5
661 การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554 “การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554 บทคัดย่อ การวิจัย “ทัศนะของผู้นำาสตรีในจังหวัดเชียงใหม่เกี่ยวกับ ผลกระทบด้านสิทธิ ภายหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้า นามหญิง พ.ศ. 2551” นี้ ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาผลกระทบ เกี่ยวกับสิทธิด้านครอบครัวและสังคมอันเนื่องมาจากการประกาศใช้ พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 และเพื่อทราบทัศนะ ทั่วไปเกี่ยวกับการประกาศใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 ทั้งนี้เพื่อหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ต่อการ แก้ไขปัญหาผลกระทบเกี่ยวกับสิทธิด้านครอบครัวและสังคมอันเนื่อง มาจากการประกาศใช้พระราช บัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาจากสตรีที่เป็นผู้นำาอาชีพต่าง ๆ รวม 8 อาชีพ ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยแบ่งออกเป็นอาชีพละ 5 รายได้แก่ อาชีพธุรกิจ อาชีพนักการเมือง อาชีพนักวิชาการ อาชีพนักกฎหมาย อาชีพราชการฝ่ายปกครอง อาชีพสื่อมวลชน อาชีพเกษตรกร และนัก ต่อสู่เพื่อสิทธิสตรี จำานวนทั้งสิ้น 40 ราย ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดย การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผลการศึกษาพบว่า (1) ในเรื่องทัศนะ ทั่วไป เห็นว่าเป็นเรื่องที่ดีที่มีการยอมรับสิทธิสตรีเพิ่มขึ้น ไม่มีการ เลือกปฏิบัติโดยนำาเรื่องเพศมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาเข้าทำางาน แต่อาจก่อให้เกิดปัญหาครอบครัวในกรณีที่ฝ่ายชายเป็นครอบครัว ที่เคร่งครัดในเรื่องธรรมเนียมประเพณี อย่างไรก็ตามในอนาคตชาย หญิงจะมีปรับตัวกับกฎหมายทำาให้ปัญหาลดลงได้ (2) ในเรื่องทัศนะ เกี่ยวกับผลกระทบจากการประกาศใช้ เห็นว่ากฎหมายไม่ทำาให้เกิด ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว เพราะสตรีส่วนใหญ่เมื่อสมรสแล้ว มักไม่ขอเปลี่ยนคำานำาหน้านาม และที่ได้เปลี่ยนคำานำาหน้านามส่วน ใหญ่จะได้อธิบายเหตุผลให้สามีและครอบครัวทราบถึงความจำาเป็น อย่างไรก็ตาม หากฝ่ายสามีหรือครอบครัวสามีไม่เห็นด้วย ส่วนใหญ่ จะไม่เปลี่ยนคำานำาหน้านาม เพราะไม่ต้องการให้เกิดความขัดแย้งใน ครอบครัว (3) ในเรื่องข้อเสนอแนะผู้ให้สัมภาษณ์ได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ ในภาพกว้าง คือ รัฐควรให้ความรู้ความเข้าใจกับหลักการและเหตุผล ในการออกพระราชบัญญัติดังกล่าว รัฐควรสร้างจิตสำานึกและความ รับผิดชอบของบุรุษที่มีต่อสตรีให้มากขึ้น และรัฐควรออกกฎหมายทีให้ความคุ้มครองกับสตรีในด้านต่างๆ ให้ชัดเจนและเฉพาะด้านมาก ขึ้น ทัศนะของผู้นำ�สตรีในจังหวัดเชียงใหม่เกี่ยวกับผลกระทบด้�นสิทธิภ�ยหลังประก�ศใช้ พระร�ชบัญญัติคำ�นำ�หน้�น�มหญิง พ.ศ. 2551 Viewpoint of Women Leaders in Chiang Mai Toward the Effect of Women’s Right the Declaration of Women Entitle Act B.E. 2551 พันธุ์ทิพย์ นวานุช 1 1 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ 169 หมู่ 3 ตำาบลหนองแก๋ว อำาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 50230 โทรศัพท์ 0-5381-9999 โทรสาร 0-5381-9998 E-mail: [email protected] คำ�สำ�คัญ : ทัศนะของผู้นำาสตรี จังหวัดเชียงใหม่ ผลกระทบด้านสิทธิ พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 Abstract The objectives of this research were to study the Viewpoint of Women Leaders in Chiang Mai Toward the Effect of Women’s Right After the Declaration of Women Entitle Act B.E. 2551 were to study the effects on family and society after the declaration of Women Entitle Act B.E. 2551 and to know the viewpoint of women in general on the act as well as to find out other attitudes which relate to the act. The researcher found the 40 married women who in the sampling group. They were matured to show their attitudes towards this issue. There were 5 people per group of women including the group of businesswomen, local politicians, academic officials, legal officials, governmental officials, women rights fighters, leader of agricultural people and mass communications. According to the interview from, there were 14 items. After the interview, the researcher found that. (1) In general, the Act was accepted by the women’s group in terms of the rights mentioned. Thailand is a democratic country and the authorities in the government had declared the Act to be used so that the right between men and women in society are equal under the Constitution of Thailand 2550. Moreover, married women now have the right to use the title “Miss” instead of “Mrs.” This can be an opportunity for women in their job applications, especially in non-government organizations. However, some interviewees were worried about family problems in term of traditional family vale. Thus, family members need to adapt to this way of thinking to solve their attitude to this problems in what some women hope will be better for the future. (2) The effects of the Act, the interviewees said was that most of the married women still use their title as “Mrs.” Because they do not have any necessary reason to change it even for their status or for

Abstract - Khon Kaen University · พ.ศ. 2550 มาตรา 4 มาตรา 30 มาตรา 53 และมาตรา 80 และได้มี การบัญญัติสิทธิสตรีเพิ่มเติมสำาหรับการใช้คำานำาหน้านามหญิงในพระ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Abstract - Khon Kaen University · พ.ศ. 2550 มาตรา 4 มาตรา 30 มาตรา 53 และมาตรา 80 และได้มี การบัญญัติสิทธิสตรีเพิ่มเติมสำาหรับการใช้คำานำาหน้านามหญิงในพระ

661

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

บทคัดย่อ การวิจัย “ทัศนะของผู้นำาสตรีในจังหวัดเชียงใหม่เกี่ยวกับ

ผลกระทบด้านสิทธิ ภายหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้า

นามหญิง พ.ศ. 2551” นี้ ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาผลกระทบ

เกี่ยวกับสิทธิด้านครอบครัวและสังคมอันเนื่องมาจากการประกาศใช้

พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 และเพื่อทราบทัศนะ

ทัว่ไปเกีย่วกบัการประกาศใชพ้ระราชบญัญตัคิำานำาหนา้นามหญงิ พ.ศ.

2551 ทั้งนี้เพื่อหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ต่อการ

แกไ้ขปญัหาผลกระทบเกีย่วกบัสทิธดิา้นครอบครวัและสงัคมอนัเนือ่ง

มาจากการประกาศใชพ้ระราช บญัญตัคิำานำาหนา้นามหญงิ พ.ศ. 2551

ในการศกึษาครัง้นี ้ผูว้จิยัไดศ้กึษาจากสตรทีีเ่ปน็ผูน้ำาอาชพีตา่ง ๆ รวม

8 อาชีพ ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยแบ่งออกเป็นอาชีพละ 5 รายได้แก่

อาชีพธุรกิจ อาชีพนักการเมือง อาชีพนักวิชาการ อาชีพนักกฎหมาย

อาชพีราชการฝา่ยปกครอง อาชพีสือ่มวลชน อาชพีเกษตรกร และนกั

ต่อสู่เพื่อสิทธิสตรี จำานวนทั้งสิ้น 40 ราย ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดย

การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผลการศึกษาพบว่า (1) ในเรื่องทัศนะ

ทั่วไป เห็นว่าเป็นเรื่องที่ดีที่มีการยอมรับสิทธิสตรีเพิ่มขึ้น ไม่มีการ

เลือกปฏิบัติโดยนำาเรื่องเพศมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาเข้าทำางาน

แต่อาจก่อให้เกิดปัญหาครอบครัวในกรณีที่ฝ่ายชายเป็นครอบครัว

ที่เคร่งครัดในเรื่องธรรมเนียมประเพณี อย่างไรก็ตามในอนาคตชาย

หญิงจะมีปรับตัวกับกฎหมายทำาให้ปัญหาลดลงได้ (2) ในเรื่องทัศนะ

เกี่ยวกับผลกระทบจากการประกาศใช้ เห็นว่ากฎหมายไม่ทำาให้เกิด

ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว เพราะสตรีส่วนใหญ่เมื่อสมรสแล้ว

มักไม่ขอเปลี่ยนคำานำาหน้านาม และที่ได้เปลี่ยนคำานำาหน้านามส่วน

ใหญ่จะได้อธิบายเหตุผลให้สามีและครอบครัวทราบถึงความจำาเป็น

อย่างไรก็ตาม หากฝ่ายสามีหรือครอบครัวสามีไม่เห็นด้วย ส่วนใหญ่

จะไม่เปลี่ยนคำานำาหน้านาม เพราะไม่ต้องการให้เกิดความขัดแย้งใน

ครอบครวั (3) ในเรือ่งขอ้เสนอแนะผูใ้หส้มัภาษณไ์ดใ้หข้อ้เสนอแนะไว้

ในภาพกว้าง คือ รัฐควรให้ความรู้ความเข้าใจกับหลักการและเหตุผล

ในการออกพระราชบัญญัติดังกล่าว รัฐควรสร้างจิตสำานึกและความ

รับผิดชอบของบุรุษที่มีต่อสตรีให้มากขึ้น และรัฐควรออกกฎหมายที่

ให้ความคุ้มครองกับสตรีในด้านต่างๆ ให้ชัดเจนและเฉพาะด้านมาก

ขึ้น

ทัศนะของผู้นำ�สตรีในจังหวัดเชียงใหม่เกี่ยวกับผลกระทบด้�นสิทธิภ�ยหลังประก�ศใช้

พระร�ชบัญญัติคำ�นำ�หน้�น�มหญิง พ.ศ. 2551

Viewpoint of Women Leaders in Chiang Mai Toward the Effect of Women’s Right the Declaration of

Women Entitle Act B.E. 2551

พันธุ์ทิพย์ นวานุช1

1คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่

169 หมู่ 3 ตำาบลหนองแก๋ว อำาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 50230 โทรศัพท์ 0-5381-9999 โทรสาร 0-5381-9998

E-mail: [email protected]

คำ�สำ�คญั : ทศันะของผูน้ำาสตร ี จงัหวดัเชยีงใหม ่ ผลกระทบดา้นสทิธิ

พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551

Abstract The objectives of this research were to study the

Viewpoint of Women Leaders in Chiang Mai Toward the Effect of

Women’s Right After the Declaration of Women Entitle Act B.E. 2551

were to study the effects on family and society after the declaration

of Women Entitle Act B.E. 2551 and to know the viewpoint

of women in general on the act as well as to find out other

attitudes which relate to the act. The researcher found the 40

married women who in the sampling group. They were matured

to show their attitudes towards this issue. There were 5 people

per group of women including the group of businesswomen,

local politicians, academic officials, legal officials, governmental

officials, women rights fighters, leader of agricultural people and

mass communications. According to the interview from, there

were 14 items. After the interview, the researcher found that.

(1) In general, the Act was accepted by the women’s group in

terms of the rights mentioned. Thailand is a democratic country

and the authorities in the government had declared the Act to be

used so that the right between men and women in society are

equal under the Constitution of Thailand 2550. Moreover, married

women now have the right to use the title “Miss” instead of “Mrs.”

This can be an opportunity for women in their job applications,

especially in non-government organizations. However, some

interviewees were worried about family problems in term of

traditional family vale. Thus, family members need to adapt to

this way of thinking to solve their attitude to this problems in what

some women hope will be better for the future. (2) The effects

of the Act, the interviewees said was that most of the married

women still use their title as “Mrs.” Because they do not have

any necessary reason to change it even for their status or for

Page 2: Abstract - Khon Kaen University · พ.ศ. 2550 มาตรา 4 มาตรา 30 มาตรา 53 และมาตรา 80 และได้มี การบัญญัติสิทธิสตรีเพิ่มเติมสำาหรับการใช้คำานำาหน้านามหญิงในพระ

662

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

job applications. But some groups of women have their own

reasons which are very important to them to change their title so

they have to explain this need to family members both on their

side and their husband’s side to ensure understanding between

each other and to avoid any later family problems. Beside, the

change of women’s title can affect the relationship between

men and women depending of the sincerity of both of them.

(3) The suggestion of the interviewers were many for instance,

the government should give knowledge to people in the whole

country about the Act to help make understanding and should

build a sense of responsibility of men to women more than in

the past. The law to protect women and children need more

work and the punishment under such laws in case of women and

children who are hurt by men must be stricter. The outdated

laws about women should be improved and reconsidered before

implementing.

Key words: the Viewpoint of Women Leaders, Chiang Mai, the

Effect of Women’s Right, the Declaration of Women Entitle Act

B.E. 2551

1. บทนำ� ในสงัคมไทย สทิธสิตรเีปน็ทีถ่กเถยีงกนัมาเปน็ตลอดเวลา

ในกลุ่มประชาชนที่มีการศึกษา มีแนวโน้มที่จะตระหนักถึงสิทธิของ

สตรคีอ่นขา้งสงู โดยเฉพาะอยา่งยิง่ปจัจบุนัมสีตรจีำานวนมากไดพ้สิจูน์

ตนเองให้เห็นถึงความรู้ความสามารถเทียบเท่าผู้ชาย แต่จากมุมมอง

ของหญิงหรือชาย ตลอดจนสังคมยังเป็นที่เชื่อว่าสิทธิของหญิงยังคง

ด้อยกว่าชาย โดยเฉพาะหญิงในชนบทที่มีการศึกษาน้อย จะถูกมอง

ว่ามีความสำาคัญต่อสังคมน้อยมาก คือ มีหน้าที่เป็นแม่บ้าน มีทายาท

ทำางานบา้นและใหส้ามเีลีย้งดโูดยไมม่บีทบาทสำาคญัในครอบครวัและ

สังคม

แต่ปัจจุบันสิทธิสตรีได้รับการยอมรับมากขึ้นในสังคม มี

การบัญญัติคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค ความเท่าเทียม

กัน และการไม่เลือกปฏิบัติ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

พ.ศ. 2550 มาตรา 4 มาตรา 30 มาตรา 53 และมาตรา 80 และได้มี

การบญัญตัสิทิธสิตรเีพิม่เตมิสำาหรบัการใชค้ำานำาหนา้นามหญงิในพระ

ราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 โดย มาตรา 5 และมาตรา

6 บญัญตัใิหห้ญงิทีจ่ดทะเบยีนสมรสแลว้ รวมถงึหญงิทีไ่ดท้ำาการสมรส

และได้สิ้นสุดลงในภายหลัง สามารถเลือกใช้คำานำาหน้านามว่า “นาง”

หรือ “นางสาว” ได้ตามความสมัครใจโดย สามารถทำาได้ง่ายเพียง ไป

ยื่นคำาร้องขอเปลี่ยนคำานำาหน้านามได้ที่สำานักงานเขต ณ ภูมิลำาเนา

เดิมของผู้ร้อง พร้อมทั้งนำาหลักฐาน ทะเบียนสมรส สำาเนาทะเบียน

บ้านฉบับเจ้าบ้าน และบัตรประจำาตัวประชาชน และหากมีหลักฐาน

อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) เช่น ใบสำาคัญการเปลี่ยนชื่อตัว – ชื่อสกุล ก็

ให้นำาไปด้วย เพียงเท่านี้ก็สามารถเปลี่ยนคำานำาหน้าได้ อย่างไรก็ตาม

การให้สทิธเิช่นนี้ มีทั้งฝ่ายทีส่นับสนนุและทีม่ีความเหน็แยง้ โดยกลุม่

ชายสว่นใหญใ่หค้วามเหน็แยง้ เนือ่งจากการใหส้ทิธเิชน่นีส้ง่ผลกระทบ

ต่อสิทธิด้านครอบครัวและสังคม เนื่องจากก่อให้เกิดความเข้าใจผิด

ในสถานภาพ อันเป็นสาระสำาคัญของบุคคลที่จะทำาการสมรสด้วย

เช่น การแอบอ้างว่าตนโสด หลอกลวงเพื่อให้ฝ่ายชายสมรสด้วย ก่อ

ใหเ้กดิปญัหาทางครอบครวัและสงัคมตามมา ตลอดจนปญัหาทีบ่ตุรที่

ใชน้ามสกลุมารดา กบับตุรทีใ่ชน้ามสกลุบดิาทัง้ๆทีเ่ปน็ญาตกินั แตไ่ม่

ทราบว่าตนมีญาติพี่น้องร่วมมารดาอีกหรือไม่ ก่อให้เกิดความเข้าใจ

ผดิจนสมรสกนัเองได ้ตลอดจนทศันะอืน่ๆ ทีอ่าจมผีลกระทบตอ่ความ

สงบสุขของครอบครัวและเกิดความสับสนวุ่นวายในสังคม

ด้วยเหตุดังกล่าว ประกอบกับในปัจจุบันจังหวัดเชียงใหม่

เป็นจังหวัดที่มีความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ

การเมือง และใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศ ส่งผลให้มีการเพิ่ม

จำานวนประชากรควบคูไ่ปกบัการพฒันาดา้นสทิธ ิเสรภีาพ ความเสมอ

ภาคอย่างมาก ทำาให้เมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้า

นาม พ.ศ. 2551 ผลปรากฏวา่มสีตรจีำานวนมากในจงัหวดัเชยีงใหมไ่ด้

เปลี่ยนคำานำาหน้านามจาก “นาง” เป็น “นางสาว” แต่ในขณะเดียวกัน

เนื่องจากจังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัดที่คงไว้ซึ่งประเพณี วัฒนธรรม

จารตีประเพณทีอ้งถิน่ ทำาใหม้กีารสะทอ้นความเหน็ทัง้ทีส่นบัสนนุและ

ไม่สนับสนุนสิทธิดังกล่าว ดังนั้น ผู้วิจัยในฐานะซึ่งเป็นสตรีที่ให้ความ

สำาคัญของสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค และเป็นประชากรส่วนหนึ่ง

ของจังหวัดเชียงใหม่ เห็นว่าการวิจัยทัศนะของผู้นำาสตรีในจังหวัด

เชียงใหม่ เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีพื้นฐานทางด้านครอบครัวที่เกี่ยวพัน

กับสังคมการเมือง การปกครอง [1] เกี่ยวกับผลกระทบด้านสิทธิภาย

หลงัประกาศใชพ้ระราชบญัญตัคิำานำาหนา้นามหญงิ พ.ศ. 2551 จะเปน็

ประโยชนใ์นการหาแนวทางการแกไ้ขปญัหาทีเ่กดิจากการประกาศใช้

พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 ได้เป็นอย่างดี

2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพือ่ศกึษาทศันะทัว่ไปเกีย่วกบัการประกาศใชพ้ระราช

บัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551

2.2 เพื่อศึกษาผลกระทบเกี่ยวกับสิทธิด้านครอบครัวและ

สังคมอันเนื่องมาจากการประกาศใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้านาม

หญิง พ.ศ. 2551

3. วิธีก�รดำ�เนินง�น 3.1 วิจัยเอกสารที่เกี่ยวข้องได้ทำาการศึกษาจากกฎหมาย

ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสตรี ได้แก่ กฎหมายอาญา กฎหมายแพ่ง และ

พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 รัฐธรรมนูญแห่งราช

อาณาจกัรไทย พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550 นอกจากนีไ้ดท้ำาการศกึษา

จากบทความ สารนพินธ ์วทิยานพินธ ์ตลอดจน กฎบตัรสหประชาชาติ

และกฎหมายว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เป็นต้น

3.2 วิจัยภาคสนามได้ทำาการศึกษาโดยใช้ระเบียบวิธีการ

วิจัยเชิงคุณภาพ ดังนี้

1) ใชแ้บบสมัภาษณแ์บบไมม่โีครงสรา้ง โดยกำาหนด

ประชากรและกลุม่ตวัอยา่งในการศกึษาออกเปน็ ประชากร ไดแ้ก ่ผูน้ำา

อาชพีตา่งๆ ในจงัหวดัเชยีงใหม ่รวม 8 อาชพี ประกอบดว้ย อาชพีธรุกจิ

อาชพีนกัการเมอืง อาชพีนกัวชิาการ อาชพีนกักฎหมาย อาชพีราชการ

ฝ่ายปกครอง อาชีพสื่อมวลชน อาชีพเกษตรกร และนักต่อสู่เพื่อสิทธิ

สตรี ส่วนกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ประกอบ

ด้วยสตรีที่เป็นผู้นำาอาชีพต่างๆ อาชีพละ 5 ราย จำานวน 40 ราย

Page 3: Abstract - Khon Kaen University · พ.ศ. 2550 มาตรา 4 มาตรา 30 มาตรา 53 และมาตรา 80 และได้มี การบัญญัติสิทธิสตรีเพิ่มเติมสำาหรับการใช้คำานำาหน้านามหญิงในพระ

663

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

2) ใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเพื่อทราบถึงความคิด

เห็นเกี่ยวกับสิทธิสตรีทั้งในอดีตและปัจจุบัน ด้วยการถามความเห็น

เกี่ยวกับเนื้อหาสาระสำาคัญในพระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง

พ.ศ.2551 ซึง่ไดป้ระกาศบงัคบัใชแ้ลว้ในราชกจิจานเุบกษาเลม่ที ่125

ตอนที่ 28 ก. ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2551 เป็นหลัก ซึ่งแบบสัมภาษณ์

ประกอบด้วยคำาถาม 14 ข้อ แยกเป็น

(1) ถามเกี่ยวกับความเห็นทั่วไป 5 ข้อ แบ่งเป็น

ความเหน็เกีย่วกบัการประกาศใชพ้ระราชบญัญตัคิำานำาหนา้นามหญงิ

พ.ศ. 2551, การใชค้ำานำาหนา้ชายวา่ “ชาย” และหญงิวา่ “หญงิ” ตลอด

ไป, ความไม่เสมอภาคที่หญิงสมรสแล้วสามารถใช้คำานำาหน้านามว่า

“นางสาว” แต่ชายใช้คำาว่านายเหมือนเดิม และการใช้นามสกุลเดิม

ของภรรยากับการที่สามีมีนามสกุลพระราชทาน

(2) ถามเกีย่วกบัผลกระทบทัง้ในแงบ่วกและในแงล่บ

จากการประกาศใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551

รวมทัง้หมด 7 ขอ้ แบง่เปน็ผลกระทบทีเ่กดิปญัหาขดัแยง้ในครอบครวั

ของสามีและญาติของสามี, ผลกระทบที่เกิดจากความเข้าใจผิดของ

ชายที่คิดว่าหญิงนั้นยังไม่แต่งงาน ตลอดจนปัญหาสังคมอื่นๆ, ผล

กระทบที่มีต่อความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมายจากการเปลี่ยนคำานำาหน้า

นามวา่ “นาง” เปน็ “นางสาว”, ผลกระทบทีจ่ะมตีอ่การฉวยโอกาสของ

สตรใีนการหลอกลวงชาย, ผลกระทบทีเ่กดิจากการทีบ่ตุรใชน้ามสกลุ

บิดาและนามสกุลมารดา, ผลกระทบที่จะนำาไปสู่ความแตกแยกใน

ครอบครัวภายหลังพระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551

บังคับใช้ และผลกระทบที่อาจจะเกิดกับชายหรือหญิงที่แปลงเพศได้

(3) ถามเกี่ยวกับข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ของ

พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 รวมทั้งหมด 2 ข้อ

ประกอบดว้ย ขอ้ดแีละขอ้เสยีจากการประกาศใชพ้ระราชบญัญตัคิำานำา

หน้านามหญิง พ.ศ. 2551

4. ผลก�รศึกษ� จากการสัมภาษณ์สตรีที่เป็นผู้นำาอาชีพต่าง ๆ รวม 8

อาชพี ประกอบดว้ยอาชพีธรุกจิ อาชพีนกัการเมอืง อาชพีนกัวชิาการ

อาชีพนักกฎหมาย อาชีพราชการฝ่ายปกครอง อาชีพสื่อมวลชน

อาชีพเกษตรกร และนักต่อสู่เพื่อสิทธิสตรี จำานวน 40 ราย ซึ่งเป็นผู้มี

สว่นเกีย่วขอ้งกบัสทิธสิตร ีโดยใชป้ระเดน็สมัภาษณต์ามวตัถปุระสงค์

และกรอบแนวความคดิเพือ่พสิจูนข์อ้สมมตฐิานทีค่าดวา่เปน็ไปเชน่นัน้

สามารถสรุปผลได้ดังนี้

4.1 ในเรื่องศึกษาทัศนะทั่วไปเกี่ยวกับการประกาศใช้

พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 เห็นว่าเป็นเรื่องที่ดีที่

มีการยอมรับสิทธิสตรีเพิ่มขึ้น เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศใน

ระบอบประชาธปิไตย ดงันัน้นัน้การทีห่ญงิชายมสีทิธเิทา่เทยีมกนัดงัที่

กฎหมายไดบ้ญัญตัไิวใ้นรฐัธรรมนญู จะทำาใหห้ญงิมสีทิธ ิเสรภีาพมาก

ยิ่งขึ้น การประกาศใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551

เพือ่ใหส้ทิธแิกห่ญงิเปลีย่นคำานำาหนา้นามจาก “นาง” เปน็ “นางสาว” ได ้

ช่วยให้สตรีที่ผิดพลาดในชีวิตสมรสได้เริ่มต้นชีวิตใหม่อันเป็นการลด

ปัญหาการเลือกปฏิบัติโดยนำาเรื่องเพศมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา

เข้าทำางาน อย่างไรก็ตาม การเพื่อให้สิทธิแก่หญิงเปลี่ยนคำานำาหน้า

นามจาก “นาง” เป็น “นางสาว” ได้อาจก่อให้เกิดปัญหาครอบครัวใน

กรณีที่ฝ่ายชายเป็นครอบครัวที่เคร่งครัดในเรื่องธรรมเนียมประเพณี

เนื่องจากในสังคมไทยนั้น ชายมักจะทำาการสมรสกับหญิงที่ยังไม่

แต่งงานแล้ว เพราะฉะนั้น หากหญิงมีการปิดบังการแต่งงานก็อาจ

ทำาให้เกิดปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว โดยชายอาจเห็นว่าหญิง

ที่แต่งงานด้วยนั้นทำาการหลอกลวงชาย อย่างไรก็ดี ในอนาคตชาย

หญิงจะมีการปรับตัวกับกฎหมายทำาให้ปัญหาลดลงได้ ส่วนประเด็น

ความไม่เสมอภาคที่หญิงสมรสแล้วสามารถใช้คำาว่านางสาวได้ ใน

ขณะที่ชายกลับใช้คำาว่านายเหมือนเดิม ส่วนใหญ่เห็นว่าควรแก้ไข

ให้ชายเปลี่ยนคำานำาหน้านามจาก “นาย” เป็น “นายหนุ่ม” แต่ทั้งนี้แม้

จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงก็ไม่เป็นการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากชายมักไม่

ได้รับผลกระทบจากการใช้คำานำาหน้าเดิม ไม่ว่าจะเป็นการสมัครเข้า

ทำางาน หรือการสมรสใหม่

4.2 ในเรื่องผลกระทบเกี่ยวกับสิทธิด้านครอบครัวและ

สังคมอันเนื่องมาจากการประกาศใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้านาม

หญิง พ.ศ. 2551 เห็นว่ากฎหมายไม่ทำาให้เกิดปัญหาความขัดแย้งใน

ครอบครัว เพราะสตรีส่วนใหญ่เมื่อสมรสแล้วมักไม่ขอเปลี่ยนคำานำา

หนา้นาม และทีไ่ดเ้ปลีย่นคำานำาหนา้นามสว่นใหญจ่ะไดอ้ธบิายเหตผุล

ให้สามีและครอบครัวทราบถึงความจำาเป็น อย่างไรก็ตาม หากฝ่าย

สามีหรือครอบครัวสามีไม่เห็นด้วย ส่วนใหญ่จะไม่เปลี่ยนคำานำาหน้า

นาม เพราะไม่ต้องการให้เกิดความขัดแย้งในครอบครัว

5. ก�รอภิปร�ยผล การวจิยัเรือ่งทศันคตขิองผูน้ำาสตรใีนจงัหวดัเชยีงใหมเ่กีย่ว

กับผลกระทบด้านสิทธิสตรีภายหลังการประกาศใช้พระราชบัญญัติ

คำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 นี้สามารถอภิปรายผลได้ดังนี้

ในส่วนของทัศนะทั่วไปเกี่ยวกับการประกาศใช้พระราช

บัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 ส่วนใหญ่เห็นว่าเนื่องจาก

ประเทศไทยเป็นประเทศที่เป็นประชาธิปไตย ชายหญิงจึงมีสิทธิเท่า

เทียมกันดังที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยไทยบัญญัติเช่นนั้น

ประกอบกบัสตรใีนปจัจบุนักม็กีารพฒันาความรูค้วามสามารถ แนวคดิ

ไม่ต่างจากชาย ซึ่งในภาพรวมแล้วการที่มีพระราชบัญญัติคำานำาหน้า

นามหญงิ พ.ศ. 2551 ไดช้ว่ยใหส้ตรทีีผ่ดิพลาดในชวีติสมรสไดเ้ริม่ตน้

ชีวิตใหม่ จากเดิมที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงคำาว่า “นาง” ได้ในอดีตอัน

เปน็การตอกยำา้ถงึความผดิพลาดในชวีติ ไดก้อ่เปน็ประโยชนก์บัหญงิ

ที่หย่ากับสามีแล้ว เพราะไม่ทำาให้การใช้คำานำาหน้านามว่า “นาง” เป็น

เสมือนตราติดตัว ประกอบกับในปัจจุบันนั้นหญิงมีแนวโน้มที่จะออก

ไปทำางานนอกบ้านเพื่อหารายได้มาจุนเจือครอบครัวมากขึ้น ซึ่งใน

อดีตครอบครัวไม่ส่งเสริมให้บุตรสาวประกอบอาชีพนอกบ้านเต็ม

เวลา [2] ดังนั้นการใช้คำานำาหน้านามว่า “นางสาว” จะทำาให้มีโอกาส

ในการประกอบอาชีพเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากไม่มีการเลือกปฏิบัติโดย

นำาเรื่องสถานภาพมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกผู้เข้าทำางาน

โดยนายจ้าง เพราะปัจจุบันหน่วยงานเอกชนมักกีดกันสตรีที่สมรส

แลว้เขา้ทำางานเพราะเกรงจะมกีารใชส้ทิธลิาคลอดบตุร อยา่งไรกต็าม

ผู้นำาสตรีบางกลุ่มอาชีพก็ไม่เห็นด้วยกับพระราชบัญญัติคำานำาหน้า

นามหญิง พ.ศ. 2551 โดยเห็นว่าแนวคิดในการใช้คำาว่านางสาวมิได้

มีความสำาคัญหรือมีอิทธิพลต่อการดำารงชีวิตของสตรี ซึ่งการเรียก

ร้องดังกล่าวนำาไปสู่ความสับสนในสังคมและเกิดปัญหาในสังคมได้

Page 4: Abstract - Khon Kaen University · พ.ศ. 2550 มาตรา 4 มาตรา 30 มาตรา 53 และมาตรา 80 และได้มี การบัญญัติสิทธิสตรีเพิ่มเติมสำาหรับการใช้คำานำาหน้านามหญิงในพระ

664

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

ประกอบกับสิทธิของสตรีก็ไม่จำาเป็นที่จะต้องเท่ากับชายในทุกเรื่อง

ส่วนในประเด็นที่ว่าควรใช้คำานำาหน้านามชายว่า “ชาย” และหญิงว่า

“หญิง” ตลอดไปนั้น ส่วนใหญ่เห็นว่า จะเป็นการดีและยุติธรรมที่หญิง

และชายจะไดม้สีทิธเิทา่เทยีมกนัภายหลงัแตง่งานแลว้ เพราะชายโสด

หรือไม่โสด หญิงโสดหรือไม่โสดก็น่าจะได้สืบทราบกันอยู่แล้วในกรณี

แตง่งานกนั อยา่งไรกต็าม ผูน้ำาสตรบีางทา่นไดต้ัง้ขอ้สงัเกตวา่ในระยะ

แรกอาจนำาไปสูค่วามสบัสนในสงัคมได ้สว่นประเดน็ความไมเ่สมอภาค

ที่หญิงสมรสแล้วสามารถใช้คำาว่านางสาวได้แต่ชายกลังคงใช้คำาว่า

นายเหมือนเดิม ผู้นำาสตรีกลุ่มต่างๆ เห็นว่า ควรจะมีคำานำาหน้านาม

ผู้ชายที่ยังไม่ได้แต่งงานเพิ่มขึ้นมาอีก โดยอาจใช้คำาว่า “นายหนุ่ม”

ส่วนการที่หญิงแต่งงานแล้วใช้คำาว่า “นาง”นั้นถือว่าเป็นการเสียสละ

เพื่อความมั่นคงในครอบครัว เป็นการปิดกั้นมิให้ใครมารบกวนชีวิต

คู่ ซึ่งทั้งสองก็ยอมรับว่าเป็นเจ้าของซึ่งกันแล้วกัน อันเป็นความเสมอ

ภาคอยูแ่ลว้ และความเสมอภาคนัน้อยูท่ีก่ารกระทำามากกวา่การคำานำา

หน้านาม ส่วนประเด็นการใช้นามสกุลเดิมของภรรยากับการที่สามีมี

นามสกุลพระราชทานนั้น ผู้นำาสตรีเห็นสอดคล้องกันคือเห็นว่าควร

จะใช้นามสกุลของสามีเพราะเป็นนามสกุลพระราชทานเป็นสิ่งที่น่า

ภาคภูมิ สมควรจะรักษาไว้ให้แผ่ไพศาลไปอย่างยั่งยืน แต่การนำาไป

นามสกุลพระราชทานของสามีมาพ่วงทา้ยคิดว่าไมเ่หมาะสม อย่างไร

กต็ามผูน้ำาสตรบีางทา่นเหน็วา่เมือ่กฎหมายไมห่า้มทีจ่ะใชน้ามสกลุตอ่

ท้าย เพราะฉะนั้นการนำาสกุลพระราชทานต่อท้ายก็สามารถใช้สิทธิ

ดังกล่าวนั้นได้

ในส่วนของผลกระทบเกี่ยวกับสิทธิด้านครอบครัวและ

สังคมอันเนื่องมาจากการประกาศใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้านาม

หญิง พ.ศ. 2551 ผู้นำาสตรีเห็นว่า ผลกระทบที่เกิดปัญหาขัดแย้งใน

ครอบครัวของสามีและญาติสามี ผู้นำาสตรีส่วนใหญ่กลุ่มต่างๆ เห็นว่า

ไมน่า่จะมผีลกระทบ อยา่งไรกต็ามผูน้ำาสตรบีางกลุม่เหน็วา่แมจ้ะเปน็

เรื่องของสิทธิและเป็นไปตามกฎหมายก็ตาม แต่ถ้าเป็นครอบครัวที่มี

ความเครง่ครดัในขนบธรรมเนยีมประเพณดีัง้เดมิกอ็าจมปีญัหาขดัแยง้

เกดิขึน้ หรอืในกรณทีีฝ่า่ยหญงิเคยมคีรอบครวัแลว้และหยา่รา้งไปพบ

ครอบครัวใหม่ แต่งงานใหม่ โดยปิดบังความจริงอาจมีปัญหากับสามี

ได้เนื่องจากมีการเปลี่ยนคำานำาหน้านามว่านางสาว ส่วนผลกระทบ

ที่เกิดจากความเข้าใจผิดของชายหนุ่มที่คิดว่าหญิงนั้นยังไม่แต่งงาน

ตลอดจนปัญหาสังคมอื่นๆ ผู้นำาสตรีกลุ่มต่างๆ เห็นว่า อาจก่อให้เกิด

ความเข้าใจผิดของชายหนุ่ม แต่ปัญหาเกิดจากตัวบุคคลมากกว่าตัว

กฎหมาย เนือ่งจากปญัหาดงักลา่วมกัเกดิจากประเพณ ีความเชือ่ของ

ตัวบุคคล ส่วนผลกระทบที่มีต่อความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมายจากการ

เปลี่ยนคำานำาหน้านามว่า “นาง” เป็น “นางสาว” ผู้นำาสตรีกลุ่มต่างๆ

เห็นว่า ไม่มีผลต่อความศักดิ์ของกฎหมาย เพราะการใช้คำานำาหน้า

นามไม่ได้ทำาให้เกิดการกระทำาผิดกฎหมายแต่อย่างใด แต่อาจก่อให้

เกดิความยุง่ยากตอ่เอกสารแสดงสทิธติา่งๆ เชน่ การทำานติกิรรมซึง่สง่

ผลตอ่สนิสมรส การลงชือ่รว่มกนัในการนติกิรรมสญัญา ซึง่โดยปกตจิะ

ตอ้งไดร้บัความยนิยอมจากคูส่มรส เปน็ตน้ สว่นผลกระทบทีม่ตีอ่การ

ฉวยโอกาสหลอกผู้ชาย ผู้นำาสตรีในกลุ่มต่างๆ เห็นว่า มีความเป็นไป

ได้ ส่วนผลกระทบที่เกิดจากการที่บุตรใช้นามสกุลบิดาและบางคนใช้

นามสกุลมารดา ผู้นำาสตรีกลุ่มต่างๆ มีทั้งเห็นด้วยกับผลกระทบและ

ไม่เห็นด้วย เนื่องจากเป็นการเปิดโอกาสให้บุตรสมรสกันเอง อย่างไร

กต็าม การสมรสสว่นใหญแ่ตล่ะฝา่ยจะไปพบญาตผิูใ้หญ ่ซึง่กเ็ปน็การ

ตรวจสอบอีกชั้นหนึ่ง ส่วนผลกระทบที่จะนำาไปสู่ความแตกแยกใน

ครอบครัว ผู้นำากลุ่มสตรีต่างๆ เห็นว่าไม่จะมีผลกระทบ เนื่องจาก

สามารถตรวจสอบข้อมูลจากฐานทะเบียนอื่นๆ ได้ เช่นทะเบียนบ้าน

เอกสารราชการซึง่มกีารแสดงสถานะไว ้แตอ่ยา่งไรกต็าม กค็งปฏเิสธ

เรื่องความเชื่อ ค่านิยมในสังคมไทยมิได้ ดังนั้นก็อาจส่งผลกระทบต่อ

ครอบครัวได้เช่นกัน ส่วนผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับชายหรือหญิงที่

แปลงเพศได้ ผู้นำาสตรีในกลุ่มต่างๆ มีทั้งเห็นว่า ไม่น่าจะมีผลกระทบ

เนือ่งจากสรรีะวทิยาของชายและหญงิแตกตา่งกนั สว่นทีเ่หน็วา่มผีลก

ระทบนัน้ เนือ่งจากอาจมกีารเรยีกรอ้งสทิธดิงักลา่วของเพศทีส่ามเชน่

เดียวกันหญิงได้

อย่างไรก็ตาม การประกาศใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้า

นามหญิง พ.ศ. 2551 ก็ปรากฏทั้งข้อดีและข้อเสีย โดยผลดีนั้นคือ

เป็นการก่อให้เกิดความเสมอภาคระหว่างชายและหญิง สร้างความ

เปน็ประชาธปิไตย เพิม่การใหค้วามสนใจและความสำาคญัแกค่รอบครวั

ชว่ยชายหญงิแตล่ะฝา่ยมคีวามรอบครอบระมดัระวงัในการแสวงหาคู่

ครองมากขึน้ ตลอดจน เปดิโอกาสในชวีติใหห้ญงิทีเ่คยสมรส สว่นผล

เสียคืออาจก่อให้เกิดความสับสนในครอบครัวได้ เปิดโอกาสให้มีการ

แสวงหาประโยชน์จากกฎหมายเพื่อหลอกลวงบุคคลอื่น เกิดอคติใน

สังคม ส่งผลต่อการทำานิติกรรมสัญญา ตลอดจนส่งเสริมหญิงให้ใช้

สิทธิเปลี่ยนคู่ครองมากขึ้น

6. สรุปและข้อเสนอแนะ การวจิยัเรือ่งทศันคตขิองผูน้ำาสตรใีนจงัหวดัเชยีงใหมเ่กีย่ว

กับผลกระทบด้านสิทธิสตรีภายหลังการประกาศใช้พระราชบัญญัติ

คำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 นี้พบว่า พระราชบัญญัติดังกล่าว

มีความทันสมัยและเป็นประชาธิปไตย แต่ยังคงเป็นที่สงสัยสำาหรับ

วัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิยมของคนในสังคมไทย ส่งผลให้เกิดความ

สับสนในสังคมซึ่งมีแนวโน้มที่จะนำาไปสู่ความแตกแยกในครอบครัว

ได้ อย่างไรก็ตามพระราช บัญญัติคำานำาหน้านาม พ.ศ. 2551 ก็มี

ประโยชน์อย่างมากสำาหรับสตรีที่ได้สมรสแล้ว ทั้งนี้มิใช่เพียงเพื่อ

โอกาสในการสมรสครั้งใหม่ แต่ทำาให้มีโอกาสในการประกอบอาชีพ

เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากไม่มีการเลือกปฏิบัติโดยนำาเรื่องสถานภาพมา

เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกผู้เข้าทำางานโดยนายจ้าง เพราะ

ปัจจุบันหน่วยงานเอกชนมักกีดกันสตรีที่สมรสแล้วเข้าทำางานเพราะ

เกรงจะมีการใช้สิทธิลาคลอดบุตรและจากประโยชน์ของการบังคับใช้

พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 ดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมี

ความเห็นสอดคล้องกับทัศนคติของผู้นำาสตรีในจังหวัดเชียงใหม่ และ

สอดคล้องกับทัศนะที่ว่าควรจะปรับค่านิยมและโลกทัศน์ใหม่ในการ

มองบทบาททั้งสตรีและบทบาทบุรุษ คือ ไม่ควรให้มีการแบ่งบทบาท

ตามเพศระหว่างหญิงและชายอย่างถาวร [3]

ทั้งนี้ เพื่อเป็นการสนับสนุนสิทธิสตรีอย่างเสมอภาคและ

เท่าเทียมกันให้มากขึ้นตามเจตนารมณ์ของกฎหมายอย่างแท้จริง

ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางการแก้ไขทัศนคติที่ขัดแย้งกับกฎหมายดังนี้

ในดา้นทศันะทัว่ไปเกีย่วกบัการประกาศใชพ้ระราชบญัญตัิ

คำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 รัฐควรให้ความรู้ความเข้าใจกับหลัก

การและเหตผุลในการออกพระราชบญัญตัดิงักลา่วแกส่าธารณชน เพือ่

Page 5: Abstract - Khon Kaen University · พ.ศ. 2550 มาตรา 4 มาตรา 30 มาตรา 53 และมาตรา 80 และได้มี การบัญญัติสิทธิสตรีเพิ่มเติมสำาหรับการใช้คำานำาหน้านามหญิงในพระ

665

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

ที่จะได้มีความเข้าใจถึงเจตนารมณ์ในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ

ดังกล่าว และช่วยให้สตรีที่ใช้สิทธิตามพระราชบัญญัตินี้ไม่ถูกเพ่งเล็ง

จากสังคม หรือก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวตามมา

ในดา้นผลกระทบเกีย่วกบัสทิธดิา้นครอบครวัและสงัคมอนั

เนื่องมาจากการประกาศใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ.

2551 รัฐควรสร้างจิตสำานึกและความรับผิดชอบของบุรุษที่มีต่อสตรี

ให้มากขึ้น และควรออกกฎหมายที่ให้ความคุ้มครองกับสตรีในด้าน

ต่าง ๆ ให้ชัดเจนและเฉพาะด้านมากขึ้น

อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ทราบทัศนะและผลกระทบจากการ

ประกาศใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 อย่างครบ

วงจร นกัวจิยัเหน็วา่การศกึษาความคดิเหน็ของฝา่ยชายเพือ่แสดงให้

เหน็ถงึพฒันาการและแนวความคดิ ความเชือ่ของชายในการใชค้ำานำา

หน้านาม จะเป็นประโยชน์ในการแก้ไขผลกระทบจากการประกาศ

ใช้พระราชบัญญัติคำานำาหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 ที่เหมาะสมและ

สอดคล้องกับสังคมมากยิ่งขึ้น

7. กิตติกรรมประก�ศ ผู้เขียนขอขอบพระคุณผู้ที่ให้การสนับสนุนให้ผลงานวิจัย

นี้สำาเร็จลงตรงตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา ทั้งนี้ได้แก่ ผู้นำาสตรี

กลุ่มอาชีพต่างๆ อาจารย์นพวรรณ บุญธรรม ผู้อำานวยการสำานัก

วิจัย มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ ท่านอุไรรัตน์ น้อยสุวรรณ รอง

ศาสตราจารยส์มศกัดิ ์เกีย่วกิง่แกว้ คณบดบีณัฑติวทิยาลยั มหาวทิยา

ลัยนอร์ท-เชียงใหม่ ตลอดจนคณาจารย์ทุกท่านทั้งจากมหาวิทยาลัย

นอร์ท-เชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

8. เอกส�รอ้�งอิง[1] อภชิาต จตัรุสัฤทธิพ์างค ์และเทพ ีพนัธเุมธา. (2527). ก�รศกึษ�

ปญัห�และอปุสรรคผูน้ำ�ทอ้งถิน่สตรี, กรงุเทพมหานคร: กอง

วิชาการและแผนงาน กรมวิชาการ.

[2] กนลา สุขพาณิชย์. (2521).ก�รเมืองกับผู้หญิง. จุลสาร

สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

[3] พรพไิล ถมงัรกัษส์ตัว.์ (2539). ปรชัญ�ผูห้ญงิ. กรงุเทพมหานคร:

สำานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.