรวมคนที่มีจิตอาสา การตั้งกติกา การพูดคุยดวยขอมูลที่เปนของเราคือชุมชน และอยูที่ชุมชนจริง จึงทําใหเกิดการพัฒนาจัดเก็บ นําใช และปรับใหทันสมัยเปนที่ยอมรับจนเกิดเปนระบบท่ีนําไปสูการตัดสินใจทําโครงการที่เชื่อมโยงไปสูระบบสุขภาพชุมชนได

Page 112: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 96 

สําหรับบางพ้ืนที่ เชน ชะแล และ บางน้ําผ้ึงมีการใชกระบวนการวิจัยเปนเครื่องมือจัดเก็บขอมูลจําเพาะ เชน ขีดความสามารถของชุมชนในการจัดการทองเท่ียว หรือขอมูลความตองการระบบสาธารณูปโภคของชะแล ทําใหเกิดการตัดสินใจทําแผนพัฒนาสุขภาพตอไป เคร่ืองมืออีกชิ้นหน่ึงที่สนับสนุนระบบการจัดเก็บขอมูล คือ การทําสมัชชาพื้นที่ ซ่ึงเปนการรวมคนมาพูดคุยกันโดยใชขอมูล หรือ หาขอมูลมาพูดกัน ทําใหเกิดการรับรูของตนเอง และสังคมภายนอกวาเปนกลุมที่ยืนยันสิทธิตนเองดวยขอมูล ไมใชการเรียกรองเชิงตอตาน เขน การทําสมัชชาเร่ืองปา เร่ืองเหมืองแร เร่ืองที่ทิ้งขยะในพื้นทีหนองแหน หวยสม แมหลาย แมถอด เปนตน แมวาในปจจุบัน เปาหมายการทําสมัชชาจะเปนไปเพ่ือใหเกิดนโยบายสาธารณะในพื้นที่ ที่สรางมาจากคนในพื้นที่ หรือ ประชาชน แตจากการรวบรวมขอมูลพบวา ผลลัพธที่ไดยังเปนขอตกลง ยังไมถึงขั้นที่ชาวบานจะชี้ขาดวาเปนนโยบายสาธารณะท่ีแทจริง

เคร่ืองมือที่ใชเปนวิธีกระตุนใหเกิดขอมูลและนําขอมูลมาจัดการใหเกิดระบบสุขภาพชุมชนอีกชิ้นหน่ึงคือการทํา Health Impact Assessment หรือ Community Health Impact Assessment ซ่ึงในโครงการวิจัยน้ีพบที่แมถอด ซ่ึงเกิดขึ้นจากการเผชิญปญหาสัมปทานเหมืองแรที่มีผลตอแหลงนํ้าสาธารณะ ดังน้ัน การมีนักวิชาการเขาพ้ืนที่รวบรวมขอมูลเรื่องผลกระทบใหก็ทําใหชุมชนมีขอมูลไวตอสูเพ่ือรักษาสิ่งแวดลอมซ่ึงจะชวยสรางสุขภาพไวได แตมีขอเสนอแนะวา ในกระบวนการจัดทําควรใหประชาชนมีสวนรวมใหมากกวาน้ีจะดีมาก

3.3 อน่ึง เคร่ืองมือที่ใชในการจัดการขอมูลทุกชิ้นมีความสัมพันธกับการจัดการคนรวมดวยเน่ืองจาก การไดมาซ่ึงขอมูลจําเปนตองมีการรวมพลังคนมาปนคนใหขอมูล ตรวจสอบขอมูล แปลผลขอมูลและนําขอมูลมาใชในการวางแผนทํากิจกรรมเพ่ือแกไขปญหา ดังน้ันชุดเคร่ืองมือที่เก่ียวของกับขอมูลจึงเปนชุดเคร่ืองมือในการจัดการคนไปพรอมกันดวยและเครื่องมือชุดที่เก่ียวของกับขอมูลโดยใชกระบวนการวิจัย ยังเปนเคร่ืองมือที่พ้ืนที่อยากใหมีการสนับสนุนใหคนในพื้นที่ทําเปนมากขึ้น จนกลายเปนวัฒนธรรมการวิจัยและการมีสวนรวมซึ่งเชื่อวาจะชวยใหพ้ืนที่มีความเขมแข็งพ่ึงตนเองไดอยางแทจริงตอไป

3.4 เครื่องมือในการจัดการภาคีภายในและภายนอก ที่ใชกันอยู คือ การทําขอตกลง Memorandum of Understanding (MOU) การทําเวทีประชาคม หรือ ประชาพิจารณ ซ่ึงเปนการทํางานเพ่ือใหคนสวนใหญไดรูจักบทบาทและเปาหมายของกันและกันเพ่ือจะไดเกิดการปรับตัวและไปสูการตัดสินใจยอมรับ หรือปรับเปลี่ยนตนเองไปสูเปาหมายรวมได

เคร่ืองมือที่สําคัญในการจัดการภาคีทั้งในและนอกชุมชนอีกชิ้นหน่ึงคือ การจัดทําธรรมนูญ ซ่ึงคร่ึงหน่ึงของพื้นที่วิจัยไดมีการจัดทําธรรมนูญ โดยมีชะแลเปนตนแบบ ตามมาดวยไผ แมถอด และ หนองแหน กระบวนการที่เกิดการยอมรับที่จะจัดทําเกิดขึ้นจากการชักชวน หรือ เสอนแนะจาก สช. สวนกลางในการเปดรับแนวคิด และทดลองจัดทําตามคูมือเชิงกระบวนการที่สนับสนุนใหทั้งแนววิชาการและงบประมาณบางสวน แตละพ้ืนที่ตัดสินใจรับทําบนความตองการที่แตกตาง ชะแลรับเพราะเห็นวสอดคลองกับจุดเนนเรืองแผนสุขภาพที่กําลังดําเนินการอยู ไผยอมรับเพราะเชื่อวาจะชวยในการจัดระบบความสําเร็จ และจัดระบบการอยูรวมกันของคนในพื้นที่ แมถอดรับเพราะเห็นวาเปน

Page 113: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 97 

เคร่ืองมือที่ดีที่จะชวยปรับใหความเกงและทุนทางสังคมที่มีอยูมาชวยสนับสนุนความเขมแข็งของตําบลไปสูเปาหมายรวม คือการมีสุขภาวะที่ดี หนองแหน ยอมรับเพราะ ถือเปนขอตกลงเรื่องสุขภาพในทุกมิติ ที่สมาชิกในตําบลเห็นดวยและยอมรับรวมกัน เน่ืองจากมีกระบวนการทําขอตกลงรวมกัน การประชาพิจารณหลายคร้ัง ผานสภาองคกรชุมชน จนไดขอตกลงและบังคับใชรวมกันในที่สุด อน่ึง จากการสัมภาษณความคิดเห็นผูเก่ียวของในแตละพ้ืนที่ไดขอสังเกตที่สอดคลองกันวา “การจัดทําธรรมนูญเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว” ดวยแนวทาง เทคนิค การมีคณะกรรมการ และการเปดเวท่ีใหคนมามีสวนรวม แสดงความคิดเห็นและจัดทําเปนรางตามหมวดตางๆที่ ระบุ ในพระราชบัญญัติสุขภาพและธรรมนูญสุขภาพ จึงพบวาเน้ือหาในธรรมนูญของพื้นที่ที่จัดทําแรกๆ มีความคลายคลึงกับชองชาติ แตในพ้ืนที่ที่ทําภายหลังมีการปรับทั้งภาษาและเนื้อหาใหงาย และสอดคลองกับพ้ืนที่มากขึ้น ขอคิดเห็นของทุกพ้ืนที่พบวา “ จุดออนของการจัดทําธรรมนูญจนประกาศใชเปนการทํางานที่เรงรีบเกินไป ประชาชนสวนใหญยังไมเขาใจชัดเจน และซาบซึ้งถึงการมีธรรมนูญ” โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการจัดทําในรูปแบบของตัวแทน คือ อสม. และผูนําชุมชน เชนที่แมถอด ทุกพ้ืนที่มีความเห็นตรงกันวา การสนับสนุนจาก สํานักงานระบบสุขภาพแหงชาติ ควรมีตอเน่ืองอีกระยะ ทั้งในเรื่องการประชาสัมพันธ การสรางความเขาใจ การจัดเวท่ีเรียนรูรวมกันอยางทั่วถึง และการจัดสมัชชาเพ่ือทบทวนธรรมนูญ เพ่ือใหเกิดความเขาใจใหทั่วถึงมากขึ้น อีกระยะหนึ่งประมาณ 1-2 ป ขึ้นกับการเปดรับและการเรียนรูของคนในพื้นที่

ในภาพรวมจะเห็นวา ระบบสุขภาพชุมชนที่พัฒนาโดยชุมชน อันหมายถึงผูนําทองถิ่น ทองที่ ไดแก กํานันผูใหญบาน แกนนํา และ องคกรชุมชนที่มีจิตอาสา จะมีการดําเนินการจากจุดเร่ิมตน คือ การแกปญหาความยากจน การขาดแคลน ปญหาสังคม สิ่งเสพติด เหลา ตลอดจนปญหาสิ่งแวดลอมที่เปนพิษ ไมวาจะเปนจาก ขยะ สารเคมี ซ่ึงถือวาเปนภูมิสังคมเชิงประจักษที่ทําใหคนในชุมชนตองการเห็นการเปลี่ยนแปลง

รูปแบบการสรางระบบสุขภาพจากจุดเร่ิมตนที่เนนปญหาสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ ความยากจน หรือความไมม่ันคงปลอดภัยในอาชีพ นําไปสูการสรางกติกา สรางขอมูลเพ่ือมาใชในการตัดสินใจรวมกัน จนกลายเปนกติกาของตําบล กลายเปนระบบการดูแล เฝาระวังปญหาที่ทําขึ้นโดยคนในตําบลเอง และ กลายเปนนโยบายสาธารณะของคนในตําบลโดยผูบริหารทองถิ่นเปนผูผลักดัน

รูปแบบการสรางสุขภาพในชุมชนที่เนนการดูแล รักษา ผูดอยโอกาสในตําบล ไมวาจะเปนผูปวยโรคเรื้อรัง ผูสูงอายุ ผูพิการ เด็ก สตรี ก็มีการดําเนินการเพ่ือเนนการเขาถึงบริการ ทั้งในรูปการจัดหา บริการ และ การสงตอ หรือ การทํากิจกรรมเพ่ือใหเกิดศักด์ิศรีความเปนมนุษยที่มีความเทาเทียม เสมอภาค ความชัดเจนของการพัฒนาระบบสุขภาพโดยผูบริหารทองถิ่น ทองที่ และจิตอาสาของตําบล คือการทํางานเพื่อจัดการ “ปจจัยกําหนดสุขภาพ” ทางดานกายภาพ และ สังคม ที่ทองที่ และทองถิ่นเผชิญอยู อันเปนการเติมเต็มระบบสุขภาพของเจาหนาที่ทางดานสาธารณสุข และ หนวยงานที่เก่ียว เปนการทํางานตามกรอบแนวคิดการสรางสุขภาพตามประกาศออตตาวา จารการตารและกรุงเทพ

Page 114: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 98 

บทที่ 5 

การบริหารจัดการภาคีภายนอก

กลไกการจัดการระบบสุขภาพโดยชุมชน ที่เกี่ยวของกับ ภาคีภายนอกชุมชน 

จากขั้นตอนการสรุปประชามติของแตละพื้นที่และการวิเคราะหภาพรวมรวมกันในวันที่ 6 กุมภาพันธ 2555 สามารถสรุปรูปแบบการทํางาน และการมีสวนรวมกับภาคีภายนอกของแตละชุมชนไดดังตารางตอไปนี้

ตารางที่ 16 การทํางานรวมกับภาคีของแตละพื้นที่ทดลอง

ชุมชน ชื่อภาคี สปสช. สช. สสส. สกว. สาธารณสุข อื่นๆ

ตําบลบางน้าํผึ้ง กองทุนหลักประกนัสุขภาพ - - Carrying Capacity

รพ.สต. อสม. ผูสูงอายุ

มหาวิทยาลัยตางๆ พม. กระทรวงเกษตร กระทรวงทองเที่ยวและกีฬา ปตท. บางจาก ฯลฯ

ตําบลหนองแหน กองทุนหลักประกนัสุขภาพ สมัชชาสุขภาพ ธรรมนูญสุขภาพ

สสส. ทํางานรวมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร โครงการตําบลสุขภาวะแปดริ้วเมืองนาอยู

รพ.สต. อสม. ผูสูงอายุ

-พอช. และ สถาบันพระปกเกลา โครงการสงเสริมและพัฒนาสภาประชาธิปไตยของชุมชน - สํานักงานสิ่งแวดลอมจังหวัดโครงการอนุรักษทรัพยากรปาชุมชนและสรางแหลงเรียนรู

Page 115: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 99 

ชุมชน ชื่อภาคี สปสช. สช. สสส. สกว. สาธารณสุข อื่นๆ

ตําบลไผ กองทุนหลักประกนัสุขภาพ สมัชชาสุขภาพ ธรรมนูญสุขภาพ

พัฒนาศักยภาพทมีสรางเสริมสุขภาพตําบล โครงการชุมชนลดอบายมุข เสริมสรางสุขภาวะแบบบูรณาการ

มีโครงการ สวรส. สจส.

พม. โครงการ SIF

ตําบลหวยสม กองทุนหลักประกนัสุขภาพตําบลหวยสมโครงการสงเสริมสุขภาพชองปากเด็กปฐมวัย โดยการมีสวนรวมของภาคีเครือขายระดับตําบล เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่10 และ 11

โครงการพัฒนากระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพแบบมีสวนรวม จังหวัดเลย

- - รพ.สต. อสม. ผูสูงอายุ

ปศุสัตว รพ.สต. ศูนยอนามัยที่5 ขอนแกน รพ.ภูกระดึง พัฒนาชุมชนอําเภอ

ตําบลแมหลาย กองทุนหลักประกนัสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพ/เพิ่มขีดความสามารถของ รพ.สต. (สถานีอนามัย)

ธรรมนูญสุขภาพ โครงการตําบลสุขภาวะ - รพ.สต. อสม. ผูสูงอายุ

กระทรวงพลังงาน เกษตร พม. รพ. แพร ราชภัฏอุตรดิตถ ม.แมโจ, ธ.ก.ส., DTAC รานคาทองถิ่น หอการคาแพร

ตําบลแมถอด กองทุนหลักประกนัสุขภาพ

วิจัยชุมชน ธรรมนูญสุขภาพ

- - SRRT รพ.สต. อสม. ผูสูงอายุ

พม. ปาไมอําเภอ มหาดไทย(นายอําเภอ) ราชภัฏลําปาง

Page 116: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 100 

ชุมชน ชื่อภาคี สปสช. สช. สสส. สกว. สาธารณสุข อื่นๆ

หนองกลางดง ตําบลศิลาลอย

กองทุนหลักประกนัสุขภาพ

- โครงการชุมชนเขมแข็งดานการบําบัดยาเสพติดรวมกับ กระทรวงสาธารณสุข,สสส. ,สถานฑูตสหรัฐอเมริกาโครงการสรางเสริมสุขภาวะโดยเครือขายผูนําชุมชน ตําบล ทองถิ่น

- รพ.สต. อสม. ผูสูงอายุ

หนวยงานราชการสวนตางๆ เชน เกษตร ปศุสัตว พัฒนาชุมชน พอช. ธนาคารออมสิน โดยการกูเงินมาจากธนาคารโลก โครงการ SIF

ตําบลชะแล กองทุนหลักประกนัสุขภาพ

ธรรมนูญสุขภาพ สมัชชาสุขภาพ โครงการประกวดทารํามโนราห

พัฒนากลุมผูปวยความดัน

พัฒนาฐานขอมูลครัวเรือนเพื่อใชในการตัดสินใจ

รพ.สต. อสม. ผูสูงอายุ สวรส.

สคร. ปตท. พมจ. สถาบัน การศึกษา

 

Page 117: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 101 

ตารางที่ 17 รูปแบบการทํางาน และการมีสวนรวมกับภาคีภายนอกของตําบลบางน้ําผึ้ง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

ชื่อภาคี

ชื่อโครงการ วิธีการรวมงาน กับภาคี

(ตัวอยางเชน ภาคีเขามาหาชุมชน ชุมชนออกไปหาภาคี หรือ

วิธีการอื่นๆ)

เครื่องมือที่ใช (ตัวอยางเชน การใชกระบวนการวิจยั)

เงื่อนไข / ขอตกลงรวมกนั/ การสนับสนุน

(งบประมาณ อุปกรณหรืออื่นๆ)

ผลลัพธ การทํางาน

ระดับ ความพึงพอใจ

ขอเสนอ ตอภาคี

สปสช. กองทุนหลักประกันสุขภาพ ตําบลบางน้ําผึ้ง

ภาคีเขามาหาชุมชน แลวมาดูขอตกลงกันเรื่องการสมทบ เปนรุนนํารอง

การมีสวนรวมของชุมชนในการเขียนแผนสุขภาพชุมชนตําบลบางน้ําผึ้ง

งบประมาณตามแผนงานที่ตําบลเขียนไว

งบประมาณลงถึงชุมชนจริงๆ แกไขปญหาตรงกับปญหาของพื้นที่จริง ทําการปองกัน สงเสริมสุขภาพไดจริง

มาก -อยากใหเงินสมทบมาตรงกับปงบประมาณการใชงบไดตอเนือ่ง -อยากใหลดระเบียบในการจัดซื้อจัดจางเพราะทําใหไมเกิดความลาชา

สสส. โครงการตําบลสุขภาวะ

ไมมีการทําสัญญา - - - นอย - การทํางานอยางมองขามทองถิ่น - การทําโครงการทองถิน่ตองทํา

เองได สามารถตอยอดได ไมใชอิงแตงบประมาณ ไมใชทําเสรจ็ แตไมสําเร็จ

- สุดทายตองใหเกิดแผนพัฒนาชุมชน

- ไมเอาเงินมาเปนตัวตั้งแตเอางานมาเปนตัวตั้ง

- การหาเครือขายไมใชใหชุมชนตนแบบไปหาเครอืขายเอง แตใหชุมชนอืน่มาศกึษาเพื่อการแลกเปลี่ยนเรยีนรู รวมกัน และ

Page 118: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 102 

ชื่อภาคี

ชื่อโครงการ วิธีการรวมงาน กับภาคี

(ตัวอยางเชน ภาคีเขามาหาชุมชน ชุมชนออกไปหาภาคี หรือ

วิธีการอื่นๆ)

เครื่องมือที่ใช (ตัวอยางเชน การใชกระบวนการวิจยั)

เงื่อนไข / ขอตกลงรวมกนั/ การสนับสนุน

(งบประมาณ อุปกรณหรืออื่นๆ)

ผลลัพธ การทํางาน

ระดับ ความพึงพอใจ

ขอเสนอ ตอภาคี

นํากลับไปพัฒนาตอยอดเอง - สสส.มีสํานักงานยอยมากเกินไป

ควรรวมเปนหนึ่งเดียว และติดตอชุมชนโดยตรง ไมตองผานหนวยงานยอย จะไดไมซ้ําซอน ใชงบเขียนโครงการหลายทอด

- เงินกับงานมาไมตรงกันตามความตองการของพื้นที่

- การประสานงานกับพื้นที่ตองไมตีกรอบ ตองเขาใจและตรงกนั ไมตองไปคิดแทน เปดใจการ

- ทํางานไมอ้ําอึ้ง

Page 119: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 103 

ตารางที่ 18 รูปแบบการทํางาน และการมีสวนรวมกับภาคีภายนอกของตําบลหนองแหน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

ชื่อภาคี

ชื่อโครงการ วิธีการรวมงาน กับภาคี

(ตัวอยางเชน ภาคีเขามาหาชุมชน ชุมชนออกไปหาภาคี

หรือวิธีการอื่นๆ)

เครื่องมือที่ใช (ตัวอยางเชน การใชกระบวนการวิจยั)

เงื่อนไข / ขอตกลงรวมกนั/ การสนับสนุน

(งบประมาณ อุปกรณหรืออื่นๆ)

ผลลัพธ การทํางาน

ระดับ ความพึงพอใจ

ขอเสนอ ตอภาคี

สปสช. กองทุนหลักประกันสุขภาพ

ภาคีเขามาใหงบ 40 / คน ชาวบาน 30 / คน อบต. 80 / คน

การรวมคิด รวมทุน รวมคน

ตองมีคณะกรรมการ อบต.จะตองลงทนุ

แผนสุขภาพชุมชน เต็ม 3 ได พอใช 2 ที่ไมเต็ม 3 เพราะ งบไมเพียงพอ

-ยังไมทั่วถึง -เพิ่มงบเปน 60 บาท/ คน

พอช และ สถาบันพระปกเกลา

การสงเสริมและพัฒนาสภาประชาธิปไตยองชุมชน

ภาคีเขามาใหแนวคิด การพูดคุย การประชุมแตละหมูบาน การรับฟงความเห็น

งบประมาณรวมกับอบต. เพิ่งเริ่มงานแตคาดวาจะไดประเด็นสาธารณะของแตละตําบล

ระดับ 2 มีแนวโนมที่ดีขึ้น

อยากใหนําไปสูการพัฒนาที่เปนจริง

สสส. ทํางานรวมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

ตําบลสุขภาวะแปดริ้วเมอืงนาอยู

ภาคีทํางานผานจงัหวัดและรพ.สต.

การประชุม ไมชัดเจนเนื่องจากมาจากจังหวัด แตมีการไปประชุมในที่ตางๆและมีการชวนคนมาเพิ่ม

ทําแผน ทําหนังสือพิมพ

กระบวนการทํางานอยูระดับ 2

-

สช. สมัชชาสุขภาพ ภาคีมาหาจากประสบการณหนองแหนนาอยู

การประชุม และขอมูล ใหจัดประชุม รางสมัชชา ประชาพิจารณ ไมมีงบประมาณ

ธรรมนูญสุขภาพ ระดับ 2 พอใจในขอเขียน แตขอปฏิบัติตองติดตามตอไป

หัวขอกวางเกินไป สุขภาพมีน้ําหนักประมาณ70%สิ่งแวดลอมอยูที3่0%

สํานักงาน

สิ่งแวดลอมจังหวัด

อนุรักษทรัพยากร

ปาชุมชนและสราง

แหลงเรียนรู

รวมมือกันระหวาง

คณะกรรมการ อบต.

เจาหนาที่ปาไมสิ่งแวดลอม

ประชุมสมาชิกสอบถาม

ความตองการ

สรางกติกาการรวมมือกัน

พรอมกับสนับสนนุ

งบประมาณ

ความพึงพอใจของ

ชาวบาน/ ชุมชน

ระดับ 3 ทุนตอยอดในการ

บริหารจัดการใหเกิด

ความยั่งยนื

Page 120: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 104 

ตารางที่ 19 รูปแบบการทํางาน และการมีสวนรวมกับภาคีภายนอกตําบลไผ อําเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร

ชื่อภาคี

ชื่อโครงการ วิธีการรวมงาน กับภาคี

(ตัวอยางเชน ภาคีเขามาหาชุมชน ชุมชนออกไปหาภาคี

หรือวิธีการอื่นๆ)

เครื่องมือที่ใช (ตัวอยางเชน การใชกระบวนการวิจยั)

เงื่อนไข / ขอตกลงรวมกนั/ การสนับสนุน

(งบประมาณ อุปกรณหรืออื่นๆ)

ผลลัพธ การทํางาน

ระดับ ความพึงพอใจ

ขอเสนอ ตอภาคี

สสส. สํานัก 6 พัฒนาศักยภาพทีมสรางเสริมสุขภาพตําบล

คัดเลือกคณะทํางานเขารวมฝกอบรมการวิเคราะหปญหาและการพัฒนาโครงการตอสสส.

ฝกอบรม งบประมาณสนบัสนุน ใหมีการบูรณาการโครงการกับแผนพัฒนาอบต.

คณะทํางานมีความรูและสามารถวิเคราะหปญหา เขียนโครงการตนแบบ ลด ละ เลิก สุราได

พอใจระดับปานกลาง 1.การมาสนับสนนุในพื้นที่ขาดการบูรณาการกันเองระหวางภาคีจากทุกทบวงกรม เกิดความซ้ําซอน กอใหเกิดความเบื่อหนายของคณะทํางานและพื้นที่ 2. ภาคีที่มาควรรูขอมูลวา มีหนวยงาน หรือ ภาคีใดมาดําเนินการในพื้นที่แลว และมผีลลัพธเชิงคุณภาพและปริมาณเปนอยางไร ผลการตอบรับจากชุมชนเปนอยางไร 3. กอนมาดําเนินการตองรูขอมูลพื้นฐานที่แทจริงละกิจกรรมที่

Page 121: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 105 

จะลงไปทําตองมาจากแผนชมุชนหรือความตองการของชุมชนในขณะนั้น 4. การจะรับ หรอื ไมรับโครงการใด ควรมาจากประชาคม หรือคณะกรรมการขับเคลื่อนระดับพื้นที่ ไมควรใหเปนการตัดสินใจของผูนําและแกนนําบางสวน เพราะบางพื้นที่ผูนําดึงโครงการมาเพื่อผลประโยชนของฐานเสียงดานการเมืองโดยไมคํานึงถึงความพรอมดานพื้นที ่5. โครงการ ระยะเวลาดําเนินการ รูปแบบการดําเนินการ ควรเปนไปตามความตองการของพื้นที่ ขอจํากัดที่ชุมชนไมตอบรับจะมีผลใหผลลัพธการ

Page 122: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 106 

ดําเนินงานไมเปนไปตามเปาหมายที่แทจริง 6. การติดตามประเมินผลของบางภาคีทําไดดีมาก ทําใหโครงการมีผลถึงชุมชนและมีความยั่งยืนที่แทจริง 7.ควรมีพี่เลี้ยงคอยใหคําแนะนําอยางใกลชิดโดยตลอด

ตารางที่ 20 รูปแบบการทํางาน และการมีสวนรวมกับภาคีภายนอก ตําบลหวยสม อําเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ชื่อภาคี ชื่อโครงการ วิธีรวมงานกับภาคี

(ตัวอยางเชน ภาคีเขามาหาชุมชน

ชุมชนออกไปหาภาคี หรือวิธีการอื่นๆ)

เครื่องมือที่ใช (ตัวอยางเชน การใชกระบวนการวิจยั)

เงื่อนไข/ขอตกลงรวมกัน/การสนับสนุน

(งบประมาณ อุปกรณหรอือื่นๆ)

ผลลัพธการทํางาน ระดับความพึงพอใจ

ขอเสนอตอภาคี

สปสช. โครงการสงเสริมสุขภาพชองปากเด็กปฐมวัย โดยการมีสวนรวมของภาคเีครือขายระดับตําบล เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่10 และ 11

คนสาธารณสุขนาํเขามาในชุมชน

แผนที่ทางเดิน

ยุทธศาสตร 

SRM

แนวคิดและเครื่องมือในการทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร

ไดทีมงานในการทํางานในชุมชนทีเ่รยีกวา คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพตําบลหวยสมไดขอมูล

- มาก ใหแตละชุมชนคนหาปญหาและแกปญหาเอง

Page 123: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 107 

สปสช. กองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลหวยสม

ภาคีเขามาหาชุมชน ประชุมทําขอตกลงรวมกัน ชุมชนมสีวนรวมในการทํากิจกรรม

ทองถิน่ตองอุดหนุนเงินใหกอน แลวสปสช.จะโอนเงินมาสมทบ

จัดทําฐานขอมูลชุมชน งานศพปลอดเหลา สงเสริมการใชเกลือไอโอดีน อบรมแกนนําสรางเสริมสุขภาพและการออกกําลังกาย พลังชุมชน พลังคนสูงวัยใสใจสุขภาพ

- ทําใหทราบขอมูลทุกดานของชุมชน - ทําใหลดรายจายในการจัดงาน - ใหเกียรติแกผูตาย - ไมมีการทะเลาะวิวาทภายในงาน

ชุมชนมีความแตกตาง ชุมชนคิดเอง แกปญหาเอง โดยสปสช. สนับสนุนงบประมาณอยางตอเนื่อง

สช. โครงการพัฒนากระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพแบบมีสวนรวม จังหวัดเลย

ภาคีเขามาหาชุมชน อบรมจัดเวทีประชาคม โครงการตอเนือ่ง 3 ป

ไดขอเสนอเชิงนโยบาย ปานกลาง ไมควรเรงทํากิจกรรม ควรรอใหประชาชนพรอม เขาใจใหมากที่สุดเพื่อการนําไปใชและยั่งยืน

ตารางที่ 21 รูปแบบการทํางาน และการมีสวนรวมกับภาคีภายนอกเทศบาลตําบลแมหลาย อําเภอเมือง จังหวัดแพร

ชื่อภาคี ชื่อโครงการ วิธีรวมงาน เครื่องมือ เงื่อนไข ผลลัพธ ความพึงพอใจ ขอเสนอแนะ สสส. (สํานัก 3)

โครงการตําบลสุขภาวะ

เขารวมทํางานโดยชักชวนจากเครือขาย

กระบวนการวิจยัโดยนํากลุมเขาศึกษา เรียนรู แลวถอดบทเรยีนของตัวเอง

โดยการใหสรางภาคีเพิ่มแลวใหงบอุดหนุน

กําลังนําไปปรับใชโดยการทําแผน พึงพอใจในระดับหนึ่ง เพราะการทํางานยังไมจบกระบวนการ

การขับเคลื่อนโครงการฯ เชน การจัดสรรงบประมาณใหตรงกับปฏิทินของชุมชน ซึ่งจะทําใหสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธภิาพ มากขึ้น

สสส. (สํานัก 6)

การวิจัยพลังงานชุมชน

เสนอโครงการเพื่อขอรับงบสนับสนนุ

กระบวนการวิจยั งบประมาณ ศูนยการเรยีนรูดานพลังงานและสิ่งแวดลอม

มาก การแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางเครือขายมากขึ้น

Page 124: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 108 

สช. ธรรมนูญสุขภาพ เขารวมโดยการชักชวนของเครือขาย

กระบวนการวิจยั -งบประมาณ -รวมอบรมและศึกษาดูงาน

เกิดการเรียนรูในกระบวนการทํางาน

มาก ผูเขาแลกเปลี่ยนเรียนรูนอยกระบวนการทํางานอาจปรับตามศักยภาพของพื้นที่

สปสช. กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ

-มีกรอบกําหนดสัดสวนงบฯที่ชัดเจน สามารถเขาถึงประชาชนไดมากขึ้น

-ประชาชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการอยางเต็มรูปแบบ

โครงการตางๆที่ภาคประชาชนมาเสนอเพื่อขออนุมตัิ

คณะกรรมการกองทุนพิจารณางบประมาณตามที่โครงการมานําเสนอ

ทําใหประชาชนเขาใจการจัดการสุขภาพดวยตนเองงายขึ้น

มาก อยากให สปสช. เปดโอกาสใหประชาชนเขามาบริหารงบฯโดยประชาชนเอง

สป.สช./ก.สช. การพัฒนาศักยภาพ/เพิ่มขีดความสามารถของ รพ.สต. (สถานีอนามัย)

กําหนดงานใหทําในรูปแบบนโยบาย โดยขยายที่ความสามารถในการรักษา ให สอ.

การกระจาย/ถายเทบุคลากรลงสู สอ. และการนําบุคลากรไปรับการพัฒนาขีดความสามารถ เชน การกระจายพยาบาลวิชาชีพลงสู สอ.

-การพัฒนาศักยภาพบุคลากร -การใชเงื่อนไขของงบฯดานการจัดสรร,การบริหารจัดการ

-ทําใหประชาชนขาดการพึ่งตนเองดานสุขภาพ -ปจจัยทีเ่ปนตัวกําหนดสุขภาพถูกละเลยและไมไดแกไขใหตรงประเด็น -ขาดแคลนบุคลากร -กระทบกระเทือนขวัญ กําลังใจ ของบุคลากร - เกิดการทํางานในลักษณะไฟไหมฟางและเนนกิจกรรมมากเกินไป จนไมเห็นผลลัพธและผลกระทบเชิงสุขภาพ

นอยที่สุด -เนนรูปแบบการบริหารจัดการสุขภาพภาคประชาชน โดยอาศัยปญหาเปนฐาน (Problem Based)โดยเนนที่ปจจยักําหนดสุขภาพ แลวจัดสรรงบประมาณลงไปสูการจัดการแลวใหอิสระในการจัดการเนนที่ผลลัพธ -ปรับรูปแบบบริการที่ขยายขีดความสามารถของคนมากกวาไปพัฒนาที่ความเปนเลิศเฉพาะจุด -เนนที่การปองกัน สงเสริม มากกวาการตอบสนองตอการแกไข

Page 125: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 109 

ตารางที่ 22 รูปแบบการทํางานและการมีสวนรวมกับภาคีภายนอก ตําบลแมถอด อําเภอเถิน จังหวัดลําปาง ชื่อภาคี ชื่อ

โครงการ วิธีการรวมงาน

กับภาคี(ตัวอยางเชน ภาคีเขามาหาชุมชน ชุมชนออกไปหาภาคี

หรือวิธีการอื่นๆ)

เครื่องมือที่ใช (ตัวอยางเชนการใชกระบวนการวจิยั)

เงื่อนไข/ขอตกลง

รวมกัน/การสนับสนุน

(งบประมาณอุปกรณหรอื

อื่นๆ)

ผลลัพธการทํางาน ระดับความพอใจ ขอเสนอตอภาคี

สช. วิจัยชุมชน -ภาคีเขามา,ติดตอชุมชนเพื่อขอความเห็นความตองการของชุมชน/ความเปนไปได -ออกไปหาภาค ี

-การอบรมและการออกชุมชน -ผลดี/เสียของการมีสวนรวม

อสม.สามารถเขียนงานวิจยั ขอสรุปเพื่อนําเสนอและของบประมาณ

-อสม.สามารถเขาใจกระบวนการวิจยัอยางงาย -ไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวน/เห็นความสําคัญของชุมชน

ทุกคนพอใจเห็นสุขภาพของคนในชุมชน

-ระยะเวลาไมตอกับงบประมาณที่ให -อยากใหดูตารางการทํางานของคนในตําบลดวย - มีการใชกรอบเวลาบีบบังคับผลการทํางานของชาวบาน ทําใหชาวบานทํางานลําบาก - จึงเสนอวา เรือ่งระยะเวลาโครงการควรยืดระยะใหยาว เพราะบางโครงการอาจตองใชระยะเวลา - การลงพื้นที่ทําโครงการควรอนุมัติใหตรงกับปฏิทินชุมชน สอดคลองบริบทของชุมชน - ขาดคนมาประเมิน เมือ่โครงการเสร็จไมมใีครมาดู โครงการเลยไมตอเนื่อง

อบต.แมถอด

SRRT -กลุมทํางานเรื่องสุขภาพเดิมมีอยูแลว

-การอบรมฟนฟูและซอมเหตุการณสมมติ -มีทุนมนุษยทีใ่หความ

-เครือขายสามารถควบคุมโรคได,แจงเหตุ

-สามารถแจงเหตุละควบคุมโรคได

ดี ตองมีการประชาสัมพันธอยางตอเนื่อง

Page 126: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 110 

ชื่อภาคี ชื่อโครงการ

วิธีการรวมงานกับภาคี

(ตัวอยางเชน ภาคีเขามาหาชุมชน ชุมชนออกไปหาภาคี

หรือวิธีการอื่นๆ)

เครื่องมือที่ใช (ตัวอยางเชนการใชกระบวนการวจิยั)

เงื่อนไข/ขอตกลง

รวมกัน/การสนับสนุน

(งบประมาณอุปกรณหรอื

อื่นๆ)

ผลลัพธการทํางาน ระดับความพอใจ ขอเสนอตอภาคี

-มีทีมคอยควบคมุโรคฉุกเฉินในตําบล

รวมมือ ได -เมื่อชุมชนอยูดีมีสุขตําบลก็ไดรับการอนุมัติงบ

สปสช. ธรรมนูญสุขภาพ

-แตงตั้งคณะกรรมการการที่เปนSRRTเปนคณะทํางาน -ผูนําออกไปหาชุมชน

เวทีชุมชนในหมูบานแสดงความคิดเห็น

เกิดขอตกลงระเบยีบรวมกันโดยการมีสวนรวม

เกิดขอตกลงเปนรูปธรรมและบังคับใช

ทุกคนพอใจมาก ระยะเวลาทีท่ําควรคํานึงถึงปฏิทนิชุมชนดวย

Page 127: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 111 

ตารางที่ 23 รูปแบบการทํางาน และการมีสวนรวมกับภาคีภายนอกบานหนองกลางดง ตําบลศลิาลอย อําเภอสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ

ชื่อภาคี ชื่อโครงการ วิธีการรวมงานกับภาคี เครื่องมือที่ใช เงื่อนไข /ขอตกลงรวมกัน/การสนับสนุน

ผลลัพธการทํางาน ระดับความพึงพอใจ ขอเสนอตอภาคี

กระทรวงสาธารณสุข,สสส. ,สถานฑูตสหรัฐอเมริกา

โครงการชุมชนเขมแข็งดานการบําบัดยาเสพติด

-ภาคีใหการสนับสนุนทางดานทุนการวิจัย และดานขอมูลความรู -มีการอบรมเด็กที่ผานการบําบัดยาเสพติด เปนเวลา 5 วันกอนเขามาอยูในชุมชน -มีการอบรมครอบครัวอุปถัมภเด็กเหลานี้ เปนเวลา 3 วัน

-การอบรมทั้งเด็กและครอบครัว -การฟนฟูดานการอยูรวมกับผูอืน่ -การฝกอาชีพ -กระบวนการวิจยัดานชุมชนเขมแข็งบําบัดยาเสพติด

-ใหเด็กที่มาเขารบัการฟนฟูสามารถอยูรวมกับคนอื่นในสังคมได -ทุกอาทิตยจะมีการมาประชุมรวมกัน เพื่อใหทราบถึงปญหา -ภาคีจะเขามาติดตามผลการบําบัด เปนระยะเวลา 3 ปซอน

-คนที่เขารับการดูแลบําบัดสามารถใชชีวิตในสังคมได และสามารถประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงตัวเองได -เด็กที่เขารับการฝกอบรมมีความผูกพันกับชุมชน และครอบครัวอุปถมัภ เมื่อออกจากชุมชนไปแลว ยังกลับมาเยีย่มครอบครัวอยางสม่ําเสมอ

- เด็กที่เขารับการบําบัดกวา 80%สามารถเลิกยาเสพติดไดอยางถาวร และเปนชุมชนที่รบัเด็กเขามาบําบัดแลวไดผลดีมากที่สุดในประเทศ

-

ธนาคารออมสิน โดยการกูเงินมาจากธนาคารโลก

โครงการ SIF -ใหการสนับสนุนดานทุนเพื่อไปดูงานยังชุมชนตางๆ

-การศึกษาดูงานไปยังชุมชนตัวอยางเพื่อใหเกิดการเรียนรูและนํามาพัฒนาชุมชน

-การไปดูงานเพื่อนํามาพัฒนาชุมชน

-เกิดกระบวนการพัฒนาความคิดของผูนําชุมชนและคนในชุมชน

-มีความพึงพอใจเพราะสามารถสรางศูนยการเรียนรูทีเ่กิดจากชุมชน และมีการพัฒนาสื่อ และที่พัก

-

สสส. โครงการสรางเสริมสุขภาวะโดยเครือขายผูนําชุมชน ตําบล

-ขยายผลการเรียนรูไปยัง 40 ตําบล ในจังหวัดประจวบครีีขันธ

-การพัฒนาเครือขายของผูนําทั้งระดับตําบล และระดับจังหวัด -กระบวนการอบรม

-การสนับสนุนงบประมาณ และจัดแนวทางในการทาํระบบบริหารจัดการชุมชน

-จัดตั้งสภาผูนําตําบลครบ 40 ตําบล ในจังหวัดประจวบครีีขันธ -กลไกระดับตําบล

มีความพึงพอใจ 70%เพราะระยะเวลาเงื่อนไขที่กําหนดมา 3 วันสั้นเกินไป

-

Page 128: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 112 

ชื่อภาคี ชื่อโครงการ วิธีการรวมงานกับภาคี เครื่องมือที่ใช เงื่อนไข /ขอตกลงรวมกัน/การสนับสนุน

ผลลัพธการทํางาน ระดับความพึงพอใจ ขอเสนอตอภาคี

ทองถิน่ พัฒนาศักยภาพผูนําชุมชน -ชุดการถอดบทเรียน -การจัดทําขอมูลตําบลนํามาสูแผนพัฒนาตําบล

เพื่อนําไปสูการพัฒนาระบบขอมูลตําบล

สามารถสรางกระบวนการเรียนรูในเรื่องการพัฒนาการเรียนรูตนเอง และผูนําไดรับการพัฒนาศักยภาพ

ตารางที่ 24 รูปแบบการทํางานและการมีสวนรวมกับภาคีภายนอก ตําบลชะแล อําเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

ชื่อภาคี ชื่อโครงการ วิธีการรวมงานกับภาคี(ตัวอยางเชน ภาคีเขามาหาชุมชน ชุมชนออกไปหาภาคีหรือวิธีการอื่นๆ)

เครื่องมือที่ใช (ตัวอยางเชนการใชกระบวนการวจิยั)

เงื่อนไข/ขอตกลงรวมกัน/การสนับสนุน

(งบประมาณอุปกรณหรืออื่นๆ)

ผลลัพธการทํางาน ระดับความพอใจ ขอเสนอตอภาคี

สกว. พัฒนาฐานขอมูลลครัวเรือนเพื่อใชในการตัดสินใจ

เริ่มจากรูจักกับนายก เห็นศักยภาพของผูนําจึงชวนไปรวมประชุม และมีสวนรวมในการทํางานทุกๆขั้นตอน

โครงการวิจัย (1ป) เก็บขอมูลจากแบบสอบถาม สํารวจขอมูลครัวเรือ รวมกรอกแบบสอบถาม เก็บขอมูลรายได รายจาย ขอมูลแผนที่ทําในระบบคอมพิวเตอร Map window ภาพถายทางอากาศ

ใหงบประมาณดําเนิน โครงการ งบคาใชจาย คาตอบแทนเจาหนาที่ 1 คน เก็บขอมูลโดยสมาชิก สภาเด็ก & อสม.

ไดระบบบันทึกขอมูลใน Map Window ทําใหรูตําแหนงตางๆ ไดฐานขอมูลครัวเรือน การศึกษา เศรษฐกิจ เอาไปใชเปรียบเทียบผลการทํางาน

80% พอใจแตไมมีการตอเนื่อง ไมมีการสนับสนุนเสริม ควรมีคณะทํางานมากกวานี้ ระยะเวลาสั้นไปควรเปน 3 ป

ควรมีการปรับปรุงขอมูลทุก3 หรือ 5 ป ขอมูลยังไมครบครอบคลุม คนในชุมชนไมไดทํา (ไมรูเรื่อง) เปนเพียงผูกรอกขอมูล การประสานงานลําบากตองใชหนังสือราชการ ยังอานแผนที่ภาพถายไมเปนเพราะไมมีคนสอน โครงการระยะเวลาสั้นเกินไปไมมีทีมที่เขมแข็ง

Page 129: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 113 

ชื่อภาคี ชื่อโครงการ วิธีการรวมงานกับภาคี(ตัวอยางเชน ภาคีเขามาหาชุมชน ชุมชนออกไปหาภาคีหรือวิธีการอื่นๆ)

เครื่องมือที่ใช (ตัวอยางเชนการใชกระบวนการวจิยั)

เงื่อนไข/ขอตกลงรวมกัน/การสนับสนุน

(งบประมาณอุปกรณหรืออื่นๆ)

ผลลัพธการทํางาน ระดับความพอใจ ขอเสนอตอภาคี

สสส. 1. พัฒนากลุมผูปวย DM/ความดัน โครงการ 1 ป เปนเชิงกระบวนการ

ชุมชนเขียนของบไป เนื่องจากทราบจากสื่อตางๆ และมีฐานขอมูลอยู

มีขอดี ใหงบประมาณ - ใหรูจักคิดเชิงระบบ - คิดตามวัตถุประสงค - ใหโอกาสกับทุกคน ทุกกลุม

- มีการจัดเก็บขอมูลเอกสาร ระหวางการดําเนินโครงการ มีทีมงานไปสอนการประเมิน

- ตองมีการสรุปโครงการเมื่อเสร็จงาน เอกสารสามารถไปตอยอดได

- ถาเขียนโครงการเปนจะมีการพัฒนา การฝกอบรม มีการคัดกรองกอน (โครงการตองอยูในงานสุขภาพจึงไดงบ)

ขอดอย/ขอเสนอแนะ - การเซ็นตสัญญาตองขยายเครือขาย

- ผานหัวคิว เอาผลงาน - อยากใหผานลงไปที่ทองที่โดยตรง

2.,3 ประกวดครัวเรือนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ป1,2

มีอสม.รวมดูแล

4. โครงการประกวดทารํา มโนราในการ ออกกําลังกาย

รวมกับ สสส. กรมสงเสริม และชุมชน

5. โครงการพัฒนาศักยภาพองคกรปกครองสวนทองถิ่นดานครอบครัวเด็กและเยาวชน

Page 130: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 114 

ชื่อภาคี ชื่อโครงการ วิธีการรวมงานกับภาคี(ตัวอยางเชน ภาคีเขามาหาชุมชน ชุมชนออกไปหาภาคีหรือวิธีการอื่นๆ)

เครื่องมือที่ใช (ตัวอยางเชนการใชกระบวนการวจิยั)

เงื่อนไข/ขอตกลงรวมกัน/การสนับสนุน

(งบประมาณอุปกรณหรืออื่นๆ)

ผลลัพธการทํางาน ระดับความพอใจ ขอเสนอตอภาคี

สวรส. ภาคใต

แผนสุขภาพ - ถูกเชิญจาก สจรส. เนื่องจากเห็นศักยภาพ ของชุมชน โดยมีการตั้งคณะกรรมการสุขภาพ ผูบริหาร สมาชิก กํานัน/ผูใหญบาน อสม. ตัวแทนชาวบาน ผอ.จากโรงเรียน วพ. รพ.สต. -เก็บขอมูลโดยรวมกันตอบแบบสอบถามกรรมการสุขภาวะ -เอาแบบสอบถามมารวมกัน โดยการประชาคมในหมูบาน -คณะกรรมการรวมวิเคราะหประเด็นปญหา

-แบบสอบถาม -การประชาคม

-สจรส.(มากสุด) -อบต. -กลุมองคกรพื้นที่

- คณะกรรมการเห็นปญหาสุขภาพ

- ปญหาหนี้สิน ตระหนักปญหา

- ไดแผนสุขภาพ - ไดขอมูล - ไดขอบัญญัติบรรจุเขาใน

แผนสุขภาพของอบต. - ไดกระบวนการจัดทําแผน - ทํากลุมเปน - รูจักใชเครื่องมือ - ไดภาคีเครือขายดวย

เนื่องจากหนวยงานภายนอกมาสนับสนุน

พอใจมาก 100% เนื่องจากไดปฏิบัติขับเคลื่อนดวยตนเอง ภายนอกเปนผูเสริมแรง สนับสนุน

- อยากไดเทคนิคการทํางานใหม

- มีการพัฒนาศักยภาพ ของกระบวนการจัดการขั้นตอนตางๆ

- นาจะพัฒนากระบวนการไดมากกวานี้

สช. ธรรมนูญสุขภาพ สมัชชาสุขภาพ

- ทําใหกระบวนการของธรรมนูญสุขภาพรวน

- ตองการขยายผล แตไมเสริมทางดานกระบวนการ

Page 131: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 115 

ชื่อภาคี ชื่อโครงการ วิธีการรวมงานกับภาคี(ตัวอยางเชน ภาคีเขามาหาชุมชน ชุมชนออกไปหาภาคีหรือวิธีการอื่นๆ)

เครื่องมือที่ใช (ตัวอยางเชนการใชกระบวนการวจิยั)

เงื่อนไข/ขอตกลงรวมกัน/การสนับสนุน

(งบประมาณอุปกรณหรืออื่นๆ)

ผลลัพธการทํางาน ระดับความพอใจ ขอเสนอตอภาคี

สปสช. คณะกรรมการไมชัดเจน ในระเบียบทําใหคณะกรรมการสับสน เชนสุขภาพ ไมรวมสุขภาวะ หรืออยางไร

 

Page 132: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 116

ขอเสนอจากชุมชนตอการทํางานรวมกับภาคี ในการพัฒนาระบบสุขภาพของชุมชนของ 8 พ้ืนที่ แตละพ้ืนที่มีรูปแบบ และวิธีการทํางานและ

บริหารภาคีแตกตางกัน แตผลการประชุมรวมและหามติรวมมีขอสรุปวา การทํางานกับแหลงทุนที่มี พันธกิจในการสรางสุขภาพมีขอดี ขอออน และ ขอเสนอแนะดังน้ี

ขอดีที่ทํางานรวมกับสสส.

1. มีการใหเงินมาทํางาน และ แผนการใชเงินเปนตามแผนเหมือนแหลงทุนที่อ่ืนๆแมเงินไมใชปจจัยหลักของการพัฒนา

2. ใหโอกาสกับทุกคนทุกกลุมเขาไปของบประมาณ 3. ระหวางทําโครงการมีการไปจัดเก็บขอมูล โดยเฉพาะเอกสารการเงิน 4. กระบวนการจัดทําโครงการตองมีการสรุปโครงการทําใหเห็นปญหาและใชเอกสารสรุปโครงการ

เปนเอกสารเชิงวิชาการได สามารถนํา ไปตอยอดถายทอดใหกลุมองคกรภาคีเครือขาย จากเอกสารที่มีอยูได

5. กระบวนการของบประมาณของสสส. ในปหลังๆ มีการให องคกรวิชาการระดับภาคเปนตัวกรองโครงการใหสอดคลองกับวัตถุประสงคกอน (เปนการใหโอกาสกับทุกกลุม) และมีผูชวยทําใหโครงการดีขึ้น

6. มีผลในการสรางคนทําใหคนทํางานคิดเชิงระบบมากขึ้น คิดโครงการได ทําใหรูจักวิธีทํางาน สงเสริมใหเปนวิทยากรตําบล สงเสริมศูนยเรียนรูในพ้ืนที่ และพัฒนาการเขียนโครงการใหกับพ้ืนที่

7. มีผลทําใหชุมชนเกิดการมีสวนรวมและมีงบประมาณชวยใหเกิดระบบการบริหารจัดการ ขอออน ของสสส.ในการสนับสนุนชุมชนในการพัฒนาผานโครงการตําบลสุขภาวะ มีประเด็นสําคัญคือ

รูปแบบที่โครงการสุขภาวะกําหนดให คือ การสรางศูนยการเรียนรูและการหาเครือขาย อาจถือไดวาเปนการบังคับใหพัฒนา หรือ คิดแทนชุมชนในการสรางสุขภาพ ไมสอดคลองกับเปาหมาย หรือ แผนที่ชุมชนมีและไมสอดคลองกับศักยภาพหรือความพรอมที่ชุมชนมีและเปนอยู ดังคําพูดที่วา

“ การสรางเครือขาย60 เครือขายเปนเรื่องที่ยากของทองถิ่น ชุมชนลําบากใจในการหาพื้นที่มาทํางาน”

“ การไปหาเครือขายตําบลสุขภาวะทําใหนายกอบต. หรือ นายกเทศมนตรี ตองออกจากพ้ืนที่”

“ เม่ือเปนเครือขายตองทําการส่ือสารในการไปหาลูกขายอาจทําไดไมสมบูรณเพราะไมใชวิทยากรหลัก”

Page 133: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 117

“ การหาเครือขาย หากชุมชนจัดการตัวเองไมไดจะไปหาเครือขายจะไมเขมแข็ง”

นอกจากนี้ยังมีประเด็นการบริหารโครงการที่ทําใหเกิดความรูสึกในทางลบ ดังคําพูดที่วา

“ การทําสัญญาตองมีการผูกมัดกับผูทําสัญญา สสส.ไมตองรับผิดชอบเอง ผูเซ็นสัญญาตองรับผิดชอบมีเง่ือนไขที่ใชเงินเปนตัวนําเซ็นสัญญาแลวตองหาเครือขาย ”

“ การทําโครงการไมไดโอนใหทองถิ่นโดยแตตองผานหนวยงานประสานงานของสสส.ซ่ึงมีหลายหนวยงานมาก”

“ เง่ือนไขทําใหรูสึกวาถูกบังคับใหพัฒนา จากความไมพรอมของชุมชน ตามเง่ือนไขที่ผูกไวกับสสส. ผลที่ไดจะไมไดตามเปาหมายที่ตองการ”

“ เรื่องของทุน ตําบลสุขภาวะ ปละแสน 3 ปสวนใหญเปนไปเพ่ือการจัดประชุม ไมสามารถไปพัฒนาชุมชนตามที่มีอยูในแผนของชุมชนเอง”

ขอเสนอแนะตอ สสส. สํานักอ่ืนหรือในภาพรวม ประเด็นการบริหารจัดการ รูปแบบการบริหารเงิน หรือ การทําสัญญาผานคนกลางนาจะมีการ

ทบทวน ดังคําพูดที่วา “มีโครงการอ่ืนๆ เด็กและเยาวชน สิ่งแวดลอม ตองทําสัญญากับเยาวชน กระบวนการสสส.ตองมีหัวหนาโครงการ มีการทํางานผานกลไก การทํางานที่ตองมีการทํางานกับคนกลางแทนที่สสส.จะทําโครงการกับกลุมเปาหมายโดยตรง การมีคนกลางทําใหตองปนงบกันไป และไมเหลือทุนไปตอยอดการพัฒนาของพื้นที่”

“ รูปแบบ วิธีการใหทุนใหสสส.สนับสนุนทุน โดยใหกลุมเสนอขึ้น และอบต.สนับสนุน รวมทุนกัน (ใหทุนเพ่ือเปนการพัฒนาที่ยั่งยืน ใหมีการแชรกับทองถิ่นดวย)”

“ความตอเน่ือง ตอไปจะไมแข็งแรง ความตอเน่ืองจะตองทําหลายปจะวัดไดถาเอาแบบธุรกิจเรงใหเกิดกิจกรรม เกิดผลมาใชในภาคสังคม ไมไหว”

“การคิดแทน คิดฝากชุมชน จะทําใหเกิดการทํางานที่ยึดติดกับภายนอก ตอไปชุมชนจะไมแข็งแรงเขมแข็ง”

ประเด็นบูรณาการยังเปนจุดออนทั้ง 9 สํานัก วิธีการทํางานของบางสํานัก ถูกมองเปนพ้ืนที่เสน

สายและทํางานแบบแยกสวน เพราะ ประสบการณที่โครงการสสส.ตางคนตางเขียน เขาพ้ืนที่ตางเวลากัน แตคนทํามีคนเดียวคือพ้ืนที่ดังน้ันจึงมีขอเสนอดังน้ี

Page 134: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 118

ขอเสนอแนะในการทํางานแบบบูรณาการคือ “กอนมาดําเนินการตองดูที่ความตองการของชุมชน แผนของชุมชนกอนที่งบประมาณจะลงไปใหคุยกันเองกอนที่จะลงมา ตอไปจะกลายเปนราชการไปบังคับใหชุมชนทํางานตามปงบประมาณ และตามพันธกิจของแตละสํานัก ซ่ึงผิดหลักการการทํางานชุมชน”

“ระยะเวลาในการทําโครงการ รูปแบบที่กําหนดใหไปดําเนินการ ทําใหเกิดขอจํากัด ชุมชนไมเปดรับก็จะเปนขอจํากัดมากขึ้นไปอีก”

“ตองเกิดจากชุมชนคิดเองแทนที่สสส.เดินไปหาแลวคิดให พ้ืนที่ยังไมพรอมยังไมตองไปลงไปที่เขาอยากไดอยากพัฒนากอนการบูรณาการไมเฉพาะในสสส. แตควรเอ้ือใหพ้ืนที่มีโอกาสบูรณาการกับแผนหรือความตองการและภาคีในพ้ืนที่ของเขาดวย”

ขอเสนอแนะในการลดภาพลักษณในทางลบคือ “บางสํานักของสสส.ควรสรางประชาธิปไตยองคกรขึ้นมา ใหเปนระบบเปดมากกวาน้ี ”

“ชุมชน หรือ พ้ืนที่นาจะสามารถทําขอเสนอใหกับสสส. วาอะไรเขมแข็งตองการใหสนับสนุนอะไร ถาเขมแข็งจัดการตนเองไดตองมีขอเสนอใหกับสสส.ได กรอบกติกาควรตั้งไวกวางๆ ยืดหยุนได ไมใช สสส. มีทั้งคูมือ เคร่ืองมือ ขั้นตอน และผลลัพธที่ชุมชนตองทําใหครบทั้งจํานวนและรูปแบบ เปนการบังคับใหพัฒนาตามเปา สสส มากกวาเปาของชุมชน”

“การรับหรือไมรับโครงการตองมีความเปนตัวของตัวเองไมขึ้นอยูกับใครคนใด กลุมใดในพื้นที่ควรขึ้นกับ ทองที่ ทองถิ่น คณะประชาคม หรือขึ้นอยูกับพ้ืนที่จริงๆ บางครั้ง บางคนไปรับโดยไมคํานึงถึงความพรอมของพ้ืนที่ ไมมีผลงานเชิงคุณภาพ”

“ควรมีระบบหรือกระบวนการสะทอนกลับใหสสส.รับทราบขอออนหรือปญหาของตนเอง (เปนประชาธิปไตย) จากผูรวมงานโดยตรงในระหวางดําเนินงานดวย”

ขอเสนอตอ สช.

1. การทําธรรมนญูสุขภาพ ควรรอใหประชาชนไดเรียนรูเกิดความพรอม ขับเคลื่อนรวมกัน และ ควรมีการทํากิจกรรมตอเน่ืองอยางนอย 3 ป

2. สช.เปนระบบราชการและคาดหวังชุมชนแตไมหนุนเสริมกระบวนการขอใหสช.สนับสนุนเนนที่กระบวนการมากกวาผลลพัธ

Page 135: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 119

ขอเสนอตอ สปสช. พ้ืนที่ของโครงการวิจัยมีความเห็นสอดคลองกันวา “ เปนรูปแบบการพัฒนาชุมชนบนพื้นฐานความเขมแข็งและการมีสวนรวมของชุมชนที่แทจริง

กรอบกติกามีการรับฟงความเห็นและปรับแกได พ้ืนที่มีสวนรวมตั้งแตการคิด การตัดสินใจ และ การติดตามผล”

“ การทํางานในรูปแบบสปสช. ทําใหเกิดประโยชนกับพ้ืนที่มากที่สุดในกลุมภาคีองคกร “ส”ที่ทํากันอยู”

ขอเสนอแนะมีในประเด็น การทําความเขาใจเรื่องระเบียบกติกาการใชเงิน การคิดโครงการ และ ประเด็นความชัดเจนที่ทีมประเมินผลของสปสช. ควรมีกอนที่จะลงพื้นที่ ทีมประเมินผลควรมีคําตอบที่ตรงกันกอน

“ คณะกรรมการติดตามประเมินผลในพื้นที่ ยังไมชัดเจนเรื่องระเบียบเทาน้ันเชนเรื่อง สุขภาพโครงที่เนนกับสุขภาพอยางเดียวหรือ เนนสิ่งแวดลอมไดดวย ”

“ สปสช. มีรูปแบบการทํางานชัดเจน มีภาค ประชาชน รัฐ แตบางทีเราเขาไมถึง การอธิบายนาจะปรับได การชี้แจงอาจไมชัดเจน ซ่ึงใหผูประสานแตละพ้ืนที่ได

“ สปสช.กําหนดตัวชี้วัดคอนขางแข็งแตไมตรงกับความตองการของชุมชน อาจใหชุมชนนํามาปรับได”

ขอเสนอตอ สกว.

พ้ืนที่ของโครงการวิจัยคร้ังน้ี ที่มีประสบการณ ในการทํางานกับสกว.มีจํานวนนอย ขอเสนอแนะที่สําคัญ คือ เรื่องกระบวนการที่ตอเน่ืองเพื่อสรางความเขมแข็งและยั่งยืนใหกับพ้ืนที่ ดังคําพูดที่วา

“ เขาไปแลวไมมีกระบวนการตอ” “ ความตอเน่ืองของโครงการที่ชัดเจน การสรุปผลและประเมินผลจะทําใหเกิดประโยชน” การรวมงานกับภาคีอ่ืนๆ พ้ืนที่ที่มีโอกาสทํางานกับภาคเอกชนไดใหขอเสนอแนะวา

“เงินไมใชปจจัยหลักการทํางานกับ ปตท. ทํางานโครงการไดของมาใหชุมชนทํางาน ไมไดเงินแตเขียนแผนไปขอเพื่อทํางาน เรื่องสิ่งแวดลอมคุณภาพชีวิตจะดีขึ้น”

Page 136: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 120

บทที่ 6

สรุปผลการวจิัย

ผลการวิจัยทีสํ่าคัญ 1. ชุมชนในพื้นที่ของการวิจัยคร้ังน้ีเสนอเพ่ิมเปาหมายระบบสุขภาพชุมชน เดิมเปาหมายรวมกันของระบบสุขภาพชุมชน คือ 1) สํารวจ ชวยเหลือผูถูกทอดทิ้ง ทุกคนในชุมชน 2) รักษาคนที่เปนหวัด เจ็บคอไดทุกคน โดยการดูแลตนเอง 3) รักษาคนเปนเบาหวาน และความดันโลหิตสูงไดทุกคนโดยการดูแลเชิงบุคคล และอยางตอเน่ือง 4) ดูแลผูสูงอายุ ที่เปนโรคที่เปนโรคเรื้อรังที่บาน 5) ควบคุมโรคที่พบบอย 6) ชุมชนเขมแขง็ สรางเสริมสุขภาพได

ชุมชนในพื้นที่วิจัยคร้ังน้ีเสนอเพ่ิมเปาหมายระบบสุขภาพชุมชนอีกในประเด็นที่เกิดข้ึนจริงในทุกพื้นที่และดําเนินการแลว และเปนระบบสุขภาพชุมชนที่เกิดจากมุมมองของชุมชนและชวยเติมเต็มระบบบริการสงเสริมสุขภาพ คือ

1) การดูแลทรัพยากรปาไม แหลงน้ํา หรือทุนทางสังคมดานกายภาพที่เปนแหลงอาหารหรือแหลงประโยชนในชุมชน

2)การรักษาและใชประโยชนมรดกทางวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกับประเด็นสุขภาพเพ่ือเปนการสรางอัตลักษณของชุมชนนําไปสูการมีความสามัคคีและภาคภูมิใจในชุมชน สรางความยั่งยืนของระบบสุชภาพชุมชนไดดวย

3) การดูแลปญหาดานภูมิสังคม ที่สงผลกระทบกับคนสวนใหญในสังคม เชนยาเสพติด ภัยพิบัติที่เกิดจากธรรมชาติ หรือจากมนุษย และเทคโนโลยี ความรุนแรงในครอบครัว และอาจรวมไปถึงความแตกแยกของสังคมที่เกิดจากการเมืองการปกครอง

4) จัดทําระบบการสื่อสารและขอมูลที่จําเปนของชุมชน และจัดเก็บในชุมชนโดยคนของชุมชนเพ่ือใชในการสื่อสารเพ่ือสรางสุขภาพและความปลอดภัยใหกับคนในชุมชน

Page 137: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 121

2. ตัวแบบระบบจัดการสุขภาพชุมชนทั้งปจจัยกําหนดสุขภาพในชุมชน และระบบบริการสุขภาพ ตัวแบบระบบสุขภาพชุมชนที่สรุปไดจากพ้ืนที่วิจัยสามารถจําแนกไดเปน

2.1 รูปแบบที่เกิดจากปจจัยกําหนดสุขภาพดานสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม มีเปาหมายที่การอยูรอดอยางม่ันคงดานเศรษฐกิจโดยใชเคร่ืองมือดานการบริหารจัดการและการเรียนรู: (ตําบลบางน้ําผึ้ง ตําบลแมหลาย ตําบลชะแล) ระบบบริการสุขภาพ: มีการทํางานตามระบบรัฐปกติและเชื่อมตอระหวางกระทรวง จังหวัด

และชุมชน ชุมชนเปนคนเคลื่อนระบบสขุภาพดวยกลไกตางกัน คือ

แมหลาย เคลื่อนดวย การมีสวนรวม การประกวด และระบบบริหารคุณภาพ บางน้ําผึ้ง เคลื่อนดวย อสม. ที่มีจิตอาสาเปนแกนนําหลายกลุมของตําบล ชะแล เคลื่อนดวย สมัชชาและธรรมนูญสุขภาพ

2.2 รูปแบบที่เกิดจากปจจัยกําหนดสุขภาพดานเศรษฐกิจความยากจน การใชทรัพยากร และมาตรการทางสังคม โดยใชเคร่ืองมือที่สรางการมีสวนรวม และ การพัฒนาคนใหเปนผูนําทางความคิดและใชขอมูล ขอตกลง ในการตัดสินใจรวมกัน (ตําบลหวยสม)

ระบบบริการสุขภาพ: เปนการทํางานตามระบบรัฐแตใชรูปแบบนักสรางสุขภาพครอบครัวที่ ตําบลหวยสม

ชุมชนเปนคนเคลื่อนระบบสุขภาพดวยกลไก กรรมการสุขภาพ 44 คน

2.3 รูปแบบที่เกิดจากปจจัยกําหนดสุขภาพดานพัฒนาการของชีวิต และจิตอาสาของคนในชุมชน (ตําบลหนองแหน) ระบบบริการสุขภาพ:เปนการทํางานเชิงรุกดวยบทบาทผูประสาน กระตุก กระตุนและเติมเต็มชุมชนเปนคนเคลื่อนระบบสุขภาพดวยกลไก แกนนําที่มีจิตอาสาในชุมชนและสวม บทบาท อสม. และผูสูงอายุ

2.4รูปแบบที่เกิดจากปจจัยกําหนดสุขภาพดานปญหา สังคม คือยากจนจาก เหลา และ อบายมุข(ตําบลไผ)จากปญหายาเสพติด ลักขโมย(ตําบลศิลาลอย)

ระบบบริการสุขภาพ:เปนการทํางานตามระบบรัฐปกติและพึ่งพิงทองถิ่นในเชิงทรัพยากร ชุมชนเปนคนเคลื่อนระบบสุขภาพดวยกลไกที่สําคัญ

Page 138: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 122

ตําบลไผ เคลื่อนดวย ขอตกลงทางประเพณีของสังคม ขอมูลทุนสังคมและ สภาอบต. ตําบลศิลาลอย เคลื่อนดวย ขอมูลที่อยูในแผนชุมชนและการตัดสินใจรวมกันของ สมาชิกสภา59

2.5 รูปแบบที่เกิดจากปจจัยกําหนดสุขภาพดานปญหาทรัพยากรและวิถีสังคม(ตําบลแม ถอด) ระบบบริการสุขภาพ:เปนการทํางานตามระบบรัฐเชิงการขับเคลื่อนดวยสมัชชาและธรรมนูญ แตสวมบทบาทผูไกลเกลี่ยและเปนกลางไดเปนอยางดี ชุมชนเปนคนเคลื่อนระบบสขุภาพดวย วถิีชุมชนและธรรมนูญ

ขอคนพบสําคัญของกระบวนการขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชน คือกลไกการเชื่อมตอระบบบริการสุขภาพ กับระบบสุขภาพชุมชน คือ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่น สปสช. ซึ่งทําใหเกิดการตระหนักเร่ืองสิทธิ หนาที่ การมีสวนรวมของภาคทองถิ่น และ ภาคประชาชน ตลอดจนเชื่อมโยงกับระบบบริการอยางแทจริงดังภาพขางลางน้ี

การขับเคล่ือนระบบสุขภาพชุมชน กับ ระบบกองทุน สปสช.

กองทุน

SRM

ผูนํา

สภาผูนํา

ผูสูงอายุ

สภาองคกรชุมชน

จิตอาสา

อสม.

สภาตําบล

กรรมการกองทุน

วิสัยทัศน

หวยสม

แมหลาย

แมถอดชะแล

หนองแหน +

+บางนํ้าผึ้ง

หนองกลางดง

ธรรมนูญ

สมทบให10,000

ระบบสุขภาพชุมชน

อนุมัติแผนตาม SRM

อนุมัติตามวิสัยทัศน/ ทุนสังคม

ระบบสขุภาพชุมชนการสมทบโดยภาคประชาชน

สังเคราะหผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

สมทบใหเพิ่ม 30 บาท

แผนภาพที ่25 การขับเคลือ่นระบบสุขภาพชุมชนกับระบบกองทุน สปสช.

Page 139: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 123

3. การบริหารจัดการแหลงทุน พ้ืนที่วิจัยของโครงการเสนอใหแหลงทุนยึดหลักวา การพัฒนาไมควรคิดแทน หรือ พัฒนาแบบ

บังคับ ควรเนนหลัก ความพรอม ความยืดหยุนในการทํางานกับชุมชนเพ่ือผลการสรางความยั่งยืน การคิดรูปแบบ การใชเง่ือนไข และมุงผลลัพธเปนการสรางความออนแอใหกับชุมชน และเปนอุปสรรคในการสรางความยั่งยืน

นอกจากน้ียังมีขอเสนอใหแหลงทุนทํางานบูรณาการจากแหลงทุนกันเองกอน และมีกระบวนการใชขอมูลพ้ืนที่ประกอบในการอนุมัติกรอบแนวคิด และ เปาหมายหรือผลลัพธโครงการ เพ่ือสะทอนหลักการที่ใหชุมชนทําคือการใชขอมูลประกอบการตัดสินใจ และการรับโครงการควรมาจากความเห็นชอบหรือรับรูของทองที่ ทองถิ่น และคนในชุมชนดวยเพื่อไมใหการสนับสนุนกลายเปนผลประโยชนทางการเมืองแตเพียงอยางเดียว เม่ือเชื่อมโยงภาพการบริหารจัดการความสัมพันธระหวางชุมชนหรือพ้ืนที่ กับ ภาคีภายนอกที่ตองการใหการสนับสนุน แตอาจมีแนวคิด หรือรูปแบบที่กําหนดไวกอน จะไดภาพความสัมพันธ ดังน้ี

ภาพของการทํางานรวมกับภาคี

ชุมชนเขมแข็งมาก แหลงทุน

ชุมชนเขมแข็งบางสวน

ตัวกลางแหลงทุน

รับบนเง่ือนไขของชุมชน

ปฏิเสธ

รับบนเง่ือนไขของแหลงทุน

พิจารณาเปนรายกรณีไมรับ/ไมปฏิเสธ

แผนภาพที่ 26 การบริหารจัดการแหลงทุนบนเง่ือนไขระดับความเขมแข็งของชุมชนและภาพลักษณของแหลงทุน

พ้ืนที่วิจัยไดตั้งขอสังเกตรวมกันในการจัดการแหลงทุนภายนอกตามเงื่อนไขที่เปนปจจัยภายในของพื้นที่เอง และ เงื่อนไขที่เกิดจากแหลงทุนที่สะทอนภาพการจัดการไดเปนสามกรณีหลักๆ คือ

Page 140: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 124

กรณีที่1 กรณีชุมชนเขมแข็ง พ่ึงตนเองไดทั้งดานการเงิน เครือขาย และมีแผนการพัฒนาของชุมชนชัดเจน เชนพ้ืนที่บางนํ้าผ้ึง แมหลาย ศิลาลอย เม่ือแหลงทุนเสนอโครงการ

1.1 พ้ืนที่จะพิจารณารับการสนับสนุน ในกรณีที่ 1.1.1 โครงการน้ันๆ สอดคลองกับประเด็นปญหา หรือประเด็นการพัฒนาที่พ้ืนที่

ตองการและกําหนดไวในแผนพัฒนาของพื้นที่อยูแลว 1.1.2 เง่ือนไขของแหลงทุนมีความชัดเจนของตัวชี้วัดควาสําเร็จที่พ้ืนที่เขาใจ ยอมรับ

และวามารถนําไปปฏิบัติได หรือ 1.1.3 แหลงทุนสามารถยอมรับเง่ือนไขของพื้นที่ที่อาจเสนอเพิ่มเติมขึ้นมาบางสวนหรือ

ทั้งหมด 1.2. พ้ืนที่จะปฏิเสธ ในกรณีที่

1.2.1 โครงการนั้นๆ ไมเชื่อมโยงกับเปาหมายของพื้นที่ 1.2.2 แหลงทุนไมชัดเจนในตัวชี้วัดที่จะใชประเมินผลโครงการ และ ไมเปดโอกาส หรือ

รับฟงเง่ือนไขของพื้นที่ 1.2.3 ทาทีการติดตอสื่อสารขาดการสรางความสัมพันธในเชิงแนวราบที่เทาเทียม หรือ

ในการเปนหุนสวน กรณีที่ 2 กรณีที่ชุมชนเขมแข็งแตระดับการพึ่งตนเองยังมีวงจํากัด เชน ตําบลไผ ตําบลชะแล ตําบลแมถอด ตําบลหวยสม ตําบลหนองแหนเม่ือแหลงทุนเสนอโครงการ

2.1 โดยแหลงทุนเองชุมชนจะตอบรับบนเง่ือนไขของแหลงทุนและสามารถดําเนินการไดสําเร็จครบถวนของกิจกรรม และตามเวลากําหนด เน่ืองจากแรงผลักดันของแกนนําในพื้นที่ แตคุณภาพในการเรียนรู และโอกาสตอยอดใหยั่งยืนอาจไมเปนไปอยางเต็มศักยภาพ

2.2 โดยตัวแทนของแหลงทุนในนามสถาบันการศึกษาที่รับโครงการ ชุมชนจะเปดรับโครงการดวยความรูสึกวาแหลงทุนเปนคนในพ้ืนที่ที่เขาใจ และ เขาถึงพ้ืนที่จึงยินดีที่จะเขารวมโครงการดวยคาดคิดวาตัวแทนแหลงทุนมีความเขาในคนในพื้นที่ดวยกันดี

อภิปรายสังเคราะหผลการวิจัย

ระบบสุขภาพชุมชนที่พัฒนาโดยชุมชน อันหมายถึงผูนําทองถิ่น ทองที่ ไดแก กํานันผูใหญบาน แกนนํา และ องคกรชุมชนที่มีจิตอาสา จะมีการดําเนินการจากจุดเร่ิมตน คือ การแกปญหาความยากจน การขาดแคลน ปญหาสังคม สิ่งเสพติด เหลา ตลอดจนปญหาส่ิงแวดลอมที่เปนพิษ ไมวาจะเปนจาก ขยะ สารเคมี ซ่ึงถือวาเปนภูมิสังคมเชิงประจักษที่ชุมชนเผชิญอยูทําใหคนในชุมชนตองการเห็นการเปลี่ยนแปลง นอกจากน้ีขอเสนอแนะที่ชุมชนเสนอเพิ่มขอบเขตของระบบสุขภาพชุมชนในประเทศไทยใหกวางขวางขึ้นทั้งมิติทุนสังคม ดานทรัพยากร วัฒนธรรม และ ปญหาที่มีผลกระทบตอสังคม เชนภัยธรรมชาติ และ ระบบการสื่อสาร ถือวาเปนประเด็นที่สอดคลองกับแนวคิดเร่ืองรูปแบบระบบสุขภาพ

Page 141: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 125

ชุมชนที่สรางขึ้นโดย Sydney Kark1ซ่ึงกลาววาระบบสุขภาพชุมชนCommunity Oriented Primary Care คงหลีกเลี่ยงหรือแยกออกจากบริบททางสังคม ไดยาก ดังน้ันผลการวิจัยคร้ังน้ีเปนไปในทิศทางเดียวกันและยังสะทอนวาการสรางสุขภาพตองคํานึงถึงกรอบแนวคิดการสรางสุขภาพตามประกาศกรุงเทพ2ที่เนนความสําคัญของปจจัยกําหนดสุขภาพ ( Social Determinants of Health)ที่ผูจัดทําระบบสุขภาพตองนํามาพิจารณาในการสรางระบบสุขภาพขึ้น รูปแบบการสรางระบบสุขภาพจากจุดเร่ิมตนที่เนนปญหาสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ ความยากจน หรือความไมม่ันคงปลอดภัยในอาชีพ นําไปสูการสรางกติกา สรางฐานขอมูลเพ่ือมาใชในการตัดสินใจรวมกัน จนกลายเปนกติกาของตําบล กลายเปนการสรางระบบการดูแล ในรูปแบบการจัดตั้งกองทุนของทุกพ้ืนที่วิจัย และรูปแบบการจัดตั้งทีมงานและขอมูลในการเฝาระวังปญหาท่ีทําขึ้นโดยคนในตําบลเอง เชน แผนชุมชน ของหนองกลางดง หวยสม หรือทีมเคลื่อนที่เร็วของ แมถอด แมหลาย นับเปนการสรางระบบสุขภาพชุมชนที่มีพ้ืนฐานการคิดจากทุนทางสังคมของคนไทยที่มีการอยูรวมกันแบบระบบอุปถัมภ ในรูปกองทุน การเงิน และ คลายกับการพัฒนาของประเทศอังกฤษที่มีการจัดตั้งกองทุน Primary Care trusts3ดังน้ัน แนวคิดทฤษฏี 3 ก ของนายแพทย อมร นนทสุต4 ที่จัดทําขึ้นในยุคเร่ิมตนของการทํางานสาธารณสุขมูลฐานไดเกิดผลเปนรูปธรรม ที่ชัดเจนขึ้นเม่ือมีการดําเนินการของสปสช. ในระดับประเทศ เรื่องกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่นซึ่งผลการวิจัยสะทอนประโยชนของกองทุนสปสช.ในการเปนเครื่องมือสรางระบบสุขภาพชุมชนไดอยางชัดเจนสอดคลองหลักแนวคิดเร่ืองสิทธิทางสุขภาพ การเขาถึงบริการสรางสุขภาพ และกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน

รูปแบบการสรางสุขภาพในชุมชนที่เนนการดูแล รักษา ผูดอยโอกาสในตําบล ไมวาจะเปนผูปวยโรคเรื้อรัง ผูสูงอายุ ผูพิการ เด็ก สตรี ก็มีการดําเนินการเพ่ือเนนการเขาถึงบริการ ทั้งในรูปการจัดหา บริการ และ การสงตอ หรือ การทํากิจกรรมเหลาน้ีนอกจากชวยแกปญหา ปองกันปญหาสุขภาพ เชน การละเลิกเหลาที่ตําบลไผ แมถอด แลว ยังสามารถสรางใหเกิดศักด์ิศรีความเปนมนุษยที่มีความเทาเทียม เสมอภาค ลดชองวางคนรวย คนจนทั้งระบบบริการสุขภาพ และระบบวัฒนธรรมเชื่อมตอกับสติ สมาธิ ปญญา อน่ึงการดําเนินงานในการสรางรูปแบบบริการทุกพ้ืนที่สะทอนภาพการทํางานรวมกันของภาคีตางๆไมวาจะใชรูปแบบการรุกจากชุมชน หรือ แหลงทุนภายนอก หรือภาครัฐก็ตาม กระบวนการเหลาน้ีชวยใหเกิดการขับเคลื่อนระบบสุขภาพที่เปนจริงไดดังที่ประเทศสหรัฐอเมริกาไดใชเปนหัวใจในการสรางระบบสุขภาพ เชนกัน2 เคร่ืองมือที่ใชในทุกพ้ืนที่วิจัยที่สําคัญอีกอันหนึ่งคือ การใชกติกา ขอตกลงที่จัดทําขึ้นโดยการมีสวนรวม แลวกลายเปนนโยบายสาธารณะของคนในตําบลโดยมีผูบริหารทองถิ่นและแกนนําชุมชนเปนผูผลักดัน เคร่ืองมือเหลาน้ี ไมวาจะเรียก กฎหมูบาน ขอตกลง สมัชชา หรือ ธรรมนูญ ถือวาเปนเคร่ืองมือสําคัญที่เพ่ิงเกิดขึ้นในประเทศไทยและสรางการตื่นตัวผูนํา และ แกนนํา หรือ ประชาชนในชุมชนที่เปนพ้ืนที่วิจัยในครั้งน้ี ไดเปนอยางดี แตกระบวนการที่ตามมาหลังจากการมีธรรมนูญสุขภาพระดับตําบลแลวยังขาดหลักฐานที่จะสะทอนภาพในทางบวกในทุกพ้ืนที่แตกลับมีภาพสะทอนถึงขอสงสัยในการนําธรรมนูญไปใชซ่ึงคงตองการเวลา ความพรอมจากพ้ืนที่กอนจะสรุปผลลัพธที่แทจริงของเครื่องมือที่เราเรียกวาธรรมนูญได

Page 142: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 126

ความชัดเจนของการพัฒนาระบบสุขภาพโดยผูบริหารทองถิ่น ทองที่ และจิตอาสาของตําบล คือการทํางานเพื่อจัดการ “ปจจัยกําหนดสุขภาพ” ทางดานกายภาพ และ สังคม ที่ทองที่ และทองถิ่นเผชิญอยู อันเปนการเติมเต็มระบบสุขภาพของเจาหนาที่ทางดานสาธารณสุข และ หนวยงานที่เกี่ยว เปนการทํางานตามกรอบแนวคิดการสรางสุขภาพตามประกาศออตตาวา จารการตารและกรุงเทพ แตกระบวนการเหลาน้ีจะเกิดอยางยั่งยืนไดจําเปนตองเปนการพัฒนาแบบระเบิดจากภายใน เปนการตัดสินใจบนความพรอมและทุนเดิมของสังคม หรือชุมชนดังน้ัน การบริหารจัดการแหลงทุนภายนอกโดยชุมชน หรือการทํางานแบบบูรณาการของแหลงทุนจึงเปนประเด็นที่สําคัญของการวิจัยน้ี

นอกจากน้ัน ผลการสังเคราะหปจจัยสําคัญของชุมชนเขมแข็งที่จะนําไปสูการพัฒนาระบบสุขภาพโดยชุมชนสําหรับทองที่/ทองถิ่นที่มีระบบสุขภาพชุมชนที่เขมแข็ง ตองมีปจจัยการทํางานที่สําคัญดังน้ี

1. การดําเนินงานเนนการมีสวนรวมของชุมชน การมีประชาธิปไตยในชุมชน และการสรางเศรษฐกิจชุมชน

2. การรับการสนับสนุนทุน/โครงการจากหนวยงานภายนอกจะคํานึงถึงประโยชนและความพรอมของชุมชนโดยมีแผนชุมชน เปนกรอบในการทํางาน

3. มีแกนนํา ผูนําที่มีจิตอาสาทํางานเพื่อสวนรวม มีความตื่นตัวและมีความคิดเปนพลวัตร 4. มีการสรางแกนนํารุนใหมอยางตอเน่ือง โดยสนับสนุนใหมีการเรียนรูทั้งในระบบ (การใหทุน

ของทองถิ่นสงเรียนตอในระดับอาชีวะ/มหาวิทยาลัยเพ่ือใหกลับมาทํางานในพื้นที่) และการเรียนรูนอกระบบผานการประชุมประจําเดือนโดยกําหนดใหกลุมเยาวชน/แกนนํารุนใหมจะตองเขารวมประชุมเรียนรูไปดวยกับแกนนํารุนเกา

โดยสรุป กระบวนการพัฒนาระบบสุขภาพในพื้นที่ของการวิจัยคร้ังน้ี สามารถเขียนเปนรูปแบบไดดังน้ี

Page 143: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 127

ระบบสุขภาพชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชน

คน..ผูนํา

คน..ทีม บทบาท

คน..การเรียนรู

คน.. จิตอาสา

ทุนสังคมความสัมพันธ กติกา

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตําบล

กลุม กลุม กลุมกลุม

กลุม

การตัดสินใจรวมกัน

ในการวางแผน/ติดตาม/ประเมิน

-สมัชชา/ธรรมนูญ-สภา59-SRM-การวิจัย/แผนชุมชน-การมีพื้นทีส่าธารณะ/เวที

ระบบสุขภาพชุมชน

การจัดทํารายงานขอมูลเพ่ือเฝาระวัง ปองกัน และสรางสุขภาพ

การดูแลส่ิงแวดลอม/ทรัพยากรของชุมชน

การรักษามรดกทางวัฒนธรรมเพ่ือสรางเสริมทุนสังคม

การจัดการปญหาสังคมและภัยพิบัติที่จะกระทบตอพ้ืนที่

สังเคราะหผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

ชวยเหลือผูถกูทอดทิ้ง

ดูแลตนเอง

ดูแลอยางตอเนื่อง

ควบคุมโรคที่พบบอย

ดูแลผูสูงอายุ โรคเรื้อรังที่บานชุมชนเขมแข็ง

แผนภาพที ่27 ระบบสขุภาพชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชน ขอเสนอแนะจากการวิจัยเชิงนโยบาย

1. การทํางานสรางระบบสุขภาพชุมชนผานทองถิ่นเปนเรื่องที่ดีและเปนจริงได แตในกลไกการทํางานพบวามีความเกี่ยวของกับทองที่ และชุมชนดวยจึงจําเปนตองมีกลไกกํานัน ผูใหญบาน องคกรชุมชน ภาคีในชุมชนไดมีการรับรู มีสวนรวมในการตัดสินใจแตตน และรวมขับเคลื่อนไปพรอมๆกันเพ่ือสรางความยั่งยืน

2. ภาคีภายนอกที่ควรสนับสนุนใหเขารวมในการพัฒนาระบบสุขภาพที่สําคัญ เชน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม อาจชวยใหเกิดประโยชนในการผลักดันการพัฒนาใหเกิดระบบสุขภาพชุมชนที่ม่ันคงไดอีก เน่ืองจากประเด็นที่พบมากในเกือบทุกพ้ืนที่การวิจัย คือ ประเด็นการรักษาทรัพยากรของชุมชน เชนปา เหมืองแร แหลงนํ้า เพ่ือใหคงอยูเปนแหลงอาหารของชุมชน

3.แนวทางการสนับสนุนของแหลงทุนควรคํานึงถึงความตองการ ความพรอม และ ธรรมชาติของการพัฒนาประกอบดวย เพ่ือความย่ังยืน ควรเนนการทํางานแบบระเบิดจากภายใน5 ตามศักยภาพและภูมิสังคมเชิงประจักษใหมากข้ึน ดังน้ันแหลงทุนตองมีขอมูลพ้ืนฐานเร่ืองการพัฒนาของแตละพ้ืนที่ ทุนสังคมของแตละพ้ืนที่ประกอบดวยและยึดหลักการทํางานชุมชนแบบชุมชนเปนศูนยกลางที่แทจริง6

แหลงทุนควรมีเวทีการบูรณาการตั้งแตตน มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางแหลงทุนดวยกัน และสรางกระบวนการสื่อสารเพ่ือการเปลี่ยนแปลง เคร่ืองมือที่จะใชสื่อสารเพ่ือสรางความเขาใจในระดับพ้ืนที่ที่ชัดเจนและไมขัดแยงหรือสรางความสับสน

Page 144: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 128

แหลงทุนควรมีนโยบายในการกํากับติดตามผลทีเกิดขึ้นในระดับมหภาคในแตละพ้ืนที่ดวย เพ่ือใหแนใจวาการขับเคลื่อนทําใหเกิดผลตอสังคมไดจริง สําหรับการกํากับติดตามในระดับโครงการควรใชการรับฟงและติดตามประเมินผลแบบเสริมพลัง(Empowerment Evaluation) เปนเคร่ืองมือในการลดความรูสึกของพ้ืนที่ที่รูสึกวาตองทําเพ่ือใหแหลงทุนบรรลุพันธกิจของแหลงทุนเองโดยใชพ้ืนที่เปนเหยื่อหรือแรงงาน

4.ประเด็นการสนับสนุนของกระทรวงสาธารณสุขซ่ึงเปนฐานรากของกําลังคนจิตอาสา คือ อสม. ซ่ึงอยูในกระบวนการพัฒนามาเนิ่นนานจนอาจเกิดการรับรูวาเปนผูใหบริการมากกวาการดูแลกันเองในชุมชนดวยจิตวิญญาณและอัตลักษณชุมชนที่ตนเปนสมาชิกอยูดังน้ัน กระทรวงสาธารณสุขจึงจําเปนตองปรับการทํางานบทบาทและภาพลักษณของ อสม. ในความรูสึกนึกคิดของอสม.เอง ของพ้ืนที่หรือชุมชนวาเปนตัวแทนหรือผูเชี่ยวชาญจากชุมชนมาใหคําปรึกษาหรือรวทีมกับรพ.สต.มากกวาที่จะเปนตัวแทนจาก รพ.สต. ไปสอนหรือแนะนําคนในชมุชน

นอกจากน้ี กระทรวงสาธารณสุขควรปรับนโยบายการพัฒนาเจาหนาที่ระดับจังหวัดใหทําบทบาทในการสนับสนุนชุมชน ทองถิน และเจาหนาที่ของ รพ.สต.ใหทําเน้ืองานเพ่ือตอบสนองความตองการของชุมชน หรือ พ้ืนที่ตามแผนพัฒนาของพื้นที่ ใหมากเทาๆกับ หรือมากกวาการสนับสนุนใหเจาหนาที่ระดับรพ.สต.จะทําเน้ืองานเพื่อตอบสนองนโยบายของสวนกลางหรือกระทรวงสาธารณสุข ระบบการตรวจราชการ จําเปนตองตรวจสอบระดับความใกลชิด หรือระดับความสัมพันธ ของเจาหนาที่รพ.สต. กับชุมชนดวยเพ่ือใหแนใจวา เจาหนาที่สามารถเปนสวนหนึ่งของครอบครัวละชุมชนที่ตนเองรับผิดชอบอยูได

5. เคร่ืองมือสําคัญที่พ้ืนที่วิจัยใชและบังเกิดผลสําเร็จในการเปนชุมชนเขมแข็ง สามารถพัฒนาคน พัฒนาสิ่งแวดลอม และ พัฒนาการมีสวนรวมไดจริง ควรไดรับการเผยแพรใหพ้ืนที่อ่ืนๆไดเรียนรูและเลือกไปประยุกตใช

6.เคร่ืองมือที่ใชในการขับเคลื่อนซึ่งพ้ืนที่ยังตองการรับการสนับสนุนดานวิชาการอยางตอเนืองอีกระยะหนึ่ง (ประมาณ 1- 3 ป) เพ่ือใหแนใจวาไดเกิดการยอมรับและใชเปนวัฒนธรรมการทํางานของพ้ืนที่ไดแลว เคร่ืองมือชุดน้ี คือ เคร่ืองมือชุดพัฒนาขอมูล และพัฒนาคนท่ีทําไดสําเร็จจากมุมมองของชุมชนคือ การทําวิจัย การทําสมัชชาพ้ืนที่ และ การทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร สําหรับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรตองเนนวา เจาหนาที่ทําบทบาทผูเอ้ืออํานวย ชุมชนเปนคนคิด ดังน้ันผูเอ้ืออํานวยเปนคนนําขอมูลที่ชุมชนเก็บและยอมรับมาใชตารางชองๆเอง ไมใชในตารางแผน 11 ชองใหชุมชนเติม

Page 145: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 129

ขอเสนอแนะจากการวิจัยในระดับปฏบิัติการ 1. การทํางานควรคํานึงถึงบริบท ความแตกตาง และลักษณะเฉพาะของทองที่และทองถิ่น การสนับสนุนทุน/โครงการควรเริ่มตนจากจุดเดน/จุดแข็งของทองที่และทองถิ่น ไมควรมีวิธีการทํางานที่แข็งและตายตัวเพียงรูปแบบเดียว 2. โครงการที่เสนอใหแกทองที่/ทองถิ่น ชุมชนตองมีความรูสึกวาตนเองเปนเจาของ ไมควรมีคําพูดที่วา “โครงการ สสส. โครงการของ สปสช.” หรือ “โครงการของ สช.” 3. ควรใหอํานาจแกทองที่/ทองถิ่นในการจัดการตนเองทั้งในเรื่อง “คน” “เงิน” และ “ภารกิจ” 4. ควรใหความสําคัญกับกิจกรรมสรางกระแสท่ีสงเสริมใหประชาชนของประเทศหรือภูมิภาคเขาใจในสิทธิ หนาที่ บทบาทของตนเองในสวนที่เก่ียวของกับ กองทุนหลักประกันสุขภาพ และธรรมนูญสุขภาพ เพ่ือใหเกิดผลเปนพหุคูณในการทํางานประชาสัมพันธระดับพ้ืนที่ 5. ควรใหความสําคัญ และ เสริมพลัง ใหกับกํานัน ผูใหญบาน และแกนนําองคกรชุมชน ตลอดจนภาคีของชุมชนท่ีมีอยูเดิม และสนับสนุนใหตอยอดการทํางานเดิมที่ประสบผลสําเร็จระดับหน่ึงแลวมาเพ่ิมมุมมอง หรือ มาเชื่อมโยงกับระบบสุขภาพ 6. รูปธรรมในการทํางานของภาคีตางๆ ในการเชื่อมตอกับระดับปฏิบัติการในพื้นที่ 6.1 สปสช. ขวยสรางกระแสเรื่องการสื่อสารเปาหมายกองทุน เร่ืองกลยุทธการบริหารกองทุนที่ดี และ เรื่องตัวชี้วัดในการประเมินความสําเร็จกองทุนที่กรรมการบริหารกองทุน และที่ประชาชนในพื้นที่สามารถทําได 6.2 สสส. ชวยสรางกระแสประชาธิปไตยในการพัฒนาสุขภาพ เนนการอยูรวมกันแบบมีสวนรวมและเคารพสิทธิของทุกคน โดยเริ่มตั้งแตการทํางานขององคกร สสส.เอง การทํางานของโครงการ ไปจนถึงการทํางานของชุมชนหรือพ้ืนที่ โดนเนนย้ําใหทุกฝายมองเห็นเปาหมายสุดทายของการสรางสุขภาพ คือการเปนสังคมที่มีความเทาเทียมเสมอภาคดานสุขภาพ 6.3 สช. ชวยสนับสนุนการเรียนรูของพื้นที่ใหเปนแกนนําในการทํากระบวนการของกิจกรรมสมัชชาในทุกขั้นตอน จนพ้ืนที่มีความม่ันใจในทักษะสําคัญของการทําสมัชชา คือ การฟงความคิดเห็น การจัดระบบขอมูล และ การเขียนรางขอคิดเห็น หรือ รางนโยบายสาธารณะที่มาจากพ้ืนที่ไดชัดเจน ถูกตองและมีประสิทธิผลใหเกิดการนําไปใช ระยะเวลาการสนับสนุนของสช. ควรขึ้นกับความครอบคลุมของการมีสวนรวม ความสามารถในการแสดงออก หรือแสดงความคิดเห็นของประชาชน มากกวาความสมบูรณครบถวนของกิจกรรมที่จัดขึ้นตามกระบวนการที่ระบุในคูมือ หรือขอคกลง/สัญญา หรือขึ้นกับปงบประมาณ 6.4 สกว. ชวยสนับสนุนการทําวิจัยในพ้ืนที่ในประเด็นที่สอดคลองกับแผนการพัฒนาของพื้นที่ โดยมีเปาหมายเพ่ือใหเกิดนักวิจัยของชุมชนเอง และ เกิดวัฒนธรรมการทํางานในชุมชนที่ใชขอมูลจากการวิจัยมาประกอบการตัดสินใจของคนในชุมชน 6.5 สธ. ชวยปรับแนวทางการกํากับติดตาม และตรวจราชการในพื้นที่ที่เนนงานตามนโยบายสวนกลาง มาเปนงานตามนโยบายของทองถิ่น และปรับรูปแบบ ยุทธศาสตรการทํางานของ

Page 146: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 130

สํานักงานสาธารณสุขอําเภอใหเนนการรวมเปนภาคีสําคัญในการพัฒนาตําบลใหมากขึ้นเพ่ือสนับสนุนใหเจาหนาที่ระดับ รพ.สต. ใหความสําคัญกับความตองการของชุมชนใหมากขึ้น

Page 147: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 131

เอกสารอางอิง

ภาษาไทย คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ระบบบริการสุขภาพชุมชน:โครงการ. กรุงเทพ:

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; 2553. ดวงพร เฮงบุณยพันธและคณะ. กรอบวธิีการศึกษาและถอดบทเรียนปฏิบัติการชมุชน. สํานักงานกองทุน

สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.). กรุงเทพ: บริษัท ทีคิวพี จํากัด; 2552. ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ และคณะ. กรอบนโยบายและยุทธศาสตรการขับเคลื่อนระบบสขุภาพในประเทศ

บราซิล สหรัฐอเมรกิาและสหราชอาณาจักร: บทเรียนสําหรับการทาํธรรมนูญสุขภาพแหงชาติ. วารสาร วิจัยระบบสาธารณสุข 2550; 2(2): 206 -23.

สุคนธ เจียสกุล. การประชุม สงเสริมสุขภาพโลก คร้ังที่ 6 ในประเทศไทย, โอกาส และความทาทาย, วารสารการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม 2548; 28(3).

สุพัตรา ศรีวณิชชากร. การทบทวนสถานการณการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน:เอกสารประกอบการประชุมเพ่ือพัฒนาโจทยและประเด็นวิจัยดานระบบสุขภาพชุมชนภายใตกรอบธรรมนูญสุขภาพแหงชาติ วันที่ 28 กันยายน 2552;หองประชุมสถาบนัวิจัยระบบสาธารณสุข อางในเอกสารประกอบการประชุมปรึกษาหารือการพัฒนาโครงรางการวิจัยระบบสุขภาพ วันที่ 11 เมษายน 2554.กรุงเทพ:สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ; 2552.

เสรี พงศพิศ และ ยงยุทธ ตรีนุชกร. โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการการพ่ึงตนเองดานสุขภาพชุมชน กรุงเทพ: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; 2545.

ศูนยวิจัยและพัฒนาระบบสขุภาพชุมชนมหาวิทยาลัยขอนแกน. โครงการการสรางความรูและถายทอดความรูดานการวิจัยสูชุมชน http://www.kkunuresearch.com

อมร นนทสุต. วิวัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน. วารสารการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม 2551; 31(2).

อําพล จินดาวัฒนะ. สาระจากการบรรยาย การพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีสวนรวมตามพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550. กรุงเทพ: บริษัท บียอนด พับลิชชิ่ง จํากัด; 2550.

Page 148: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 132

ภาษาตางประเทศ

Andrew L. Dannenberg, , Richard J. Jackson, Howard Frumkin, Richard A. Schieber, Michael Pratt, The Impact of Community Design and Land-Use Choices on Public Health: A Scientific Research Agenda. American Journal of Public Health 2003;l 93(9).

Best A, Stokols D, Green LW, Leischow S, Holmes B, Buchholz K. Am J Health Promot. Nov-Dec;18(2):168-76. An integrative framework for community partnering to translate theory into effective health promotion strategy American Journal of Public Health; 2003, 89( 9); 1322-27 .

Balabanova D, McKee M and Mills A. (eds). Good health at low cost 25 years on, What makes a successful health system?. London: London School of Hygiene & Tropical Medicine; 2011.

Barbara, I.A., Eng,E., Schulz, J.A., Parker, E.A., Satcher, A. Methods in community-based participatory research for health. Sanfancisco: John Willy & Sons Inc. ;2005.

Ditton, M. Primary health care for the rural poor in Thailand. Newmandala 2009; 8(5) ;1-13.

Francisco VT, Paine AL, Fawcett SB. A methodology for monitoring and evaluating community health coalitions. Health Education Research 1993;8(3):403-416.

Krit Pongpirul, Barbara Starfield, Supattra Srivanichakorn, Supasit Pannarunothai. Policy characteristics facilitating primary health care in Thailand: A pilot study in transitional country. International Journal for Equity in Health 2009; 8 (8). doi:10.1186/1475-9276-8-8.

Israel, B.A., Eng , E.,Schulz,A.J, Parkers, E.A. Methods in Community Based Participatory Research for Health. SanFrancisco ,CA: Jossey Bass Publisher;2005.

Lantz,P M., Viruell-Fuentes E,, Israel B. A., Softley D ,and Guzman R. Can Communities and Academia Work Together on Public Health Research? Evaluation Results. Journal of Urban Health: Bulletin of the New York Academy of Medicine 2001;78(3).

Lee, Chung Yul et al. Development of a community health promotion center based on the WHO’s Ottawa Charter Health Promotion Strategies Japan. Journal of Nursing Science 2009; 6: 83-90.

Macaulay, A C, Commanda L E, William L Freeman, Gibson,N , McCabe, M L Robbins, C M, Twohig, P L .Participatory research maximises community and lay involvement BMJ 1999; 319 : 774.

Page 149: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 133

Maurana, C.A., Goldeuberg, K. A Successful Academic-Community Partnership to Improve the Public's Health. Academic Medicine 1996; 71(5): 425-31.

Mayer, K, Appelbaum, J Rogers, W L T, Bradford J and Boswell S. Field Action Report: The Evolution of the Fenway Community Health Model. American Journal of Public Health 2001; 91(6).

Meredith Minkler. Community-Based Research Partnerships: Challenges and Opportunities. Journal of Urban Health: Bulletin of the New York Academy of Medicine, 2005; 82(2):Supplement 2.

Pantyp Ramasoota. Primary Health Care: The Future of Primary Health Care in Thailand. Regional Health Forum 1997; 2 (1): 1-7.

Quinn , S C. Ethics in Public Health Research: Protecting Human Subjects: the Role of Community Advisory Boards. Am J Public Health. 2004; 94(6): 918–22

R E Glasgow, T M Vogt and S M Boles .Evaluating the public health impact of health promotion interventions: the RE-AIM framework .American Journal of Public Health, 1999; 89(9): 1322-27.

Rohde, J et al. Alma-Ata: Rebirth and Revision 4: 30 years after Alma – Ata: has primary Health care worked in countries. The Lancet 2008; 372: 950-61.

Sanguan Nitayarumphong. Evaluation of Primary Health Care in Thailand: what policies worked? Health Policy Plan 1990; 5 (3): 246-54. doi: 10.1093/heapol/5.3.246

Steckler AB, Dawson L. Community health development: An overview of the works of Guy W. Steuart. Health Education Quarterly1993; 20(S3).

Stephen Tollman. Community Oriented Primary Care: Origins, Evolution. Applications Social Sciences Medicine 1991; 32(6): 633-942.

Stephen B. Fawcet,et.al . Using Empowerment Theory in Collaborative Partnerships for Community Health and Development American. Journal of Community Psychology, 1995; :23(5).

Werner D, Maxwell J, Thuman C. Where there is no doctor: Hesperian Foundation; 1992.

World Health Organization. The world health report 2008 :primary health care – now more than ever. Geneva: World Health Organization; 2008.

Page 150: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 134

ภาคผนวก

ภูมิสังคมเชงิประจักษและความเขมแข็งระดับชุมชน

Page 151: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 135

ภูมิสังคมเชงิประจักษ ตําบลบางนํ้าผ้ึง

อําเภอพระประแดง จังหวดัสมุทรปราการ

ดานสังคม/วฒันธรรม “ตําบลบางน้ําผึ้ง” ตั้งอยูในอําเภอ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ซ่ึงเปนหนึ่งใน 15 ตําบลของอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ทําเลที่ตั้งของตําบลอยูริมฝงแมนํ้าเจาพระยา มีเน้ือที่ประมาณ 1,938 ไร รูปรางคลายกระเพาะหมูหรือแอกวัว หรือเรียกวา คุงกระเพาะหมู มีแหลงทองเท่ียวเพ่ือชม ห่ิงหอย และ ตลาดน้ําบางน้ําผึ้งจะเปดเฉพาะวันเสาร – อาทิตย

ขอมูลทั่วไปของตําบลบางน้ําผ้ึง เน่ืองจากพ้ืนที่ของตําบลบางน้ําผึ้ง เปนที่ราบลุมริมนํ้าเจาพระยา จึงทําใหดินบริเวณนี้มีความอุดมสมบูรณเต็มไปดวยสารอาหารของพืชนานาชนิด อาชีพด้ังเดิมของตําบลบางน้ําผ้ึง คืออาชีพทําสวนผลไม ซ่ึงมีมะมวงน้ําดอกไม และกลวยหอม เปนผลไมที่สรางชื่อเสียงเปนอยางมาก ความที่พ้ืนที่แถบนี้มีสวนผลไมมากมาย นํ้าหวานจากดอกไมนานาชนิด ไดดึงดูดใหผึ้งมาอาศัยทํารังอยูโดยทั่วไป ในพ้ืนที่น้ีชาวบานไดนํานํ้าผ้ึงมาตักบาตร จึงไดขนานนามแผนดินแหงน้ีวา "บางน้ําผึ้ง"

อณาเขตของพื้นที่ ทิศเหนือ ติดกับ ต.บางกอบัว อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ทิศใต ติดกับ ต.บางกระสอบ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ทิศตะวันออก ติดกับ แมนํ้าเจาพระยา (เขตบางนา)ทิศตะวันตก ติดกับ ต.บางยอ, ต.บางกอบัว อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ จํานวนประชากรในเขต อบต. 4,688 คน และจํานวนหลังคาเรือน 1,291 หลังคาเรือน ประกอบอาชีพหลักคือ ทําสวน รับจาง และอาชีพเสริมคือ เลี้ยงปลา ปลูกไมประดับ

จากขอมูลสารสนเทศชุมชน ตําบลบางน้ําผึ้ง มีหมูบาน ทั้งสิ้น 11 หมูบาน โดยหมูที่ 3 ตําบลบางนํ้าผ้ึง ตั้งอยูบริเวณริมฝงแมนํ้าเจาพระยา มีเน้ือที่ประมาณ 70 ไร ทิศตะวันออก จดหมูที่ 2 ตําบลบางน้ําผ้ึง ทิศใต จด แมนํ้าเจาพระยา ทิศตะวันตก จด หมูที่ 4 ตําบลบางน้ําผ้ึง และทิศเหนือจด หมูที่ 10 ตําบลบางน้ําผึ้ง สภาพพ้ืนที่โดยทั่วไปเปนรองสวนด้ังเดิม แตเดิมในฤดูฝน และมีนํ้าทะเลหนุนจะเกิดนํ้าทวม ปจจุบันไดมีการทําเขื่อนลอมรอบบริเวณอําเภอพระประแดงทั้งหมด ปญหาเรื่องนํ้าทวมจึงหมดไป ประชาชนจึงหันมาประกอบอาชีพด้ังเดิม คือการทําสวน ลักษณะการปลูกสรางบานเรือนจะอยูบริเวณริมฝงแมนํ้าเจาพระยาเปนสวนใหญ สวนที่เหลือปลูกกระจายอยูทั่วไป ประชาชนประมาณรอยละ 98 นับถือศาสนาพุทธ การดําเนินวิถีชีวิตประจําวัน ยังอยูแบบด้ังเดิม คือ อยูกันเปนครอบครัวใหญ

การเดินทางมาที่ตําบลบางน้ําผ้ึง สามารถเดินทางได 2 ทาง คือ ทางบกใชถนนสายสุขสวัสด์ิ ตรงไปทางปอมพระจุลจอมเกลาฯ ถึงสามแยกพระประแดง แลวเลี้ยวซายที่แยกไฟแดง ผานที่วาการอําเภอพระประแดง แลวเลี้ยวซายเขาถนนเพชรหึงษ ซ่ึงเปนถนนสายหลักประมาณ 4 กม. แลวเลี้ยวขวาเขาถนนบัวผึ้งพัฒนา สวนทางน้ําน้ัน ขามฝงที่ทาเรือสรรพวุธ แลวขามมาที่วัดบางน้ําผ้ึงนอก

Page 152: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 136

สถานที่สําคัญ ตําบลบางน้ําผึ้งมีสถานที่สําคัญ หลายแหง ซ่ึงจะเปนสถานที่สําคัญทางศาสนา ไดแก วัดบางน้ําผึ้งใน วัดบางน้ําผึ้งนอก และที่ขาดไมไดคือ “ตลาดน้ําบางนํ้าผ้ึง” และสถานที่สําคัญอ่ืนๆ เชน สถานีอนามัยตําบลบางน้ําผ้ึง ที่ทําการองคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผ้ึง และสวนเกษตรทฤษฎีใหม

วัดบางน้ําผ้ึงนอก เปนวัดเกาแกมีโบราณวัตถุที่นาศึกษา มีภาพเขียนเกาแกในวิหาร ซ่ึงสันนิษฐานวา สรางตั้งแตยุคตนแหงกรุงรัตนโกสินทร ตั้งอยูริมแมนํ้าเจาพระยา การเดินทางไปไดทั้งทางนํ้าและทางบก ทางบกไปตามถนนเพชรหึงษ เลี้ยวขวาตามถนนสายบัวผึ้งพัฒนา จะมองเห็นซุมประตูวัดบางน้ําผ้ึงนอก อยูติดเขตตําบลบางกอบัว หรือถามาทางน้ําโดยขามฝงจากทาเรือวัดบางนานอก เขตกรุงเทพฯ มาทาเรือวัดบางน้ําผึ้งนอก

ภายในมีภาพฝาผนังภายในวิหารวัดบางน้ําผึ้งนอก สรางตั้งแตปพ.ศ. 2454 และมีโบสถเกาแกสรางป พ.ศ.2454 ยังคงเหลือสภาพความเกาแกที่นาศึกษา

งานเทศกาลประเพณีตําบลบางนํ้าผ้ึง “งานมะมวงน้ําดอกไม และงานประเพณีสงกรานตบางนํ้าผึ้ง” เปนงานประจําปที่เปนที่ชื่นชอบของผูมาเยือนเปนอยางมาก เน่ืองจากตําบลบางน้ําผ้ึงจึงจัดเปนชุมชนที่มีผลผลิตทางดานการเกษตรที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งมะมวงน้ําดอกไม ที่มีรสชาติหวาน กลิ่นหอม นารับประทานยิ่งและเปนที่ยอบรับของตลาดตางประเทศอีกดวย ในโอกาสนี้ หากนักทองเท่ียวทานใดมีโอกาสมาทองเที่ยวที่ตลาดนํ้าบางน้ําผ้ึง นอกจากการไดเลือกซ้ือสินคาชุมชนบางนํ้าผ้ึงแลว ยังจะไดเลือกซ้ือผลไมขึ้นชื่ออยาง มะมวงน้ําดอกไม ตลอดเดือนมีนาคม และนอกจากเทศกาลมะมวงน้ําดอกไมที่จะจัดขึ้นทุกวันเสาร-อาทิตย ตลอดเดือนมีนาคม แลวน้ัน ในชวงเดือนเมษายนซึ่งจัดเปนเทศกาลประเพณีสําคัญ ชาวตําบลบางน้ําผ้ึงจึงรวมใจจัดงานประเพณีสงกรานตบางนํ้าผึ้งขึ้น เพ่ือสืบสานประเพณีไทยด้ังเดิมใหคงอยูสืบไป ภายในงานมีกิจกรรมการละเลนไทยใหนักทองเที่ยวไดรวมสนุกมากมาย อาทิ รีรีขาวสาร สะบามอญ การชกมวยทะเล เปนตน พรอมรวมสรงนํ้าพระสรางสิริมงคลใหเแกชีวิตในโอกาสการตอนรับปใหมไทย และการรดน้ําผูใหญเพ่ือแสดงความรักเคารพ และถือเปนการสรางความสุข ความปลื้มปติ ใหเกิดขึ้นแกสังคม ชุมชนและครอบครัว (การทองเท่ียวแหงประเทศไทย:2554)

ธรรมชาติกับการทองเท่ียว “ตลาดนํ้าบางนํ้าผ้ึง” ตลาดน้ําบางนํ้าผ้ึง ปจจุบันเปนแหลงทองเท่ียวเชิงอนุรักษที่เปนที่รูจักโดยทั่วไป มีผูคนนิยมมาทองเท่ียวและซื้อผลิตภัณฑชุมชนตางๆมากมาย แนวคิดและความเปนมาในการกอตั้ง แหลงทองเที่ยวตลาดน้ําบางนํ้าผ้ึง เกิดขึ้นจากความพยายามในการพัฒนาและแกไขปญหาของชุมชนที่พบกับภาวะผลผลิตการเกษตรลนตลาด ราคาตกต่ํา

Page 153: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 137

รายไดลดลง สงผลใหเศรษฐกิจในชุมชนตกต่ํา นายสําเนาว รัศมิทัต นายก อบต.บางน้ําผ้ึง มีแนวคิดในการจัดทําศูนยจําหนายสินคาเกษตร เพ่ือเปนแหลงจําหนายสินคาเกษตรของชุมชน ไดนําแนวคิดน้ีเขาสูเวทีประชาคม และไดรับความเห็นชอบจากชาวบานทั้ง 11 หมูบานวาควรสรางเปนตลาดน้ํา เพ่ือจะไดเปนแหลงจําหนายสินคาทั้งดานเกษตรและสินคาทองถิ่นอ่ืน ๆ ควบคูไปกับการเปนแหลงทองเท่ียว เน่ืองจากเล็งเห็นแลววาชุมชนมีศักยภาพเพียงพอ และมีขอตกลงรวมกันวาสินคาที่นํามาขายนั้นตองเปนสินคาที่มาจากคนในพื้นที่ตําบลบางน้ําผึ้งและตําบลที่ใกลเคียงในพื้นที่อําเภอพระประแดงเทาน้ัน ยกเวนสินคาโอท็อปของจังหวัดสมุทรปราการที่อนุญาตใหนํามาขายในตลาดน้ําได เพ่ือเปนการปองกันเงินไมใหไหลออกจากชุมชน โดยอบต.บางน้ําผ้ึง ไดรับความรวมมือดวยดีจากชาวบานที่เปนเจาของที่ดินบริเวณที่จัดทําตลาดน้ําบางน้ําผึ้ง ในการอนุญาตใหทําถนนและสะพานคอนกรีตผานที่ดินของตน (จริยาวัฒน โลหะพูนตระกูล 2553: 1)

พ้ืนที่จําหนายสินคาในตลาดน้ําบางน้ําผ้ึงแบงออกเปน 5 สวน ไดแก รานจําหนายสินคาทองถิ่น รานจําหนายสินคาหน่ึงตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ หรือ “โอท็อป” เรือจําหนายสินคา รานจําหนายผลไมที่มาจากนอกพ้ืนที่และรานจําหนายตนไม นอกจากน้ียังมีกิจกรรมที่หลากหลายทั้งโฮมสเตย ขี่จักรยานชมธรรมชาติของชุมชน ลองเรือชมห่ิงหอย ดนตรีและศิลปในสวน พายเรือในคลอง การนวดแผนไทย การทําขนมไทย และแหลงเรียนรูวิสาหกิจชุมชน การจําหนายสินคาและกิจกรรมที่จัดทําขึ้นลวนสะทอนใหเห็นภูมิปญญา วิถีชีวิตของทองถิ่นและธรรมชาติในพ้ืนที่

ตลาดนํ้าบางน้ําผ้ึง เริ่มมีการจัดสรางซุมจําหนายสินคาและซุมขายของ ปรับพ้ืนที่รวมเวลาดําเนินงานทั้งสิ้น 3 ป และเริ่มเปดดําเนินการเม่ือวันที่ 28 กุมภาพันธ 2547 ในวันเสาร - อาทิตย ตั้งแตเวลาประมาณ 07.30 - 15.00 น.

ที่มา : OK nation โฮมสเตยบางนํ้าผ้ึง จากแนวคิดการพัฒนาพ้ืนที่ทองเท่ียวที่ผนวกระหวางการพัฒนาชุมชนและ

อนุรักษ เพ่ือการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน จึงเปนที่มาของที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบทของตําบลบางน้ําผ้ึง อีกทั้งพ้ืนที่ตําบลบางน้ําผ้ึงมีพ้ืนที่ไมหางไกลจากตัวเมืองมากนัก คือหางจากทาเรือคลองเตย ซ่ึงถือเปนจุดศูนยกลางธุรกิจที่สําคัญแหงหน่ึงในกรุงเทพฯ เพียง 2 กิโลเมตร และเปนพ้ืนที่สีเขียวกลางใจเมืองที่เปนพ้ืนที่ที่ดีที่สุดของเอเชียตามการจัดอันดับรางวัลสุดยอดเอเชียของนิตยสารไทม เม่ือเดือนเมษายน 2549 นอกจากน้ียังมีสถานที่ทองเท่ียวอีกมากมายในพ้ืนที่ เชน ตลาดน้ําบางน้ําผ้ึง บานธูปสมุนไพร ศูนยถายทองเทคโนโลยีทางการเกษตรหมู 6 วัดบางนํ้าผึ้งนอก วัดบางนํ้าผึ้งใน เปนตน

Page 154: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 138

รวมทั้งกิจกรรมการทองเท่ียวที่หลากหลาย เชน ขี่จักรยานชมธรรมชาติ เดินชมธรรมชาติ พายเรือแคนู สองนก เปนตน จึงทําใหเปนจุดสนใจของนักทองเท่ียงเพ่ิมมากขึ้นในปจจุบัน

นอกจากนี้ ยังมีสถานที่ทองเที่ยวอีกมากมายในพื้นที่ เชน ตลาดนํ้าบางนํ้าผ้ึง บานธูปสมุนไพร ศูนยถายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร หมู 6 วัดบางนํ้าผ้ึงนอก วัดบางนํ้าผ้ึงใน เปนตน รวมทั้งกิจกรรมการทองเที่ยวที่หลากหลาย เชน ขี่จักรยานชมธรรมชาติ เดินชมธรรมชาติ พายเรือแคนู สองนก เปนตน จึงทําใหเปนจุดสนใจของนักทองเท่ียวเพิ่มมากขึ้นในปจจุบัน

โฮมสเตยบางน้ําผึ้ง มีแนวการจัดการที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท ตามแนวทางปฏิบัติของสํานักพัฒนาการทองเที่ยว บานที่อยูในโครงการจะมีโครงสรางที่แข็งแรง ม่ันคง : มีเอกลักษณของบานสมัยกอน คือ เปนบานทรงไทย และเปนบานที่มีลักษณะใตถุนสูง โดยลักษณะของบานพักที่อากาศถายเท และมีแสงสวางสองถึง หลังคาไมมีการร่ัวซึม

การจัดหองพัก หองนอน : จัดใหที่พักมีทั้งแบบ หองแยก หองรวม และกางเตนท โดยจะมีลักษณะเปนสวนตัว เรียบงาย มีเคร่ืองนอนสะอาด (ที่นอน หมอน ผาหม มุง) เคร่ืองนอนจะมีการซัก รีด ทําความสะอาดทุกคร้ัง ที่ นักทองเที่ยวออกจากที่พัก และทําการปู/วางตอนรับ/จัดใหม เม่ือมีนักทองเท่ียวรายใหมเขาพัก มีไฟฟาและแสงสวางพอเหมาะสม

หองอาบนํ้า หองสุขา : ดูแลอยางสะอาดถูกสุขลักษณะ การจํากัดแมลง : ทางโฮมสเตยบางน้ําผ้ึงจัดการ โดยภูมิปญญาชาวบานและของที่มีอยูใน

ทองถิ่น คือ ธูปสมุนไพรไลยุง สินคา OTOP ของหมู 3 บางน้ําผ้ึง และวิถีด้ังเดิม คือ กางมุง รวมทั้งการจัดการปองกันลูกนํ้ายุงลาย โดยปฏิบัติตามหลักการของสาธารณสุข

สภาพแวดลอมบริเวณบาน : มีการดูแลอยางสะอาด มีธรรมชาติของรมไมบริเวณใกลเคียง มีสวนหยอมเล็กบริเวณนอกบาน มีชานนอกบานไวน่ังพักผอน

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน : นอกจากมีปายเตือนการระวังทรัพยสินแลว ยังมีการจัดเวรยามดูแลรักษาความปลอดภัย มีเคร่ืองมือส่ือสารที่มีการใชงานที่ดี มีเคร่ืองมือปฐมพยาบาลอยางพรอมเพรียง

กิจกรรมการทองเท่ียว : มีผูนําทางเขาชมสถานที่ทองเท่ียวตางๆ โดยใชการขี่จักรยาน เขาชมพ่ืนที่ตามเสนทางการเดินทางที่กําหนดไว หรือการพายเรือชมธรรมชาติ การแสดงกลองยาวโดยนักเรียนใหชม มีการตักบาตรพระสงฆในตอนเชา เนนกิจกรรมการทองเท่ียวที่ไมทําลายสิ่งแวดลอม และอนุรักษธรรมชาติ

แหลงทองเที่ยวในทองถิ่น :สวนผลไม แมนํ้าลําคลอง ตลาดน้ําที่อยูในบรรยากาศธรรมชาติ มีอาหารในทองถิ่นที่หลากหลาย รานคาของที่ระลึก รวมทั้งรานคาสินคา OTOP ตางๆ เชน สบูสมุนไพร ธูปสมุนไพร ดอกไมเกล็ดปลา เปนตน การพักผอนนวดแผนโบราณ การพายเรือแคนูในสวนศรีนครเขื่อนขันธ การชมโบราณสถาน และวัฒนธรรม ที่โบสถเกาแกกวา 200 ป ณ วัดบางน้ําผ้ึงนอก

สินคาที่ระลึก : สินคาที่ใชวัสดุในทองถิ่น และเปนสินคา OTOP เชน ของที่ระลึกจากลูกตีนเปด ลูกประคบ ผลิตภัณฑจากกะลามะพราว เปนตน

สนใจติดตอที่ :

Page 155: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 139

องคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผึ้ง (โฮมสเตยบางน้ําผ้ึง) หมูที่ 10 ถนนบัวผึ้งพัฒนา ตําบลบางน้ําผ้ึง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทร. 0-2819-6762 ตอ 110, 0-2461-0843, 08-9807-2501 สุขภาพชุมชนตําบลบางน้ําผ้ึง จากการศึกษาโดยการสัมภาษณหัวหนาสถานีอนามัย ประธาน อสม. และกลุมอสม. ตําบลบางน้ําผึ้ง ไดขอมูลวา การผลักดันดานสุขภาพของตําบลบางน้ําผึ้งน้ันมีปจจัยที่สําคัญคือมีผูนําที่สนใจสุขภาพ เน่ืองจากเปนคนในพ้ืนที่จึงอยากใหประชาชนมีสุขภาพดี ตั้งแตประมาณปพ.ศ.2526-2527 ผูนําของตําบลบางน้ําผ้ึงน้ัน มีอดีตนายกอบต.ที่ปจจุบันไดรับเลือกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (สส.) คือนายอํานวย รัศมิทัต สวนนายกอบต.คนปจจุบันคือ นายสําเนาว รัศมิทัต ซ่ึงเปนบุตรของนายอํานวย รัศมิทัต และนายกอบต.คนน้ีมีความเขมแข็งดานการทําชุมชนเขมแข็ง และมีตําแหนงเปนอนุกรรมการ สปสช.เขตระยอง จึงทําใหเกิดพลังในการผลักดันเรื่องสุขภาพในพื้นที่อีกดวย ซ่ึงประธานอสม.กลาววา สาเหตุที่คนในตระกูลน้ีสนใจเรื่องสุขภาพ เน่ืองจากเปนคนในพื้นที่และตองการดูแลคนในพื้นที่ เพราะสมัยกอนพ้ืนที่น้ีอยูหางไกลหมอ การเดินทางลําบากมาก เม่ือกอนการเดินทางทางเรือไปบางนา ไมมีรถเหมือนในปจจุบัน และเนื่องจากชุมชนนี้ทําสวน เชน สวนมะพราว เวลาแมบานทําอาหารตองใชกะทิหลายๆ ลูกจึงจะอรอย ทําใหตองใชมะพราวจํานวนมาก กอปรกับมะพราวหางายไมตองไปซื้อ จึงทําใหเกิดโรคความดัน ไขมันในเสนเลือด และโรคเบาหวานตามมา การเริ่มตนของอสม.ตําบลบางน้ําผ้ึง เร่ิมจากการมีผสส.(ผูสื่อขาวสาธารณสุข) กอน เชน คุณฉวี จะเร่ิมจากการเปน ผสส. กอนแลวจึงมากเปนอสม. (ปจจุบันคุณฉวี เปนประธานอสม.) การเขามาเปนอสม.จะมีการอบรมเกี่ยวกับสหเวชศาสตร ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มีการฝกกายภาพบําบัด โภชนาการ เทคนิคการแพทย การฝกสองกลองดูพยาธิ เปนตน ใชเวลาประมาณ 2 เดือนเม่ืออบรมเรียบรอยจะไดรับใบประกาศจากทานคณบดี

จากจํานวนอสม.ที่เพ่ิมมากขึ้น (ปจจุบันมีจํานวน 58 คน) มีการรวมกันเปนชมรม มีกฎของชมรม จนปจจุบันน้ีมีการคัดเลือกอสม.และกําลังจะจัดตั้งเปนสมาคมซึ่งอยูระหวางการดําเนินการ โดยมีแกนหลักคือ คุณสนธยา มโหทาน เปนประธานอสม.ระดับภาคและระดับประเทศ

คุณฉวี กลาวถึงความภาคภูมิใจในการเปนอสม.ซ่ึงเปนจิตอาสา และมีหนาที่ตางๆมากมาย มีการทํางานที่รวมกลุมกันเหนียวแนน และมีสวนรวมกับงานหลายๆ อยางๆ ไมเฉพาะแตดานสุขภาพเทาน้ัน จะรวมมือกับรัฐหากมีอะไรใหชวยจะยินดีชวยเหลือตลอด เชน รณรงคปลูกตนไม ปลูกปา อนุรักษสิ่งแวดลอม ลดโรครอน เปนตน นอกจากนี้ในตําบลน้ียังมีเครือขายอ่ืนๆ อีก อาทิ เครือขายกลุมผูสูงอายุ

เน่ืองจากการเห็นความสําคัญของสุขภาพ คุณสมบูรณ หัวหนาอนามัย กลาววา ผูสูงอายุมีการรวมกลุมกันประมาณ 200 คน เวลาหกโมงเชาของทุกวันอาทิตยจะเดินรอบตําบลเพ่ือออกกําลังกาย เสร็จแลวจะมารวมกลุมกันที่สนามหนาโรงเรียนมาออกกายบริหารทาตางๆ เชน ฤาษีดัดตน จากน้ันจะมีกิจกรรมดูแลลานวัด ทําความสะอาดรอบตําบล เปนการสรางเสริมสุขภาพทั้งกายและจิต รวมทั้งมีการตีกลองยาวดวย ที่ศูนยของชมรมผูสูงอายุน้ัน จะมีเคร่ืองออกกําลังกายของศูนย มีเตียงสําหรับพักเวลาลูก

Page 156: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 140

ไปทํางานไมมีใครดูแลมาฝากไวที่ศูนยได ตอนเย็นมารับกลับ โครงสรางของชมรมผูสูงอายุเหมือนกับโครงสรางของอสม. ซ่ึงศูนยฯ น้ีจัดตั้งมาไดเน่ืองจากการสนับสนุนของนายกอบต. ซ่ึงตั้งมาไดประมาณ 2 ปแลว นอกจากน้ียังมีหนวยงานอ่ืนๆ ที่มารวมดวย เชน กรมประชาสงเคราะห มารวมกิจกรรมเก่ียวกับผูพิการ และพัฒนาสังคมฯ

การหลอมรวมและขยายทุนทางสงัคมที่อยูสูการพัฒนากองทุน : ความโดดเดนของกองทุนหลักประกันสุขภาพบางนํ้าผ้ึง จากการศึกษาและวิเคราะหขอมูลนับตั้งแตจุดเร่ิมตนที่มีความคิดที่จะใหมีกองทุนเกิดขึ้นในตําบลบางน้ําผึ้ง จนกระท่ังมีการดําเนินการจัดตั้งกองทุนไดสําเร็จ ชี้ใหเห็นวา กองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลบางน้ําผึ้งเปนกองทุนที่เกิดขึ้นจากการหลอมรวมและขยายทุนทางสังคมที่มีอยูสูการพัฒนาการดําเนินการกองทุน เน่ืองจากพ้ืนที่ตําบลบางนํ้าผ้ึงมีทุนทางสังคมที่หลากหลาย ทั้งทุนคน ทุนทรัพยากรทางธรรมชาติตางๆ การดําเนินการกองทุนไดนําทุนทางสังคมที่มีอยูเดิมเหลาน้ันมาหลอมรวมกับการบริหารจัดการกองทุน จากการศึกษาเสนทางความเปนมาของกองทุน การดําเนินการกองทุนทําใหมองเห็นประเด็นที่นาสนใจของการเปนกองทุนตนแบบที่สามารถนําไปขยายผลการดําเนินการเพ่ือการเรียนรูสูพ้ืนที่อ่ืนๆ ดังประเด็นที่ไดนําเสนอดังตอไปน้ี

1. การดําเนินการกองทุนสุขภาพตําบลบางน้ําผ้ึงดําเนินการภายใตหลักการที่สําคัญคือ 1.1. หลอมรวมการดําเนินการกองทุนใหเปนเน้ืองานเดียวกับการดําเนินงานในการ

พัฒนาตําบล การดําเนินการกองทุน ของพ้ืนที่ตําบลบางน้ําผ้ึง อยูภายใตหลักการแนวคิดของการบริหารจัดการใหสอดคลองตามนโยบายการบริหารจัดการของพ้ืนที่ กลาวคือ การดําเนินการกองทุน ดําเนินการโดยนํานโยบาย แผนการพัฒนา พันธกิจ คําขวัญของตําบลที่วา “ตําบลบางน้ําผ้ึงเปนตําบลปลอดความยากจนโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนตัวตั้งในการดําเนินการ

1.2. เนนการพัฒนาศักยภาพประชาชน การสรางเสริมพลังอํานาจใหกับประชาชนในพ้ืนที่ในฐานะของการเปนเจาของสุขภาพของตนเอง ดังนั้นการดําเนินการกองทุน จึงมุงสงเสริมใหประชาชนมองเห็นศักยภาพของตนเอง มองเห็นถึงความสําคัญของการดูแลสุขภาพ การสรางเสริมสุขภาพเพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี เนนใหประชาชนสามารถดูแลตนเองได ดูแลกันเองไดในชุมชน เม่ือประชาชนในชุมชนมีสุขภาพที่สมบูรณแข็งแรงแลวน่ันหมายถึง ชุมชนจะเปนชุมชนท่ีเขมแข็ง ปราศจากคนเจ็บไขไดปวย มีแตคนที่มีสุขภาพดีที่พรอมจะรวมกันพัฒนาชุมชนโดยมีองคการบริหารสวนตําบลเปนองคกรหลักที่ชวยหนุนเสริมและพัฒนาโครงสราง

1.3.นําทุนทางทางสังคมที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด 1.4.มุงเนนการมีสวนรวมของทุกภาคสวนที่เก่ียวของ 2. การใชขอมูลเชิงประจักษเปนขอมูลสําคัญในการดําเนินการกองทุน ในกระบวนการ

ดําเนินการกองทุนของพื้นที่ตําบลบางน้ําผึ้งมีจุดเดนที่สําคัญคือ การใชขอมูลเชิงประจักษที่เกิดข้ึน

Page 157: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 141

จริงในพื้นที่เปนฐานในการออกแบบกระบวนการดําเนินงานกองทุน และที่สําคัญใชเปนฐานคิดที่สําคัญในการออกแบบกิจกรรมการบริการสุขภาพโดยเนนประชาชนชนเปนตัวตั้ง โดยท่ีขอมูลเชิงประจักษเหลาน้ัน เปนขอมูลที่ไดมาจากแหลงขอมูลตางๆ

3. เงื่อนไขที่ชวยหนุนเสริมการดําเนินการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 3.1 มีผูนําที่มีวิสัยทัศน กลาคิด กลาตัดสินใจ 3.2 การใชการมีสวนรวมของประชาชนและทุนทางสังคมท่ีมีสรางวิธีการดําเนินงาน

กองทุน 3.3 เงื่อนไขในการบริหารจัดการกองทุน ซ่ึงไดแก กองทุนตองมีหลักการบริหาร

งบประมาณอยางโปรงใส ประชาชนสามารถตรวจสอบได กองทุนตองมีกลุมบุคคลไดรับความไววางใจมาบริหารจัดการ ซ่ึงกองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลบางน้ําผ้ึงมีคณะกรรมการที่เก่ียวของ คือ คณะกรรมการบริหารกองทุนซ่ึงเปนบุคคลที่ไดรับมอบหมายโดยแบงเปน 2 สวน คือมาจากตําแหนง และมาจากการคัดเลือกของหมูบานแตละหมูซ่ึงเปนไปตามระเบียบของกองทุน และกองทุน ตองมีการบริหารจัดการที่ประชาชนยอมรับได จากการศึกษาประสบการณกองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลบางน้ําผ้ึง พบวารูปแบบการประชุมของคณะกรรมการกองทุนนั้นมีการประชุมสมํ่าเสมอทุกเดือน รวมถึงมีการดูแลรับผิดชอบ กํากับและติดตามการทํางานของผูดําเนินการ และบริหารงบประมาณกองทุนเพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดตอประชาชนในพ้ืนที่ โดยจะรับฟงความคิดเห็น และปญหาท่ีเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่เปนหลัก และกองทุนมีกิจกรรมที่เขาถึงกลุมเปาหมาย เน่ืองจากในการดําเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพตําบลบางน้ําผึ้งน้ัน ไดเ ร่ิมการจัดทําโครงการซึ่งสอดคลองกับวัตถุประสงคของกองทุน ซ่ึงมีกลุมประชากรเปาหมายท่ีสําคัญ คือ ในกลุมวัยทํางานจัดกิจกรรมสงเสริมการออกกําลังกาย การสงเสริมอาชีพของประชาชนในพ้ืนที่ในการจัดตั้งตลาดน้ําและใหความสําคัญกับตรวจคุณภาพของอาหารเพื่อสุขภาวะที่ดีของผูซ้ือและผูขาย การใหบริการสําหรับกลุมผูสูงอายุ และผูพิการ กองทุน ไดจัดใหมีผูดูแลผูพิการและผูสูงอายุที่บาน รวมถึงจัดกิจกรรมสุขสันตวันเกิดแกผูสูงอายุ กิจกรรมสงเสริมอาชีพแกผูสูงอายุและผูพิการ เปนตน

ดานการเมืองการปกครอง

อบต.บางน้ําผึง้ มีที่ตั้งอยูที่ หมู 10 ถนนบวัผึ้งพัฒนา ตําบลบางน้ําผ้ึง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ 10130

Page 158: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 142

สํานักงาน อบต. บางน้ําผึ้ง โทร. 0-2819-6762 บุคลากรของอบต.

1. นายเฉลิม อิงชํานิ โทร. 02-416-0863 ประธานสภา อบต. 2. นายจิตติ แตงตาด โทร. 02-461-0295 รองประธานสภา อบต. 3. นางสาวอสม.า ศรทอง โทร. 02-815-0290 เลขานุการสภา อบต. 4. นายสําเนาว รัศมิทตั นายก อบต. 5. นายเกียรตพิงศ ธนเสฎฐบุตต ปลัด อบต. 6. นายสําเนาว รัศมิทตั โทร. 08-1774-4229 ประธานกรรมการบริหาร อบต. 7. นายสวง หม่ืนเดช โทร. 02-815-0229 กรรมการบริหาร อบต. 8. นายวิชัย ธปูวิเชียร โทร. 02-815-0353 กรรมการบริหาร อบต. 9. นางปรานอม รัศมิทัต โทร. 02-461-0918 สมาชิกสภา อบต. 10. นางรัตนา เกตุแกว โทร. 02-815-1754 สมาชิกสภา อบต. 11. นายไพฑูรย ศรีโหร โทร. 02-815-0298 สมาชิกสภา อบต. การทํางานของอบต.บางน้ําผึ้งมีลักษณะการทาํงานแบบเครือญาติ และมีผลงานเปนที่ยอมรับและภาคภูมิใจของประชาชนมายาวนาน นอกจากนั้นยังมีความรวมมือกันกับหนวยงานภายนอก อาทิ สกว.วช.มีการศึกษาวิจัยเพ่ือการพัฒนาอีกหลายประเด็น โดยประเด็นเดนคือประเด็นเรื่องการทองเท่ียวทั้งการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ (Eco-Tourism) การทองเท่ียวโดยชุมชน (Community Based Tourism:CBT) ดานวิสาหกิจชุมชน และการศึกษาตามแนวพระราชดําริ และดานอ่ืนๆ อีกมาก ทําใหอบต.บางน้ําผ้ึงจึงเปนหนวยงานที่มีคลงัความรูในการพัฒนาชุมชน อีกทั้งยังไดรับความสนใจจากสถานศึกษาไดเขามาศึกษารวมกับชุมชนและเกิดการแลกเปลีย่นเรียนรูรวมกันจนมีผลผลิตทางวิชาสะทอนกลับใหกับชุมชนใหผูสนใจไดเรียนรูและสืบคนอยางตอเน่ือง

ดานการศึกษาการพัฒนาและแกไขปญหาชุมชน ดวยการจัดการพัฒนาแหลงทองเท่ียวโดยชุมชน ที่ตลาดน้ําบางน้ําผ้ึง โดยจริยาวัฒน โลหะพูนตระกูล (2553: 1) มีประเด็นศึกษาที่เก่ียวของกับการทํางานของอบต.กับการพัฒนาชุมชน พบวา แนวคิดและความเปนมาของชุมชนกับการดําเนินงานเพ่ือสรางแหลงทองเท่ียวตลาดน้ําบางน้ําผ้ึงน้ัน การพัฒนาแหลงทองเท่ียวตลาดน้ําบางน้ําผ้ึง เปนไปตามนโยบายรัฐที่ตองการใชการทองเท่ียวเปนเคร่ืองมือเพ่ือแกไขปญหาหรือทําให คุณภาพชีวิตของประชาชนในทองถิ่นดีขึ้น โดยใชกลไกองคกรปกครองสวนทองถิ่น กระจายอํานาจใหอบต.สามารถจัดการแหลงทองเที่ยวได สะทอนใหเห็นศักยภาพของ อบต.ในการใชการทองเที่ยวเปนเครื่องมือในการพัฒนาชุมชน ทําใหชาวบานมีรายไดและการจางงานเพิ่มขึ้น ประกอบกับเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศท่ีตั้งอยูใกลชุมชน เปนแหลงอาหารและสินคาทองถิ่นที่หลากหลาย ราคาไมแพงจึงสนองตอบความตองการในการเดินทางทองเท่ียวได ซ่ึงการดําเนินการพัฒนาแหลงทองเท่ียวตลาดน้ําบางน้ําผ้ึง

Page 159: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 143

จากการศึกษาวิจัยปจจัยในดานตาง ๆ ที่มีผลตอการสรางและพัฒนาแหลงทองเที่ยวของชุมชนอยางยั่งยืน สามารถนํามาอภิปรายผล ไดดังน้ี

ปจจัยภายนอก คือนโยบายภาครัฐเร่ืองการสงเสริมการทองเที่ยว และสรางกระแสความสนใจการทองเที่ยวผานสื่อมวลชนตาง ๆ น้ัน นับวามีผลในการชวยสรางแหลงทองเที่ยวใหม ๆ และสรางกระแสนิยมใหมีการเดินทางทองเท่ียวในประเทศเพิ่มขึ้น

ปจจัยภายใน ที่เปนจุดเดน คือ การมีผูนําที่เขมแข็งและเปนนายก อบต. ซ่ึงมีอํานาจหนาที่โดยตรงในการแกไขปญหาชุมชน มีกําลังคนและงบประมาณในการดําเนินการที่ตอเน่ืองและการมีเครือญาติที่เปนนักการเมืองทองถิ่นทําใหไดรับความเกรงใจมากกวาผูนําที่ไมมีเครือขายอํานาจทางการเมือง เง่ือนไขเหลาน้ีลวนสงผลตอความสําเร็จในการพัฒนา แตการพัฒนาแหลงทองเที่ยวตลาดน้ําบางนํ้าผ้ึง ยังไมประสบผลสําเร็จเร่ืองการสรางกระบวนการมีสวนรวมที่มาจากประชาชนในชุมชนและผูจําหนายสินคาในพื้นที่

ความเชื่อมโยงเร่ืองการทองเที่ยวกับการปองกันยาเสพติดโดยอบต.บางนํ้าผ้ึง จากการ

พลิกฟนตลาดน้ําบางน้ําผ้ึงถือเปนการสรางความเขมแข็งใหกับชุมชนไดหลายดาน รวมถึงดานการปองกันปญหายาเสพติด จากรายงานของ กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น (2553: 32-35) แสดงใหเห็นวา องคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผ้ึง ไดฟนฟูตลาดนํ้าบางน้ําผ้ึงพลิกความเงียบเหงาซบเซา ใหกลายเปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมเชิงนิเวศน (Eco-Tourism) จัดกิจกรรมในเทศกาลสําคัญทุกเดือนทําใหมีกิจกรรมที่นาสนใจตลอดทั้งป เพ่ือดึงดูดนักทองเที่ยวนับเปนการสรางโอกาสทางเศรษฐกิจที่เปดพ้ืนที่ใหคนในชุมชนเขามาจัดจําหนายผลิตภัณฑชุมชนใหแกนักทองเที่ยวโดยการจัดกิจกรรมในแตละเดือนนั้นก็เปนสวนหนึ่งของการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนที่ไดออกมาพบปะหารือชวยงานกิจกรรมชุมชน คนละไมคนละมือ แนวทางที่สงเสริมทั้งความเขมแข็งทางเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมประเพณีดังกลาว มีความสอดคลองกับนโยบายของอธิบดีกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และสงเสริมความเขมแข็งทางวัฒนธรรมประเพณี เพ่ือเปนเกราะในการปองกันยาเสพติดไมใหเขามาในชุมชนนอกจากนี้องคการบริหารสวนตําบลบางนํ้าผ้ึงยังไดวางแผนการดําเนินกิจกรรมเพ่ือปองกันและแกไขปญหายาเสพติดโดยตรงทั้งในดานการปองกัน ปราบปราม รวมทั้งการบําบัดรักษา

1. การปราบปราม สนับสนุนการดําเนินงานทั้งทางดานงบประมาณ และบุคลากรใหแกฝายปกครอง โดยใหกํานัน ผูใหญบานเขามามีบทบาทอยางเต็มที่ สรางชองทางเพื่อรับขอมูล เบาะแสดานยาเสพติด

2. การปองกัน 2.1 ในโรงเรียน สนับสนุนการเรียนการสอนนอกหลักสูตรปกติในสถานศึกษา เพ่ือสราง

ภูมิคุมกันดานยาเสพติดใหแกเยาวชนสรางเครือขายผูปกครองในการอบรมดูแลสอดสองเฝาระวังลูกหลาน จากปญหายาเสพติดทั้งในชุมชน และสถานศึกษา

Page 160: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 144

2.2 ในชุมชน ใหขอมูลขาวสาร ความรูดานยาเสพติดแกประชาชน สงเสริมการมีสวนรวมในการเฝาระวังชุมชนโดยชุมชน

3. การบําบัดรักษาอยางครบวงจร สงเสริมการนําผูเสพ/ผูติดยาเสพติด เขาระบบบําบัดรักษาที่เหมาะสม และสนับสนุนใหมีอาชีพ โดยจัดหาทรัพยากรที่จําเปนตอการประกอบอาชีพใหพรอมทั้งหาตลาดรองรับ ดานกายภาพสิ่งแวดลอม

ตําบลบางน้ําผ้ึง เปน 1 ใน 6 ตําบลกระเพาะหมู ที่อยูในเขตอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ (ประกอบไปดวยต.ทรงคนอง ต.บางยอ ต.บางกระสอบ ต.บางกระเจา ต.บางน้ําผ้ึง และต.กอบัว) เหตุที่เรียกวาคุงกระเพาะหมู เพราะวาเปนพ้ืนที่สีเขียวในคุงที่มีรูปรางคลายกับกระเพาะหมูหรือแอกวัว เปนพ้ืนที่เกษตรกรรมทามกลางความเจริญเติบโตของกรุงเทพมหานคร โดยมีอาณาเขตครอบคลุมพ้ืนที่ 6 ตําบล คือ ตําบลทรงคนอง ตําบลบางยอ ตําบลบางกะเจา ตําบลบางน้ําผ้ึง ตําบลบางกอบัว และตําบลบางกระสอบ มีเน้ือที่รวม 11,819 ไร พ้ืนที่กวารอยละ 85 ถูกโอบลอมดวยแมนํ้าเจาพระยาและยังคงความสมบูรณตามรูปแบบสวนเกษตรดั้งเดิม ที่มีอยูเพียงผืนเดียวและเปนผืนสุดทายที่อยูใกลกรุงเทพมหานครมากที่สุด คณะรัฐมนตรีจึงไดมีมติใหอนุรักษพ้ืนที่สีเขียวในบริเวณ 6 ตําบลน้ี ตั้งแตเม่ือป พ.ศ. 2520 บริเวณนี้ จึงเปนแหลงผลิตอากาศบริสุทธิ์ใหกับประชาชนในเขตจังหวัดสมุทรปราการ และกรุงเทพมหานครชวยกรองฝุนละอองและมลพิษทางอากาศ ที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มีอยูมากมาย นอกจากประโยชนทางดานสิ่งแวดลอมแลว เพ่ือคงสภาพของพ้ืนที่สีเขียวไวยางยั่งยืนชุมชนและหนวยราชการทองถิ่นโดยความรวมมือจากองคกรวิชาการอิสระหลายหนวยงานจึงมีโครงการพัฒนาพื้นที่เปนแหลงทองเที่ยวแบบผสมผสาน ระหวางสวนเกษตร ซ่ึงเปนอาชีพหลักของคนในพ้ืนที่ และการศึกษาวิถีชีวิตชุมชนไทยเพ่ือใหคุงกระเพาะหมูแหงน้ีเปนสถานที่พักผอนใหความรูความเพลิดเพลิน เปดโอกาสใหนักทองเที่ยวไดสัมผัสกับความงามตามธรรมชาติที่ไมไกลจากเมืองหลวงสุดสัปดาหไหนอยากไดอากาศบริสุทธิ์ก็สามารถแวะไปไดในทันที

องคการบริหารสวนตําบลบางนํ้าผ้ึงเปนพ้ืนที่หน่ึงที่ใหความสําคัญในการรักษาและอนุรักษสิ่งแวดลอม มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีกิจกรรมและโครงการตางๆ มากมาย อาทิ ตลาดน้ําบางนํ้าผึ้ง การรวมกลุมเยาวชน“Bee Power Save the World” ปาชุมชน หมูบานรวมเย็นเปนสุข ศูนยบริการผูสูงอายุ การทํานํ้าจุลินทรีย การบําบัดนํ้าเสียของครัวเรือน การทําหมูบานปลอดขยะ การผลิตปุยอินทรีย การจัดตั้งศูนยบริการถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร โดยองคการบริหารสวนตําบลบางนํ้าผึ้งไดเขารวมเปนโครงการขยายผลปดทองหลังพระมาตั้งแตเร่ิมจัดตั้งสถาบันสงเสริมและพัฒนากิจกรรมปดทองหลังพระฯ (ฝายสื่อสารสาธารณะและภาคีสัมพันธ :2554) นอกจากน้ันยังมีการศึกษาการจัดการขีดความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) การทองเท่ียวโดยชุมชน (ระยะที่1) โดยนักวิชาการ เพ่ือศึกษาขอมูลพ้ืนฐาน การพัฒนาตัวชี้วัด ประเมินขีดความสามารถในการรองรับไดของการทองเท่ียวโดยชุมชน เพ่ือหาแนวทางในการพัฒนาขีด

Page 161: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 145

ความสามารถในการรองรับไดตอไป ทั้งนี้ขอมูลที่ไดจะเปนประโยชนตอการจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชนและเกิดผลดีตอการทรัพยากรในชุมชนอีกดวย

การจัดการขยะในชุมชนพลังคนชวยกัน ขยะในชุมชนถือเปนปญหาหน่ึงของเมืองทองเที่ยว

จากการสัมภาษณสมาชิกในกลุมพลังคน พบวา ตําบลบางน้ําผึ้งมีแนวทางการจัดการขยะที่เขามาในชุมชนโดยมีความรวมมือจากหลายฝาย อาทิ กลุมปดทองหลังพระ กลุมปตท. และกลุมบางจาก เน่ืองจากปญหาขยะนี้สงผลกระทบตอนํ้า ทําใหเกิดนํ้าเสีย จึงมีการทําบอบําบัด ถังดักไขมัน ที่มีแนวทางตามแนวพระราชดําริ

โดยมูลนิธิปดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดําริ มีโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดําริ มูลนิธิชัยพัฒนา และองคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผึ้ง รวมมือกันวิจัยและทดสอบถังดักไขมันครัวเรือนในกลุมอาสาสมัครบางน้ําผ้ึงโดยติดตั้งถังดักไขมันตนแบบซึ่งนําวิธีแกปญหานํ้าเสียตามแนวพระราชดําริมาประยุกตใช พรอมเผยแพรวิธีผลิตถังดักไขมันโดยงายดวยตนเอง เม่ือวันที่ 26 เมษายน 2554 ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิปดทองหลังพระฯ นายการัณย ศุภกิจวิเลขการ ผูอํานวยการสถาบันสงเสริมและพัฒนากิจกรรมปดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดําริ ศ.ดร.เกษม จันทรแกว ผูอํานวยการโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยฯ เดินทางศึกษาดูผล “การวิจัยความสอดคลองระหวางกระบวนการทางวิศวกรรมกับพฤติกรรมของผูบริโภค” ซ่ึงเปนสวนหนึ่งใน “โครงการเผยแพรและติดตั้งถังดักไขมันชัยพัฒนา” ณ องคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผ้ึง อ. พระประแดง จ.สมุทรปราการ โดยมีนายสําเนา รัศมิทัต นายกองคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผึ้ง ผูบริหารและสมาชิกองคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผ้ึงใหการตอนรับ

ขอมูลจากกรมควบคุมมลพิษระบุวา ปจจุบันทั่วประเทศมีนํ้าเสีย 15,000 ลานลิตรตอวัน และยังมีการคาดการณเอาไววาในป 2555 บุคคล 1 คน จะผลิตนํ้าเสีย 406 ลิตรตอวัน ซ่ึงจะทําใหมีปริมาณน้ําเสียทั้งประเทศสูงถึง 24,306 ลิตรตอวัน โดยภาคกลางเปนภาคที่มีปริมาณน้ําเสียมากที่สุด

โครงการดังกลาวจึงมีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมใหประชาชนตระหนักถึงสภาพปญหานํ้าเสียและสิ่งแวดลอม โดยรวมมือรวมใจกันแกปญหาสภาพแวดลอม โดยเฉพาะปญหาดานสารปนเปอนในแหลง

นํ้าสาธารณะที่มีสาเหตุมาจากการใชนํ้าภาคครัวเรือน ซ่ึงมูลนิธิปดทองหลังพระฯ จะสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและประชาชนทั่วประเทศติดตั้งถังดักไขมันชัยพัฒนาในพื้นที่ของตนสําหรับ

Page 162: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 146

โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยฯ เปนโครงการที่อยูภายใตการกํากับดูแลของมูลนิธิชัยพัฒนา มีองคความรูความชํานาญในการบําบัดนํ้าเสียและขยะตามแนวพระราชดําริ มูลนิธิชัยพัฒนาจึงมอบหมายใหทําหนาที่ออกแบบและผลิตถังดักไขมันเพ่ือดักไขมันและบําบัดนํ้าเสียจํานวน 3 แบบ ไดแก แบบครัวเรือน แบบรานอาหาร และแบบโรงงาน โดยนําแนวพระราชดําริ “การใชหลักธรรมชาติบําบัดธรรมชาติ” หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว “ประหยัด เรียบงาย ทําใหงาย” โดยไมใชเงินลงทุนสูงหรือใชเทคโนโลยีที่ยุงยากเปนแนวทางในการผลิตและดําเนินโครงการ ซ่ึงตอมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีไดพระราชทานชื่อวา “ถังดักไขมันชัยพัฒนา” จากน้ันมูลนิธิปดทองหลังพระฯ ไดประสานใหมีการวิจัย“ความสอดคลองระหวางกระบวนการทางวิศวกรรมกับพฤติกรรมของผูบริโภค” ณ องคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผ้ึงเพ่ือนําผลการวิจัยไปพัฒนาตอยอดถังดักไขมันชัยพัฒนาใหมีประสิทธิภาพและสามารถรองรับกับปริมาณน้ําเสียไดอยางเหมาะสม ในขั้นแรกไดมีการติดตั้งถังดักไขมันใหแกอาสาสมัครภายในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลบางนํ้าผ้ึง จํานวน 30 ครัวเรือน มีขนาดจํานวนสมาชิกไมเกิน 5 คน ตอ ครัวเรือน ซ่ึงเปนจํานวนสมาชิกที่มีความเหมาะสมกับขนาดถังดักไขมัน โดยจะใชระยะเวลาในการวิจัยประมาณ 1 เดือน และไดกําหนดหลักเกณฑในการประเมินไว 2 ขอ ไดแก 1).คุณภาพของน้ําจากถังดักไขมัน โดยน้ําจะตองมีปริมาณไขมันอยูในเกณฑมาตรฐาน และ 2).การสํารวจความพึงพอใจตอการใชถังดักไขมัน เพ่ือนําขอมูลดังกลาวมาปรับปรุงใหถังดักไขมันมีประสิทธิภาพมากขึ้นและสอดคลองกับการใชงานจริงตอไป (ฝายสื่อสารสาธารณะและภาคีสัมพันธ :2554)

กลุมเยาวชนรักห่ิงหอย จากโครงการลานแสงห่ิงหอยรอยรักเจาพระยา จังหวัดสมุทรปราการ (จดหมายขาวเพ่ือนสรางสุข 2553 :4) ชุมชนบางน้ําผึ้งไดนําภูมิปญญาทองถิ่นมาใชฟนฟู “คลองบางนํ้าผ้ึง” ซ่ึงเปรียบเสมือนหัวใจหลักของชุมชนในอําเภอพระประแดงจังหวัด สมุทรปราการแหงน้ี แตเดิมคลองบางน้ําผึ้งมีความงดงาม เปนแหลงที่อยูของห่ิงหอยนํ้ากรอย ทั้งยังมีตลาดบางน้ําผึ้งเปนแหลงทองเท่ียวที่สําคัญ แตเม่ือการเติบโตของการทองเท่ียวและความเปนเมืองอุตสาหกรรมขยายตัวมากขึ้น มีนํ้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมไหลออกสูคลองธรรมชาติในปริมาณที่มากเกินกวาธรรมชาติจะรับไหว ทําใหเกิดปญหานํ้าเนาเสีย ปาซ่ึงเปนถิ่นที่อยูอาศัยของห่ิงหอยถูกทําลาย ห่ิงหอย นํ้ากรอยในบริเวณน้ีจึงลดลงตามไปดวยการดําเนินงานเพ่ือฟนฟูจึงเริ่มขึ้นจากการทําวิจัยเพ่ือใหไดขอมูลทางวิชาการท่ีอางอิงได รวมกับการฟนภูมิปญญา เรื่อง “ระบบนิเวศ 3 นํ้า” ซ่ึงเคยมีอยูแลวแตถูกละเลยไปใหหวนกลับคืนมาอีกคร้ัง เพราะพ้ืนที่สวนนี้ประกอบไปดวย “นํ้าเค็ม นํ้ากรอย และนํ้าจืด” นอกจากน้ียังใชห่ิงหอยเปนตัวชี้วัด เพราะห่ิงหอยจะสงผลกระทบตอความอยูรอดของชุมชน เม่ือปาอยู ห่ิงหอยก็อยู อาชีพอยู การเกษตรอยู คนอยูรอด และทองถิ่นก็จะอยูรอด

Page 163: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 147

จากน้ันจึงเริ่มอบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ือใหชุมชนเรียนรูและเขาใจกระบวนการอยางงายในการเฝาระวังแมนํ้า และสิ่งแวดลอมของตัวเอง โดยใหชาวบานรวมกับนักวิจัยออกสํารวจลํานํ้าและห่ิงหอย 1 เดือนตอครั้ง เก็บขอมูลทางดานนิเวศวิทยา ดึงเด็กๆ เขามามีสวนรวม และจัดทําคูมือใหกับชุมชนในการเรียนรูนิเวศ 3 นํ้า จนทําใหชุมชนเริ่มตระหนักและใหความสําคัญกับการดูแลลํานํ้า คนขับเรือที่พานักทองเท่ียวไปดูห่ิงหอยเกิดจิตสํานึก และปรับเปลี่ยนตัวเองใหกลายมาเปนหูเปนตา คอยเฝาระวัง และขยายไปสูกลุมเยาวชนรักห่ิงหอยที่กลายมาเปนหัวเรี่ยวหัวแรงในการสรางกระบวนการเรียนรูและสํารวจลํานํ้าและห่ิงหอยโดยชุมชนและเยาวชนอยางนอยเดือนละคร้ัง จนเกิดเปน “กลุมเยาวชนรักห่ิงหอย” ขึ้น ติดตอสอบถามขอมูลเพ่ิมเติม นายประสิทธิ์ วงษพรหม 087-1628305 กิจกรรมดานสิ่งแวดลอมในชุมชนบางนํ้าผ้ึง เน่ืองจากเปนชุมชนที่อยูติดกับสายน้ําจึงมีกิจกรรมตางๆ เก่ียวของกับการดูแลแมนํ้าลําคลองของชาวบางน้ําผ้ึงและมีเครือขายตางๆ เขามามีสวนรวม ดังกิจกรรมตอไปน้ี

ทําแผนพลังงานชุมชน ทํา MOU รวมกับสํานักงานพลังงานจังหวัดสมุทรปราการ เตรียมงานโครงการบําบัดเจาพระยา 84 พรรษา เทิดไทองคราชัน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว แลกเปลี่ยนเรียนรูเรื่องการอนุรักษสิ่งแวดลอม กับนายประภาส แสงประดับ ประธานชุมชนบาง

บัว “ของเลนจุลินทรียบอล” สอนจุลินทรียบอล และจุลลินทรียน้ํา ใหกับนักเรียนลูกเสือเนตรนารี

โรงเรียนธนินทรวิทยา ดอนเมือง สอนทําจุลินทรียบอล และจุลินทรียน้ํา ใหกับกลุมชาวบานและเด็กๆ ณ วัดบานพราวใน

ปทุมธานี กิจกรรม “คืนชีวิตใหแมนํ้า – Save The River” โดยอาสาสมัครภาคประชาชนรวมกับทองถิ่น

โรงเรียน เอกชน และราชการ สํารวจจุดที่เรือจม และโยนจุลินทรียบอล จุลินทรียนํ้า ลงแมนํ้าเจาพระยา โดย อาจารยมนัส หนู

ฉวี อาจารยปยะชีพ วัชโรบล โทรุ โคะโชจิ และทีมงานอาสาดุสิต ThaiFlood.com OpenCARE ซ่ึงไดรับการสนับสนุนจากทองถิ่น และ ตํารวจน้ํา

ดานเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจของตําบลบางน้ําผ้ึง มีสภาพทางเศรษฐกิจที่ดี จากการศึกษาขอมูลการจัดระดับหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงมหาดไทย ประจําปงบประมาณ 2553 (ศพพ.2) โดยกรมการพัฒนาชุมชน พบวา หมูบานในตําบลบางน้ําผ้ึงจํานวน 7 หมูบาน จากทั้งหมด 11 หมูบาน ไดแก บางน้ําผ้ึง03 บางน้ําผึ้ง04 บางน้ําผึ้ง05 บางน้ําผึ้ง09 บางน้ําผึ้ง11 วัดบางน้ําผ้ึงนอก และไฟไหม หมูบานขางตนนี้มีผลการจัดระดับหมูบานอยูในระดับม่ังมีศรีสุข

Page 164: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 148

การตุนเศรษฐกิจชุมชนที่สําคัญของตําบลบางน้ําผ้ึง ที่ประสบความสําเร็จโดยแนวคิดขององคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผ้ึงและการมีสวนรวมของชุมชนคือการดําเนินการ “ตลาดน้ําบางนํ้าผ้ึง” ผลการจัดการทองเท่ียวชุมชนตลาดน้ําบางนํ้าผ้ึง ไดกอใหเกิดการกระจายรายได มีการจางงานมากขึ้นและมีกองทุนในการพัฒนาแหลงทองเท่ียวอยางตอเน่ือง จริยาวัฒน โลหะพูนตระกูล (2553) ไดศึกษาการพัฒนาและแกไขปญหาชุมชน ดวยการจัดการพัฒนาแหลงทองเที่ยวโดยชุมชน กรณีศึกษาตลาดน้ําบางน้ําผึ้ง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ผลการวิจัยพบวา การพัฒนาแหลงทองเท่ียวตลาดน้ําบางนํ้าผึ้ง ดําเนินการโดยองคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผึ้ง สามารถแกไขปญหาใหแกชุมชนเรื่องผลผลิตทางการเกษตรได เพราะเปนการสรางอาชีพและรายไดใหแกประชาชนในพื้นที่ ความสําเร็จดังกลาวเปนผลสืบเนื่องจากปจจัยภายนอกซึ่งไดแก กระแสการสงเสริมการทองเท่ียวรูปแบบตางๆ ของภาครัฐ ที่สรางความตองการในการทองเที่ยวของภาคประชาชนอยางตอเน่ือง ควบคูกับการสงเสริมแหลงทองเท่ียวระดับทองถิ่น โดยมีปจจัยภายใน คือ พ้ืนที่สวนใหญเปนสวนเกษตรดั้งเดิมแบบยกทองรอง ซ่ึงเปนพ้ืนที่อนุรักษของภาครัฐมาตั้งแตป 2520 และ ตั้งอยูใกลกรุงเทพมหานคร ทั้งน้ี การมีผูนําอยางเปนทางการที่ดํารงตําแหนงนายก อบต. ทําใหสามารถจัดสรรงบประมาณเพ่ือการพัฒนาแหลงทองเท่ียวไดอยางตอเน่ือง รวมถึงสามารถขยายผลการพัฒนาแหลงทองเท่ียวไปเชื่อมโยงกับการพัฒนาชุมชนในดานตาง ๆ ไดอยางกวางขวาง เชน การพัฒนาดานคมนาคม สาธารณูปโภคตาง ๆ การร้ือฟนวัฒนธรรมประเพณี เปนตน

จากตลาดน้ําจึงมีการจัดการเร่ืองที่พักในชุมชนตามมา โดยการสนับสนุนของเครือขายการ

ทองเที่ยวโดยชุมชน ไดมีการสงเสริมการบริการที่พักในชุมชนและดําเนินการเปนวิสาหกิจชุมชน ชื่อชุมชนทองเที่ยว ตลาดน้ําบางนํ้าผ้ึง (วิสาหกิจชุมชนบางนํ้าผ้ึงโฮมสเตย)

ทรัพยากรการทองเที่ยวภายในชุมชน โบราณสถาน มีวัดบางนํ้าผ้ึงนอกเปนวัดเกาแกมีโบราณวัตถุที่นาศึกษาประเพณี-พิธีกรรม ยึดหลักประเพณีวัฒนธรรมเดิมที่มีอยูในทองถิ่นภูมิปญญาทองถิ่น มีปราชญชาวบานและผูรอบรูในชุมชนเพื่อถายทอดความรูแกนักทองเที่ยวที่มาศึกษาหาความรู งานศิลปหัตถกรรม มีแหลงเรียนรูดานงานศิลปะ และงานหัตถกรรม เชน วาดภาพระบายสี งานถักสานจากภูมิปญญาในทองถิ่น

รางวัลที่ไดรับเก่ียวกับการจัดการทองเที่ยวของชุมชน 1. รางวัลอุตสาหกรรมทองเท่ียวไทยป พ.ศ.2550 เพ่ือเฉลิมพระเกียรติเน่ืองในโอกาสมหามงคล 2. รางวัล นวัตกรรมทองเท่ียวแหงประเทศไทย คร้ังที่ 9 เรื่องโครงการ ตลาดน้ําบางน้ําผึ้ง วิถี

ชุมชนสูเศรษฐกิจพอเพียง 3. หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง อยูเย็นเปนสุข ดีเดนระดับจังหวัดสมุทรปราการ ผูนําอาสาดีเดน

ระดับจังหวัด 4. รางวัลอุตสาหกรรมทองเท่ียวแหงประเทศไทย คร้ังที่ 8 ประจําป พ.ศ.2553 ไดรับรางวัลดีเดน

ประเภทแหลงทองเท่ียวชุมชน

Page 165: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 149

แนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวของชุมชน 1. จัดหารถไวบริการนักทองเที่ยวเน่ืองจากเวลาลานจอดรถเต็มตองใชที่จอดรถบริเวณริมถนน

ทาง อบต. . ไดจัดรถไวคอย บริการ รับ-สงนักทองเท่ียว 2. จัดศูนยเรียนรูเพ่ิมฐานเรียนรูใหแกนักทองเท่ียว 3. ปรับปรุงสวนกลางมหานครไวคอยรับนักทองเท่ียวใหเขามาเรียนรูตนไมในพ้ืนที่ มีการปลูก

ตนไมเพ่ิม โดย นายมนัส รัศมิทัต กํานันตําบลบางน้ําผ้ึง การจัดการทองเที่ยวของชุมชน

รูปแบบการบริหารจัดการ ตลาดน้ําบางน้ําผ้ึงมีรูปแบบการจัดการ มีการจัดตั้งในรูปแบบงานบริหารกิจการตลาดนํ้าบางนํ้าผ้ึง มีประธานรองประธานและคณะทํางาน กลุมวิสาหกิจชุมชนบางน้ําผ้ึงโฮมสเตย มีการดําเนินการเปนกลุมวิสาหกิจชุมชน การจัดการทรัพยากรการทองเท่ียวและการใชประโยชน

เรื่องการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยว มีการประชุมผูจําหนายสินคาภายในตลาดน้ําบางนํ้าผ้ึงเดือนละ 2 คร้ังจะเนนการใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนอยางคุมคา มีการปลูกตนไมเพ่ิม การใชถุงผาแทนถุงพลาสติก หามใชโฟม พยายามใชวัสดุในทองถิ่นแทน เชน กระทงใบตองสด กระทงใบตองแหง เปนตน ลักษณะนักทองเท่ียว ชวงเชาจะเปนนักทองเที่ยวแบบครอบครัว พอ แม ลูก ชวงบายจะเปนนักทองเที่ยววัยรุน หนุมสาว นักทองเท่ียวเปนหมูคณะมาศึกษาดูงาน นิสิต นักศึกษา มาเรียนรูวิถีชีวิตชาวบาน

การดําเนินงานดานเครือขายการทองเที่ยวของชุมชน การเชื่อมโยงเครือขายทองเที่ยวระหวางชุมชน ไดแก สถานตากอากาศบางปู ฟารมจระเข

พิพิธภัณฑชางสามเศียรเอราวัณ เมืองโบราณ ปอมพระจุล ทหารเรือ

การเดินทางและการติดตอ ผูประสานงาน:

นางอาภรณ พานทอง ผู ใหญบานหมูที่3 ตําบลบางนํ้าผ้ึง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทร. 089 827 2901

ศูนยบริการขอมูลทองเท่ียวชุมชน: อบต.บางน้ําผ้ึง หมูที่ 10 ตําบลบางน้ําผึ้ง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

อีเมล [email protected]

Page 166: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 150

การเดินทาง:

รถยนต ใชเสนทางดวนบางนา-ดาวคะนอง ลงสะพานพระราม 9 เลี้ยวซายถนนสุขสวัสด์ิ ขับตรงมา สามแยกพระประแดงเลี้ยวซาย ขับสุดทางจะพบทางบังคับเลี้ยวซายขับมาประมาณ 5 กิโลเมตร เลี้ยวขวา เพชรหึงษ 26 ขับตรงมาสังเกตซายมือจะเห็นซุมประตูวัดบางน้ําผ้ึงใน

ทางเรือ ทานํ้าวัดบางนานอก น่ังเรือขามฟากมาวัดบางน้ําผึ้งนอกแลวนั่งมอเตอรไซค 10 บาท ตลอดสาย ผลิตภัณฑชุมชน OTOP บางนํ้าผ้ึง ชุมชนบางน้ําผึ้งยังมีผลิตภัณฑ OTOP ที่ขึ้นชื่อและบางผลิตภัณฑเปนผลิตภัณฑสงออกตางประเทศอีกดวย โดยมีขอมูลผลิตภัณฑที่นาสนใจของตําบลบางนํ้าผึ้ง ไดแก

ดอกไมประดิษฐจากเกล็ดปลา ธูปหอมสมุนไพรสูตรโบราณ ดอกไมจันทน ลูกประคบสมุนไพรบางน้ําผึ้งแผนไทย นํ้าพริกปากลดั 2

นํ้าเม่ียงคํา กระเปาผาเอนกประสงค ตนไมมงคลสมุาลัย โคมไฟตนมะพราว ผลิตภัณฑจักสานจากผักตบชวา

ความเขมแข็งของชุมชน ตําบลบางนํ้าผ้ึง

อําเภอพระประแดง จังหวดัสมุทรปราการ การผลักดันนโยบายที่ผานมา หลักคิดของการทํางานขององคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผึ้ง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ อยูภายใตหลักการแนวคิดของการบริหารจัดการใหสอดคลองตามนโยบายการบริหารจัดการของพื้นที่ ดังเห็นจากการทํางานโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ การดําเนินการกองทุน ดําเนินการโดยนํานโยบาย แผนการพัฒนา พันธกิจ คําขวัญของตําบลที่วา “ตําบลบางน้ําผ้ึงเปนตําบล

Page 167: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 151

ปลอดความยากจนโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนตัวตั้งในการดําเนินการ หลักคิดน้ีจึงนํามาสูการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ เพ่ือใหประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี และดําเนินชีวิตโดยยึดหลักของความพอเพียง จากการดําเนินงานที่ผานมาตําบลบางน้ําผ้ึง ไดรับการคัดเลือกเปนตําบลพัฒนาดีเดน ตําบลเขียวขจีดีเดน หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง อยูเย็นเปนสุข เปนหมูบานโอวีซี (Otop Village Champion) นับเปนตําบลตนแบบตําบลเขมแข็งพ่ึงตนเองไดอยางยั่งยืน และในปจจุบันกระทรวงมหาดไทยยังไดมีหนังสือประกาศฉบับแรกของประเทศไทย ประกาศใหตําบลบางน้ําผ้ึงเปนตําบลปลอดคนจนโดยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแหงแรกของประเทศไทยอีกดวย (กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพ้ืนที่ : 2553) การดําเนินงานเร่ืองตลาดน้ําบางนํ้าผ้ึงเปนผลงานหนึ่งที่ความสอดคลองกับนโยบายของรัฐและเปนการตอบสนองตอนโยบาย ดานนโยบายการทองเที่ยวจากการสงเสริมการทองเที่ยวของรัฐเน่ืองจากรัฐไดจัดใหการทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมหลักที่ทํารายไดเขาประเทศ จากปญหาวิกฤตเศษรฐกิจป 2540เปนตนมา การสงเสริมการทองเท่ียวจึงเปนสวนหนึ่งในการกระตุนเศรษฐกิจทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติ โดยสํานักงานการทองเท่ียวไดกําหนดแผนยุทธศาสตรของสํานักงานพัฒนาการทองเที่ยวโดยพันธกิจประการหนึ่งที่เก่ียวของกับการสงเสริมการทองเท่ียวในระดับทองถิ่นคือ พัฒนาศักยภาพการทองเที่ยวใหเปนเคร่ืองมือในการสรางรายไดใหแกประชาชน (สํานักงานการทองเที่ยว. ม.ป.ป. : ออนไลน) จากการสงเสริมการทองเท่ียวและกลยุทธการทองเท่ียวรวมทั้งในทางกฎหมายไดกําหนดไววา อบต.สามารถสงเสริมการทองเที่ยวและจัดกิจกรรมการทองเที่ยวในพื้นที่ได ทําใหอบต.จึงมีแนวทางในการสงเสริมการทองเที่ยว

นโยบาย“โครงการสวนกลางมหานคร” ในพ้ืนที่บางกระเจา ซ่ึงเปนสวนเกษตรเดิมที่รัฐไดจัดซ้ือไว เพ่ือจัดทําโครงการสวนกลางมหานคร แตเน่ืองจากชวงแรกรัฐบาลไดเวนคืนมาจากประชาชน และตอมาไดมีการซ้ือที่ดินจากประชาชนดวยความสมัครใจ ทําใหที่ดินของรัฐที่จะนํามาจัดทําโครงการสวนกลางมหานคร เปนแปลงขนาดยอยอยูกระจัดกระจายไปทั่วพ้ืนที่บางกะเจาทั้ง 6 ตําบล จํานวน 517 แปลง เน้ือที่ 1,276 ไร (กรมปาไม. 2550ข : ออนไลน) ปจจุบันพ้ืนที่สวนกลางมหานครอยูในการดูแลของกรมปาไมที่มีแนวทางดําเนินการโครงการปาชุมชน เพ่ือสรางการมีสวนรวมแกชุมชนในการบริหารจัดการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและเสริมสรางโอกาสในการพัฒนาอาชีพ การประยุกตใชภูมิปญญาเพ่ือรักษาสภาพแวดลอมและอนุรักษวัฒนธรรม โดยประชาชนในพื้นที่สามารถทําโครงการขอใชที่ดินดังกลาวเพ่ือเปนแหลงเรียนรูเรื่องตาง ๆ ได

นอกจากการดําเนินงานดานการทองเที่ยวแลวอบต.บางน้ําผ้ึงยังใหความสําคัญดานสิ่งแวดลอมควบคูไปดวย โดยมีโครงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติตางๆ รวมกับภาคีเครือขายมากมาย ทั้งการรณรงค อนุรักษและการฟนฟู ทั้งน้ีตลาดนํ้าบางน้ําผ้ึงยังเปนแหลงเรียนรูแบบบูรณาการนอกหองเรียน

Page 168: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 152

ตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยเชื่อมโยงท้ังความรูภูมิปญญาท้ังขนมไทย วิถีทองถิ่น ความรูทางวิทยาศาสตร และสิ่งแวดลอมเขาไวดวยกัน นายสําเนาว รัศมิทัต นายกอบต.บางน้ําผ้ึง เปดเผยวา ตลาดนํ้าบางน้ําผ้ึง ปจจุบันไมใชเปนเพียงแตตลาดน้ําเหมือนกับทุกที่โดยทั่วไป แตขณะนี้สวนหนึ่งไดเปนแหลงการเรียนรูทางการเรียน มีหนวยงานสถานศึกษานักเรียน นิสิต นักศึกษา ทั้งในพื้นที่และตางจังหวัดไดใชเปนแหลงเรียนรูทางธรรมชาติตลอดทั้งสัปดาห โดยทางตลาดน้ําฯไดจัดใหมีวิทยากรซึ่งเปนภูมิปญญาของทองถิ่นไดสาธิตการเรียนการสอน และการปฏิบัติในการนําผลิตภัณฑที่ไดจากทรัพยากรธรรมชาติ และการทําอาหาร ขนมไทยจากสูตรทองถิ่นโบราณ ซ่ึงผูเรียนจะไดรับทั้งความรู และความเพลิดเพลินภายในตลาดน้ําบางน้ําผ้ึงอยางครบครันอีกดวย

ดาน นางอุษณีย โชติมโนธรรม เลขาศูนยพัฒนาการเรียนรูวิทยาศาสตรเขตพ้ืนที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 ซ่ึงไดนําความรูและนักเรียนจาก 15 โรงเรียนรวมกวา 100 คน เพ่ือมาเรียนรูในพ้ืนที่ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง ไดกลาววา ไดนําคณะครูและนักเรียนรวมกันทํากิจกรรมในโครงการการเรียนรูวิทยาศาสตรนอกหองเรียน ภูมิปญญาไทยเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร ณ ตลาดน้ําบางน้ําผ้ึง เพราะนอกจากตลาดน้ําแหงน้ีไดถูกจัดใหเปนศูนยสาระการเรียนรูในการรักษาระบบนิเวศของจังหวัดสมุทรปราการแลว ทาง อบต.บางน้ําผ้ึง ยังไดใหความรวมมือแกคณะผูมาเยือนโดยไดจัดวิทยากรทองถิ่นใหความรูจาก กิจกรรมตาง ๆ ซ่ึงเปนภูมิปญญาทองถิ่นนั้นมีผลิตภัณฑหลายอยางกลายเปนสินคาโอทอปของจังหวัดที่มีชื่อเสียง เชน ผลิตภัณฑเกล็ดปลา ผลิตภัณฑจากลูกตีนเปด บานธูปสมุนไพรและบานขนมไทย ซ่ึงนักเรียนจะไดศึกษาและกระทําจริงดวยตัวเองเปนการนําความรูที่ไดรับไปพิจารณาวิเคราะหใหสอดคลองกันกับหลักสูตรการเรียนในหองเรียน ทําใหนักเรียนไดมีความรูความเขาใจเพ่ิมขึ้น ที่สําคัญคือจะทําใหเยาวชนเหลาน้ีไดมีความรักและปกปองทรัพยากรที่เปนธรรมชาติ และภาคภูมิใจในภูมิปญญาของคนไทยที่ดํารงอยูไดอยางมีความสุขดวยอาหารและผลิตภัณฑตาง ๆ ที่ธรรมชาติสรรคสรางใหตามพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว อีกดวย (เดลินิวส :2549)

สําหรับหนวยงานสถานศึกษาท่ีมาเที่ยวชมตลาดน้ําเปนหมูคณะและตองการใหทาง อบต. บางนํ้าผ้ึง จัดวิทยากรทองถิ่นใหความรูหรือจัดเครือขายจากฐานกิจกรรมตาง ๆ สอบถามรายละเอียดไดที่ น.ส.สุธาสินี ชัยเขื่อนขันธ ผจก.ตลาดน้ําบางน้ําผ้ึง โทร. 0-2819-6762 หรือ 0-1616-5398 ไดตลอดทุกวันไมเวนวันหยุดราชการ ความชัดเจนดานวิสัยทศัน พันธกิจ การดําเนินงานในโครงการตางของตําบลบางน้ําผ้ึง โดยมีผูนําที่เปนทางการนายกอบต.ที่มีความกลาคิดกลาทําสิ่งใหมๆ มีหลักคิดจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมุงสูคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน จากขอมูลคูมือกองทุนหลักประกันสุขภาพ ซ่ึงตําบลบางน้ําผ้ึงเปนตําบลตนแบบที่สามารถขยายผลไปยังกองทุนอ่ืนๆ ได ขอมูลแสดงใหเห็นถึงวิสัยทัศนของผูนําตําบลบางน้ําผ้ึงไดเปนอยางดี ดังตอไปน้ี

Page 169: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 153

“ผมมีโอกาสไดเขารวมประชุมกองทุนหลักประกันสุขภาพคร้ังแรก ประชุมกับสมาคม

อบต. เลยคิดวานาจะเสนอตัวกอน เพราะคิดวาเปนเร่ืองของการสงเสริม การพัฒนาคุณภาพ

ชีวิตของประชาชนในพื้นที่เลย เสนอตัวเปนพ้ืนที่นํารองของจังหวัดสมุทรปราการ คิดวาทําได

สามารถบริหารจัดการได ไมขาดทุน และกองทุนเปนเรื่องสําคัญ เรื่องสุขภาพเปนเร่ืองที่ อบต.

ตองทํา”

สําเนาว รัศมิทัต นายก อบต.บางน้ําผ้ึง (ประธานกรรมการกองทุน)

ทั้งน้ีการดําเนินการกองทุนฯตําบลบางน้ําผ้ึง ดําเนินการโดยนํานโยบาย แผนการพัฒนา พันธ

กิจ คําขวัญของตําบลท่ีวา “ตําบลบางน้ําผ้ึงเปนตําบลปลอดความยากจนโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนตัวตั้งในการดําเนินการ การพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานและสาธารณูปโภค

ชุมชนบางน้ําผ้ึงมีลักษณะเปนคุงกะเพาะหมูและมีปาชายเลนโอบลอมเปนพ้ืนที่สีเขียวที่ รวมกันอนุรักษเพราะยังคงสภาพคอนขางสมบูรณ การเขาถึง หากไมมีรถยนตสวนตัว หรือตองการนํารถจักรยานยนตขามหรือจักรยานขามน้ันสามารถใชทางทาเรือบางนาไดอยางสะดวกสบายโดยเลี้ยวมาทางสี่แยกบางนาสรรพาวุธตรงไปสุดทางจะพบกับทาเรือซ่ึงอยูติดกับวัดบางนาในสามารถใชบริการแพไดเวลาแพออกเปนรอบ ใชเวลาไมนานราคา 3 บาทตอทาน แพขามมีความปลอดภัยจากน้ันสามารถน่ังมอเตอรไซครับจางหรือเหมารถสี่ลอเล็กเขาไปทองเที่ยวในตลาดน้ําบางนํ้าผ้ึงไดโดยมีรถใหบริการอยางไมขาดสายสวนการคมนาคมในพื้นที่ โดยหลักชาวบานใชบริการทั้งรถยนตสวนตัว หรือรถจักรยานยนตและจักรยานในการเปนพาหนะในการเดินทางไปมาภายในชุมชนและตลาดน้ํา หากในตลาดน้ําน้ันสามารถใชเรือพายในการคมนาคมไดอีกดวย สาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐานในชุมชนบางน้ําผึ้งมีครบทั้งไฟฟา ประปา และโทรศัพททอระบายน้ํา การกําจัดขยะอุปกรณปองกันอัคคีภัยรวมทั้งยังมีโรงเรียนและสาสนสถานหลายแหง นอกจากนั้นมีสรางที่เชื่อมโยงกันระหวางคนในชุมชน นอกเหนือไปจากโครงสรางของทองถิ่นอบต. ดานการพัฒนาสาธารณูปโภค หลังจากมีการจัดตลาดน้ํา ทําใหมีการพัฒนา สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเพ่ือเอ้ือตอการทองเที่ยว อาทิ การคมนาคม มีไฟถนนและมีรถรับสงมากขึ้น ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต จากการพัฒนาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นรวมถึงผลกระทบดานรายไดลวนสงผลตอคุณภาพชีวิตโดยรวมของชาวบานในชุมชน ปจจุบันมีรายไดเพ่ิมขึ้น เสาร อาทิตยไปขายของทําใหรายไดเพ่ิมขึ้นดวย ครอบครัวก็มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

Page 170: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 154

ความสัมพันธของคนในชุมชนและภาคีเครือขาย ความสัมพันธของคนในชุมชนบางน้ําผึ้งมีความรวมมือกันอยางตอเน่ืองสมํ่าเสมอ ทางกลุมทองที่และทองถิ่นสวนใหญมีความสัมพันธแบบเครือญาติ ในตําบลบางน้ําผึ้งไดมีการรวมตัวความรวมมือกันหลายภาคสวน ทั้งการรวมตัวดานการทองเที่ยว ดานสิ่งแวดลอม/ อนุรักษธรรมชาติ ดานสุขภาพ ดานการศึกษา เปนตน และมีการรวมตัวกันในหลายชวงวัยทั้งเด็กและเยาวชน คนทํางาน กลุมผูสูงอายุ กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต กลุมเกษตรกร กลุมสตรี อสม. และอปพร.

มีผูศึกษาสภาพความรวมมือในพ้ืนที่บางนํ้าผึ้งดานการรวมกลุมเพ่ือการบริหารจัดการ ในมิติของตลาดนํ้าบางน้ําผ้ึง พูนสิริ พ่ึงโต (2553:99) พบวา ชาวบาน และองคการบริหารสวนตําบล มีความใกลชิดกันเปนทุนเดิมเพราะเปนคนในพื้นที่เชนเดียวกันอยูดวยกันมาระยะเวลานานทําใหเวลาเกิดปญหา จึงสามารถพูดคุยไดอยางตรงไปตรงมา และมีการรวมกลุมเพ่ือประชุมกันเดือนละหนึ่งคร้ังเพ่ือที่วาใครมีปญหาใดๆ จะสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันไดอยางทั่วถึงโดยแบงออกเปน 5 กลุม สําหรับผูประกอบการในตลาดน้ําและในกลุมจะรวมรวมและนํามาประชุมกันในวันนัดหมาย จากการใหสัมภาษณของผูนําการกอตั้ง ที่กลาวถึงโครงขายการทํางานวาสวนใหญเราจะเนนการคุยกันใหมากๆและใหความเคารพซึ่งกันและกันไมอยากใหทุกคนเห็นแกตัวอยากใหรักทองที่กันใหมากๆ เพราะวาเรา ไดอะไรจากตลาดน้ําเยอะกวาเงินทางที่ไดมาเชน ความสัมพันธที่ดีทําใหแตละบานที่อยูกันไกลๆ ไดรูจักกัน ชวยเหลือเรื่องอ่ืนๆ เชนพูดคุยกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันมันไดมากกวารายไดที่เพ่ิมและทําใหเรารูจักกัน มากขึ้นเวลามีเทศกาลอะไรก็ออกมารวมดวยชวยกันเปนอยางดี และสนุกสนานมาก

สวนการจัดการภายในหนวยงานของรัฐจะไมเขามายุงเก่ียวใหเปนการจัดการของผูนําการกอตั้งและประชาชนในชุมชนชวยกันระดมความคิดและทํางานรวมกัน ดังน้ันความสัมพันธของคนในชุมชนและภาคเครือขายในตําบลบางน้ําผึ้ง จึงมีมากมายหลายลักษณะดังจะเห็นไดชัดเจน เชน เครือขายการทองเท่ียว เครือขายวิชาการ เครือขายสุขภาพ เครือขายสิ่งแวดลอม เครือขายวิสาหกิจชุมชน เครือขายสื่อมวลชน เปนตน ทั้งนี้แตละเครือขายจะมีการรวมกลุมกันเพ่ือทําโครงการ กิจกรรมและมีความเคลื่อนไหวตางๆ อยางตอเน่ือง ดังเชน เครือขายการทองเที่ยว ตําบลบางน้ําผ้ึงมีความสัมพันธทั้งกับรัฐและองคกรเอกชน อาทิ การทองเท่ียวแหงประเทศไทย สถาบันทองเท่ียวโดยชุมชน (CBT-I) การทองเท่ียวในทองถิ่นสมุทรปราการ /ปากนํ้า และอื่นๆ กลุมทองเท่ียว กลุมโฮมสเตย กลุมผลิตภัณฑ และอีกมาก

จากการใหสัมภาษณของกลุมโฮมสเตยหมู 3 ใหขอมูลชัดเจนวา คนบางน้ําผ้ึงชวยกันทํางานไมมีแยก มีระบบ “ลงขัน” “ลงหุน” ไมตองใชเงิน จะขอจากภาคีหากไมพอ ไมจัดอันดับแตจัดความพรอมเพรียง ใหทุกคนทํางานได การทองเที่ยงเชิงอนุรักษทําไมงาย ดังน้ันใจตองมากอนการทองเที่ยวจึงจะเกิดขึ้น สิ่งสําคัญ ตอง “วิจัยตนเอง” ตองซ่ือสัตยและถูกตอง ตองกลาวิจัยตนเองใหได ทําไดแตไมงาย ในชุมชน เปน “ชุมชนถอดบทเรียนเอง” การชี้วัดของสมาชิกในชุมชนเปนบรรทัดฐาน ความตอเน่ืองจากกิจกรรมทองเที่ยวสูการใชวิชาการและการวิจัยในการพัฒนาชุมชนและตนเอง จึงเกิดเครือขายดานเครือขายวิชาการขึ้นระหวางพ้ืนที่และภาคีภายนอก ทั้งมหาวิทยาลัยมากมาย องคกรเอกชน มูลนิธิชัยพัฒนา และบางจากเปนตน

Page 171: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 155

การงานวิจัยในชุมชนอาจารยกัลยาณี คุณกรองทองและคุณธา ซ่ึงเปนทีมวิจัยที่เขามาในพื้นที่ ไดใหขอมูลกระบวนการทํางานรวมกัน เพ่ือศึกษาและเก็บขอมูลในชุมชน

“กระบวนการทํางานรวมกันคือ” นักวิชาการ ชุมชน นักวิจัยชุมชน 1. หาเวลาทํางานรวมกัน 2. หาเปาหมายรวมกัน 3. หาวิธีการทํางานรวมกัน 4. กําหนดดัชนีรวมกัน การหาดัชนีรวมกัน 5. สรางแผนรวมกัน การทําแผนรวมกัน ขึ้นกับความเขาใจและศรัทธา

เชื่อมั่นวาชาวบานทําได  ปจจุบันมีโครงการเขามาที่ชุมชนบางน้ําผ้ึงมากมาย ซ่ึงหมูบานมีศักยภาพสูง จากงานวิจัยทําใหชุมชนไดเรียนรู และรวมลงมือ โดยมีกระบวนการรวมกัน นายพรชัย เขียวขํา ผูประกอบการโฮมสเตยบางน้ําผ้ึง กลาววา การทําโครงการวิจัยเปนสิ่งที่ดีและที่ผานมารูวาวิจัยแลวไดอะไร ทําใหพัฒนาตนเองจากพูดไมเปนสาระทําใหพูดเปนสาระทันที จึงเปนการเรียนรูที่ดีอยางมาก และในภาพรวมของเครือขายและความสัมพันธของเครือขายจึงมีความสัมพันธอยางตอเน่ืองและเห็นบทบาทอยางชัดเจน ทั้งน้ีความรวมมือของเครือขายอาจเกี่ยวของกับปญหาและการแกปญหาดวยเชนกัน อาทิ เรื่องสิ่งแวดลอม การรวมตัวกันเพ่ือฟนฟูปา อนุรักษนํ้า กําจัดขยะ จึงทําใหเกิดโครงการและกลุมอ่ืนๆ ตามมาอยางตอเน่ือง ดังเชน การรวมพลังฟนฟูปาอนุรักษพันธุไมในกลุมเยาวชน

กลุมเยาวชนรวมพลังฟนฟูปาอนุรักษพันธุไม โดยองคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผ้ึง รวมกับ กํานันผูใหญบาน และกลุมเยาวชนในพื้นที่ตําบลบางน้ําผ้ึง รวมโครงการ รวมพลังฟนฟูปาอนุรักษพันธุไม โดยไดรับเกียรติจาก นายนพดล แกวสุพัฒน นายกองคการบริหารสวนตําบลแหงประเทศไทย เปนประธานกลาวเปดงาน เม่ือวันที่ 5 มิถุนายน 2553 ณ บริเวณศาลาในสวนหมู 4 ต.บางนํ้าผึ้ง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ (ครอบครัวขาว : 2553)

นายนพดล แกวสุพัฒน นายกองคการบริหารสวนตําบลแหงประเทศไทย กลาววา ที่ตําบลบางนํ้าผ้ึงน้ัน ไดมีทรัพยากรธรรมชาติที่อยูคูกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนมาอยางชานาน หากมิไดมีการอนุรักษความเปนธรรมชาติ วิถีชีวิตของคนในทองถิ่นอาจจะเปลี่ยนแปลงไปได ดังนั้นทุกคนที่รวมปลูกตนไมพันธุ และพรวนดินพันธุไมเดิมที่มีอยูโดยรวมอนุรักษทรัพยากรทางธรรมชาติ โดยมีกลุมเยาวชนที่เปนแกนนําหลักที่รวมอนุรักษพันธุพืชน้ัน ถือวาเปนเรื่องที่ดีและยังเปนการแสดงถึงความสามัคคีในหมูคณะในตําบลบางน้ําผึ้งอีกดวย

ดานนายสําเนาว รัศมิทัต นายก อบต.บางน้ําผ้ึงกลาววา ในวันนี้ถือเปนวันสิ่งแวดลอมโลก ทางอบต.บางน้ําผ้ึง ไดรวมกับกํานันผูใหญบาน และกลุมเยาวชน “BEE POWER SAVE THE WORLD” จํานวน กวา 20 คนไดรวมรณรงคการปลูกปา และการใชถุงผาแทนถุงพลาสติก โดย

Page 172: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 156

สามารถนํากลับมาใชใหมได นอกจากน้ีแลว กลุมเยาวชน ยังไดดัดแปลง นําไมไผ มาตัดแตงใหเปนปลายแหลมใชแทนพลั่วในการขุดดินปลูกตนไม

“กลุมผูนําชุมชนและผูที่เขารวมโครงการ นอกจากจะรวมปลูกปา ปลูกตนไมเพ่ือเปนการอนุรักษสิ่งแวดลอมแลว ยังไดรวมศึกษาพันธุไมชนิดตาง ๆ และรวมกันติดปายชื่อ เพ่ือเปนการเผยแพรความรูใหกับผูที่ยังไมเคยรูจักตนไมนานาชนิด อันเปนการเพ่ิมพูนความรู และทุกคนยังรวมกันเก็บขยะในพื้นที่ตางๆในเขต ต.บางน้ําผึ้งเพ่ือเปนการรวมรณรงควันสิ่งแวดลอมโลกอีกดวย

คานิยมในการทํางานเปนเครือขาย 

การทํางานของเครือขายตําบลบางน้ําผ้ึง มีคานิยมในการทํางานเปนเครือขายสูงมาก มีจุดแข็งคือแกนนําที่พรอมทํางานชุมชน ทั้งที่เก่ียวของกับระบบสุขภาพ อสม. ผูสูงอายุ ปา ธรรมชาติ และเศรษฐกิจ ทั้งกลุมเครือขายอบต.สมาคมอบต. เครือขายการทองเท่ียว และอ่ืนๆ ซ่ึงมีการรวมตัวกันทั้งในระดับทองถิ่นและระดับประเทศ นอกจากนั้นยังมีการรวมงานกันกับองคกรตางๆ อาทิ มูลนิธิชัยพัฒนา บางจาก ปตท. เปนตน ซ่ึงประเด็นตางๆมีความเชื่อมโยงและสัมพันธกัน โดยมีเปาหมายการพัฒนาสูคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน

ภูมิสังคมเชงิประจักษ ตําบลหนองแหน

อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชงิเทรา

ดานสังคม/วฒันธรรม ตําบลหนองแหน เปนตําบลที่ตั้งอยูในอําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ซ่ึงอําเภอพนม

สารคามน้ันประกอบไปดวยตําบล 8 ไดแก ตําบลบานซอง ตําบลทาถาน ตําบลเมืองเกา ตําบลหนองแหน ตําบลหนองยาว ตําบลพนมสารคาม และตําบลเขาหินซอน

ขอมูลทั่วไป “ตําบลหนองแหน” เดิมชื่อวาตําบลหนองยาว เพราะมีตนไมยาวเปนจํานวนมาก ตอมามีการเปลี่ยนเปนหนองแหนในสมัยกํานันทัน โดยเรียกชื่อตามหนองน้ําใหญที่มีอยู ตําบลหนองแหน มีลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบสูง และบางสวนเปนที่ราบลุม และภูเขา เขาดงยาง (กองแผนกลยุทธ ฝายชุมชนสัมพันธ, 2554:108)

อาณาเขต ทิศเหนือติดกับ ตําบลเมืองเกา ตําบลทาถาน อําเภอพนมสารคาม ทิศใตติดกับ ตําบลเกาะขนุน อําเภอพนมสารคาม ทิศตะวันออกติดกับ ตําบลหัวสําโรง อําเภอพนมสารคาม ทิศ

Page 173: Community Practice Systems Research

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 157

ตะวันตกติดกับ ตําบลเมืองเกา อําเภอพนมสารคาม ตําบลหนองแหนมีระยะทางจากตําบลหนองแหนถึงอําเภอพนมสารคาม ประมาณ 8 กิโลเมตร และมีพ้ืนที่ของตําบลประมาณ 73 ตารางกิโลเมตร

จากขอมูลของไทยตําบล ดานขอมูลประชากรมีจํานวนประชากรในเขต อบต. 9,447 คน และจํานวนหลังคาเรือน 2,641 หลังคาเรือน ขอมูลอาชีพของตําบลมีอาชีพหลัก ทํานา, ทําสวน, ทําไร อาชีพเสริม รับจาง สถานที่สําคัญของตําบล ไดแก 1) วัดสุวรรณคีรี, วัดหนองแหน, วัดดงยาง, วัดสระสองตอน, วัดบึงกระจับ, วัดหนองบัว 2) สถานีอนามัยประจําตําบล ม.13, ม.11 3) ที่ทําการ อบต.หนองแหน 4) สถานีตํารวจตําบลหนองแหน 5) โรงเรียนประถมศึกษา 6 แหง มัธยม 1 แหง (ไทยตําบล ดอท คอม,2554)

ตําบลหนองแหน มีหมูบานจํานวน 15 หมูบาน ไดแก หมู 1 หนองแหน หมู 2 ดงยาง(ไทย) หมู 3 ดงยาง หมู 4 ดงยางนอก หมู 5 สระสองตอน หมู 6 คลองหวย หมู 7 ปากหวย หมู 8 หนองบัว

หมู 9 บานโคก หมู 10 กระจับ หมู 11 ปลายกระจับ หมู 12 บานโคกนอย หมู 13 หนองกระทุม หมู 14 ปาไร หมู 15 หนองเค็ด

จากสภาพสังคม และสภาพความเปนอยูของประชาชนในตําบลหนองแหน อาจแบงออกเปน 2 สวน คือสวนที่เปนชุมชนเมือง และสวนที่เปนชุมชนชนบท ประชาชน จํานวน ประมาณ 3,494 คน จะอยูในชุมชนชนบท ซ่ึงจะแบงออกเปนกลุมๆ บาน หมูบานหนึ่งประกอบดวยกลุมบานจํานวน 3-4 กลุม ซ่ึงสวนใหญเปนกลุมเครือญาติกัน และแตละกลุมจะอยูหางกันเปนเกาะๆ มีการพ่ึงพาอาศัยกันดี ประชาชนอีกกลุมหน่ึงอาศัยอยูแบบชุมชนเมือง มีความหนาแนนของประชากรมากกวาในชุมชนที่อยูในชนบท จากการจัดทําเวทีสุขภาวะชนชน พบวา ในพ้ืนที่ของตําบลหนองแหนมีความหลากหลายทางเชื้อสายภายในสังคม ซ่ึงประกอบดวย ประชาชนที่มีเชื้อสายไทย จํานวนประมาณ 2,504 คน เชื้อสายลาว จํานวนประมาณ 2,753 คน เชื้อสายเขมร จํานวนประมาณ 2,369 คน และ เชื้อสายจีนจํานวนประมาณ 469 คน ดวยความหลากหลายของเชื้อสาย จึงทําใหในสภาพสังคมของตําบลหนองแหนจึงมีประเพณีที่หลากหลายในปจจุบัน ซึ่งประกอบดวยประเพณีดังน้ี คือ

1) ประเพณีสงกรานต จัดในชวงเดือนเมษายน ของทุกป 2) ประเพณีทําบุญกลางบาน จัดในชวงเดือน มีนาคม - มิถุนายน ของทุกป 3) ประเพณีไหวปูตา จัดในชวงเดือน 3 ขึ้น 3 ค่ํา ของทุกป 4) ประเพณีขึ้นเขาเผาขาวหลาม จัดในชวงเดือน กุมภาพันธ - มีนาคม ของทุกป

Page 174: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 158  

5) ประเพณีลอยกระทง จัดในชวงเดือน พฤศจิกายน ของทุกป 6) ประเพณีเขาพรรษา และออกพรรษา จัดในชวงเดือน กรกฎาคม และ ตุลาคม ของ

ทุกป นอกจากความหลายหลายทางประเพณีแลว ประชาชนในตําบลหนองแหนยังมีการจัดตั้งกลุมประชาชนที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ซ่ึงมีความหลากหลายกลุมตามความสนใจ ดังน้ี

1) กลุมชมรมเลี้ยงสุกร มีสมาชิก จํานวน 89 คน ซ่ึงมีแกนนําคือ นายเสนห นัยเนตร 2) กลุมสตรีอาสาพัฒนา มีสมาชิก จํานวน 788 คน ซ่ึงมีแกนนําคือ

นางวิภาวดี ศักด์ิประศาสน 3) กลุมเกษตรชาวไร มีสมาชิก จํานวน 236 คน ซ่ึงมีแกนนําคือ นายประจบ เนาวโอกาส 4) กลุมจักสานและสินคา OTOP มีสมาชิก จํานวน 125 คน ซ่ึงมีแกนนําคือ

นายบุญลาด นันทวิสิทธิ์ 5) กลุมชมรมอาสาพัฒนาชนบท มีสมาชิก จํานวน 234 คน ซ่ึงมีแกนนําคือ

นายประโยชน อินทรสุวรรณ 6) กลุมสัจจะออมทรัพย มีสมาชิก จํานวน 961 คน ซ่ึงมีแกนนําคือ นายลําดวน ศิริวนสกุล 7) กลุมฌาปนกิจ มีสมาชิก จํานวน 1,258 คน ซ่ึงมีแกนนําคือ นางกฤษณา นพเทา 8) กลุมเยาวชนเลนกีฬา มีสมาชิก จํานวน 121 คน ซ่ึงมีแกนนําคือ นางสมคิด เทียนถาวร 9) กลุมผูสูงอายุ มีสมาชิก จํานวน 1,469 คน ซ่ึงมีแกนนําคือ อาจารยศรีเมือง โรจนวีระ 10) กลุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน จํานวน 224 คน ซ่ึงมีแกนนําคือ

นางสิริมา ชุติพงศพัฒนกุล 11) กลุมผูใชปุยบานหนองคอก 12) กลุมผูใชนํ้าบานหนองบัว 13) กลุมจักสานผลิตภัณฑทางมะพราว

กลุมคนในตําบลหนองแหนมีทั้งกลุมคนไทยด้ังเดิมและกลุมคนที่อพยพมาภายหลัง กลุมที่อพยพนั้นสืบเชื้อสายมาจากลาวอพยพ ซ่ึงบางกลุมอพยพบางกลุมก็ถูกกวาดตอนมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่3 จนถึงรัชกาลที่4 เรียกในแงวัฒนธรรมวา ลาวพวน ซ่ึงสวนมากอาศัยอยูในเขตตําบลบานซองและตําบลหนองแหน

วัฒนธรรมและประเพณีของตําบลหนองแหน ที่มีอยูปจจุบันนอกจากงานเทศกาลประจําปของจังหวัด เทศกาลวันขึ้นปใหม เทศกาลสงกรานตแลวยังมีงานประเพณีของกลุมวัฒนธรรม อาทิ “บุญขาวหลาม” เปนประเพณีการทําบุญถวายขาวหลาม ขนมจีนน้ํายาปาแดพระภิกษุสงฆ วัดหนองบัว วัดหนองแหน ซ่ึงอยูในเขต อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา เหตุที่ถวายขาวหลามนั้น อาจเปนเพราะเดือน 3

Page 175: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 159  

เปนฤดูกาลเก็บเก่ียวขาว ชาวบานสวนใหญประกอบอาชีพทํานา จึงนําขาวอันเปนพืชหลักของตนที่ไดจากการเก็บเก่ียวครั้งแรก ซ่ึงเรียกวาขาวใหม จะมีกลิ่นหอมนารับประทานมาก นํามาทําเปนอาหาร โดยใชไมไผสีสุกเปนวัสดุประกอบในการเผา เพ่ือทําใหขาวสุก เรียกวา “ขาวหลาม” เพ่ือนําไปถวายพระภิกษุ

การทําบุญขาวหลามของชาว “ลาวเวียง” ยังคงทํากันตามประเพณีด้ังเดิม และผสมผสานกับประเพณีไทยก็คือ การปดทองรอยพระพุทธบาทจําลองที่วัดเขาดงยาง (วัดสุวรรณคีรี) เขต ต.หนองแหน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา กลางเดือน 3 ชาวบาน “ลาวเวียง” ซ่ึงอยูหางจากวัดดงยาง ประมาณ 4 – 6 กิโลเมตร ตองเดินทางดวยเทาไปปดทอง โดยใชเสนทางผานบานหัวสําโรง ต.หัวสําโรง อ.แปลงยาว ซ่ึงมีชาวไทยเชื้อสายเขมร ตั้งบานเรือนอยูเปนจํานวนมาก ประเพณีบุญขาวหลาม จึงแพรหลายสูบานหัวสําโรง และรับเปนประเพณีของชนกลุมตน เปนประเพณี “ขึ้นเขาเผาขาวหลาม” ของชาวชุมชนหัวสําโรง ต.หัวสําโรง อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา มาจนถึงทุกวันนี้ ดานแหลงโบราณคดีในตําบลหนองแหน มีขอมูลแหลงโบราณคดีบานสระสองตอน ตั้งอยูที่บานสระสองตอน ตําบลหนองแหน อําเภอพนมสารคาม เปนชุมชนสมัยทวาราวดี ถึงสมัยอยุธยา อยูสูงกวาระดับนํ้าทะเลประมาณ 10 เมตร มีสระนํ้าขนาดเล็กกระจายอยูทั่วบริเวณ จากการสํารวจพบวาลักษณะของสระมีแนวศิลาแลงคั่นอยู จึงเรียกวาสระสองตอน เดิมมีแนวถนนโบราณจากบานหัวสําโรง อําเภอแปลงยาว ผานสระสองตอน สังคมผูสูงอายุจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทราไดใหความสําคัญและเคารพตอผูสูงอายุ โดยมีสวนราชการและภาคีตางๆ ไดจัดโครงการดานผูสูงอายุมาอยางตอเน่ือง จากขอมูลสํานักสารนิเทศ เม่ือวันที่ 29 มิถุนายน 2552 สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา จัดประกวดการนําเสนอผลการดําเนินงานเครือขายชมรมผูสูงอายุดีเดนระดับจังหวัด เพ่ือใหเครือขายชมรมผูสูงอายุเกิดการพัฒนาศักยภาพ และไดแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณระหวางเครือขายชมรมผูสูงอายุ ใหเครือขายชมรมผูสูงอายุ เกิดการตื่นตัวในการดําเนินกิจกรรมที่เอ้ือตอการสรางสุขภาพและดําเนินกิจกรรมอยางตอเน่ือง ณ หองประชุมสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา

นายแพทยอภิชาติ รอดสม นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา เปดเผยวา ในป 2552 จังหวัดฉะเชิงเทรา มีจํานวนผูสูงอายุ ทั้งหมด 82,238 คน มีชมรมผูสูงอายุ จํานวน 436 ชมรม ผูสูงอายุเปนสมาชิกชมรม จํานวน 46,149 คน คิดเปน รอยละ 56.06 การสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุ เนนการดูแลสุขภาพผูสูงอายุในระยะยาว เปนการดูแลสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุตั้งแตยังมีสุขภาพดีไมปวยใหยืดระยะเวลาของการมีสุขภาพดีใหยาวนานที่สุด โดยสงเสริมใหมีการรวมกลุมผูสูงอายุเปนชมรมผูสูงอายุ และพัฒนาศักยภาพ ใหเปนชมรมที่เขมแข็งเครือขายที่เขมแข็งมีการทํากิจกรรมตาง ๆ รวมกันอยางตอเน่ือง อาทิ การออกกําลังกายรวมกันเปนประจํา การสงเสริมใหผูสูงอายุมีพฤติกรรมดูแลสุขภาพตนเอง ชวยเหลือเก้ือกูลเพ่ือนผูสูงอายุ เพ่ือใหมีการพัฒนา สุขภาพกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ

จากผลการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพกลุมผูสูงอายุ ป 2554 “โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรูการดําเนินงานเครือขายชมรมผูสูงอายุดีเดนระดับจังหวัด ป 2554 ของกลุมงานสงเสริมสุขภาพ รับผิดชอบ

Page 176: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 160  

โดย นางกฤษณา ปนศิริ พบวามีการดําเนินงาน ตําบลตนแบบการดูแลผูสูงอายุระยะยาวที่ตําบลหนองแหน

การดําเนินงานตําบลตนแบบการดูแลผูสูงอายุระยะยาว (Long Term Care) โดย จังหวัดฉะเชิงเทรา ดําเนินงานตําบลตนแบบการดูแลผูสูงอายุระยะยาว (Long Term Care) คร้ังแรกในป 2553และ พัฒนาเปนแหลงเรียนรูในป 2554 ที่ตําบลหนองแหน อําเภอพนมสารคาม

นอกจากนั้นมีการการดําเนินงานดานอ่ืนๆ อีก เชน การดําเนินงานวัดสงเสริมสุขภาพ ศูนยอนามัยที่ 3 เยี่ยมเพื่อประเมินรับรองวัดสงเสริมสุขภาพ เม่ือวันที่ 22 สิงหาคม 2554 เพ่ือ

รับโลจากกรมอนามัย ในเดือนพฤศจิกายน 2554 ไดแก 1. วัดทาลาดใต อําเภอพนมสารคาม 2.วัดทาสะอาน อําเภอบางปะกง การดําเนินงานคลินิกผูสูงอายุ สํานักงานสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา ไดประสานขอความรวมมือใหโรงพยาบาล

ทุกแหง ดําเนินการคลินิกผูสูงอายุตั้งแตป 2548 เปนตนมา และไดมีการติดตามการดําเนินงานเปนระยะ ซ่ึงในป 2554 โรงพยาบาลทุกแหงไดแจงวาเปดใหบริการคลินิกผูสูงอายุและยังไมชัดเจนเร่ืองกิจกรรม

ทั้งน้ีมีปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จ คือ 1. เครือขายชมรมผูสูงอายุที่เขมแข็ง จะสามารถดําเนินกิจกรรมสรางสุขภาพไดดวยตัวชมรม

เอง เน่ืองจากมีแกนนําชมรมที่เขมแข็ง มีผูนําตามธรรมชาติ สามารถขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จากองคกรสวนทองถิ่นได มีภาคีเครือขายอ่ืนๆ รวมดวย

2. บุคลากรสาธารณสุขในพ้ืนที่ใหการสนับสนุนและกระตุนใหเครือขายชมรมผูสูงอายุดําเนินกิจกรรมอยางตอเน่ือง

3. การใหความสําคัญขององคกรสวนทองถิ่น และภาคีเครือขายอ่ืนที่เก่ียวของ ดวยการใหความรวมมือและการสนับสนุน ในการดานการสรางสุขภาพ และการดูแลผูสูงอายุ

4. บุคลากรสาธารณสุขดําเนินงานสงเสริมสุขภาพกลุมผูสูงอายุตามแผนปฏิบัติงานอยางเครงครัดและมีการกํากับติดตาม

ชมรมผูสูงอายุตําบลหนองแหน กลุมผูสูงอายุตําบลหนองแหนนําโดยประธารชมรม มีการ

สรุปผลการดําเนินงาน ในการประชุมเม่ือ วันที่ 1 สิงหาคม 2554 ผลการดําเนินงานโครงการตางๆ ที่ไดดําเนินการไปแลวน้ัน มีดังตอไปน้ี

1. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู เชน เรื่องสุขภาพ โดยเจาหนาที่สถานีอนามัยเปนผูนํา เร่ืองอาชีพ การประสานงานกับหนวยงานภายนอก เร่ืองกีฬา การแลกเปลี่ยนเรียนรูน้ีจึงไดแลกเปลี่ยนกันในกลุมสมาชิกกับกลุมหนวยงานภายนอกอําเภอและจังหวัด

2. โครงการพัฒนาศักยภาพผูสูงอายุ โดยพาผูสูงอายุไปที่วัดญาณสังวรณ ไหวพระ 9 วัด ไปวัดหลวงพอฤาษีลิงดํา ไปวัดหลวงพอเจริญ จังหวัดสิงหบุรี

Page 177: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 161  

3. โครงการรดน้ําผูสูงอายุ (ซ่ึงทําตอเน่ืองมาเปนเวลา 2 ป) 4. โครงการทอดกฐิน ทําตอเน่ืองมา 3 ปแลว มีการรวมบริจาคเงินเพ่ือทอดกฐินวัดตางๆ มีการ

ฟงเทศนฟงธรรรม และปฏบิัตธิรรมที่วัดหนองปลิง 5. โครงการขยายกลุมผูสูงอายุใหทั่วทั้งอําเภอ จากการดําเนินการมีรางวัลที่ไดรับและความภาคภูมิใจ ดังน้ี

1. รางวัลชนะการประกวดชมรมผูสูงอายุระดับจังหวัดป 2552 2. ตําบลตนแบบการดูแลผูสูงอายุระยะยาว 3. ไดเปนแหลงเรียนรู เพ่ือนคูใจ วัยพยุง 4. มีรายการโทรทัศนมาถายทาํเรื่องโครงการสุขศึกษาวชิาชาวบาน 5. มีผูมาศึกษาดูงานจากหลายแหง ประมาณ 42 ตําบล

การพัฒนาตามนโยบายริเร่ิมของทองถิ่น

องคการบริหารสวนตําบลหนองแหน เพ่ิงไดรับการยกฐานะใหจากสภาตําบลเปนการองคการบริหารสวนตําบลเม่ือป 2540 ซ่ึงเปนหนวยการปกครองสวนทองถิ่นที่ยังใหมอยูสําหรับประชาชน และผูบริหารทองถิ่น ซ่ึงสวนใหญไมมีประสบการณทางการเมืองและการบริหาร จึงไมคอยมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับบทบาทหนาที่อยางแทจริง ดังน้ันการบริหารงานในองคการบริหารสวนตําบลหนองแหน จึงมุงเนนไปในการพัฒนาดานโครงสรางพ้ืนฐานเปนสวนใหญ ซ่ึงสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยางเห็นผลทันตาแตความเจริญดานวัตถุที่ประชาชนไดรับ เปนการแกไขปญหาเพียงดานเดียวเทาน้ัน หาใชเปนการพัฒนาที่ยั่งยืน เพราะในขณะเดียวกันอีกหลาย ๆ ดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ ประชาชนยังมีความยากจนอยู ดานสุขภาพอนามัยของประชาชนก็ยังไดรับการดูแลเทาที่ควร ปญหาทางสังคมจิตใจคนเริ่มเสื่อม มีความเห็นแกตัวเพ่ิมขึ้น ยาเสพติดระบาด ฯลฯ ปญหาดังกลาวเหลาน้ีจึงทําใหองคการบริหารสวนตําบลหนองแหนเริ่มมองเห็นภาวการณที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เร่ิมใหความสําคัญในการพัฒนาไปพรอม ๆ กัน ทุก ๆ ดาน พันธกิจหลัก ในการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลหนองแหน

องคการบริหารสวนตําบลหนองแหน จัดเปนองคการบริหารสวนตําบลขนาดเล็ก จึงไดกําหนด ภารกิจหลักไดดังน้ี

ภารกิจหลักที่ 1 การสรางระบบบริหารจัดการที่ดี โดยใหประชาชนมีสวนรวมในการตัดสินใจ ภารกิจหลักที่ 2 สรางความเขมแข็งดานการเงินการคลัง โดยการปรับปรุงการบริหารการเงินการ

คลังใหสอดคลองกับอํานาจหนาที่และภารกิจที่มีอยูเดิม และที่รับการถายโอน จากการกระจายอํานาจ จากหนวยงานตาง ๆ

ภารกิจหลักที่ 3 พัฒนาศักยภาพของตนและชุมชนใหเขมแข็ง สามารถพ่ึงตนเองได

Page 178: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 162  

ภารกิจหลักที่ 4 พัฒนาระบบการศึกษา สาธารณสุข ตลอดจนอนุรักษและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น

ภารกิจหลักที่ 5 จัดสรางโครงสรางพ้ืนฐาน และการจัดการส่ิงแวดลอมที่ยั่งยืน ภารกิจหลักที่ 6 จัดการปองกันและบรรเทาสาธารณะภัยใหประชาชนอุนใจ

นายกอบต.ของตําบลหนองแหนคนปจจุบัน เปนผูนําที่ไดรับเลือกมาหลายสมัยและทํางานเปนที่ยอมรับของคนในตําบลเปนอยางดี มีแผนการพัฒนาที่ครอบคลุมทั้งดานโครงสรางและคุณภาพชีวิต โดยมีการกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาเปน 6 ดานคือ

ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาคนและสังคม เปนการพัฒนาการศึกษาทุกระบบ การจัดสวัสดิการ อนุรักษวัฒนธรรม ภูมิปญญา และเสริมสรางความเขมแข็งใหกับชุมชน

ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาระบบโครงสรางพ้ืนฐาน เนนเรื่องมาตรฐาน การระบายนํ้า และสภาพแวดลอม

ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาแหลงนํ้า เนนเรื่องระบบประปา และแหลงนํ้าเพ่ือการเกษตร

ยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนาเศรษฐกิจ เนนเรื่องเศรษฐกิจชุมชนและการพึ่งพาตนเอง

ยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เนนเรื่องระบบนิเวศนและสภาพแวดลอม

ยุทธศาสตรที่ 6 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ดานการเมืองการบริหาร เนนเรื่องการมีสวนรวมในระบบประชาธิปไตย

ดานกายภาพสิ่งแวดลอม

“ปาไผผาก” ปาชุมชนเปนทรัพยากรทางธรรมชาติที่สําคัญของ ตําบลหนองแหน ปาไผผาก คือชื่อปาชุมชนที่อยูคูกับชุมชนมายาวนาน ซ่ึงเปนที่มาของแนวคิดเร่ืองปาชุมชนและนําไปสูการสรางความม่ันคงทางอาหารโดยชุมชน ทําใหประชาชนไดมาใชประโยชน เชน การตัดลําตนมาทํารั้วบานหรือสวนประกอบของที่อยูอาศัย การหาหนอไผผากมาทําอาหารทั้งคาวและหวาน การบุกรุกพ้ืนที่ปาเพ่ือใชประโยชน การตัดลําตนมาเผาถาน เพ่ือใชเปนพลังงานทดแทนและจําหนายเพ่ือสรางรายได การนําใบมาเปนวัตถุดิบในการหอขนมจางและ ขนมบะจาง ตลอดจนการลาสัตวและหาอาหารในปา เปนตน ทําใหสภาพแหลงอาหารสําคัญในพื้นที่ซ่ึงมี ขนาดมากกวา 500 ไร เสื่อมโทรมและลดลงเหลือเพียงประมาณ 367 ไร จึงไดเปนที่มาของการรวมคิด รวมกําหนดแนวทางเพ่ือการจัดการทรัพยากรปาชุมชน ‘ไผผาก’ ของชุมชน

Page 179: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 163  

ตําบลหนองแหน เพ่ือสงเสริม ฟนฟู และรักษาไวซ่ึงทรัพยากร ‘ปาไผผาก’ ใหสามารถเปนแหลงอาหารของชุมชนตอไปได ปาไผผากยังเปนประเด็นสําคัญในการนํามาสูปาชุมชน ที่เชื่อมโยงเครือขายชุมชนดานสิ่งแวดลอมและการอนุรักษ ดังเชน มูลนิธิโลกสีเขียว ที่ มีการทํากิจกรรมเก่ียวกับซากของไผผาก เม่ือตายแลวไปไหน ตั้งแตป 2549 เปนตนมา คุณธนภพ เกียรติฉวีพรรณ (ประธานชมรมเกษตรอินทรีย เทคโนโลยีชีวภาพ จ.ฉะเชิงเทรา) และคุณธวัช เกียรติเสรี (นักวิชาการจาก ศูนยศึกษาและพัฒนาวนศาสตรชุมชน จ.สระแกว)สองคณะทํางานภูมิภาค ภาคกลาง-ตะวันออก จับพลัดจับพลู เขามาในบานน้ี พอเห็นปญหาก็เลยชักชวนเขาเครือขาย “รางวัลลูกโลกสีเขียว” เพ่ือทํากิจกรรม “เพ่ือนลูกโลกสีเขียว” รับเปนที่ปรึกษาใหกับชุมชน จนสามารถขึ้นทะเบียน เปนปาชุมชน มีคณะกรรมการดูแลปา มีกฎระเบียบ การใชปา มีชวงเวลาปดฤดูเก็บหาหนอไมมาตั้งแตปที่แลว การจัดการซากไผผากเปนหนึ่งในแผนการจัดการปาเพ่ือฟนฟูความอุดมสมบูรณ และขยายพื้นที่ปาเพ่ิมเปน 400 ไรเศษ ซากไผผากที่เผาก็เอามาทําถาน กับนํ้าสมควันไม การจัดการซากไผผากโดยแปรรูปเปนถานและนํ้าสม ควันไม อาจเปนเรื่องเกาของชุมชนอ่ืน แตเปนสิ่งทดลองใหม ของบานหนองแหน เพ่ือใชประโยชนจากซากไมใหคุมคา และนํารายไดมาปนกันในชุมชน ใหอากาศรอนเขาไปไลสารตกคางในเตา (เปนชวงของการทําถานใหบริสุทธิ์) (พรวิไล คารร,บรรณาธิการ, 2552:11) ดานเศรษฐกิจ จากขอมูลของ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพนมสารคาม พบวา ตําบลหนองแหนมีการรวมกลุมทําผลิตภัณฑชุมชนจําหนายทําใหเกิดรายไดในชุมชน และเปดเปนแหลงเรียนรู อาทิ

1. แหลงเรียนรู ขนมหวาน อาหารวาง และการบรรจุภัณฑตําบลหนองแหน หมูที่ 8 ตําบลหนองแหน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา 24120

มีประวัติความเปนมา ดวยทางคณะกรรมการหมูบานหมูที่ 8 ต.หนองแหน ไดมีการจัดตั้งกลุมพัฒนาอาชีพเพ่ือใหผูวางงานไดมีอาชีพทําและเปนการสงเสริมใหเยาวชนไดมีพ้ืนฐานการประกอบอาชีพที่สุจริต จึงไดจัดตั้งแหลงเรียนรูเรื่องขนมหวาน อาหารวาง และการบรรจุภัณฑขึ้น โดยจัดหาวิทยากรที่มีความรูความสามารถและมีผลงานมาชวยสอน จนทําใหกลุมแมบาน ชมรมผูสูงอายุ และกลุมสตรีของตําบลหนองแหนมีความรูความสามารถในเรื่องการทําขนมหวาน อาหารวาง และการบรรจุภัณฑเปนอยางดี สามารถนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได โดยแหลงเรียนรูแหงน้ี ไดจัดการเรียนรูแบบยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

Page 180: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 164  

2. แหลงเรียนรูชุมชนการปลูกชวนชม หมูที่ 1 ตําบลหนองแหน อําเภอพนนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา 24120

ชวนชม ตนกําเนิดสายพันธุ “บางคลา” หนองโซโค หรือวัดหนองแหน ซ่ึงไดนํามาจากวัดหนองแหนปพ.ศ.2550 และนํามาปลูกโดยการประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ “ผลิตเทาที่ทําได ขายเทาที่มี” นอกจากน้ียังในเปนแหลงเรียนรูและศึกษาดูงานของผูสนใจทุกระดับ โดยเนนการแลกเปลี่ยนเรียนรู และไดรับรางวัลจาก อบต.หนองแหน และแมบานเกษตรกรหนองแหน และสภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย

ความเขมแข็งของชุมชน ตําบลหนองแหน

อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชงิเทรา

การผลักดันดานนโยบายที่ผานมา การรวมตัวเพ่ือที่จะรักษา “ปาไผผาก” สมบัติของชุมชน สูการจดทะเบียนเปนปาชุมชนของชาวตําบลหนองแหน ซ่ึงเปนโครงการรวมกันขององคการบริหารสวนตําบลหนองแหน ผูใหญบานกํานัน ประชาชนและภาคีที่เก่ียวของ เรื่องราวการตอสูเพ่ือการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนเปนการสะทอนความเขมแข็งของชุมชนไดเปนอยางดี นายจร เนาวโอภาส สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลหนองแหน หมู 14 เลขานุการปาชุมชนหนองแหน กลาววาหลังจากรวมกันบริหารปาชุมชน “ปาไผผาก” ความอุดมสมบูรณของอาหารจากปากลับเพ่ิมขึ้น สรางความม่ันคงใหชุมชนมากขึ้น เน่ืองจากในรอบ 20 ปที่ผานมามีการบุกรุกเขาไปใชพ้ืนที่ปาเพ่ือทํากินและตักหนาดินไปขาย รวมทั้งมีบางคนนําขยะจากครัวเรือนไปทิ้งในปาจนทําใหพ้ืนที่ปาเสื่อมโทรมและปจจุบันเหลือพ้ืนที่เพียง 421 ไร แตสิ่งที่รายแรงที่สุด คือ การเผาปาที่เชื่อกันวา หากไฟไหมปาจะทําใหหนอไมหนอใหมเกิดขึ้น เหตุไฟปาจะมีขึ้นเปนประจําในเดือนมีนาคม จึงเชื่อไดวาการเผาปาดังกลาวไมไดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติแตเกิดจากนํ้ามือ

Page 181: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 165  

มนุษยที่ไมเพียงทําใหพันธุพืชและสัตวปาบางชนิดสูญพันธุเทาน้ัน แตยังสงผลกระทบตอระบบนิเวศอ่ืนๆ อีกดวย เม่ือปาเร่ิมทรุดโทรมลงคนในชุมชนจึงคิดหาวิธีดูแลปาและการจัดการการใชพ้ืนที่ปารวมกัน ดวยการตั้งคณะกรรมการปาชุมชนแลวจดทะเบียนเม่ือป 2550 และออกระเบียบการใชปาของคนในชุมชนรวมกัน โดยมีกฎกติกาใหมีชวงเวลาเปด-ปดปาตามฤดูกาลเพ่ือใหปาไดพัก สวนคนที่จะเขาไปใชพ้ืนที่ปาตองไดรับการอนุญาตจากคณะกรรมการและตองมีบัตรเขา-ออกดวย รวมทั้งมีบทลงโทษผูลาสัตวปาอีกดวย

นอกจากน้ีชาวชุมชนหนองแหนและชุมชนใกลเคียงที่รวมกันใชพ้ืนที่ปายังมีกิจกรรมรวมกัน ดวยการทําบุญปาทุกวันที่ 1 ของเดือนพฤษภาคม ถือเปนกิจกรรมสรางความสามัคคีในชุมชนและเปนการขอบคุณปาที่ใหอาหารปลอดสารและมีคุณคาที่ถือเปนการสรางความม่ันคงทางอาหารในชุมชนและทองถิ่นอีกทางหน่ึง ไมเพียงเทาน้ันพวกเขาไดปลูกฝงใหลูกหลานตระหนักรูในคุณคาของแหลงอาหารตั้งแตเยาววัยเพ่ือเติบโตขี้นมารวมเปนกําลังสําคัญในการพิทักษรักษาพ้ืนที่ปาอันเปนสมบัติของชุมชนใหคงอยูเปนแหลงอาหารที่ยั่งยืนตอไปอีกดวย

“ปาชุมชนไผผาก” โครงการความรวมมือขององคการบริหารสวนตําบลหนองแหน ผูใหญบานกํานัน ประชาชนและภาคีที่เก่ียวของ โดยมีเปาหมายอนุรักษปาไผผากแปลงสุดทายของจังหวัดฉะเชิงเทรา มีพ้ืนที่ 64 ไร 1 ตารางวา ไวใหกับลูกหลานเนื่องจากมีปาไผและพืชสมุนไพรอยูมาก จากขอมูลของวีดิทัศนปาไผผากหนองแหน ของชมรมเพื่อนชวยเพื่อน ทําใหพบวามีผูมีสวนรวมการอนุรักษปาชุมชนมาจากหลายภาคสวน ไดแก นายสายันต ใหญกระโทก หมอสมุนไพรชาวบาน นายไพรวัลย นายจร เนาวโอภาส ส.อบต. และผูชวยนายสําเนา หมู14 นายโบราณ ทวิสิทธิ กรรมการปาชุมชน นายพนม ผูใหญบานหมู 2 นายวินัย ส.อบต. นายธวัช เกียรติเสรี เจาหนาที่ศูนยศึกษาและพัฒนาวนศาสตร ปาชุมชน และอีกหลายทานรวมกันสํารวจปาชุมชน อันมีที่มาวาปาน้ีไดเสื่อมโทรมไปมากและจะสํารวจวามีพืชสมุนไพรอะไรบาง นอกจากน้ันเม่ือป 2549 ลูกโลกสีเขียวไดเขามาดูพ้ืนที่และชวนใหลุกขึ้นมาจัดการปา คณะกรรมการลูกโลกสีเขียว คุณธนภพ เกียรติฉวีพรรณ จึงมาชวยเรื่องการเสริมศักยภาพปาชุมชนใหกับปาไผผากแหงน้ี จนในที่สุดไดขึ้นทะเบียนปาชุมชนในป 2551 ความชัดเจนดานวิสัยทศัน พันธกิจ

วิสัยทศัน องคการบริหารสวนตําบลหนองแหน “บานเมืองนาอยู ชุมชนเขมแข็งและพึ่งตนเองได มีคุณภาพชีวิตที่ดี หางไกลยาเสพติด อนุรักษ

และฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ” จากวิสัยทัศนขององคการบริหารสวนตําบลหนองแหน และจุดมุงหมายการพัฒนาตําบลหนองแหน ดานสิ่งแวดลอม การจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพ่ือ การพัฒนาท่ียั่งยืน เปนตําบลนาอยู แสดงใหเห็นถึงเปาหมายและทิศทางการพัฒนาดานสิ่งแวดลอมของตําบลหนองแหน ดังในแผนยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีแนวทางการพัฒนา มีจิตสํานึก

Page 182: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 166  

และตระหนักในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การปรับปรุงและพัฒนาสภาพภูมิทัศน บําบัดฟนฟูและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซ่ึงมีโครงการธนาคารตนไม และโครงการตัดหญา 2 ขางทาง การพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานและสาธารณูปโภค การวิเคราะหสภาพปญหาขององคการบริหารสวนตําบลหนองแหน ดานโครงสรางพ้ืนฐาน พบวา 1. ขาดไฟฟาใชในบาน มีประชาชนจํานวนหนึ่งที่ยังไมมีไฟฟาใชในบาน 2. การคมนาคม ถนนสวนใหญเปนลูกรัง ทรุดโทรม เปนหลุมเปนบอ เน่ืองจากชวงฤดูฝน มีนํ้าทวมขัง สวนถนนลาดยาง ผิวจราจรเปนหลุมเปนบอ กอใหเกิดอุบัติเหตุบอยคร้ัง 3. โทรศัพท โทรศัพทสาธารณะยังไมทั่วถึง และดานแหลงน้ํา ขาดน้ําด่ืมที่สะอาด และน้ําขุน แหลงนํ้าที่ใชยังไมสะอาดและขุน จากการวิเคราะหศักยภาพชุมชนของอบต.หนองแหน โดยการวิเคราะหจุดออน พบปญหาระบบโครงสรางพ้ืนฐาน ในปจจุบันระบบโครงสรางพ้ืนฐานยังไมไดมาตรฐาน เพียงพอและทั่วถึง ถนนสวนใหญเปนถนนลูกรัง ทําใหไมไดรับความสะดวกในการสัญจรไปมา ระบบประปาหมูบานที่มียังไมครอบคลุมทั่วพ้ืนที่ และยังไมไดมาตรฐาน ไฟฟายังมีไมครบทุกครัวเรือน โดยเฉพาะครัวเรือนที่อยูหางไกลจากหมูบานเน่ืองจากอยูนอกเขตการใหบริการ และปญหาดานขาดแคลนน้ําใชในการเกษตรดวยประชากรสวนใหญของตําบลประกอบอาชีพทางการเกษตร โดยเฉพาะการทํานาปรัง ทําใหขาดแคลนนํ้า เน่ืองจากระบบชลประทานไมเชื่อมโยงกัน คูคลองสงน้ําบางแหงตื้นเขินยังไมสามารถสงน้ําเขาพ้ืนการเกษตรได อันเนื่องมากจากไมสามารถขุดลอกได แตทั้งนี้จากการวิเคราะหโอกาส พบโอกาสดานการจัดระบบชลประทาน ประชากรของตําบลหนองแหน สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกร ซ่ึงตองอาศัยนํ้าเปนหลักประกอบกับที่ตั้งของตําบลอยูใกลหนองน้ํา (คลองทาลาด) และมีคลองชลประทานในพื้นที่แตไมทั่วถึง ซ่ึงหากมีการจัดระบบชลประทานใหทั่วถึงและครอบคลุมพ้ืนที่การเกษตรแลว ก็จะสงใหประกอบอาชีพการเกษตรของประชาชนดียิ่งขึ้น จากขอมูลแผนยุทธศาสตรขององคการบริหารสวนตําบลหนองแหนประจําป พ.ศ. 2553 – 2557 พบวา ยุทธศาสตรที ่2 การพัฒนาระบบโครงสรางพ้ืนฐาน มีวัตถุประสงค

1. เพ่ือพัฒนาระบบโครงสรางพ้ืนฐานใหไดมาตรฐานเพียงพอและทั่วถึงตอความตองการของประชาชน

2. เพ่ือพัฒนาระบบการระบายน้ําใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 3.เพ่ือพัฒนาชุมชนใหเปนไปอยางมีระบบมีสภาพแวดลอมที่ดีสอดคลองตามแนวทาง การ

พัฒนาเมืองนาอยู และมีแนวทางการพัฒนา การกอสรางและบูรณะถนนและระบบจราจร และซอมแซมและ

ปรับปรุงตาง ๆ

Page 183: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 167  

ความสัมพันธของคนในชุมชนและภาคีเครือขาย มีการทําโครงการรวมกันระหวางชุมชนและภาคีเครือขาย ทั้งเรื่องปาชุมชน และเรือ่งชมรมผูสูงอายุ

ความสัมพันธของคนในชุมชนและภาคีเครือขาย “ปาชุมชน” ที่นําไปสูการขึ้นทะเบียนปาชุมชนและมีการเรียนรูการใชทรัพยากรใหเกิดคุณคาสูงสุด ซ่ึงมีการรวมมือกันระหวางอบต.หนองแหน กํานัน ผูใหญบานและประชาชน ทั้งหนวยงานที่เก่ียวของดานการสิ่งแวดลอม ไดแก นายสายันต ใหญกระโทก หมอสมุนไพรชาวบาน นายไพรวัลย นายจร เนาวโอภาส ส.อบต. และผูชวยนายสําเนา หมู14 นายโบราณ ทวิสิทธิ กรรมการปาชุมชน นายพนม ผูใหญบานหมู 2 นายวินัย ส.อบต. นายธวัช เกียรติเสรี เจาหนาที่ศูนยศึกษาและพัฒนาวนศาสตร ปาชุมชน คณะกรรมการลูกโลกสีเขียว คุณธนภพ เกียรติฉวีพรรณ จากการศึกษาสํารวจฐานขอมูลสุขภาวะชุมชน ตําบลหนองแหน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ประจําป 2553 ของ สสส.พบวามีโครงการการเสริมพลังเครือขายองคกรชุมชนในการสรางเสริมสุขภาวะเพื่อความอยูดีมีสุขของตําบลหนองแหน จํานวน 3 โครงการยอย ไดแก 1. แหลงเรียนรูพืชสมุนไพรปาชุมชน (ไผผาก) 2.หนูนอยรอยรวมใจ 3.1 โรงเรียน 1 หมูบาน รวมจัดการขยะ

คานิยมในการทํางานเปนเครือขาย

การทํางานเครือขายมีจุดแข็งคือมีแกนนําที่ทํางานชุมชนเกี่ยวของเร่ืองสิ่งแวดลอม และเรื่องสุขภาพในกลุมผูสูงอายุ กลุมแกนนําเรื่องสิ่งแวดลอมเปนกลุมภาคี หมอสมุนไพร กลุมสมาชิกสภาอบต. นักวิชาการ กลุมลูกโลกสีเขียว คณะกรรมการปาชุมชนเปนตน มีการรวมมือกันทํางานและศึกษาขอมูลในการทํางานอยางตอเน่ือง สวนเครือขายการทํางานในระบบสุขภาพของผูสูงอายุ มีการรวมกลุมกันในระดับทองถิ่นและระดับประเทศ

อบต.

สิ่งแวดลอม

เครือขายปาชุมชน

ประชาชน/แกนนํา

สาธารณสุข รพ.สต.

วัดสงเสริมสุขภาพ

ชมรมผูสูงอายุ

เครือขายเกษตร

ร.ร.วัดหนองแหน

Page 184: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 168  

ภูมิสังคมเชงิประจักษ ตําบลแมหลาย

อําเภอเมือง จังหวัดแพร ดานสังคม/วฒันธรรม วัฒนธรรมคนแพรคือสามัคคี รวมมือกันเพ่ือทองถิ่น คิด และทําเปนระบบเพื่อรักษาเอกลักษณของตนเอง เคารพภูมิปญญาทองถิ่น ตําบลแมหลายตั้งอยูในเขตอําเภอเมืองแพร จังหวัดแพร มีพ้ืนที่ 13.52 ตารางกิโลเมตร หางจากตัวจังหวัดแพร 12 กิโลเมตร ทิศเหนือและทิศใตมีลักษณะเปนที่ราบ ที่มีความเหมาะสมในการเกษตรกรรม รอยละ 70 ดานทิศตะวันออกเฉียงใตเปนเนินเขาเตี้ยๆ มีลํานํ้าไหลจํานวน 2 สาย คือแมนํ้ายม ไหลผานทางทิศตะวันตก นํ้าแมหลายไหลผานกลางชุมชน จากทิศตะวันออกไปรวมกับแมนํ้ายม ทางดานทิศตะวันตก และมีคลองชลประทาน ไหลผานทางดานทิศเหนือลงสูทิศใต การเดินทางสูตําบลแมหลายใชถนนสายทางหลวงหมายเลข 101 ซ่ึงเปนเสนทางการเดินทางสูจังหวัดนาน พะเยา เชียงราย และประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ตําบลแมหลาย ประกอบดวย 8 หมูบาน จํานวน 1,674 ครัวเรือน ประชากรชาย 2,175 คน หญิง 2,387 คน รวมทั้งสิ้น 4,562 คน สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ อาชีพหลักของประชาชนคือ การทํานา หลังฤดูกาลเก็บเก่ียวจะเพาะปลูกถั่ว ขาวโพด ยาสูบ และเลี้ยงสัตว อาชีพเสริมคือ รับจาง คาขาย การตัดเย็บพรมเช็ดเทา ผาหม เสื้อหมอหอมประยุกต สภาพสังคมมีลักษณะกึ่งเมืองก่ึงชนบท คือมีลักษณะอาคารปลูกสรางแบบสมัยใหมขณะที่ยังคงอนุรักษวิถีชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณีด้ังเดิมอยู เชน ประเพณีไหวสาเจาพอขอมือเหล็ก ประเพณีไหวสาพระครูสังวรสีลวิมล (ตุลุงลือ) ประเพณีไหวสาพระครูบาศรีวิชัย (หมด ศรีขวา) ประเพณีไหวสาพระครูบากันทวิชัย ประเพณีบวงสรวงดวงวิญญาณสองมหาวีรบุรุษจังหวัดแพร ณ อนุสรณสถานสองมหาวีรบุรุษจังหวัดแพร ตําบลแมหลาย ประเพณีพ้ืนบานแบบลานนา มีวัดจํานวน 3 แหง โรงเรียนประถมศึกษา 1 แหง และโรงเรียนขยายโอกาส 1 แหง คนในตําบลแมหลายมีการรวมตัวกันเพ่ือพัฒนา เร่ิมตั้งแตป 2548 มาคิดกันวาจะพัฒนาหมูบานไดอยางไร จึงเกิดเปนแนวคิดในการปกครองหมูบาน มารวมกันคิดตัวชี้วัดของการประกวดหมูบานกันเอง โดยดูที่ความสะอาด ความปลอดภัย ไมมีโรค และนําตัวชี้วัดไปทําประชาคม จนเกิดมาตรการควบคุมโรคไขเลือดออก คือ หากสํารวจพบลูกนํ้ายุงลาย บานชาวบานจะถูกปรับ 100 บาท แตถาเปนผูนําชุมชน แกนนํา อสม. จะถูกปรับ 200 บาท รูปแบบการรวมตัวกันของคนแมหลาย กลายเปนวัฒนธรรมของการพัฒนาเพื่อใหเกิดคุณภาพการทํางานที่ดีขึ้น คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในอัตลักษณของชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม ดานอาชีพ เศรษฐกิจ และสุขภาพ รูปแบบสําคัญของการรวมตัว คือ การประชุมทุกสัปดาห การเปดหอกระจายขาวประชาสัมพันธ ผลลัพธการรวมตัว ทําใหตําบลแมหลายเปนที่รูจัก ไดรับรางวัลตั้งแตป 2549 จนถึง

Page 185: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 169  

ปจจุบัน มีความโดดเดนในเรื่องการพัฒนาองคกร การมีธรรมาภิบาล จึงทําใหเปนสังคมที่รวมมือ ผสมผสานวัฒนธรรมการพัฒนาคุณภาพ และวัฒนธรรมทองถิ่นไดเปนอยางดี ดานการเมืองการปกครอง

เดิมเปนสุขาภิบาลตําบล ตอมาไดรับการยกฐานะเปนเทศบาลตําบล จึงทําใหมองใหม ทานกํานันใหขอมูลวา การบริหารเดิมแบบสุขาภิบาล ขึ้นกับนายอําเภอ และมีงบประมาณจํากัด เม่ือเปลี่ยนมาเปนเทศบาล มีการจัดหางบประมาณเอง ดังน้ัน กระบวนการเลือกตั้งทําใหประชาชนเกิดการตื่นตัว ทุกคนถือวามีหุนสวนในการพัฒนา เกิดกระบวนการปรึกษาหารือ จึงเกิดมีการประชาคมซ่ึงจะตองมีประชาชน 70% มารวมกันพิจารณา สวนการประชุมหมูบานมีทุกเดือนนอกจากนี้เม่ือเปลี่ยนเปนเทศบาล คือ การบริหารขึ้นตรงกับผูวา มีนายอําเภอเปนผูกํากับดูแลกระบวนการทําแผนเปลี่ยนไปและใหสอดคลองกับแผนชาติ แผนทองถิ่น และแผนชุมชนแมหลายเปลียนเปนเทศบาลป พ.ศ.2542 มีการทําประชาคม ทําขอบัญญัติ ผานสภาในการอนุมัติโครงการ ดังน้ัน จึงพอสรุปไดวา การปกครองของแมหลาย ยึดหลักการมีสวนรวมในการคิด การตัดสินใจรวมกัน และมีรูปแบบการบริหารดวยขอมูลมาประกอบการคิด และการประเมินผลจากคนในชุมชน และนักวิชาการภายนอก เทศบาลตําบลแมหลาย จึงมีระบบการปกครองที่โดดเดน จากการใชกลไกขอมูล กลไกการจัดการ เพ่ือสรางระบบการธรรมาภิบาลใหเห็นได เทคนิคที่ผูบริหารนํามาใชในการบริหารที่สําคัญอีกรูปแบบหน่ึง คือ เทคนิคการส่ือสารมีการนําเสนอผลงานดวยวีดิทัศน ซ่ึงใหทีมงานของพื้นที่ เปนผูผลิตเพ่ือถายทอดอัตลักษณ และความสําเร็จ เปนกระบวนการพัฒนาความภูมิใจและพลังอํานาจใหกับทีมงาน สรางความหมายของรางวัลที่ไดมาใหเปนของทุกฝายอีกดวย ดานกายภาพสิ่งแวดลอม แมหลายมีพ้ืนที่เปนที่ราบถึงรอยละ 70 และมีเนินเขาเตี้ยๆ อีกรอยละ 30 มีลํานํ้าไหลผาน 3 สาย แมนํ้ายม แมนํ้าแมหลาย และคลองชลประทาน นอกจากน้ีแมหลายยังเปนตําบลที่มีถนนทางหลวงหมายเลข 101 ซ่ึงเปนเสนทางเชื่อมตอจังหวัดภาคเหนือตอนบน คือ นาน พะเยา เชียงราย ทําให แมหลายมีโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจ อาชีพ สรางรายได และมีโอกาสในการพัฒนาดานตางๆ ไดมาก ระบบไฟฟา ประปา และการสื่อสารโทรคมนาคมมีไดอยางทั่วถึง ดานเศรษฐกิจ สืบเน่ืองจากการเปนสังคมเปด สามารถติดตอกับจังหวัดอ่ืนๆไดสะดวก ทําใหแมหลายมีผูประกอบการอุตสาหกรรมที่สําคัญไดแก

- บริษัทแพรรุงเรืองอินเตอรไรซ - หางหุนสวนจํากัด ประดิษฐ แพร ฟารม - บริษัทไทยน้ําทิพย จํากัด สาขาแพร

Page 186: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 170  

- บริษัท แพร-นาน สวรรคขนสง จํากัด - และหางหุนสวนจํากัด แมหลาย (นกนอย)

ผลพวงจากการมีผูประกอบการอุตสหกรรมทั้งที่เปนคนจากภายนอก และคนในตําบลแมหลายเอง ทําใหระบบเศรษฐกิจของพื้นที่ไดรับการพัฒนา เกิดอาชีพ รายได

นอกจากน้ียังมีอาชีพที่โดดเดนเปนที่รูจัก เชน ขนมครกแมหลาย และอาชีพรับดูดสวม ที่ทําใหคนแมหลายเปนที่รูจัก

การพัฒนาอาชีพ และเศรษฐกิจของตําบลไดใชแนวคิดการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงมาใชและจัดใหมีการประกวด โดยใชเกณฑที่ประกอบกันระหวางเกณฑจากสวนกลาง และเกณฑที่ตําบลแมหลายเคยพัฒนามากอนจากการประกวดหมูบาน ทําใหกระบวนการพัฒนาของหมูบานครอบคลุมการพัฒนาคนในการนําเสนอ การพัฒนาดานคุณภาพตามแตละกลุมเปาหมาย การพัฒนาขอมูล การวางแผนชุมชน การตั้งกฎกติกาในชุมชน การสืบสานวัฒนธรรม การระดมทุน การสรางคุณธรรมจิตสํานึก การบริหารกองทุน ผลการพัฒนาแบบองครวมนี้ทําใหตําบลแมหลายสามารถขับเคลื่อนไดเปนภาพรวมทั้งระบบไดอยางชัดเจน

ความเขมแข็งของชุมชน

ตําบลแมหลาย อําเภอเมือง จังหวัดแพร

การผลักดันนโยบายที่ผานมา ตําบลแมหลายมีประสบการณการพัฒนานโยบายโดยอิงจากการพัฒนาโครงการดานสาธารณสุข และดานเศรษฐกิจ แตผสมผสานกับวิถีชุมชน ทั้งทําใหเกิดการมีสวนรวม และกลายเปนนโยบายสาธารณะไดไมวาจะเปนเรื่อง

“หมูบานนาอยู เทศบาลนาอยู” “ชุมชนแมหลายนาอยู...สูสุขภาพดี ตามวิถีพอเพียงอยางยั่งยืน” “คนไทยไรพุง ลดขนม ลดหวานมันเค็ม” “กองทุนหลักประกันสุขภาพ”

กระบวนการท่ีสําคัญเกิดขึ้นในตําบลแมหลาย ในการผลักดันนโยบายสาธารณะเชน นโยบายพลังงาน หรือนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ ดวยกระบวนการวิจัย ซ่ึงประกอบดวยขั้นตอนคราวๆ คือ

1) ประชุมชี้แจงโครงการ 2) เก็บขอมูล แบงระดับโดยใชเยาวชน มีการวิเคราะหขอมูลโดยมีนักวิชาการเครือขายเปนพ่ี

เลี้ยง ทํากันเปนคณะกรรมการ 3) สะทอนขอมูลทําใหชุมชนไดเห็นขอแตกตางเพ่ิมขึ้น 4) คัดเลือกคณะกรรมการศึกษาดูงานทําใหเกิดแรงบันดาลใจ อยากทํา

Page 187: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 171  

5) ทําประชาคมผลดูงานและขอมูลของชุมชน 6) นําความเห็นจากชุมชนมาเรียงลําดับ ขั้นตอนและนําเสนอ 7) นําเสนอสภาทองถิ่นเพ่ือพัฒนานโยบาย แผนงาน และการสนับสนุนจากสภา 8) การปฏิบัตติามแผน 9) ติดตามผลและไดขอเสนอแนะ

ความชัดเจนดานวิสัยทัศน พันธกิจ ตําบลแมหลาย มีการพัฒนาโดยผูนําทองถิ่นที่ทําหนาที่ตอเน่ืองมาหลายสมัย มีผูนําทองที่และเจาหนาที่ ตลอดจนแกนนําของชุมชนที่รวมมือกันอยางเขมแข็ง ในการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ และมีวิสัยทัศนชัดเจน ในการทํางานเพื่อคุณภาพชีวิต พัฒนาระบบโครงสราง โดยเนนประเพณีวัฒนธรรม เศรษฐกิจพอเพียง และลดใชพลังงาน ตําบลแมหลาย ยังมียุทธศาสตรในการพัฒนา ที่เนน

1. ดานคน ครอบครัว 1.1 เสริมสรางใหคน มีความเอ้ืออาทร มีคุณธรรม จริยธรรม และมีครอบครัวอบอุน ม่ันคง 1.2 สงเสริมและพัฒนาระบบการศึกษาเพ่ือใหคนทุกระดับ ใหเขาถึงอยางเทาเทียมและเปนธรรม 1.3 สรางความรูความเขาใจแกประชาชน และอาสาสมัคร ในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน 1.4 สงเสริมและพัฒนาระบบบริการสุขภาพอยางทั่วถึงและ มีประสิทธิภาพ 1.5 ใหการสงเคราะหและสวัสดิการ แกผูดอยโอกาสอยาง เสมอภาคและเปนธรรม

2. ดานชุมชน สังคม

2.1 มีการอนุรักษ ฟนฟู และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา วัฒนธรรม วิถีชีวิต และการถายทอดภูมิปญญา ทองถิ่นและความเปนอัตลักษณของชุมชน

2.2 สงเสริมและพัฒนาการรวมกลุม และการแลกเปลี่ยนเรียนรูของกลุมตางๆ องคกรชุมชนในการพัฒนากลุม องคกร ชุมชน หมูบาน ทองถิ่น สูการพัฒนาอยางยั่งยืน 2.3 เสริมสรางความปรองดองสมานฉันทสามัคคี เก้ือกูลซ่ึงกันและกัน และดํารงรักษาไวซ่ึงสถาบันสําคัญของชาติ 2.4 สงเสริมการออกกําลังกาย นันทนาการ และกิจกรรมสุนทรียภาพ 2.5 จัดหาและพัฒนาสถานที่สาธารณะสําหรับออกกําลังกาย พักผอนหยอนใจ หรือลานกิจกรรมที่ชุมชนใชรวมกัน 2.6 เสริมสรางความม่ันคง ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินและการใหความชวยเหลือประชาชนอันเนื่องจากสาธารณภัยและภัยพิบัติตางๆ 2.7 สงเสริมประชาชน อาสาสมัครและองคกรชุมชน เฝาระวัง และปองกันปญหาอาชญากรรม ปญหายาเสพติด และพัฒนามาตรการการจัดระเบียบสังคม

Page 188: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 172  

3. ดานเศรษฐกิจ

3.1 พัฒนาแหลงนํ้าและระบบการจัดการนํ้าเพ่ือการเกษตรกรรมอยางเพียงพอและทั่วถึง 3.2 พัฒนาและสงเสริมอาชีพ สรางรายได และสงเสริมการออมของประชาชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยางยั่งยืน 3.3 สงเสริมการรวมกลุมอาชีพและพัฒนาความรูความเขาใจการผลิตการเพ่ิมมูลคาผลผลิต การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและการหาตลาดสินคา 3.4 สงเสริมและพัฒนา ผลิตภัณฑชุมชน ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญาพื้นบาน ความเปนอัตลักษณชุมชน สถานที่และแหลงธรรมชาติ เพ่ือใหเกิดการทองเท่ียวและสรางรายได

4. ดานโครงสรางพื้นฐานและสิ่งแวดลอม 4.1 กอสราง พัฒนาและปรับปรุงระบบโครงสรางพ้ืนฐาน และระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการใหทั่วถึงพอเพียงไดมาตรฐาน และกลมกลืนกับสภาพแวดลอม 4.2 กอสรางและปรับปรุงจุดเสี่ยง สถานที่อันตรายที่มีผลกระทบหรือสรางความเสียหายแกชีวิตและทรัพยสินของประชาชนหรือสวนรวม 4.3 กอสรางและปรับปรุงโครงสรางพ้ืนฐานและบริการพ้ืนฐานที่เอ้ือตอผูดอยโอกาส 4.4 สรางความรูและจิตสํานึกในการใชประโยชน การอนุรักษ การแกปญหาและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอมและพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

5. ดานการบริหารจัดการที่ดี

5.1 สรรหาและพัฒนาบุคลากรใหมีทักษะความรูความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรม และเสริมสรางความสมานสามัคคีของบุคลากรในองคกร 5.2 กอสราง ปรับปรุง พัฒนาอาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ เคร่ืองมือ เคร่ืองใชในการปฏิบัติงานและการใหบริการประชาชนอยางมีประสิทธิภาพ 5.3 ปรับปรุงพัฒนาระบบการจัดเก็บรายไดและการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ 5.4 สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนและทุกภาคสวนในการรวมคิด รวมวางแผน รวมดําเนินงาน รวมรับผลประโยชน และรวมติดตามประเมินผล 5.5 สงเสริมการเขาถึงขอมูลขาวสารของประชาชน และการมีสวนรวมทางการเมืองภายใตสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค และการเคารพสิทธิผูอ่ืนตามกฎหมาย อยางไรก็ตาม จากการทบทวนเอกสารและการพูดคุยกับคนในพ้ืนที่ พบวา การนํายุทธศาสตรไปปฏิบัติของแมหลายใชเทคนิคการประเมินผลโดยนักวิชาการ หรือโดยการประกวดกับหนวยงานภายนอก มาชวยในการจูงใจและเสริมพลังคนทํางาน และภาคประชาชนไดเปนอยางดี

Page 189: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 173  

การพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานและสาธารณูปโภค โครงสรางทางภายนอกมีการพัฒนาดานโครงสรางพ้ืนฐานและระบบสาธรณูปโภค เชน ถนน ไฟฟา ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน ศูนยถายทอด เทคโนโลยีการเกษตรตําบล ศูนยวัฒนธรรมตําบล โดยมีการพัฒนาอยางถั่วถึงครอบคลุม โครงสรางทางสังคม พบวา ตําบลแมหลาย มีความชัดเจนการพัฒนาโครงสรางทางสังคมดวยการทํางานรวมกันโดยใชระบบคุณภาพ วางแผนรวมกัน ทํางานรวมกัน ประเมินผลรวมกัน และรับประโยชนรวมกันอยางเปนรูปธรรม ในทุกโครงการหรือนโยบายที่จัดทําขึ้นอันถือวา เปนการพัฒนาโครงสรางทางสังคมของตําบลไดเกิดเปน “วัฒนธรรมคุณภาพ” ที่แตกตางไปจากการพัฒนาโครงสรางของพื้นทื่อ่ืนๆ ในภาพรวม ความสัมพันธของคนในชุมชนและภาคีเครือขาย ตําบลแมหลายใชอัตลักษณความเปนคนแพรมาผสมผสานกับภาคีเครือขายภายในจังหวัด เชน โรงพยาบาล เกษตร พลังงาน และสถาบันการศึกษา โดยมีการกําหนดบทบาทตามดวยระบบที่ภาคีมีอยู เปนอยู ไดอยางลงตัว นอกจากน้ียังมีการเชื่อมสัมพันธระดับบุคคล โดยใชวัฒนธรรม และทุนสังคมที่มีอยู เชนการตอนรับ และของฝากจากพื้นที่ เปนเทคนิคที่สานตอสัมพันธไดเปนอยางดี และเทาเทียม สําหรับความสัมพันธของคนในชุมชน มีการใชเทคนิคการดูงาน การเรียนรูรวมกัน และการใหทุนการศึกษามาชวยใหคนในสังคมสัมพันธกันเองดวยความเปนจิตอาสา ที่ทั้งเปนสมัชชาหมูบานมีประมาณ 40 คนในตําบลรวมกับกลุมแมบาน กรรมการหมูบาน รวมแลวประมาณ 1 ใน 3 ของประชากรของตําบลที่มีอยูถึง 4,000 คน ดังน้ันภาพการพัฒนาแบบองครวมเพื่อไปสูระบบสุขภาพชุมชน จึงเกิดขึ้นจากการบริหารภาคีและบริหารคนดวยทุนมนุษย ทุนสังคมที่มีอยูในจังหวัด และในภูมิภาคสามารถยืนยัน คานิยมการทํางานดวยภาคีเครือขาย ไดดังน้ี

เทศบาลตําบล 

แมหลาย

มช. ม.ราชภัฎอุตรดิตถ

ผูนํา ทองถ่ิน

ม.แมโจ ธุรกิจดูดสิ่งปฏิกูล

ระบบการบริหารจัดการ

ระบบพลังงาน

รพ. แพร

ระบบการดูแลเสริมสรางสุขภาพ

อสม.

สสอ.

Page 190: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 174  

ภูมิสังคมเชงิประจักษ ตําบลแมถอด

อําเภอเถิน จังหวัดลําปาง

ดานสังคม/วฒันธรรม มีจิตใจดี จิตอาสาสูง มีความรักทองถิ่น

อําเภอเถิน เปนอําเภอชายแดนติดกับจังหวัดสุโขทัย และตาก เปนเมืองประวัติศาสตรยาวนาน เปนเมืองหนาดานของอณาจักรลานนา กอนจะถึงเมืองลําปาง และเปนเสนทางผานของกองทัพกรุงศรีอยุธยา สมัยสงครามกับพมา ชาวเมืองไดรับความเดือนรอนและท้ิงเมืองจนกลายเปนเมืองราง ตอมาสมัยพระเจาตากสิน พระเจากาวิละ เจาลานนาไทยเขาภักดีพระเจาตากสิน เมืองเถินจึงไมเปนทางผานอีกตอไป สมัยกรุงรัตนโกสินทรพระเจากาวิละไดรับการสถาปนาเปนพระเจาเชียงใหมองคที่ 1 คร้ังผูคนที่หนีสงครามกลับมาอยูที่เมืองเถิน จนกลายเปนเมืองที่มีความเจริญรุงเรืองของเมืองลําปางตราบจนทุกวันนี้ อําเภอเถินแบงการปกครองเปน 8 ตําบล ตําบลแมถอดเปน 1 ใน 8 และประกอบดวย 13 หมูบาน ที่มีอาณาบริเวณเปนเขาและที่ราบ ทําใหการอยูรวมกันของชาวบานมีการกระจุกตามสภาพภูมิศาสตรเปนสําคัญ และจุดเดนของการพัฒนาเกิดขึ้นแตกตางกันพอสรุปไดดังน้ี

หมู 1 ปาชุมชน หมู 2 เดนเรื่องกองทุน มีปาชุมชน หมู 3 และ 13 มีพ้ืนที่เปนเขา และปาชุมชน มีสถานีวิจัยตนน้ํา หมู 4 ยังไมพบขอมูลแสดงความโดดเดน หมู 5 มีศูนย OTOP ที่โปงขาม ทํากลวยไม ทําตนสัก หมู 6 สะอาด แมจะไมมีจุดเดนอะไรมาก หมู 7 สะอาด สามัคคี หมู 8 มีแกนนําจิตอาสาที่สําคัญ รวมกลุมกันได หมู 9 เล็ก อยูดวยกันแบบกระจายตัว มีรถพยาบาลเรียกใชได หมู 10 มีการจัดการหลายกองทุน และทาํไดดี มีร.ร.แมถอด หมู 11 เล็ก แตมีจุดเดนดวยการบริหารจัดการ ทําเรื่องอนุรักษ เรื่องกองทุน หมู 12 มีการอยูรวมกันแบบประชาธิปไตย ไมมีเรื่องขัดแยง หมู 13 มีปญหาฟลูออไรดสูง คนพิการมาก มีผูหญิงเกาที่ลางหนี้ในครอบครัวไดสาํเร็จ

คนในแมถอดมีการรวมกลุมกันเพราะเห็นปญหา “คนพิการ” มาก ทําใหเกิดการรวมตัว กอปรกับการมีบทเรียนเรื่องปาชุมชนที่ลุมนํ้าวัว ซ่ึงมี NGO เปนแกนนําตอสูการใหสัมปทานปา จึงเกิดการตื่นตัวและเรียนรูเรื่องสิทธิ เรื่องทรัพยากร และเรื่องกระบวนการในการตอสู กระบวนการกลุมเพ่ือการแกไขปญหา ดังนั้น เม่ือมีการรวมตัวกันเพ่ือสิทธิผูพิการกลุมคนในแมถอดจึงไดรวมพลัง และจับมือกับกระทรวงพม.

Page 191: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 175  

ใน การรักษาสิทธิคนพิการจนไดเปนตนแบบการจัดสวัสดิการคนพิการ และเกิดรูปแบบการทํางานโดยจิตอาสา นอกจากนี้ คนที่แมถอดมีการรวมตัวกันทํากิจกรรมที่หลากหลาย แมพระภิกษุสงฆก็มีกิจกรรมในการพบปะประชาชนระหวางพรรษา และมีการใชวัดถ้ําสุขเกษมสวรรคเปนที่รวมของกลุมคน เปนที่เรียนรูของคนในพื้นที่และเปนสถานที่ทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงของอําเภอและจังหวัดดวย การพัฒนาในแมถอดเกิดขึ้นจากหลากหลายหนวยงาน จนเกิดกลุมตางๆ ดังน้ี

Page 192: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 176  

สมาชิก กองทุน คณะ ระเบียบ วันทําการของกลุม

(คน) (บาท) เบอรโทร กรรมการ(ราย) มี/ไมมี เวลา-สถานที่

1 กลุมการออมและสงเสริม หมู 1 บานแมเตี้ย 1 กราคม 2551 96 17,161 นายนนท ยืนหมั่น 9 มี บานประธาน 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด นายนนท ยืนหมั่น ปองกันรักษาโรค

บานแมเตี้ย อําเภอเถิน 19 ม.1 ต.แมถอด 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม

จังหวัดลําปาง อ.เถิน จ.ลําปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยียน

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ

2 กลุมการออมและสงเสริม หมู 2 บานเปงดอย 10 มกราคม 2551 316 11,500 นายชุนงาน 9 มี สถานีอนามัยแมถอด 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย 1.ศึกษาดูงานองคการบริ-

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด สุภามงคล ต.แมถอด อ.เถิน ปองกันรักษาโรค หารสวนตําบลนิคมพัฒนา

อําเภอเถิน จ.ลําปาง 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม ชมรมของอ.เมืองลําปาง

จังหวัดลาํปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย 2.สงเคราะหครอบครัว

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยียน สมาชิกผูสูงอายุที่เสียชีวิต

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ 3.ออกกําลังกาย

3 กลุมการออมและสงเสริม หมู 3 บานแมเติน 10 มกราคม 2551 148 23,370 นายบุญเรือง 10 มี 69 ม.3 ต.แมถอด 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด ชาวนา อ.เถิน จ.ลําปาง ปองกันรักษาโรค

อําเภอเถิน 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม

จังหวัดลําปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยียน

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ

4 กลุมการออมและสงเสริม หมู 4 บานแมแกง 1 มกราคม 2551 69 18,230 นายทํา 15 มี 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด วงคชัยวะ ปองกันรักษาโรค

อําเภอเถิน 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม

จังหวัดลําปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยียน

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ

วันเริ่มตนความเคลื่อนไหว

ประเภทสวัสดิการ

ในการสงเสริมและสนับสนุนของศูนยพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผูสูงอายุจังหวัดลําปาง ประจําปงบประมาณ 2551

ลําดับที่

ผลผลิตชื่อประธาน

การบริหารจัดการกลุม

ชื่อกลุม ที่อยู

 

Page 193: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 177  

สมาชิก กองทุน คณะ ระเบียบ วันทําการของกลุม

(คน) (บาท) เบอรโทร กรรมการ(ราย) มี/ไมมี เวลา-สถานที่

5 กลุมการออมและสงเสริม หมู 5 บานแกวโปงขาม 10 มกราคม 2551 200 19,500 นายเหรียญ 9 มี วัดนาบานไร ม.5 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด ศรีแดง ต.แมถอด อ.เถิน ปองกันรักษาโรค

อําเภอเถิน จ.ลําปาง 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม

จังหวัดลําปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยียน

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ

6 กลุมการออมและสงเสริม หมู 6 บานสบเติน 10 มกราคม 2551 138 19,170 นายสี สุภา 16 มี ที่อาน นสพ.หมูบาน 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด ม.6 ต.แมถอด อ.เถิน ปองกันรักษาโรค

อําเภอเถิน จ.ลําปาง 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม

จังหวัดลําปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยียน

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ

7 กลุมการออมและสงเสริม หมู 7 บานดงไชย 10 มกราคม 2551 89 12,640 นางผองใส 9 ไมมี วัดบานดงไชย ม.7 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด สุวรรณบุตร ต.แมถอด อ.เถิน ปองกันรักษาโรค

อําเภอเถิน จ.ลําปาง 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม

จังหวัดลําปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยียน

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ

8 กลุมการออมและสงเสริม หมู 8 บานแมเตี้ยะนอก 10 มกราคม 2551 106 16,000 นายสี เขตตฝน 8 มี วัดแมเตี๊ยะ ม.8 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด ต.แมถอด อ.เถิน ปองกันรักษาโรค

อําเภอเถิน จ.ลําปาง 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม

จังหวัดลําปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยียน

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ

ประเภทสวัสดิการลําดับที่

ผลผลิตชื่อประธาน

การบริหารจัดการกลุม

ความเคลื่อนไหวชื่อกลุม ที่อยู วันเริ่มตน

 

 

Page 194: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 178  

สมาชิก กองทุน คณะ ระเบียบ วันทําการของกลุม

(คน) (บาท) เบอรโทร กรรมการ(ราย) มี/ไมมี เวลา-สถานที่

9 กลุมการออมและสงเสริม หมู 9 บานทุงเจริญ 10 มกราคม 2551 50 14,953 นายดา ชัยศรีวี 9 มี 18 ม.9 ต.แมถอด 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด อ.เถิน จ.ลําปาง ปองกันรักษาโรค

อําเภอเถิน 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม

จังหวัดลําปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยียน

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ

10 กลุมการออมและสงเสริม หมู10 บานเปงดอย 10 มกราคม 2551 85 16,000 นายจรัล สุภามงคล 9 มี สถานีอนามัยแมถอด 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด ม.2 ต.แมถอด อ.เถิน ปองกันรักษาโรค

อําเภอเถิน จ.ลําปาง 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม

จังหวัดลําปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยียน

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ

11 กลุมการออมและสงเสริม หมู 11 บานหัวทุง 10 มกราคม 2551 11,840 8 มี 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด ปองกันรักษาโรค

อําเภอเถิน 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม

จังหวัดลําปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยียน

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ

ลําดับที่

ผลผลิตชื่อประธาน

การบริหารจัดการกลุม

ความเคลื่อนไหวชื่อกลุม ที่อยู วันเริ่มตน ประเภทสวัสดิการ

 

 

 

 

 

Page 195: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 179  

สมาชิก กองทุน คณะ ระเบียบ วันทําการของกลุม

(คน) (บาท) เบอรโทร กรรมการ(ราย) มี/ไมมี เวลา-สถานที่

12 กลุมการออมและสงเสริม หมู 12 บานสุขสวัสดิ์ 10 มกราคม 2551 81 14,000 นายปุด ตุนหนว 11 มี 49 ม.12 ต.แมถอด 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด อ.เถิน จ.ลําปาง ปองกันรักษาโรค

อําเภอเถิน 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม

จังหวัดลําปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยยีน

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ

13 กลุมการออมและสงเสริม หมู 13 บานแมเตินเหนือ 10 มกราคม 2551 91 16,400 นายกาน สลีวงศ 8 มี 1. ดานสุขภาพโภชนา ออกกําลังกาย

อาชีพผูสูงอายุ ตําบลแมถอด ปองกันรักษาโรค

อําเภอเถิน 2.ดานศาสนา ประเพณีวัฒนธรรม

จังหวัดลําปาง 3.ชวยผูสูงอายุที่อยูคนเดียวหรือเจ็บปวย

พาไปโรงพยาบาล,ฌาปนกิจ,เยี่ยมเยียน

ผูสูงอายุ,ทองเที่ยว,สงเสริมอาชีพ

รวม 1,469 210,764

หมายเหตุ : มีกลุมการออมและสงเสริมอาชีพผูสูงอายุ 53 กลุม

: มีสมาชิกทั้งหมด 3,759 คน

ลําดับที่

ผลผลิตชื่อประธาน

การบริหารจัดการกลุม

ความเคลื่อนไหวชื่อกลุม ที่อยู วันเริ่มตน ประเภทสวัสดิการ

: (กองทุน) บาท 210, 764 คน 

 

นอกจากนี้คนแมถอดที่มีปญหาดานการเงิน ยังไดรวมกลุมกันเปนกลุมออมทรัพยโดยใชหลักสัจจะของกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต ในหมู 8,9,10,11,และ 12 ไดอยางยั่งยืน 

 

 

Page 196: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 180  

ดานการเมืองการปกครอง มีระบบการปกครองที่ยังขาดความสามัคคี ขาดความเขมแข็ง และตองการการพัฒนาดานการมีสวนรวมและโปรงใส

ระบบการเมืองการปกครอง ในพ้ืนที่แมถอด มีการพัฒนาประชาธิปไตย การมีสวนรวม จาก

ประสบการณการแกปญหาที่ทํากัน ทําใหความไววางใจระหวางภาครัฐของทองถิ่นกับประชาชนไมราบรื่นเปนชวงๆ ตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบัน จะพบไดวามีการเรียกรอง มีการตอตานในการใหสัมปทานเหมืองแรเหล็กของอบต.จนปรากฏเปนขาวในหนังสือพิมพ (20 มิถุนายน 2554) ตอมามีการเรียกรองถึงรัฐมนตรีและนายกรัฐมนตรีในกรณีเดียวกันแตเปนการรวมกลุมกันถึง 3 อําเภอ เม่ือวันที่ 20 กันยายน 2554 แตมีการใชขอมูลสุขภาพประกอบเพื่อหยุดยั้งการอนุมัติเหมืองแร

จากตัวอยางขางตนจะเห็นวา พัฒนาการดานการเมืองการปกครองของพื้นที่น้ีเปนกระบวนการที่เรียกวา การผลักดันนโยบายทั้งในสวนของสาธารณชนและสื่อมวลชน

พัฒนาการที่สําคัญที่ เ ก่ียวพันกับวิถีสังคมแมถอด และระบบการเมืองแมถอดที่ประสบความสําเร็จจนมีชื่อเสียง คือเร่ืองธรรมนูญสุขภาพแมถอด ซ่ึงเปนการผนึกกําลังของคนแมถอด มารวมกันจัดทําจนสําเร็จและถอดเปนบทเรียน สรุปไดวา

“ตําบลแมถอด อาศัยพ้ืนฐานทางวัฒนธรรมและบริบทของคนแมถอดโดยใชชื่อวา “ตําบลแมถอดอยูดีมีสุข ธรรมรักษา” คนแมถอดตองอยูดีมีสุขใตธรรมรักษา คณะทํางานหลากหลายทั้งผูนําทองที่ ทองถิ่น เยาวชน อสม. หมออนามัย มีทุนเดิมจากการเฝาระวังไขหวัดนก ไดศึกษาเรียนรูจากธรรมนูญ สูงเมน ชะแล เลือกเอาส่ิงที่แมถอดทําไดมาคุยกันกับแกนนํา ในหมูบานทั้ง 13 หมูบาน จนเกิดความเขาใจรูจักธรรมนูญ ใชสัญลักษณสีเขียวและเครื่องหมายคําถาม เพ่ือเตือนใจชาวบานโดยมีพระเปนแกนนําการขับเคลื่อน และมีอาสาสมัครเขาไปสอบถามความคิดสรุปเปนแผนที่ความคิดจากแตละหมูบาน มานําเสนอผานเวทีหลอหลอมใหเกิดเปนความคิดของระบบสุขภาของคนดีที่แมถอด เปนวิถีสุขดวยธรรมรักษา ดังที่ปรากฏเปนหลักฐานและขับเคลื่อนโดยสํานักธรรมนูญ ดานกายภาพสิ่งแวดลอม แมถอดเปนพ้ืนทีที่อุดมสมบูรณ มีภูเขา มีแมนํ้า มีปาที่อุดมสมบูรณ มีเหมืองแรเหล็ก ลิกไนต และทองคําทองเหลืออยู ขณะเดียวกัน พ้ืนที่แมถอดก็ยังมีปญหา เชน ฟลูออไรดสูง นํ้าทวม และน้ําแลงในหลายหมูบาน จนไดรับฝายปารวกในโครงการพระราชดําริของพระเจาอยูหัว ความสวยงามของสภาพแวดลอมที่แมถอด ผนวกกับวิถีพุทธของคนแมถอด ทําใหแมถอดมีสถานที่ทองเท่ียวที่สําคัญคือ วัดถ้ําสุขเกษมสวรรค ซ่ึงเปนสถานที่ที่มีความสวยงามตามธรรมชาติ และมีอาคารไมสักสรางขึ้นขนาดใหญใชเปนที่ประชุม อบรม เรียนรูของชาวแมถอดเอง และพ้ืนที่ใกลเคียง เปนลานธรรมและลานเรียนรูที่สําคัญและภูมิใจ

Page 197: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 181  

ดานเศรษฐกิจ มีปญหาความยากจน คนแมถอดดํารงชีวิตโดยพึ่งพึงธรรมชาติ อาชีพเกษตรกรรม เพาะปลูก รับจาง ปลูกผัก ขาวโพด ออย กระเทียม เลี้ยงสัตว เชน โคเน้ือ เปน สุกร ไก และการใชแรงงานชวงวางจากการเกษตร และมีการยายไปทํางานนอกพ้ืนที่ ธุรกิจที่มีเชน ปมนํ้ามันหลอด 1 แหง โรงงานอุตสาหกรรม 3 แหง โรงสี 1 แหง รานคา 113 แหง ฟารมปศุสัตว จํานวน 4 แหง การพัฒนาอาชีพคนในแมถอดที่มีชื่อเสียงมากที่สุด คือ แกวโปงขาม ซ่ึงมีประวัติยาวนานวาเปนแกวศักด์ิสิทธิ์ และเริ่มมีชื่อเสียงในตางแดน ชาวบานจึงไปขุดหาแกวและรวมกลุมกัน ในการกําหนดกฎระเบียบในการขุดหา โดยมีนายมงคล เฟยตา เปนประธาน เริ่มนํามาแปรรูปเจียระไน ทําเคร่ืองประดับ มีพระแกวโปงขามยักษที่วัดนาบานไร ในป 2548 ซ่ึงไดรับการคัดเลือกเปนหมูบานทองเที่ยว OTOP พัฒนาดานการตลาด เกิดความรวมมือกับมหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง สนับสนุนการรวมกลุม พัฒนาธุรกิจจนไดรับการจัดระดับ 3 ดาว

ความเขมแข็งของชุมชน ตําบลแมถอด

อําเภอเถิน จังหวัดลําปาง การผลักดันนโยบายที่ผานมา แมถอดเปนพ้ืนที่ที่มีการผลักดันนโยบายมาโดยตลอด โดยเริ่มจากการผลักดันเรื่องการใหสัมปทานปา โดยมี NGO จากเกาะคา เขามาทํางานในตําบล ตั้งแตป 37 จนถึงปจจุบัน

เรื่องสิทธิทํากินก็ยังคงเปนปญหา ดังตัวอยางที่มีการรองเรียนของชาวบานหมู 2 วามีที่ดิน 2 ไรตั้งแตป 2516 ที่มีใบสทก. ตั้งแตป 2536 ขณะน้ีหมดอายุ ตั้งตอใหม แตไมมีชื่อในรายชื่อที่อบต.ออกใหม ชาวบานผิดหวังจากการตออายุใบอนุญาต จึงรวมตัวกันทําหนังสือถึงอบต.แมถอด เพ่ือสอบถามความจริง และหากไมกระจางชัดจะทําหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี เพ่ือขอความเปนธรรมตอไป ก็ยังมีปญหาท่ีชาวบานตองรวมตัวกันกันประมาณ 500 คนเพ่ือตอตาน การใหสัมปทานเหมืองแรเหล็ก แกบริษัทเอกชนโดยอบต.แมถอดพยายามนําญัตติใหสัมปทานผานสภาอบต.ใหได โดยมีการทําบันทึกขอตกลงรวมกันระหวางภาคประชาชน ผูบริหารและสภาอบต. จะไมนําญัตติเขาสภา แตนําเขาจนได ชาวบานจึงรวมกันตอตาน การตอตานในครั้งน้ีสงผลใหมีคณะกรรมการตรวจสอบ จากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ลงพ้ืนที่ หมู 2 หมู 10 และหมู 11 พัฒนาแลวเห็นวา พ้ืนที่น้ันเปนปาตนน้ํา หลอเลี้ยงวิถีชีวิตประชาชนตําบลแมถอดหากรัฐยินยอมใหเอกชนไดสัมปทานเหมืองแร จะทําใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและสุขภาพคนในพื้นที่

Page 198: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 182  

กระบวนการผลักดันนโยบายของคนแมถอดไดขยายเครือขายรวมกับอําเภองาวและอําเภอแจหมดวย ดังน้ันจึงนับไดวา คนแมถอดมีความเขมแข็งในเรื่องสิทธิและการผลักดันนโยบาย ความขัดแยงดานวิสัยทัศน พันธกิจ อบต.แมถอดไดรับการประกาศอยางเปนทางการเม่ือวันที่ 16 ธันวาคม 2539 มีการกําหนดวิสัยทัศนกับชุมชนชัดเจนในเรื่องการเปนชุมชนนาอยู เปนวิถีชีวิต วัฒนธรรมและการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และผลิตภัณฑชุมชน โดยมีแนวทางในการพัฒนาชวง 3 ป ตามลําดับกอนหลั

1. พัฒนาแหลงนํ้าเพ่ือการเกษตร นํ้าอุปโภค - บริโภค 2. พัฒนาระบบเศรษฐกิจ และการสงเสริมอาชีพ 3. พัฒนาระบบการคมนาคม- ขนสง 4. พัฒนาระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ 5. พัฒนาการศึกษา 6. พัฒนาจัดสวัสดิการสังคมสงเคราะห 7. อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ คุมครอง ดูแลรักษาปาไม 8. พัฒนาระบบนิเวศนและฟนฟูสภาพแวดลอม 9. สงเสริมการทองเที่ยว 10. พัฒนาดานการสาธารณสุข 11. การบริหารจัดการและสงเสริมประชาธิปไตย 12. พัฒนาระบบปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 13. การรักษาความสงบเรียบรอยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 14. สงเสริมกิจกรรมนันทนาการ

เม่ือพัฒนาแนวทางตามลําดับกอนหลังในการพัฒนาพบวาเร่ืองธรรมชาติ ปาไมที่เปนประเด็นเรียกรองและเชื่อมตอในประเด็นสุขภาพน้ันอยูในลําดับรองลงมา ดังนั้นการขับเคลื่อนของชุมชนจนเกิดเปน “ธรรมนูญสุขภาพ” สะทอนภาพความเขมแข็งของชุมชนเปนอยางดี และถือวาเปนระบบการปกครองแบบมีสวนรวมที่สําคัญตอแนวทางการพัฒนาดานอ่ืนๆ การพัฒนาดานโครงสราง ระบบโครงสรางทางกายภาพในตําบลแมถอด มีการพัฒนาตามแผนทั้งเรื่องถนน ไฟฟา ประปา แตพ้ืนที่แมถอดยังมีนํ้าทวม มีปญหาฟลูออไรดสูงในน้ําประปา ซ่ึงจําเปนตองมีการแกไขแหลงนํ้ากินออกเปนระยะสั้น ระยะยาว รวมกับหนวยงานดานทันตสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม นอกจากน้ียังมีโครงการพระราชดําริชัยพัฒนา แหลงน้ําเพ่ือการเกษตร ตลอดจนมีการจัดตั้งสถานีวิจัยตนน้ํา ในการพัฒนาพ้ืนที่ของอําเภอแมถอด และพัฒนาระบบอาชีและการรวมกลุมสตรีในภาพรวมดวย

Page 199: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 183  

สําหรับโครงสรางทางสังคมในเรื่องคุณภาพชีวิตและสวัสดิการของคนในชุมชน พบวา แมถอดมีระบบจิตอาสา ที่เขมแข็งสามารถขับเคลื่อนการทํางานโดยมีขอมูล มีกําลังคน มีการพัฒนาคนและหนุนเสริมดวยภาครัฐที่เขมแข็ง แตยังขาดการประสานใหเปนเนื้อเดียวกันกับระบบบริหารของทองถิ่น ความสัมพันธของคนในชุมชนและภาคีเครือขาย คนในแมถอดมีอัตลักษณของตนเองที่ชัดเจนมีจิตใจเอ้ืออาทร แตมีความเขมแข็งเรื่องสิทธิ ดังน้ัน การพูดคุยกับแกนนําชุมชนและจิตอาสาตลอดจนเจาหนาที่สะทอนการพัฒนาความสัมพันธของคน เริ่มตนดวยการเผชิญปญหา ไมวาจะเปนปญหาคนพิการ ปญหาเอดส ปญหาสุขภาพที่เกิดจากเร่ืองสิ่งแวดลอม สงผลใหคนแมถอด เขาชวยเหลือเรียนรูและไดระบบหนุนเสริมจากหนวยงานรัฐ และ NGO จึงสรุปไดวาคนแมถอดรวมตัวกันเพ่ือดูแลกันเอง และเพื่อตอสูเพ่ือสิทธิของตน ความสัมพันธของคนแมถอดกับฝายทองถิ่นยังคงมีปญหาความขัดแยงตามขาวหนังสือพิมพ หรือแมแตการพูดคุยกับแกนนํา จะเห็นระดับความรวมมือ การมีสวนรวม แปรเปลี่ยนตามปญหา ประเด็น มากกวา การมีสวนรวมที่พรอมเพรียง สิ่งที่นาสนใจและติดตามคือประเด็นการมีธรรมนูญสุขภาพจะชวยใหคนในชุมชนและภาคีเครือขายมีความความสัมพันธมีเปาหมายรวมไดจริงหรือไม คานิยมความเปนเครือขาย คนแมถอดมีลักษณะเครือขายที่ชัดเจนสําคัญคือ เครือขายจิตอาสาที่ทําใหเกิดการหมุน ของคนทํางานแกปญหาของชุมชน และภาครัฐใหเห็นได  

 

 

เครือขาย จิตอาสา 

เครือขาย พัฒนา +

สิทธิ

อาชีพ

สุขภาพ

ส่ิงแวดลอม คนแก

คนปวย

คนพิการ

Page 200: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 184  

ภูมิสังคมเชงิประจักษ ตําบลไผ

อําเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร ดานสังคม/วฒันธรรม มีวัฒนธรรมดานศาสนานําหนา ตามดวยวัฒนธรรมทองถิ่นในการ

ดํารงชีวิต

ตําบลไผ เปน 1 ใน 12 ตําบลของอําเภอรัตนบุรี ซ่ึงมีเน้ือที่ 36 ตารางกิโลเมตร สภาพความเปนอยูของชาวบานเปนลักษณะพี่นอง เครือญาติ อยูกันเปนกลุมๆ มีการจัดตั้งกลุมทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ เพ่ือการประกอบอาชีพ เชน กลุมแมบานเกษตรกร กลุมผูเลี้ยงสัตว กลุมไรนาสวนผสม กลุมเกษตรอินทรีย เปนตน

โครงสรางการอยูรวมกัน มีทั้งหมด 14 หมูบาน

หมูที่ 1 บานไผ หมูที่ 2 บานไผ หมูที่ 3 บานชอง หมูที่ 4 บานนาวอง หมูที่ 5 บานคอนสวรรค หมูที่ 6 บานสี่เหลี่ยม

หมูที่ 7 บานนาอุดม หมูที่ 8 บานยางชุม

หมูที่ 9 บานไผ หมูที่ 10 บานคอนสวรรค หมูที่ 11 บานไผ หมูที่ 12 บานชอง หมูที่ 13 บานไผ หมูที่ 14 บานไผ

หมูท่ี ชื่อหมูบาน ประชากร

รวม จํานวนครัวเรือน ชาย หญิง

1 บานไผ 178 196 374 60

2 บานไผ 247 265 512 100

3 บานชอง 463 492 955 157

4 บานนาวอง 502 488 990 160

5 บานคอนสวรรค 425 427 852 126

6 บานส่ีเหล่ียม 559 518 1,077 167

7 บานนาอุดม 359 380 739 109

8 บานยางชุม 383 370 753 143

Page 201: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 185  

9 บานไผ 349 362 711 146

10 บานคอนสวรรค 389 429 818 106

11 บานไผ 181 178 359 67

12 บานชอง 235 217 452 78

13 บานไผ 375 341 716 126

14 บานไผ 98 96 194 38

รวม 4,743 4,759 9,502 1,583

ประชากรวัย 7 ปขึ้นไปรอยละ 78 จบการศึกษาภาคบังคับหรือสูงกวาแลวไมไดเรียนตอ จึงมีอาชีพเกษตรกรเปนสวนใหญ แนวทางการอยูรวมกันดวยวิถีวัฒนธรรมของภาคอีสานที่สําคัญ คือ งานประเพณีปใหมชาวบานไผ สูขวัญขาว แหปราสาทผึ้ง ทําบุญขาวกระยาสารท ทําบุญขาวจ่ี รดนํ้าดําหัว เขาพรรษา และประเพณีเลี้ยงบูชาปูตา มีภาษาอีสานเปนภาษาพูด และมีการเลน เชน หมอลํา กลองยาวในงานรื่นเริงตางๆ เชน งานบวชนาค งานบุญบั้งไฟ งานแตง งานบวงสรวง เชน ผีปูตา และบรรพบุรุษ นอกเหนือจากวิถีทางวัฒนธรรม และการเลน ยังมีประเพณีงานเลี้ยงเหลาและอบายมุขของคนในพ้ืนที่ ซ่ึงเปนจุดเร่ิมตนของการพัฒนา เพ่ือแกไขปญหาความยากจน เพราะมีขอมูลจากการสํารวจเม่ือป 2550 พบวา ชาวตําบลไผตองสูญเสียเงินเพ่ือซ้ือเคร่ืองด่ืมเปนจํานวนมากกวา 2,236,779 บาท ดังน้ันองคการบริหารสวนตําบลจึงริเร่ิมการทําโครงการ ลด ละ เลิก อบายมุขและไมสนับสนุนการด่ืมสุราในพ้ืนที่ โดยการทําประชาคม ขอตกลงเริ่มจากการรณรงค เชิญชวนเจาภาพ และคณะทํางานจากจังหวัด สถานีอนามัย ฝายปกครอง มารวมกันสรางแนวทางและกระบวนการเพื่อใหชาวบานสนับสนุน โดยมีการกําหนดตัวชี้วัด และขั้นตอนการทํางาน ดานกายภาพสิ่งแวดลอม ตําบลไผ ตั้งอยูตอนกลางเยื้องไปทางทิศตะวันออกของอําเภอรัตนบุรี มีเสนทางหลวงแผนดิน สายรัตนบุรี-สําโรงทาบ เปนเสนทางลาดยาง ผานตําบลซ่ึงเปนที่ราบสูงของทางตอนใตฝงตะวันออกและตะวันตก ลาดต่ําลงมาทางตอนกลางและตอนเหนือของตําบล ทําใหเกิดการพังทลาย และมีปญหานํ้าทวมขังเปนประจํา สภาพดินของพ้ืนที่มีลักษณะดินถึง 6 ชุด ซ่ึงมีสมรรถนะในการปลูกขาวไดรอยละ 64.5 ของพ้ืนที่ทั้งหมด และมีแหลงนํ้าธรรมชาติ คือ อางเก็บนํ้าชลประทาน ทําใหบางหมูสามารถปลูกพืชไดในฤดูแลง และมีรองนํ้าซับจากหนองปลักไขผํา ซ่ึงจะไหลเฉพาะในฤดูฝน นอกจากน้ียังมีระดับนํ้าใตดิน สูงพอที่จะใชเพ่ือการอุปโภคและทําการเกษตร

Page 202: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 186  

สภาพภูมิอากาศของตําบลสงผลใหไดรับอิทธิพลจากมรสุม และมีโอกาสเกิดภัยธรรมชาติ ทั้งฝนแลงและน้ําทวมในบางปในบางหมูบานได สภาพสิ่งแวดลอมที่สําคัญตอวิถีคนไผในระบบการผลิต คือเร่ืองการใชปุยเคมีในการเกษตร เพ่ือแกปญหาดินและน้ําในพ้ืนที่ นอกจากน้ียังมีวิถีคนไผที่เปนสภาพแวดลอมทางสังคม คือ การบริโภคสุรา ในงานเทศกาล ตามประเพณีและตองมีการละเลน ดานการเมืองการปกครอง มีระบบการปกครองที่มีความสามัคคี มีผูนําที่มีความเขมแข็งและ

ตองการการพัฒนาดานอยางมีสวนรวม ตําบลไผ เปนตําบลท่ีมีลักษณะชนบท มีผูนําทองถิ่นที่ไดรับเลือกตั้งติดตอกันถึง 3 สมัย ซ่ึงทําใหมีการพัฒนาที่ตอเน่ือง จนสามารถจัดทํายุทธศาสตรในการพัฒนาตําบลไดอยางครอบคลุมทุกดานไมวาจะเปนดานสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง มิติการพัฒนาดานการเมืองการปกครองไดเนนไปท่ี การสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนและองคกรจากทุกภาคสวน โดยใชรูปแบบการทําประชาคมใหประชาชนแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะ มีการพัฒนาศักยภาพทุกภาคสวน การพัฒนาจัดระเบียบชุมชนและสังคม และการกระจายอํานาจใหเกิดขึ้นอยางแทจริง ผลการพัฒนาการมีสวนรวมโดยการประชาคมในโครงการ ลด ละ เลิก สุราและอบายบุข ทําใหตําบลไผกลายเปนตนแบบของจังหวัด และดึงดูดองคกรภายนอกเขามาสนับสนุนการพัฒนาดานอ่ืนๆ รวมดวย และการพัฒนาที่สงผลตอระบบการเมือง การปกครองท่ีสําคัญอีกเร่ืองหน่ึงคือ การทําธรรมนูญสุขภาพของตําบลไผ ซ่ึงเกิดขึ้นเปนแหงแรกของภาคอีสาน ดานเศรษฐกิจ มีปญหาความยากจน ระบบการผลติของคนในตําบลไผมาจากภาคการเกษตร คิดเปนรอยละ 88.5 ของจํานวนครัวเรือนทั้งหมด ซ่ึงใหรายไดหลักมาจากภาคเกษตร การทํานา ทําไร เลี้ยงสัตว เลี้ยงไหม แตเน่ืองจากกรรมสิทธิ์การถือครองที่ดินมีอยูประมาณ 87.7 ของครัวเรือน จึงทําใหเกิดระบบแรงงานการรับจาง ทั้งในตําบลและนอกตําบลเกิดเปนแรงงานที่มีการเคลื่อนยายรวมดวย คนในชุมชนมีศักยภาพในดานการเกษตร สามารถทําการผลติไปขายในตลาดทองถิ่นและตัวเมืองใหญ มีการทอผาไหมที่เปนวัฒนธรรมด้ังเดิมและมีแหลงกองทุนที่สามารถระดมทุนเพ่ือใชประโยชนในการประกอบอาชีพได เชน ระบบสหกรณ ธ.ก.ส. และสถาบันการเงินของชุมชนซึ่งไดรับการพัฒนาและมีชื่อเสียงระดับจังหวัดดวย

Page 203: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 187  

ความเขมแข็งของชุมชน ตําบลไผ

อําเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร

การผลักดันดานนโยบายที่ผานมา ดาน ลด ละ เลิก ปลอดเหลาในงานศพ จนเปนตัวอยางใหกับตําบลอ่ืนๆ

ผูบริหารตําบลไดมีความสําเร็จในการผลักดันนโยบาย สรางสุขภาพจากโครงการ ลด ละ เลิก อบายมุข และสุรา และโครงการธรรมนูญสุขภาพ อยางเห็นไดชัด เปนรูปธรรม โดยใชกระบวนการสําคัญ คือ

1) การมีกรรมการ 2) การมีกระบวนการมีสวนรวม ทั้งการประชุมและประชาคม 3) การมีขอมูล เพ่ือใชในการสื่อสาร เพ่ือผลักดันนโยบายและเปนตัวชี้วัดในการประเมินผล 4) การมีขอตกลง สรางกฎ ระเบียบ กติกา รวมกัน 5) การติดตาม ประเมินผล คนหาตนแบบ หรือตัวอยางของความสําเร็จ

ความชัดเจนดานวิสัยทศัน พันธกิจ ตําบลไผ มีผูบริหารองคการบริหารสวนตําบลท่ีพัฒนาตอเน่ืองจนสามารถทําวิสัยทัศนการพัฒนาที่ครอบคลุมดานตางๆ อยางครบถวน คือ

1) ดานโครงสรางพ้ืนฐาน ทั้งที่เปนระบบสาธารณูปโภค และการบํารุงรักษา 2) ดานเศรษฐกิจ เพ่ือสรางความเสมอภาค หลักประกันที่ม่ันคง ดวยรายไดที่ทั่วถึงและเปนธรรม

ตลอดจนระบบเศรษฐกิจที่ปลอดภัย และพอเพียง ตามแนวพระราชดําริของพระเจาอยูหัว 3) ดานการเมืองการบริหาร ซ่ึงสงเสริมใหเกิดการปกครองระบอบประชาธิปไตย เกิดการมีสวนรวม

ทุกรูปแบบ เพ่ือใหประชาชนสามารถจัดการพัฒนาทองถิ่นของตนเองไดและเคารพในกฎระเบียบของสังคม

4) ดานสังคม เนนการพัฒนาขนบประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปญญทองถิ่น สรางความอบอุนในสถาบันครอบครัว และมีหลักธรรมในการใชชีวิต

5) ดานธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สงเสริม อนุรักษ และบํารุงรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ สรางจิตสํานึกในการเปนเจาของทรัพยากรและสรางคานิยมที่เปนไทย สะอาด ถูกสุขอนามัย นอกจากน้ียังมีเปาหมายที่ชัดเจนในการสรางสังคมและชุมชนในอยูรวมกันอยางสันติ เคารพ

กฎหมาย กฎระเบียบ และบริหารจัดการแบบบูรณาการ เพ่ือการพ่ึงตนเองได การพัฒนาดานโครงสราง เกิดขึ้นในระดับหมูบาน มีการทํางานรวมกันของทีมบริหารทองถิ่นที่

พัฒนาตนเองจากการประกอบอาชีพแตมีจิตใจอยากพัฒนาบานเกิด

Page 204: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 188  

นอกเหนือไปจากการพัฒนาโครงสรางทางกายภาพ ตําบลไผไดมีการเรียนรูเร่ือง การจัดทําฐานขอมูลทุนสังคมของพ้ืนที่จากโครงการ SIF จนทําใหสามารถนําฐานขอมูลมาใชประโยชนในการตัดสินใจ วางแผนในการพัฒนาตําบล และถายทอดบทเรียนและความสําเร็จ โดยใชการจัดทําขอมูลดวยระบบเทคโนโลยีสารคอมพิวเตอร สรางโอกาสในการเรียนรูสิ่งที่เปนนวัตกรรมของคนในตําบล เพ่ือสรางความภาคภูมิใจ และความเทาเทียม เขาถึงขอมูลและระบบสวัสดิการตางๆ ไดเปนอยางดี ดานความสัมพันธของคนในชุมชนและภาคีเครือขาย คนตําบลไผ มีความสัมพันธระบบพ่ีนอง เครือญาติ และเครือขายทางสังคมที่แนนแฟน เปนทุนมนุษย ทุนสังคมที่ดีเปนการเร่ิมตน นําไปสูความเขมแข็งของชุมชนในการแกปญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตในมิติตางๆ จนเกิดเปนบทเรียนสําคัญ ที่ถึดดูดองคกรภายนอก ใหเขามาสนับสนุนการพัฒนา ไมวาจะเปน สสส. หรือเครือขายอ่ืนๆ ทั้ง SIF และสถาบันการเงิน กองทุนตางๆ ความสําเร็จที่เกิดขึ้น นําไปสูการตอยอดขยายเครือขายดวยการเปนศูนยการเรียนรู ตนแบบในดานการเงินชุมชน และตนแบบการลด ละ เลิก อบายมุข ตลอดจนตนแบบการพัฒนา “ธรรมนูญสุขภาพ” ของตําบล ความสําเร็จของการพัฒนาเหลาน้ีทําใหมีเครือขาย และนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนของตําบล สงผลใหเกิดนวัตกรรมตอไปได คานิยมการทํางานเปนเครือขายของตําบลไผ ไดกอตัวจนกลายเปนนวัตกรรม “ตนแบบ”ที่เกิดจากการพัฒนาของตําบลเองในเรื่องตางๆ ซ่ึงสงผลใหตําบลไผ สามารถสรางและขยายเครือขายไดอยางกวางขวาง นับวานวัตกรรมฐานขอมูลทุนสังคมและนวัตกรรม “ตนแบบ” เปนเคร่ืองมือสําคัญของการสรางระบบสุขภาพชุมชนของตําบลไผ

ภูมิสังคมเชงิประจักษ ตําบลหวยสม

อําเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ดานสังคม/วฒันธรรม

มีวัฒนธรรมดานศาสนานําหนา ตามดวยวัฒนธรรมการอยูกับทรัพยากรธรรมชาติ ที่สวยงามวิถีสังคมการอยูรวมกันตามวัฒนธรรมทองถิ่น ดวยทุนทางสังคม และวิถีพอเพียงเพื่อแกไขระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ตัวอยางสําคัญของวิถีชุมชนดวยสม สะทอนไดจากการจัดประชุมที่วัด ไมมีโตะ เกาอ้ี แตมีหมอนอิง ที่ใชหนุนนอน หรือพิงหลังได ขอเพียงใหอยูรวมกันในที่ประชุม และใชภาษาถิ่นในการประชุม

ตําบลหวยสมไดชื่อมาจากลักษณะของลํานํ้าหรือลําหวยที่มีรสเปรี้ยวอยูในเขตอําเภอภูกระดึง จังหวัดเลย พ้ืนที่โดยทั่วไปเปนภูเขาและพื้นที่ราบเปนสวนนอย จํานวนหมูบานในเขต อบต.เต็มทั้งหมูบาน จํานวน 11 หมูบาน ไดแก หมูที่ 1 บานหวยสม ระยะหางจากอําเภอภูกระดึง 5 กิโลเมตร หมูที่ 2 บานมีชัย ระยะหางจากอําเภอภูกระดึง 6 กิโลเมตร

Page 205: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 189  

หมูที่ 3 บานสะพานยาว ระยะหางจากอําเภอภูกระดึง 4 กิโลเมตร หมูที่ 4 บานหวยไผ ระยะหางจากอําเภอภูกระดึง 8 กิโลเมตร หมูที่ 5 บานซําบาง ระยะหางจากอําเภอภูกระดึง 3 กิโลเมตร หมูที่ 6 บานหนองตูม ระยะหางจากอําเภอภูกระดึง 2 กิโลเมตร หมูที่ 7 บานผาฆอง ระยะหางจากอําเภอภูกระดึง 7 กิโลเมตร หมูที่ 8 บานโนนสะอาด ระยะหางจากอําเภอภูกระดึง 1 กิโลเมตร หมูที่ 9 บานโนนงาม ระยะหางจากอําเภอภูกระดึง 5 กิโลเมตร หมูที่ 10บานหวยไผ ระยะหางจากอําเภอภูกระดึง 8 กิโลเมตร หมูที่ 11บานโปงวัวพัฒนา ระยะหางจากอําเภอภูกระดึง 2 กิโลเมตร

จํานวนครัวเรอืนและจํานวนประชากร จํานวนครัวเรือนรวมทั้งสิ้น 1,787 ครัวเรือน จํานวนประชากรรวมทั้งสิ้น 6,621 คน มี ความ

หนาแนนเฉลี่ย 101 คนตอตารางกิโลเมตร แยกตามเพศ

- ชาย 3,365 คน - หญิง 3,256 คน

แยกตามชวงอายุ (ป) - ตั้งแตแรกเกิด - 10 ป จํานวน 921 คน - ตั้งแต 11 - 20 ป จํานวน 1,102 คน - ตั้งแต 21 - 30 ป จํานวน 1,196 คน - ตั้งแต 31 - 40 ป จํานวน 1,137 คน - ตั้งแต 41 - 50 ป จํานวน 989 คน - ตั้งแต 51 - 60 ป จํานวน 679 คน - อายุ 60 ปขึ้นไป จํานวน 578 คน

สภาพสังคม ประกอบดวย องคกรที่ทําหนาที่ตางๆ คือ ดานการศึกษา

- ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 8 แหง - โรงเรียนประถมศึกษา 4 แหง - โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 1 แหง - โรงเรียนสอนปริยัติธรรม 2 แหง

ดานศาสนา - วัด / สํานักสงฆ 9 แหง

Page 206: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 190  

ดานสาธารณสุข - สถานีอนามัยประจําตําบล 1 แหง

ดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน - ตูยามตํารวจชุมชนประจําตําบล 1 แหง

ดานสาธารณูปโภค ไฟฟา -แมจะมีระบบไฟฟาสวนภูมิภาคของอําเภอภูกระดึงในเขตตําบลครอบคลุมที่ 11 หมูบานแตไมครบทุกหลังคาเรือน

ดานกายภาพสิ่งแวดลอม สภาพพ้ืนที่ ตําบลหวยสมเปนที่ราบสูงที่ภูเขาลอมรอบพ้ืนที่ บริเวณตรงกลางของตําบลมีลักษณะเนินสลับกัน และมีภูเขาเตี้ยๆ กระจัดกระจายอยูทั่วไป มีที่ราบลุมอยูทางตะวันตกของตําบล แตมีภูเขาสลับซับซอนกันไป พ้ืนที่สวนใหญจะลาดเทไปทางทิศตะวันออก

ภูเขา ภูเขาที่สูงที่สุดวัดจากระดับนํ้าทะเล 672 เมตร คือ ภูผาแดง รองลงมาคือภูคอ- ภูกระแต

ระดับความสูงจากระดับนํ้าทะเล 300-498 เมตร และมีภูเขาอื่นๆ อีกมากมาย เชน ภูปาเซิม ภูปารวก ซ่ึงสูงจากระดับนํ้าทะเลไมต่ํากวา 240-280 เมตร สวนที่ราบสูงจากระดับนํ้าทะเลประมาณ 180-240 เมตร

เน่ืองจากสภาพพื้นที่สวนใหญเปนภูเขาลอมรอบทําใหสภาพอากาศและอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไดงาย ฤดูรอนอากาศจะรอนจัดโดยเฉพาะชวงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ฤดูหนาวจัดโดยเฉพาะในชวงเดือนธันวาคม-มกราคม

แหลงนํ้า ลํานํ้าที่สําคัญมี 2 สาย คือ 1. ลํานํ้าหวยสม ตนน้ําอยูที่ตําบลหวยสม ไหลผานบานมีชัย บานหวยสม บานสะพานยาว

และ บานผาฆอง ลงสูแมนํ้าพองที่ตําบลผานกเคา 2. ลํานํ้าหวยไผ ตนนํ้าอยูที่บานหวยไผไหลผานบานหวยไผ แบงออกเปน 2 สาย ไหลลงสู

ตําบลตาดขา และลํานํ้าหวยสม แหลงนํ้าที่สรางข้ึนมา - ประปา 20 แหง - ฝาย 7 แหง - บอโยก 19 แหง - บอนํ้าตื้น 81 บอ

Page 207: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 191  

- อางเก็บนํ้า 2 แหง ทรัพยากรธรรมชาติ ปาไม -ปาสงวนแหงชาติ ปาหวยสม – ภูผาแดง พ้ืนที่ปาคงสภาพอยูนอยและไมสมบูรณ แหลงทองเที่ยว -สระนํ้าสาธารณะบานหวยไผ (สระใหญ) หมูที่ 4 ตําบลหวยสม อําเภอภูกระดึง จังหวัดเลย

ระยะทางจากที่วาการอําเภอภูกระดึงประมาณ 8 กิโลเมตร ซ่ึงภายในบริเวณสระน้ําสาธารณะบานหวยไผ หรือที่ราษฎรตําบลหวยสมเรียกกันวา “สระใหญ” กลายเปนสถานที่พักผอนหยอนใจของราษฎรในตําบลหวยสมและผูที่สัญจรผานไปมา เน่ืองจากมีรานอาหารใหบริการซ่ึงสามารถลงไปนั่งในแพที่มีใหบริการอยูมากมาย อีกทั้งยังมีบริการนวดแผนไทยจากกลุมนวดแผนไทยไวบริการนวดเพ่ือผอนคลาย ดวย

-ถ้ําวัวแดง บานผาฆอง หมูที่ 7 ตําบลหวยสม มีโบราณสถานซึ่งไดขึ้นทะเบียนไวคือ ถ้ําภาพเขียนกอนประวัติศาสตร บานผาฆอง หมูที่ 7 เปนภาพเขียนสีแดงบนเพดานถ้ํา เปนแหลงทองเท่ียวที่มีหลักฐานทางโบราณคดี อยูหางจากที่วาการอําเภอภูกระดึงประมาณ 11 กิโลเมตร

การคมนาคม เสนทางคมนาคมของตําบลหวยสมมีเสนทางหลัก เสนทางการคมนาคมของตําบลหวยสมมี

เสนทางหลัก 2 เสนทาง คือทางหลวงแผนดินสาย 201 (เสนเดิม) และทางหลวงแผนดินสาย 201 (ถนนมลิวรรณ) ผานตําบลหวยสมและหมูบานในเขตตําบลหวยสมจํานวน 6 หมูบาน มีเสนทาง รพช.ผานทุกหมูบานในเขตตําบลหวยสมและมีเสนทางภายในหมูบานตางๆ ที่เปนถนนคอนกรีตเสริมไมไผ ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก และถนนลูกรัง ดานการเมืองการปกครอง

มีระบบการปกครองที่มีความสามัคคี มีผูนําที่มีความเขมแข็งทั้งทองที่ กํานันและผูใหญบาน และทองถิ่น สอบต.จับมือกัน และตองการการพัฒนาอยางมีสวนรวม ที่มีเปาหมายอยูที่กระบวนการมากกวาผลลัพธ

ศักยภาพของชุมชน ในการพัฒนาการปกครอง ประชาชนสวนใหญจบการศึกษาภาคบังคับ การพัฒนาดานการศึกษาใน  ระดับมัธยมศึกษามีเพ่ิมมากขึ้น  ประชาชนมีความสนใจและใหความสําคัญตอการศึกษานอกโรงเรียนและ  โรงเรียนขยายโอกาส  และมีวิสัยทัศนกวางไกล  มีการพัฒนาในระบอบประชาธิปไตยเพิ่มมากขึ้น  เล็งเห็น ความสําคัญขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและเขามามีสวนรวมในการพัฒนาตําบล  ตลอดจนการแสดง  ความคิดเห็นตาง  ๆ  ตามระบอบประชาธิปไตยในรูปแบบของประชาคมระดับหมูบาน และระดับตําบล

Page 208: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 192  

การลงพื้นที่พูดคุยกับกลุมตางๆ ในชุมชน สะทอนความสําคัญและจําเปน ที่ระบบการเมือง การปกครองจะตอง สอดคลองใหทุนมนุษย ทุนสังคม และเครือขายที่มีอยูในชุมชน ระบบการปกครองที่เปดโอกาสใหมีการพูดคุยกัน แลกเปลี่ยนขอมูลกันของแกนนํา และสมาชิกกลุมอาชีพ กลุมคนวัยตางๆ เปนเรื่องที่หลีกเลี่ยงไมได และไดเกิดขึ้นอยางมี “อัตลักษณ” ของชุมชน ระบบการทํางานปกครองเชิงขับเคลื่อน มากกวา การปกครองเชิงรวมศูนยกําลังเกิดขึ้นใหเห็น การเปลี่ยนบทบาทเจาหนาที่ภาครัฐ เชน รพ.สต.. มีความชัดเจนมาก ดานเศรษฐกิจ มีปญหาความยากจนและใชทรัพยากรมากมาย ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพทํานา ทําไร พืชเกษตรที่สําคัญ ไดแก ขาวโพด มันสําปะหลัง ถั่วเหลือง ออย ละหุง มะขามหวาน มะมวงและลําไย และมีการรวมกลุมแมบานแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและกลุมทอผา สืบเนื่องจากอาชีพของประชาชนมีความสัมพันธกับการใชที่ดิน ทําใหตองพัฒนาการใชที่ดินของตําบล ซ่ึงขอมูลระบุวา พ้ืนที่ที่ใชในการเกษตร 27,270 ไร

ทําเลเลี้ยงสัตว 1,275 ไร ปาสงวน 64,252 ไร ที่ดินสาธารณะ 115 ไร สวนพ้ืนที่ธุรกิจในเขต อบต.ประกอบดวย - ปมนํ้ามันและกาซ 2 แหง - โรงสี 16 แหง - โรงเรือนและที่ดิน 66 แหง - รานซอมรถจักรยานยนต 10 แหง - ลานตากมันสําปะหลัง 2 แหง - กิจการที่เก่ียวกับอิฐ, หิน, ดิน, ทรายและวัตถุที่คลายคลึง 3 แหง - ไสไมดวยเครื่องจักร 1 แหง - อูซอมรถยนต 2 แหง - ฟารมสุกร 5 แหง

การพัฒนาสินคา OTOP ของหวยสม มีสินคาดานการเกษตรและไกชนพ้ืนบาน ซ่ึงมีที่ยังไมไดมาตรฐาน “ดาว” ตามเกณฑที่ราชการตั้งไว

Page 209: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 193  

ความเขมแข็งของชุมชน ตําบลหวยสม

อําเภอรภูกระดึง จังหวัดเลย การผลักดันนโยบายที่ผานมา ตําบลหวยสมเปนตําบลขนาดเล็ก ซ่ึงมีทุนทางสังคมดานทรัพยากร วัฒนธรรมที่ดี แตถูกระบบเศรษฐกิจ แบบทุนนิยมเขาครอบครอง มีการกูหน้ีทั้งในและนอกระบบ ทําใหเกิดปญหาดานเศรษฐกิจ ความยากจน ดังน้ัน การผลักดันนโยบายเพ่ือใหเกิดความเขมแข็งของชุมชน จึงเริ่มกอตัวดวยประเด็นผลักดันจากภายนอก คือ เรื่องการทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร เพ่ือสงเสริมสุขภาพชองปาก มาเปนแรงผลักใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในชวง 1 ป ที่ผานมา ทําใหประชาชนและฝายปกครองเริ่มใหความสําคัญกับ “การมีสวนรวม” และ “การมีขอมูล” ความชัดเจนดานวิสัยทัศน พันธกิจ แผนยุทธศาสตรการพัฒนาของอบต.หวยสม ในป 2551-2555 ระบุชัดเจนถึงวิสัยทัศน และพันธกิจการพัฒนา ที่สอดคลองกับวิสัยทัศนของจังหวัดและอําเภอ ซ่ึงมีจุดเนน ดานการทองเที่ยว พัฒนาเศรษฐกิจและสรางความยั่งยืน อยางมีสวนรวมดวยกระบวนการพัฒนาทองถิ่นที่โปรงใส และพัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง ภาพสะทอนของการนําวิสัยทัศนไปสูการปฏิบัติที่ตําบลหวยสมทําขึ้น คือ การสรางการมีสวนรวม และการวางแผนขับเคลื่อนดวยขอมูล จากการใชเคร่ืองมือ คือ “แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร” แตเปนการใชเคร่ืองมือใหสอดคลองกับทุนสังคม วัฒนธรรม ของคนในพ้ืนที่ คือ วิถีการมีสวนรวมของชาวบาน และมีการกําหนดเปาหมาย การสรางแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร โดยนับผลลัพธ เชิงกระบวนการ คือ การผนึกกําลังคนในชุมชน มารวมสรางขอมูล และแผนที่ทางเดิน มากกวาการไดแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการ การพัฒนาดานโครงสราง สาธารณูปโภค

การพัฒนาดานโครงสราง สาธารณูปโภค เกิดขึ้นในระดับตําบลโดยการทํานวัตกรรมการประชุมรวมกันตามหมูตางๆ โดยมีการเลี้ยงดูปูเสื่อ มีการประชุมเปดกวางใหชาวบานมารวมรับฟง

สืบเน่ืองจากโครงสรางทางกายภาพที่เปนเขตชนบท มีสภาพเศรษฐกิจยากจน มีปญหาหน้ีสินทั้งในและนอกระบบ ประชาชนยังขาดความสามารถในการมีสวนรวมเพ่ือการตัดสินใจ ดังนั้น แกนนําทองถิ่น และทองที่จึงผนึกกําลังกันทําโครงสรางเพ่ือสนับสนุน การเรียนรูพ้ืนที่ เรียนรูทุนสังคม สงเสริมการเขาถึงปญหา และรวมกันตัดสินใจโดยใชนวัตกรรมการประชุมหมูบานสัญจร ที่มีการทําขอตกลงในการประชุมเพ่ือการเรียนรูและสรางสุขภาพและแกปญหาความยากจน โดยยกเลิกการเลี้ยงดูปูเสื่อของเจาภาพการประชุม

Page 210: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 194  

นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาโครงสรางการประชุมดวยวิถีสังคมเพื่อสรางการมีสวนรวม ดวยการน่ัง นอน และพูดภาษาถิ่น ตลอดจนเตรียมอาหารมารวมประชุมมาจากบาน เพ่ือการประหยัด และสามารถประชุมและสานสัมพันธไปพรอมกัน ความสัมพันธของคนในชุมชนและภาคีเครือขาย ภาพความสัมพันธของคนในชุมชน และหนวยงานภาครัฐสะทอนระหวางการลงพื้นที่เก็บขอมูล ซ่ึงพบวา การนั่งในที่ประชุมเปนวงใหญในศาลาวัด การชวยกันตอบคําถามและการกลาระบุขอดอยของภาครัฐและภาพความเปล่ียนแปลงของเจาหนาที่ รัฐในการทํางานรวมกับชุมชน ทําใหเชื่อไดวา กระบวนการสรางความสัมพันธในเชิงเครือขายไดเกิดขึ้นแลวอยางเทาเทียมและม่ันคง ความพยายามที่จะสะทอนความเขมแข็งของชุมชนจากคนทุกกลุมอาชีพและกลุมวัยที่มารวมประชุม หรือรวมตอนรับในหมูบาน ตลอดจนการนําเสนอสภาพความเปนจริงดวยขอมูลความสําเร็จและมุมมองที่เชื่อม่ันของคนในพ้ืนที่ ที่เขาถอดบทเรียนและอยูระหวางการขยายผล ดวยตนเองของแกนนํา ทําใหทีมวิจัยเกิดความเชื่อม่ันวา ตําบลหวยสมเปนพ้ืนที่ที่มีศักยภาพ และมีนวัตกรรมเชิงระบบ และเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นดวยตนเองซึ่งอยูในระยะเริ่มตนของการเกิดระบบสุขภาพชุมชน คานิยมในการทํางานเปนเครือขาย การทํางานเปนเครือขายของตําบลหวยสม ไดเกิดขึ้นอยางชัดเจน ดวยนวตักรรมการประชุมของแกนนําและชุมชน และดวยเครื่องมือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร นอกจากน้ียังมีขอสังเกตอีกวา นาจะเปนผลจากการมียุทธศาสตร “นักสรางสุขภาพครอบครัว” ของเขตพื้นที่น้ีที่ทําใหนักวิชาการสาธารณสุข เกิดตกผลึกทางความคิด และเปดใจในการทําหนาที่นักสรางสุขภาพครอบครัวไดสอดคลองกับบริบททางสังคมวัฒนธรรมที่ทองที่และทองถิ่นจับมือกันในครั้งน้ีซ่ึงทีมวิจัยจะใชเปนคําถามยอยในการทําวิจัยตอไปดวย

ภูมิสังคม เชงิประจักษ ตําบลชะแล

อําเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ดานสังคม วัฒนธรรม ตําบลชะแล อําเภอสิงหนคร ตั้งอยูบนพ้ืนที่ราบลุมทะเลสาบสงขลา ความเปนมาของชุมชนตําบลชะแลไมปรากฏหลักฐานการกอตั้งขึ้นเปนชุมชนมากนัก แตจากการสืบคนเลาตอกันมาวา มีอิสลามกลุมหน่ึงไดอพยพมาอาศัยตั้งถิ่นฐานอยูแถวริมคลองในสวนที่ติดกับทะเลสาบสงขลา กลุมอิสลามน้ีมีหัวหนาชื่อ บังสะแล ซ่ึงเปนที่ยอมรับนับถือของคนในกลุม ทุกคนมีอาชีพในการประมง หาปลา สัตวนํ้าในทะเลสาบสงขลาเพื่อเปนอาหารและแลกเปลี่ยนซื้อขาย ทุกตอนเย็นหลังจากการทํางานประกอบอาชีพแลว จะนําเรือกลับเขามาจอดรวมกันที่ทาเรือหนาบานของบังสะแลเปนประจําทุกวัน ตอมามีคนนับถือ

Page 211: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 195  

ศาสนาพุทธเขามาอาศัยตามแนวเชิงเขามากยิ่งขึ้น ทําใหมีการรบกวนวิถีชีวิตด้ังเดิมตามความเชื่อของอิสลาม จึงอพยพลาถอยจากพ้ืนที่แหงน้ี ไปอยูในพ้ืนที่ใกลเคียง เม่ือกลุมคนมุสลิมอพยพลาถอยจากพ้ืนที่แลว การสัญจรโดยชาวไทยพุทธยังคงใชทางเรือและใชทาเทียบเรือของบังสะแลเดิมอยู นานวันเขาการเรียกชื่อทาเทียบเรือไดกลายเปนชื่อหมูบานและผิดเพ้ียนเปนบานชะแล จนถึงปจจุบัน ( ที่มา คัดลอกจากจดบันทึกจากหนังสือ โดย นายเหิม เพ็ชรจํารัส อดีตผูใหญบานหมูที่ 3 ตําบลชะแล 2548) ที่ตั้ง องคการบริหารสวนตําบลชะแล เริ่มจัดตั้งเปนองคการบริหารสวนตําบล ในวันที่ 23 กุมภาพันธ 2540 ซ่ึงอยูหางจากที่วาการอําเภอสิงหนคร 17 กิโลเมตร มีเน้ือที่ประมาณ 5,561.875 ไร หรือประมาณ 8.907 ตารางกิโลเมตร แบงเขตการปกครองออกเปน 5 หมูบาน มีประชากร 2,815 คน จํานวน 528 ครัวเรือนและมีอาณาเขตดังน้ี ทิศเหนือ ติดกับตําบลบางเขียด อําเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ทิศใต ติดกับตําบลปากรอ อําเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ทิศตะวันออก ติดกับตําบลรําแดง อําเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ทิศตะวันตก ติดกับชายฝงทะเลสาบสงขลา ตําบลชะแล มีหมูบานทั้งสิ้น 5 หมูบาน หมูที่ 1 บานปากชอง นายสมคิด สังขทอง (ผูใหญบาน) หมูที่ 2 บานสวางอารมณ นายอุดม เสนหา (ผูใหญบาน) หมูที่ 3 บานกลาง ประวิทย แกวคํา (กํานัน) หมูที่ 4 บานชะแล นายจรูญ เสียงออน (ผูใหญบาน) หมูที่ 5 บานเขาผี นายปราณี ปยพันธ (ผูใหญบาน) เม่ือเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 องคการบริหารสวนตําบลชะแล ไดยกฐานะเปนเทศบาลตําบลชะแล ลักษณะภูมิประเทศ สภาพทั่วไปของตําบล เปนพ้ืนที่เนินเขาเล็ก ๆ จํานวน 3 เนิน นอกนั้นเปนพ้ืนที่ราบลุมทะเลสาบสงขลาติดตอกับทะเลสาบ จํานวน 1 ดาน มีพ้ืนที่ทั้งหมด 8.907 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนพ้ืนที่ 5,561.875 ไร (สํานักผังเมือง จังหวัดสงขลา 2545) ลักษณะฤดูกาล มี 2 ฤดู คือ ฤดูรอน เริ่มเดือน มกราคม – มิถุนายน และฤดูฝน เริ่มเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม

Page 212: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 196  

อุณหภูมิ อุณหภูมิโดยเฉลี่ยตลอดทั้งปในพ้ืนที่ อยูระหวาง 25 - 34 องศาเซลเซียส เปนอุณหภูมิที่คอนขางรอนชื้น ยกเวนชวงฤดูฝน อุณหภูมิอยูที่ 25 - 30 องศาเซลเซียส สถานภาพทางสังคม อาชีพ ประชาชนในพ้ืนที่สวนใหญประกอบอาชีพทางดานเกษตรกรรม ทํานา ทําสวน เลี้ยงสัตว รองลงมาคือ คาขาย ประมง อุตสาหกรรมในครัวเรือน ไดแก โรงสีขนาดเล็ก การทํานํ้าตาลโตนด และมีแรงงานบางสวนไปทํางานรับจางในโรงงานอุตสาหกรรม แบบเชาไป – เย็นกลับ ประมาณ 200 คน นอกจากนี้ องคการบริหารสวนตําบลชะแลมีการสงเสริมอาชีพของประชาชน คือสงเสริมการสุกร ทํานํ้าปลา เลี้ยงปลากะพง เปนตน ความเจริญทางดานเศรษฐกิจ 1.รานคา จํานวน 33 ราน แยกเปนรานคาสงขนาดกลาง 2 แหง รานคาทั่วไป 31 แหง 2. สถานีจําหนายน้ํามันเชื้อเพลิง จํานวน 4 แหง 3. โรงงานอุตสาหกรรม จํานวน 3 แหง แยกเปน

โรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง (เงินลงทุน 10-100 ลานบาท) จํานวน 1 แหง โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (เงินลงทุน ไมเกิน 10 ลานบาท) จํานวน 2 แหง

ความเจริญทางสังคม การศึกษา - โรงเรียนระดับประถมศึกษา 1 แหง ไดแก โรงเรียนวัดชะแล เปดสอนระดับอนุบาลและ ประถมศึกษา - โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 1 แหง ไดแก โรงเรียนชะแลนิมิตวิทยา เปดสอน ม.1-ม.6 - ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 1 แหง ไดแก ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานสวางอารมณ - ที่อานหนังสือพิมพประจําหมูบาน 2 แหง - ศูนยการเรียนชุมชนประจําตําบล 1 แหง - ศูนยถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 1 แหง สถาบันและองคกรทางศาสนา - วัด/สํานักสงฆ จํานวน 2 แหง คือ วัดชะแล หมู 4 ตําบลชะแล และ วัดภูตบรรพต หมู 5 ตําบลชะแล สาธารณสุข - สถานีอนามัยประจําตําบล 1 แหง - อัตราการมีและใชสวมราดน้ํา รอยละ 100 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

Page 213: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 197  

- ที่พักสายตรวจประจําตําบล 1 แหง การคมนาคม มีถนนลาดยาง 4 สาย ถนนดินลูกรัง 10 สาย การสัญจรไปมาใชรถจักรยานยนต รถยนต และรถโดยสารประจําทาง สภาพถนนพอใช มีปญหาบางในชวงฤดูฝน การโทรคมนาคม - ที่ทําการไปรษณียโทรเลข 1 แหง - สถานีโทรคมนาคมอ่ืน 5 แหง สาธารณูปโภค การไฟฟา ในพ้ืนที่โดยสวนรวมทั้งตําบล ประชาชน มีไฟฟาใชทุกหมูบานสวนใหญเปนผูใชประเภทที่อยูอาศัย รองลงมาเปนประเภททั่วไป ขนาดเล็ก ประเภทอุตสาหกรรมขนาดใหญ 1 รายเปนโรงงานผลิตเครื่องเรือน มีแหลงนํ้าธรรมชาติ ดังน้ี ลํานํ้า ลําหวย 3 สาย , บึง หนองและอ่ืนๆ 2 แหง , คลอง 8 แหง บอโยก 2 แหง, ถังเก็บนํ้าฝน 6 แหง, บาดาล 12 แหง ประปาหมูบาน ระบบประปาหมูบานประเภทบอบาดาล ไดแก หมูที่ 4 และ หมูที่ 5 สําหรับหมูที่ 1,2 และ 3 อยูระหวางดําเนินการกอสรางระบบประปาหมูบานประเภทบอบาดาล ขนาดใหญ ทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนที่ ไดแก ปาชายเลนชายฝงทะเลสาบสงขลา มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบาน จํานวน 200 คน - กลุมสตรีอาสา 5 หมูบาน จํานวน 50 คน - กลุมอาสาสมัครสาธารณสุข จํานวน 200 คน - กลุมเกษตรอินทรียตําบลชะแล จํานวน 50 คน - กลุมศิลปนกลองยาวพื้นบาน จํานวน 25 คน - สภาวัฒนธรรมตําบลชะแล จํานวน 40 คน - กลุมผูเลี้ยงวัวพ้ืนเมือง จํานวน 50 คน - กลุมผูเลี้ยงสุกร จํานวน 10 คน - คณะกรรมการเพ่ือพัฒนาการทองเท่ียวทางน้ําตําบลชะแล ดานกายภาพ ส่ิงแวดลอม ตําบลชะแล มี จุดยืนการทองเที่ยวและการอนุ รักษสิ่ งแวดลอม คือ ทะเลสาบสงขลา นอกเหนือไปจากความเจริญดานโครงสรางสาธารณูปโภค ดังน้ันการพัฒนาสิ่งแวดลอมเพ่ือการทองเที่ยว ลุมนํ้าทะเลสาบสงขลา การพัฒนาฟนฟูปาชายเลนทั้งที่เปนเปาหมายการพัฒนาบนพื้นฐานการทําขอตกลงความรวมมือระหวางหนวยงานที่เก่ียวของจึงเกิดขึ้นอยางตอเน่ือง

Page 214: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 198  

จุดยืนสําคัญอีกดานหน่ึง คือ ดานวันธรรม ดังน้ันโครงการอนุรักษวัฒนธรรม และสังคมพัฒนาดานศิลปะ วัฒนธรรม ดานจิตใจจึงมีการเกิดขึ้นอยางตอเน่ือง และขยายไปสูการเปนศูนยอบรมเด็กเยาวชน ดานภูมิปญญาทองถิ่น การใชวัฒนธรรมสรางสุขภาพมโนราบิคและการจัดตั้งพิพิธภัณฑภาคใต นอกเหนือจากการพัฒนาโครงสรางกายภาพ และเชิงวัฒนธรรมสังคมแลว ตําบลชะแล ยังมีการพัฒนาโครงสรางดานฐานขอมูลดวยระบบเทคโนโลยี ทั้งนี้เปนการนําฐานขอมูลทุนทางสังคม มาใชประโยชนสะดวกรวดเร็วมากขึ้น ดานเศรษฐกิจ ตําบลชะแล ใชระบบเศรษฐกิจครัวเรือน และเศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาในการพัฒนา โดยคนในพ้ืนที่จะพัฒนาและขับเคลื่อนเปนไปตามความถนัดและความเหมาะสมตามสภาพรางกายของคนชะแลตองการเรียนรู และการรับการถายทอดมรดกจากบรรพบุรุษ สภาองคกรชุมชนตําบลชะแล มีการจดแจงกลุมอาชีพที่มีการรวมตัวกันทํากิจกรรม เพ่ือสะดวกในการพัฒนาตามศักยภาพของผลิตภัณฑและกลุม จนเกิดเปนกลุมทํานาปลอดสารพิษ กลุมทําปุยหมักชีวภาพ กลุมปลูกผักไรดิน กลุมเลี้ยงปลา วัว กบ เปด กลุมเพาะเห็ด กลุมตัดเย็บเสื้อผา กลุมจักสาน กลุมทํานํ้าผ้ึง ทําขนมเปนตน

ดานความเขมแข็งของชมุชน ตําบลชะแล

อําเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา การผลักดันนโยบาย รูปแบบสําคัญที่ใชผลักดันนโยบาย ของตําบลชะแล คือ การมีและทําเปนขอตกลงไมวาจะดานความรวมมือระดับครัวเรือน ระดับชุมชน หรือองคกร ตลอดถึงระดับตําบล ที่เรียกวา “ธรรมนูญ” วิสัยทัศน พันธกิจ ตําบลชะแล มีการกําหนดวิสัยทัศนที่ชัดเจน เพ่ือการสรางสุขภาพ เนนความสุขมวลรวมของคนในตําบลโดยใชทุนสังคม ดาน ทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรมมาชวยในการสรางความม่ันคงของชุมชน การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและสาธารณูปโภค

ตําบลชะแล พัฒนาโครงสราง ควบคูกับการพัฒนาคนและขอมูล ดังน้ัน โครงสรางที่เกิดขึ้น ไมวาจะเปน โครงสรางทางกายภาพ สาธารณูปโภค สิ่งแวดลอมเปนโครงสรางที่นําสูการขับเคลื่อนทั้งระบบดวยเครื่องมือ “ขอตกลง” ที่คนในตําบลชะแล มารวมกันพัฒนาทั้งที่เปนเนื้อหา สาระ และพัฒนารูปแบบ วิธีการขับเคลื่อนดวย

Page 215: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 199  

ความสัมพันธของคนในชุมชนและภาคีเครือขาย คนในสังคมของตําบลชะแล มีความผูกพันตามอัตลักษณของชุมชนพุทธ ชุมชนภูมิปญญาทองถิ่น และคนตําบลชะแล ยังผูกพันกันตามขอตกลง ทั้งที่เปนความผูกพันระหวางคนในชุมชนเดียวกันและกับภาคีเครือขายภายนอกดวย คานิยมของการทํางานระบบเครือขาย คนในตําบลชะแล ตั้งแตผูนําระดับทองถิ่น นิยมการทํางานระบบเครือขาย ดังจะเห็นไดจากการเร่ิมเปนเครือขายสรางสุขภาพจังหวัดสงขลา อันเปนจุดเร่ิมตนการพัฒนาเชิงขับเคลื่อน การสราง แสวงหา เครือขายเปนบทบาทของผูนําทองถิ่น ซ่ึงจัดทําขึ้นจากเปาหมายหรือการพัฒนาตําบลของตนเอง โดยใชกลยุทธการพัฒนาจากมุมมองคนภายนอก และการจัดทําฐานขอมมูล เพ่ือเปนความลึกของการพัฒนาและเปนฐานใหเกิดการพัฒนาท่ียั่งยืนตอไป ดวยองคกรที่ตําบลสรางขึ้นเปนแกนในการขับเคลื่อนนั่นคือ สํานักธรรมนูญสุขภาพตําบลชะแล

Page 216: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 200  

ภูมิสังคม เชงิประจักษ บานหนองกลางดง

ตําบลศลิาลอย จังหวัดประจวบคีรีขันธ ดานสังคม /วฒันธรรม เปนสังคมของการรวมกลุมตามวิถีชีวิตของคนในชุมชน ซ่ึงมีทั้งกกลุมอาชีพ กลุมอายุ และกลุมสนใจตาง ๆ รวม 14 ประกอบดวย 

กลุมชาวไรสบัประรด กลุมชาวนาขาว กลุมปลูกไมผลยืนตน กลุมผูเลี้ยงสตัว กลุมผูใชแรงงาน กลุมคาขาย กลุมเยาวชน 

กลุมผูสูงอายุ กลุมสตรี กลุมออมทรัพย กลุม อพป. กลุม อสม. กลุมผูใชนํ้าชลประทานเพือ่การเกษตร หัวหนาคุมบาน 4 คุม 

ซ่ึงแตละกลุมไดสรางวัฒนธรรมเร่ืองการมีสวนรวมของสมาชิกกลุม การพัฒนาผูนํากลุม และกลุมมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชน ดานการเมืองการปกครอง การบริหารจัดการชุมชนเปน “ประชาธิปไตย” อยางแทจริงและเปนรูปแบบเฉพาะของหมูบานหนองกลางดง โดยหลักการคือ การใหประชาชนทุกคนรับรูขอมูลขาวสารอยางเทาเทียมกัน และมีสวนรวมตัดสินใจในทุกเร่ือง ซ่ึงกลยุทธที่ใชคือ การประชุมสภาผูนําชุมชน และการประชุมชาวบานเปนประจําทุกเดือนไมเคยวางเวน และมีการถายทอดการประชุมผานเสียงตามสายถึงทุกครัวเรือนในชุมชน นอกจากนี้ยังมีกระบวนการพัฒนาผูนําและผูแทนของชุมชนผานกลุมตาง ๆ และสภาผูนําชุมชน โดยพยายามหลีกเลี่ยงการ “เลือกตั้ง” ในทุกเร่ือง แตใชวิธีการประชุมชาวบาน เพ่ือหาขอสรุปวาใครคือผูนําทางการหรือผูแทนชุมชนประจําสภาอบต. เชน การเลือกตั้งผูใหญบานเม่ือครบวาระโดยไมมีคูแขง และการที่ชุมชนสงผูสมัครเปนสมาชิกสภาอบต. 2 คนเทาจํานวนที่ตองการโดยไมมีคูแขง ดานกายภาพสิ่งแวดลอม เปนพ้ืนที่เกษตรกรรม อาชีพหลักของประชาชนคือการทําไรสัปรด ทําสวน และทํานาเล็กนอย นอกจากน้ียังมีพ้ืนที่ปาชุมชนที่ชาวบานถือกรรมสิทธิ์ในการหาผลประโยชนจากปาและการดูแลรักษา (ชาวบานไดตอสูผืนปาน้ีจากเดิมมีการใหสัมปทานทําเหมืองแรเหล็ก จนมีการยกเลิกสัมปทานและทําเปน “ปาชุมชนได”)

Page 217: Community Practice Systems Research

  

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน 201  

ดานเศรษฐกิจ ชาวบานมีสภาพความเปนอยูที่อยูบน “ความพอเพียง” และมีระบบการจัดการเร่ืองการกินอยูที่มีรายไดประจําและมีระบบวิถีการชวยลดคาใชจายของประชาชน เชน กลุมใกลเคียงในชุมชนขายขาวสารใหประชาชนถูกกวาทองตลาด ซ่ึงขาวเปลือกที่นํามาสีก็รับซ้ือจากชาวนาในชุมชนในราคาตลาด

ความเขมแข็งของชุมชน

บานหนองกลางดง ตําบลศลิาลอย จังหวัดประจวบคีรีขันธ

การผลักดันนโยบายที่ผานมา การเปลี่ยนแปลง/พัฒนาชุมชนทุกเร่ืองรวมทั้งประเด็นเชิงนโยบายตองผานที่ประชุมสภาผูนําชุมชนและที่ประชุมชาวบาน และตองไดรับการยอมรับบนพ้ืนฐานของการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรูขอมูลที่จําเปน ความชัดเจนดานวิสัยทศัน พันธกิจ การพ่ึงตนเอง และการพัฒนาบนพื้นฐานความพรอมและความตองการของชุมชน รวมทั้งการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาเปนวิสัยทัศน และพันธกิจที่ชัดเจนของชุมชน การพัฒนาดานโครงสรางสาธารณูปโภค ชุมชนมีสาธารณูปโภคครบถวนทุกดาน ความสัมพันธของคนในชุมชนและภาคีเครือขาย ชุมชนมีความชัดเจนในวิธีคิดและวิธีปฏิบัติที่จะพ่ึงพาตนเองในทุกดาน ในกรณีที่ เ กินความสามารถจึงไปขอความรวมมือและชวยเหลือจากภาคีเครือขาย โดยผานระบบ “แผนชุมชน” ที่แยกงานออกเปน 3 สวน คือ แผน “ทําเอง ทํารวม และทําขอ” คานิยมในการทํางานเปนเครือขาย ความสามารถพิเศษของชุมชน คือ การเปนตัวของตนเอง โดยเครือขายที่เขามาสนับสนุนในชุมชนตองเปนเครือขายที่เปนไปตามตองการของชุนชนเอง ไมใชเปนไปตามความตองการของ “เครือขายที่เขามา” โดยชุมชนปฏิเสธที่จะรับความชวยเหลือจากเครือขายภายนอก หากทําใหมีผลกระทบตอระบบและวิถีการปฏิบัติของชุมชน