13
ชุดที9 นำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp กำรนำเข้ำ และส่งออกโมเดล Google SketchUp ใบควำมรู้ที15

ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

กำรน ำเข้ำ และส่งออกโมเดล

Google SketchUp

ใบควำมรู้ที ่15

Page 2: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

การจะได้ผลงานที่สมบูรณ์เกี่ยวข้องกับการน าเข้าไฟล์ที่เหมาะสมมาใช้งาน และเมื่อเสร็จสิ้น

งาน ต้องส่งออกชิ้นงานเพ่ือน าเสนอหรือประกอบกับโปรแกรมอ่ืน ๆ ซึ่ง SketchUp สามารถส่งออกไฟล์ออกไปได้ในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ หรือแม้กระท่ังภาพเคลื่อนไหวด้วย

การน าเข้าไฟล์มาใช้ใน SketchUp มีหลายวัตถุประสงค์ เช่น การน าภาพเข้ามาเป็นพ้ืนหลัง หรือเป็นแบบในการวาดโมเดล หรือน าเข้าวัตถุจากโปรแกรมอ่ืนมาท างานต่อยอดใน SketchUp อย่างไรก็ตามในเวอร์ชั่นฟรีและเวอร์ชั่น Pro ก็สนับสนุนประเภทไฟล์ที่น าเข้าได้ไม่เท่ากัน

การน าเข้าไฟล์ การน าเข้าไฟล์จะใช้ค าสั่ง Import มีข้ันตอนดังนี้

เลือกเมนู File เลือกค าสั่ง Import…

1

Page 3: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

ในหน้าต่าง Open ให้เลือกโฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์ที่ต้องการใช้ หากเป็นประเภทไฟล์ ที่รองรับก็จะปรากฏไฟล์ให้เห็นทันที

2

5

สามารถเลือกประเภทไฟล์อย่างเจาะจงได้ที่ช่อง File of type ซึ่งจะแสดงประเภทไฟล์ที่รองรับของ SketchUp

3

Page 4: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

ประเภทไฟล์ที่ SketchUp รองรับในการ Import เข้ามาใช้ในชิ้นงาน

skp: ไฟล์ชิ้นงานของ SketchUp เอง

3ds: วัตถุ 3 มิติที่เปิดได้กับโปรแกรม 3 มิติ เช่น 3ds max

dae: เป็นมาตรฐานไฟล์ชื่อว่า COLLADA ซึ่งเป็นไฟล์ชิ้นงาน 3 มิติชนิดควบคุมได้

dem: เป็นไฟล์ชิ้นงาน 3 มิติประเภทภูมิประเทศต่าง ๆ

kmz: ไฟล์โมเดลของ Google Earth

jpg: ไฟล์ภาพที่นิยมใช้มากท่ีสุด

png: ไฟล์ภาพที่มีคุณสมบัติพ้ืนหลังโปร่งใส

psd: ไฟล์ Photoshop ที่มีคุณสมบัติการใช้ชั้นเลเยอร์

tif: หรือ Tagged image file format เป็นไฟล์ภาพประเภท raster ที่นิยมใช้ในการตัดต่อภาพ

tga: เป็นไฟล์ภาพอีกชนิดหนึ่งที่มีการใช้งานกันมานาน เรียกอีกอย่างว่า Targa

bmp: ไฟล์ภาพคุณภาพสูงของระบบ Windows

เลือกชื่อไฟล์แล้วคลิกที่ Open เพ่ือน าไฟล์เข้ามาใช้ในพ้ืนที่ท างาน

4

6

Page 5: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

การส่งออกชิ้นงาน คือการปราะมวลผลงานววาดของเราออกไปใช้ต่อกับโปรแกรมอ่ืน ๆ ซ่ึง SketchUp สามารถส่งออกไฟล์ออกไปได้รูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ หรือแม้กระทั่งภาพเคลื่อนไหวด้วย

การส่งออกชิ้นงานด้วยค าสั่ง Export เมื่อสร้างชิ้นมาเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนการส่งออกชิ้นงาน มีดังต่อไปนี้

3D Model…. ส่งออกเป็นวัตถุ 3 มิติ

2D Graphic…. ส่งออเป็นวัตถุ 2 มิติ

Section Slice…. ส่งออกภาพของส่วนตัดภาค ซึ่งใช้ได้เฉพาะเวอร์ชัน Pro เท่านั้น

เลือกเมน ูFile และเลือกเมนูย่อย Export

1

เมนู Export มีตัวเลือกย่อย ดังนี้

2

7

Page 6: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

Animation: ส่งออกภาพเคลื่อนไหว ได้แก่ แอนิเมชั่นที่เกิดจากการสร้าง Scenes

การ Export เป็น 3D Model

เมื่อเลือก Export เป็น 3D Model แล้ว ขั้นตอนการบันทึกไฟล์ มีดังนี้

ตั้งชื่อไฟล์ และเลือกโฟลเดอร์ที่จะใช้เก็บไฟล์

1

เลือกประเภทของไฟล์ที่สามารถส่งออกงานได้ และคลิก Export

2

8

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

Page 7: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

ประเภทไฟล์ 3D Model ที่รองรับในการส่งออกชิ้นงาน

3ds: ไฟล์ส าหรับโปรแกรม 3ds max

dwg: ไฟล์งานเขียนแบบ 2 มิติ และ 3 มิติของโปรแกรมประเภท CAD เช่น AutoCAD

dxf: เป็นไฟล์ที่ Autodesk พัฒนาเพื่อใช้ส่งข้อมูลระหว่างงานวาด AutoCAD กับโปรแกรมอ่ืน

dae: เป็นมาตรฐานไฟล์ชื่อว่า COLLADA ซึ่งเป็นไฟล์ชิ้นงาน 3 มิติชนิดควบคุมได้

fbx: ย่อมาจาก Filmbox ซึ่งใช้กับโปรแกรมมัลติมีเดียหลายโปรแกรม

ifc: เป็นไฟล์ที่ใช้เก็บข้อมูลงานประเภทก่อสร้างต่าง ๆ

kmz: ไฟล์โมเดลของ Google Earth

obj: เป็นไฟล์วัตถุ 3 มิติ ซึ่งเปิดใช้ได้กับหลายโปรแกรม

wrl: หรือ Virtual Reality Modeling Language (VRML) เป็นไฟล์ 3 มิต ิชนิดโต้ตอบได้

xsi: เป็นไฟล์ส าหรับโปรแกรม Softimage ซึ่งเป็นโปรแกรมสร้างงาน 3 มิติ ระดับสูงตัวหนึ่ง

9

Page 8: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

การ Export เป็น 2D Graphic เมื่อ Export เป็น 2D Graphic แล้ว ขั้นตอนการบันทึกไฟล์ มีดังนี้

ตั้งชื่อไฟล์ และเลือกโฟลเดอร์ที่จะใช้เก็บไฟล์

1

เลือกประเภทของไฟล์ที่สามารถส่งออกงานได้ และคลิก Export

2

10

Page 9: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

ประเภทไฟล์ 2D Graphic ที่รองรับในการส่งออกชิ้นงาน

pdf: ย่อมาจาก Portable document format เป็นไฟล์เอกสารที่นิยมใช้เผยแพร่ ทางอินเทอร์เน็ต

esp: ย่อมาจาก Encapsulated Post Script เป็นไฟล์กราฟิกท่ีนิยมกับโรงพิมพ์

bmp: ไฟล์ภาพคุณภาพสูงระบบ windows

jpg: ไฟล์ภาพที่นิยมใช้มากท่ีสุด

tif: หรือ Tagged image file format เป็นไฟล์ภาพประเภท raster ที่นิยม ใช้ในการตัดต่อภาพ

png: ไฟล์ภาพที่มีคุณสมบัติพ้ืนหลังโปร่งใส

epx: ย่อมาจากไฟล์ Epix ใช้กับโปรแกรม Piranesi เป็นไฟล์งานวาดที่ได้ มาจากงาน 3 มิติ

dwg: ไฟล์งานเขียนแบบ 2 มิติ และ 3 มิติของโปรแกรมประเภท CAD เช่น AutoCAD

dxf: เป็นไฟล์ที่ Autodesk พัฒนาเพื่อใช้ส่งข้อมูลระหว่างงานวาด AutoCAD กับโปรแกรมอ่ืน

11

Page 10: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

การพิมพ์งานวาดออกมาเป็นแผ่นกระดาษก็ยังมีความจ าเป็นไม่น้อยแม้ในปัจจุบันจะนิยมน าเสนองานด้วยไฟล์และสื่อออนไลน์ต่าง ๆ ก็ตาม

การก าหนด Parallel Projection โดยค่าตั้งต้น มุมมองงานวาดของเราจะมีลักษณะ Perspective คือจุดรวมสายตา ที่เสมือนโลกแห่งความเป็นจริง ส่วนที่อยู่ใกล้ก็จะดูใหญ่กว่าส่วนที่อยู่ไกล งานวาดในมุมมองต่าง ๆ จึงมีลักษณะบิดเบือนตามมุมกล้องนั่นเอง การเปลี่ยนมุมมองจาก Perspective เป็น Parallel Projection จะท าให้งานวาดมีลักษณะแบนราบมากขึ้น มีมิติที่ตรงไปตรงมาเหมือนแบบแปลนวาดเขียน จึงเหมาะกับการตรวจสอบ ความถูกต้องของการวาด และเหมาะสมกับการพิมพ์งาน

Perspective Parallel Projection

มุมมองงานวาดจะอยู่ในเมนู Camera มีอยู่ 3 มุมมอง ได้แก่

Parallel Projection

Perspective

Two-Point Perspective

12

Page 11: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

การสั่งพิมพ์โมเดล

ขั้นตอนการพิมพ์ชิ้นงานและการตั้งค่าต่าง ๆ ดังนี้

1 ค าสั่งพิมพ์เอกสาร ให้เลือกเมนู File และเลือก Print… หรือกดปุ่มลัด +

บนคีย์บอร์ด

Ctrl P

Page 12: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

Printer: เลือกที่จะก าหนดค่าเครื่องพิมพ์ที่จะใช้

Tabbed Scene Print Range:

เลือก Scene ที่จะพิมพ์

Copies: ก าหนดจ านวนส าเนา Print Size: ขนาดของงานพิมพ์ Fit to page: ก าหนดให้พอดีหน้ากระดาษ Use model extents: ก าหนดให้ครอบคลุมวัตถุท้ังหมด Tiled Sheet Range: ก าหนดลักษณะการเรียงหน้า กรณีมีหลายหน้า Print Quality: ก าหนดคุณภาพการพิมพ์ Uee high accuracy HLR:

ก าหนดให้พิมพ์แบบคุณภาพสูง

ในหน้าต่าง Print มีส่วนของการตั้งค่าหลัก ๆ ดังนี้

2 คลิก OK เพ่ือพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์

3

Page 13: ใบควำมรู้ที่ 15rattanaburi.ac.th/SketchUP/chapter15.pdfใบควำมร ท 15 ช ดท 9 น ำเข ำ และส งออกโมเดล

ชุดที่ 9 น ำเข้ำ และส่งออกโมเดล|Google SketchUp

มุมมองงานวาดอีกมุมมองหนึ่งที่ ไม่ได้กล่างข้างต้นคือ Two-Point Perspective เนื่องจากไม่ได้เป็นค่าตั้งต้นของโปรแกรม เมื่อเปิด ไฟล์ใหม่ขึ้นมาใช้งาน และการใช้งานจะใช้ใน บางโอกาส คือเมื่อต้องการมองชิ้นงานด้วย จุดรวมสายตา 2 จุด (Vanishing point)