92
แรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล ผาสุข จิตนาวสาร ปญหาพิเศษนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา มิถุนายน 2549 ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยบูรพา

แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

แรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล

ผาสุข จิตนาวสาร

ปญหาพิเศษนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารทั่วไป

วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา มิถุนายน 2549

ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยบูรพา

Page 2: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

คณะกรรมการควบคุมมาตรฐานวิชาปญหาพิเศษทางการบริหาร ไดพิจารณาปญหาพิเศษฉบับนี้แลวเห็นสมควรรับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป ของมหาวิทยาลัยบูรพาได

อาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษทางการบริหาร

...................................................................... (อาจารยรักกิจ ศรีสรินทร)

คณะกรรมการควบคุมมาตรฐานวิชาปญหาพิเศษทางการบริหาร ......................................................................ประธานกรรมการ (.............................................................) ......................................................................กรรมการ (.............................................................) ......................................................................กรรมการและเลขานุการ

(.............................................................) บัณฑิตวิทยาลยัอนุมัติใหรับปญหาพิเศษฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารทั่วไป ของมหาวิทยาลัยบูรพา ..........................................................................................คณะบดีบณัฑติวิทยาลัย (.............................................................) วันที่..............เดือน...................................พ.ศ. 2549

Page 3: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

ประกาศคณุูปการ การศึกษาเรื่อง แรงจูงใจการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล นับเปนประสบการณในการเรยีนรูที่มีคุณคาและกอใหเกิดการพัฒนาทั้งทางดานความรู และการนําทฤษฎีไปประยกุตใชในการศึกษาวเิคราะหขอมูลอยางเปนระบบมากขึ้น ความสําเร็จลุลวงในครั้งนี้ไดรับความกรุณาอยางยิ่งจาก อาจารยรักกิจ ศรีสรินทร อาจารยที่ปรึกษา ซ่ึงทานไดสละเวลาอันมีคาในการใหคําปรึกษา แนะนํา และขอคิดเห็นตาง ๆ อันเปนประโยชนอยางยิ่งตอการศึกษา รวมทั้งตรวจสอบแกไขขอบกพรองตาง ๆ จนเสร็จสิ้นสมบูรณ ผูศึกษารูสึกซาบซึ้งในความกรุณาของทาน และบรรดาคณาจารยในหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติทกุทานที่ไดประศาสนวิชาใหเปนพื้นฐานในการศึกษาคนควา จึงใครขอกราบขอบพระคุณอยางสูงมา ณ โอกาสนี้ การศึกษาครั้งนี้ จะสําเร็จไมได ถาไมไดรับการสนับสนุนจากผูอํานวยการโรงเรียน ชลกันยานกุูล นางสาวศรีวรรณา เขียวลี และอนุญาตใหผูศึกษาใหศึกษาหาขอมูลในโรงเรียน ชลกันยานกุูล ขอขอบคุณขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลทุกทาน ที่ใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถาม ทําใหขอมูลสมบูรณครบถวน และไดผลการศึกษาที่เปนประโยชนตอการพัฒนาองคกรตอไป ความดีทั้งปวงอันพึงเกดิจากการศึกษาปญหาพิเศษนี้ ผูศึกษาขอมอบเปนเครื่องหมายตอบแทนพระคุณบิดา มารดา ที่ใหการสนับสนนุในการศึกษาและเปนกําลังใจอนัสําคัญ ตลอดจนขอบคุณเพื่อน ๆ ที่คอยหวงใย ใหความชวยเหลือเปนกําลังใจในทกุ ๆ ดาน รวมทั้งขอขอบคุณ ทุก ๆ ทานที่มีสวนรวมทําใหเอกสารวิจยัฉบับนี้บรรลุผลสําเร็จดวยด ี ผาสุข จิตนาวสาร

Page 4: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

ชื่อปญหาพิเศษ แรงจูงใจการทาํงานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูล ชื่อผูเขียนปญหาพิเศษ ผาสุข จิตนาวสาร สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการบริหารทั่วไป) ปการศึกษา 2548

บทคัดยอ

การศึกษาเรื่อง แรงจูงใจการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแรงจูงใจการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกลู เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางแรงจูงใจของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล งานวจิัยนี้ เปนงานวจิยัเชิงปริมาณ โดยมีประชากรเปนขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูล จาํนวน 135 คน ใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมลูดวยการศึกษาขอมูลเอกสารและขอมูลจากการทํางาน เครื่องมือที่ใชเปนแบบสอบถามมาตราสวนประมาณคา 4 ระดับสถิติที่ใชไดแก คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย ผลการศึกษาพบวา แรงจูงใจการทํางานโดยรวมของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล สวนใหญมีแรงจูงใจการทํางานอยูในระดับคอนขางสูง เมื่อพิจารณาแตละองคประกอบสามารถสรุปสาระสําคัญไดดังนี้ 1) องคประกอบที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานแรงจูงใจการทํางาน ดานความสําเรจ็ของงานมีระดบัแรงจูงใจการทํางานสูงที่สุด สวนดานความกาวหนาในตาํแหนงงาน มีแรงจูงใจการทํางานอยูในระดบัคอนขางต่าํ สวนดานอื่น ๆ อยูในระดับคอนขางสูงเรียงลําดับจากสูงไปหาต่ํา ไดแก ดานการไดรับความยอมรับนับถือ ดานลักษณะงานความรับผิดชอบ 2) องคประกอบที่ไมเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานโดยตรง พบวาดานชีวติสวนตัวมีระดับแรงจูงใจการทํางานสูงที่สุด สวนดานอื่น ๆ อยูในระดับคอนขางสูงเรียงลําดับจากสูงไปหาต่ํา ไดแก ดานความมัน่คงในงาน ดานเงินเดือน/สวสัดิการ ดานสภาพการทํางาน ดานความสัมพันธระหวางบุคคล ดานนโยบายการบริหารอยูในระดับคอนขางสูงและดานการบังคับบญัชามีแรงจูงใจการทํางานอยูในระดบัคอนขางต่ํา การเปรียบเทยีบแรงจูงใจการทํางานของราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูล พบวา ขาราชการครูมีตําแหนง รายได วุฒิการศกึษาสูง อายุราชการมาก สถานภาพทางครอบครัวหยาราง จะมีแรงจงูใจการทํางานสงูกวาขาราชการครูที่มีตําแหนง รายได วุฒิการศึกษา อายุราชการนอยกวาและสถานภาพทางครอบครัวโสดและสมรส

Page 5: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย ...................................................................................................................... ง สารบัญ ........................................................................................................................................ จ สารบัญตาราง .............................................................................................................................. ช สารบัญภาพ ................................................................................................................................. ฌ

บทที่

1 บทนํา ............................................................................................................................... 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ..................................................................... 1 วัตถุประสงคของการศึกษา......................................................................................... 2 ขอบเขตของการศึกษา ................................................................................................ 3 นิยามศัพทเฉพาะ ........................................................................................................ 4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ........................................................................................ 6

2 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยัที่เกี่ยวของ............................................................................ 7 แนวคดิและทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ ........................................................................... 7 แรงจูงใจในการทํางาน................................................................................................ 9 งานวิจยัที่เกี่ยวของ...................................................................................................... 20 กรอบแนวคิดในการวิจัย............................................................................................. 23

3 วิธีดําเนนิการวิจัย ............................................................................................................. 25 ประชากร .................................................................................................................... 25 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย............................................................................................. 25 การสรางและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ........................................................... 26 การเก็บรวบรวมขอมูล................................................................................................ 26 การประมวลผลและการวิเคราะหขอมูล ..................................................................... 26

Page 6: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา

4 ผลการศึกษา..................................................................................................................... 29 สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม .......................................................... 29 สวนที่ 2 แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล ........... 44

5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ................................................................................. 47 สรุปผลการศึกษา ........................................................................................................ 47 อภิปรายผลการศึกษา .................................................................................................. 50 ขอเสนอแนะ............................................................................................................... 54

บรรณานุกรม ............................................................................................................................... 56

ภาคผนวก .................................................................................................................................... 63

ประวัตยิอของผูเขียนปญหาพิเศษ ................................................................................................ 83

Page 7: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1 การจูงใจทีก่อใหเกิดความพอใจและทํางานไดดี .............................................................. 18 2 จํานวนและรอยละของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลที่ปฏิบัติงานจําแนกตามอายุ 29 3 จํานวนและรอยละของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลที่ปฏิบัติงานจําแนกตาม ระดับรายได (เงินเดือนและเงนิรายไดอ่ืน ๆ นอกเหนือจากเงินเดือน) ............................. 30 4 จํานวนและรอยละของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลที่ปฏิบัติงานจําแนกตาม สถานภาพครอบครัว ........................................................................................................ 30 5 จํานวนและรอยละของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลที่ปฏิบัติงานจําแนกตาม วุฒิการศึกษาชัน้สูงสุด ที่ไดรับ ........................................................................................ 31 6 จํานวนและรอยละของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลที่ปฏิบัติงานจําแนกตาม ระดับตําแหนง.................................................................................................................. 31 7 จํานวนและรอยละของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลที่ปฏิบัติงานจําแนกตาม อายุราชการ ...................................................................................................................... 32 8 ระดับแรงจูงใจในการทํางานในแตละดานขององคประกอบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน................ 32 9 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานความสําเรจ็ของงาน...................................................... 33 10 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานความกาวหนาของงาน ................................................. 34 11 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานลักษณะความรับผิดชอบ.............................................. 35 12 ระดับแรงจูงใจในการทํางานในแตละดานขององคประกอบที่ไมเกีย่วของกับ การปฏิบัติงาน.................................................................................................................. 36 13 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานการบังคับบัญชา .......................................................... 37 14 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานนโยบายการบริหาร ..................................................... 38 15 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานสภาพการทํางาน.......................................................... 39 16 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานความสัมพันธระหวางบุคคล........................................ 40 17 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานเงนิเดือน/สวัสดิการ ..................................................... 41 18 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานความมัน่คงในงาน ....................................................... 42 19 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานชวีิตสวนตัว ................................................................. 43 20 ระดับแรงจูงใจในการทํางานโดยรวมของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล ............... 44

Page 8: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา

21 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางตําแหนงกับแรงจูงใจในการทํางาน............................ 44 22 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางรายไดกับแรงจูงใจในการทํางาน ............................... 45 23 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางสถานภาพทางครอบครัวกับแรงจูงใจในการทํางาน .. 45 24 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางวุฒกิารศึกษากับแรงจงูใจในการทํางาน ..................... 45 25 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางอายุราชการกับระดับแรงจูงใจในการทํางาน.............. 46 26 จํานวนครูจําแนกตามเพศ วุฒิ ประสบการณ .................................................................. 82

Page 9: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

สารบัญภาพ

ภาพที ่ หนา

1 กรอบแนวคิดในการวิจัย .................................................................................................. 24 2 โครงสรางผูบริหารสถานศึกษา ....................................................................................... 79 3 โครงสรางกลุมอํานวยการ ............................................................................................... 79 4 โครงสรางกลุมจัดการศึกษาและพัฒนา ........................................................................... 80 5 โครงสรางกลุมกิจการนกัเรยีน......................................................................................... 81

Page 10: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ปจจุบันความเปนอยูของคนเราไดมีการเปลีย่นแปลงและกาวหนาไปอยางรวดเร็ว การทํางานเปนเรื่องสําคัญเพื่อความมั่นคงในชวีติและความกาวหนาของอนาคต การดําเนนิงานใด ๆ ใหประสบผลสําเร็จไดนั้นขึน้อยูกับการทํางานของบุคคล ทรัพยากรบุคคลจึงเปนองคประกอบสําคัญที่สุดของการบริหารงาน ถาบุคคลในหนวยงานมคีวามพึงพอใจในการทํางานแลว องคการหรือหนวยงานนั้นยอมมีประสิทธิ์ภาพในการทํางาน (กติิมา ปรีดีดิลก, 2529, หนา 332) การที่จะใหขาราชการครูสามารถปฏิบัติงานไดอยางดีและมีประสิทธิภาพนั้น ส่ิงที่สําคัญที่สุดก็คือ ผูบริหาร ทุกฝายที่เกีย่วของจะตองทําใหครูเกดิกําลังใจ เพื่อใหการปฏิบัติงานของขาราชการครูเหลานี้มีประสิทธิภาพ คือ ลักษณะของกระบวนการจูงใจของคนซึ่งมีความตองการ (need) การนําไปสูการ จูงใจ (motivation) จึงทําใหเกิดการปฏิบัตงิาน (action) จากความตองการของคนจะนาํไปสูการกระตุนใหเกิดแรงจูงใจใหบคุคลนั้นปฏิบัติงาน ฝายบริหารจะตองเสนอความตองการที่ใหบุคคลเหลานั้นมีความพอใจในการปฏิบัติงาน ความพึงพอใจมีความสําคัญตอการปฏิบัติงานในทุกองคการหรือหนวยงาน เพราะความตองการที่มีคุณลักษณะตาง ๆ เพือ่ใหอยูในสังคมที่ดี เชน ความตองการความกาวหนา ความสําเร็จ การยอมรับนับถือ การมีฐานะมัน่คง ความตองการมีช่ือเสียงในสังคมเปนพื้นฐานในสังคมของสังคมมนุษยในปจจบุันที่ทุกคนยังติดคานิยมอยู (ปญญา จั่นรอด, 2548, หนา 2) การบริหารองคการใด ๆ เพือ่ใหเกดิความสําเร็จบรรลุวัตถุประสงคขององคการยอมตองใชทรัพยากรการบริหารซึ่งประกอบดวย คน เงิน วัสดุอุปกรณ และการจัดการเปนสําคัญ (สมพงศเกษมสิน, 2526, หนา7) ซ่ึงทรัพยากรการบริหารที่สําคัญที่สุดก็คือ คนเพราะคนเปนผูใชทรัพยากรอ่ืน ๆ ในองคการ (บัญญัติ แสวงดี, 2543, หนา 2) ดังนัน้องคการจะบรรลุถึงความสําเร็จตามเปาหมายมากนอยเพยีงใดยอมขึ้นอยูกับความรวมมือรวมใจของผูปฏิบัติงานในองคการนั้น การใหความรวมมือในการทํางานอยางสมานฉันทนั้นจะบังเกดิไดก็ตอเมื่อผูบริหารองคการเขาใจถึงความตองการของมนุษย และสามารถเลือกใชวิธีการจูงใจใหแกผูปฏิบัติงานเกิดความมัน่ใจและเกดิความรูสึกที่จะอุทิศตนเพื่องานไดอยางถกูตอง (นิศากร สุขะกาศี, 2548, หนา 2)

Page 11: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

2

แรงจูงใจเปนตัวกําหนดพฤติกรรมของบุคคลในองคการ พฤติกรรมของมนุษยมีสาเหต ุมาจากการปฏบิัติส่ิงใดหรือไมปฏิบัติส่ิงใดซึ่งเกิดมาจากสาเหตุหลายประการ ดังนัน้แรงจูงใจจึงเปนองคประกอบสําคัญของพฤติกรรมของบุคคลเนื่องจากเปนองคประกอบที่กระตุน ผลักดัน ชักจูงใหบุคคลทําพฤติกรรมหรือไมทําพฤติกรรมไปในแนวทางใดแนวทางหนึ่ง (สมใจ ลักษณะ, 2546, หนา 63) ดังที่ สมพงศ เกษมสิน (2526, หนา 319) ใหความเหน็วาสิ่งจูงใจเปนวิธีหนึ่งที่จะจูงใจใหบุคคลรวมมือกันปฏบิัติใหองคการมีประสิทธิภาพ อาจกลาวไดวาการปฏิบัตงิานทั้งปวงนัน้ตองอาศัยปจจยัพื้นฐานประกอบกันสองอยาง อยางหนึง่ไดแก ความสามารถโดยเบ็ดเสร็จของ ผูปฏิบัติ อีกอยางหนึ่งไดแก ระเบียบแบบแผนและวิธีการที่กําหนดไวใหใชในการปฏิบัติงานนั้น ๆ เมื่อไดปจจยัทัง้สองประการพรอมกัน เมื่อนั้นงานกด็ําเนนิไปได แตโดยความจริงที่ปรากฏงานที่อาศัยเฉพาะปจจัยทั้งสองประการนั้น ไมแนใจวาจะสําเร็จผลไดเสมอไปอาจไมสมบูรณดังตองการหรือไมสําเร็จผลเลยก็ได ทัง้นี้เพราะงานทุกอยางมีบุคคล ซ่ึงมีชีวิตจิตใจ มีความนกึคิดเปนผูกระทํา ถาผูทํามีจิตใจไมพรอมจะทํางาน เชน ไมศรัทธาในงาน ไมสนใจผูกพันกับงาน ผลงานที่ทําก็ยอมบกพรองไมคงที่ ตอเมื่อผูปฏิบัติมีศรัทธา เขาใจซึ่งถึงประโยชนของงาน พรอมใจและพรอมที่จะขวนขวายปฏิบัตงิานโดยเต็มกําลังความสามารถจึงจะดําเนนิไปโดยราบรืน่และบรรลุตามที่มุงหมาย เห็นไดวาการปฏิบัติงานทั้งใหญนอย ทุกประเภท ทกุสาขา จําเปนตองอาศัยปจจยัสวนความรูสึกนึกคิดเขาไปประกอบเกื้อกลูดวยเสมอ ดงันั้นการจูงใจจึงเปนเครื่องมอืสําคัญตอการบริหารองคการใหเกดิประสทิธิผลและประสิทธิภาพ ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานุกูล สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 จังหวัดชลบุรี โดยยึดทฤษฎีปจจัยคู (two-factor theory) ของเฟรดเดอริก เฮอรซเบอรก ทั้ง 10 ดาน คือ การไดรับความสําเร็จ ลักษณะของงาน การยอมรับนับถือ ความรับผิดชอบ ความกาวหนา นโยบายและการบริหาร การปกครองบังคับบัญชา ความสัมพันธกับผูรวมงาน สภาพการทํางาน เงินเดือนและผลประโยชนเกื้อกูล เพื่อใหทราบขอมูลเกี่ยวกับแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลที่มีอยูเปนขอมูลในการปรับปรุง พัฒนาการบริหารงานใหมีประสิทธิภาพและสรางความสัมพันธอันดีระหวางผูบริหารกับผูปฏิบัติงาน

วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล 2. เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูล จําแนกตามอายุ ระดับการศกึษา ระดับตําแหนง ระดับรายไดและสถานภาพครอบครัว

Page 12: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

3

ขอบเขตของการศึกษา

1. ขอบเขตของเนื้อหามุงศึกษาเกี่ยวกับปจจัยดานแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต1 จังหวัดชลบุรี ใน 2 ปจจัย ดังนี้ 1.1 องคประกอบที่เกี่ยวของกับปจจยัจูงใจ ไดแก 1.1.1 ความสําเร็จของงาน 1.1.2 การไดรับความยอมรบันับถือ 1.1.3 ความกาวหนาในตําแหนงการงาน 1.1.4 ลักษณะงานความรับผิดชอบ 1.2 องคประกอบที่เกี่ยวของกับปจจยัค้ําจนุ ไดแก 1.2.1 การบังคับบัญชา 1.2.2 นโยบายการบริหาร 1.2.3 สภาพการทํางาน 1.2.4 ความสัมพันธระหวางบุคคล 1.2.5 เงินเดือน 1.2.6 ความมั่นคงในงาน 1.2.7 ชีวิตสวนตัว 2. ประชากร 2.1 ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลจาํนวน 135 คน 3. ตัวแปรที่ศกึษา แบงออกเปน 2 กลุม ไดแก 3.1 ตัวแปรอสิระ (independent variable) ซ่ึงจําแนกเปน 2 ดาน คือ 3.1.1 ปจจัยดานเศรษฐกจิและสังคม ไดแก 3.1.1.1 ระดับรายได 3.1.1.2 สถานภาพทางครอบครัว 3.1.1.3 ระดับการศึกษา 3.1.2 ปจจัยดานลักษณะงาน ไดแก 3.1.2.1 อายุ 3.1.2.2 ระดับตําแหนง

Page 13: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

4

3.1.2.3 อายุราชการ 3.2 ตัวแปรตาม (dependent variable) ซ่ึงจําแนกแรงจูงใจในการทํางานเปน 2 ดาน คือ 3.2.1 องคประกอบที่เกี่ยวของกับปจจยัจูงใจ ไดแก 3.2.1.1 ความสําเร็จของงาน 3.2.1.2 การไดรับความยอมรับนับถือ 3.2.1.3 ความกาวหนาในตําแหนงการงาน 3.2.1.4 ลักษณะงานความรบัผิดชอบ 3.2.2 องคประกอบที่เกี่ยวของกับปจจยัค้ําจุน ไดแก 3.2.2.1 การบังคับบัญชา 3.2.2.2 นโยบายการบริหาร 3.2.2.3 สภาพการทาํงาน 3.2.2.4 ความสัมพันธระหวางบุคคล 3.2.2.5 เงินเดอืน 3.2.2.6 ความมั่นคงในงาน 3.2.2.7 ชีวิตสวนตวั

นิยามศัพทเฉพาะ

แรงจูงใจในการทํางาน หมายถึง ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหนาที่ของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล เนื่องจากไดรับปจจัยตาง ๆ เปนการตอบแทนเพือ่ตอบสนองความตองการตามธรรมชาติ ทั้งเปนความตองการทางดานรางกายและดานจิตใจ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานเหลานี้ ซ่ึงมีองคประกอบ 2 องคประกอบ คือ 1. องคประกอบที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานซึ่งประกอบดวยดานตาง ๆ คือ ความสําเร็จของงาน การไดรับการยอมรับนบัถือ ความกาวหนาในการทํางาน ลักษณะของงานความรับผิดชอบ ไดแก 1.1 ความสําเร็จของงาน หมายถึง ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกลู สามารถปฏิบัติงานตามหนาที่หรืองานที่ไดรับมอบหมายจนบรรลุผลสําเร็จ มีความพอใจทีจ่ะปฏิบัติงานใหเกิดความสําเร็จและมีความภมูิใจในผลงานของตน 1.2 การไดรับการยอมรับนบัถือ หมายถึง ผูบริหารโรงเรียน เพื่อนรวมงานและบุคคลอ่ืน ๆ ยอมรับความรูความสามารถในการทํางานและตําแหนงหนาทีก่ารงาน

Page 14: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

5

1.3 ความกาวหนาในตําแหนงงาน หมายถึง ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล ไดรับการสนับสนุนใหมีความกาวหนาในการทํางานอันเนื่องจากผลการปฏิบัติงาน การศึกษาตอ ฝกอบรม สัมมนาทั้งในประเทศและตางประเทศ 1.4 ลักษณะงานความรับผิดชอบ หมายถึง ลักษณะของงานที่ปฏิบัติที่มีความสําคัญตอโรงเรียนชลกันยานุกูลและสังคมสวนรวมและการไดรับมอบหมายใหทํางานอยางอิสระมีโอกาส ตัดสินใจแกปญหา หรือรับผิดชอบงานดวยตนเองอยางเต็มที่ 2. องคประกอบที่ไมเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานโดยตรงซึ่งประกอบดวยดานตาง ๆ คือ การบังคับบัญชา นโยบายการบริหาร สภาพการทํางาน ความสัมพันธระหวางบุคคล เงินเดือน ความมั่นคงในงาน ชีวิตสวนตัว ซ่ึงสิ่งเหลานี้ลวนแตเปนแรงจูงใจและความพึงพอใจสําหรับผูปฏิบัติงานไดแก 2.1 การบังคับบัญชา หมายถึง แนวทางที่ผูบังคับบัญชานํามาใชในการบังคับบัญชาตลอดจนความสามารถของผูบังคับบัญชา มีความยุติธรรมรวมถึงลักษณะความเปนผูนําของผูบังคับบัญชา 2.2 นโยบายการบริหาร หมายถึง แผนงานในการปฏิบัติงานของโรงเรียน ชลกันยานุกูลที่กําหนดไว เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของขาราชการครูใหบรรลุเปาหมายของโรงเรียนรวมทั้งขาราชการครู มีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย 2.3 สภาพการทํางาน หมายถึง สภาพแวดลอมในสถานที่ทํางานบรรยากาศในการทํางานและเครื่องมืออุปกรณในการทาํงานที่เอื้ออํานวยตอการทาํงานของขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานุกูล 2.4 ความสัมพันธระหวางบุคคล หมายถึง ความสัมพันธระหวางเพื่อนรวมงานดวยกันและความสัมพันธกับผูบังคับบัญชาอันแสดงใหเห็นถึงความสามารถที่จะทํางานรวมกันไดเปนอยางดี มีความสามัคคีกลมเกลียวกัน บรรยากาศในการทํางานเปนไปอยางฉันทมิตร มีการพบปะสังสรรค ตลอดจนการชวยเหลือและบริการปรึกษาหารือกันในระหวางขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล 2.5 เงินเดือน หมายถึง เงินตาง ๆ ที่บุคลากรในโรงเรียนชลกันยานุกูลไดรับจากทางราชการ เชน เงินเดือนจริง ๆ คาตอบแทน คาเบี้ยเล้ียง พาหนะ คาเชาบาน เงินชวยเหลือบุตร คารักษาพยาบาล และเงินอื่น ๆ ที่ไดรับจากทางราชการ 2.6 ความมั่นคงในงาน หมายถึง ความเชื่อมั่นที่มีตอความมั่นคงในหนาที่การงาน และมีโอกาสที่จะเจริญกาวหนาในอนาคต

Page 15: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

6

2.7 ชีวิตสวนตัว หมายถึง การมีเวลาที่เปนสัดสวนที่เหมาะสมสําหรับงาน ครอบครัว สังคมและตัวเอง รวมทั้งความพรอมทางดานฐานะความเปนอยู 2.8 การบริหารงาน หมายถึง การที่ผูบริหารโรงเรียนมอบหมายงาน ใหคําปรึกษาแนะนําทั้งในเรื่องงานและสวนตัวแกขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลอยางเหมาะสม 2.9 สายงาน หมายถึง การจัดกลุมขาราชการครูในโรงเรียนชลกันยานุกูลตามลักษณะการปฏิบัติงานในแตละกลุมงาน ไดแก กลุมงานอํานวยการ หวัหนางาน หวัหนากลุมสาระการเรียนรู 2.10 ระดับตาํแหนง หมายถึง ตําแหนงขาราชการครูคศ.1 ครูชํานาญการ, ครู คศ.2 ครูชํานาญ การพิเศษ, ครู คศ. 3 ครูเชีย่วชาญ และคร ูคศ .4 ครูเชีย่วชาญพเิศษ 2.11 ครู คศ. หมายถึง ขาราชการครูและบคุลากรทางการศึกษา 2.12 การเปรียบเทียบความแตกตาง หมายถึง การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลที่มีคุณลักษณะแตกตางกัน 2.13 ขาราชการครูโรงเรียนชลกนัยานกุูล หมายถึง ผูปฏิบัติหนาที่ในตาํแหนงผูอํานวยการโรงเรียน ผูปฏิบัติการสอนโรงเรียนชลกันยานุกูล สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1. เพื่อทราบแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล 2. เพื่อทราบปจจัยที่สัมพนัธกับแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานกุูล 3. เพื่อกําหนดแนวทางพัฒนาแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานกุูล 4. สงเสริมการมีสวนรวมของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลในการแกไขปญหา อันนําไปสูการพัฒนาแรงจูงใจในการทํางาน 5. สามารถขยายผลการดําเนนิการวจิัยแรงจูงใจในการทาํงานของขาราชการครูโรงเรียนชล

กันยานุกูลในอนาคตตอไป

Page 16: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

7

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

บทนี้จะสํารวจกรอบแนวคดิทฤษฎีและงานวิจยัที่เกีย่วของในเรื่อง แรงจูงใจในการทํางาน เพื่อกําหนดกรอบในการศึกษาดังนี ้ 1. แนวคดิและทฤษฎีเกีย่วกบัแรงจูงใจ 2. แรงจูงใจในการทํางาน 3. งานวิจยัที่เกี่ยวของ 4. กรอบแนวคิดในการวิจยั

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ

ความหมายของแรงจงูใจ แรงจูงใจเปนปจจัยที่สําคัญอีกประการหนึ่งซึ่งมีผลตอการพฤติกรรมของมนุษย เพราะเปนตัวการที่ทาํใหเกิดพลังในพฤติกรรม มีนักวิชาการไดใหนิยามความหมายของแรงจูงใจไวตาง ๆ กันไป ดังเชน แซนฟอรดและสแมน (Sanford & Sman, 1980, p.189) ไดใหความหมายวา แรงจูงใจเปนความรูสึกซึ่งไมอาจหยดุนิ่งได เปนพลังอะไรก็ตามที่ทําใหมนุษยอยูภายใตการชกัจูงของบางสิ่งและทําใหมนษุยกระทํากิจกรรมใดกจิกรรมหนึ่งลงไป เพื่อลบลางสภาพการขาดหรือเพื่อทดแทนพลังบางสิ่งบางอยาง สเตียรและพอรเตอร (Steer & Porter, 1979, p. 5) ไดใหความหมายของแรงจูงใจไว 3 ประการ คือ แรงจูงใจหมายถึง ส่ิงที่เปนพลังกระตุนใหแตละบุคคลกระทําพฤติกรรมเปนสิ่งที่ช้ีทิศทาง หรือแนวทางใหบุคคลกระทําพฤติกรรมเพื่อบรรลุตามเปาหมายของแตละคนและเปนสิ่งที่สนับสนุนรักษาพฤติกรรมนั้น ๆ ใหคงอยู บีช (Beach, 1976 อางถึงใน พิเชษฐ สิชฒรังสี, 2529, หนา 14) กลาววา แรงจูงใจ หมายถึง ความเต็มใจที่จะใชพลังเพื่อใหประสบความสําเร็จในเปาหมาย (goal) หรือรางวัล (reward) การจูงใจเปนสิ่งสําคัญสําหรับการกระทําของมนุษยและเปนสิ่งที่ยัว่ยใุหคนไปถึงซึง่วัตถุประสงคที่มีสัญญา เกี่ยวกับรางวัลที่ไดรับ

Page 17: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

8

กิติ ตยัคคานนท (2532, หนา 78) กลาววา แรงจูงใจเปนพลังที่มีอยูในตัวบุคคลแตละคนซ่ึงทําหนาที่เราและกระตุนใหมีการเคลื่อนไหวเพื่อใหบุคคลนั้นดําเนนิการใด ๆ ไปในทิศทางที่จะนําไปสูเปาหมาย กิติมา ปรีดิลก (2529, หนา 156) อธิบายวา แรงจูงใจ หมายถึง ความเตม็ใจที่จะใชพลังเพื่อประสบความสําเร็จในเปาหมาย หรือรางวัล เปนสิ่งสําคัญของการกระทําของมนุษย และเปนสิ่งที่ยุใหคนไปถงึซึ่งวัตถุประสงคที่มีสัญญาเกี่ยวกับรางวัลที่จะไดรับ ฉะนั้น แรงจูงใจจงึเปนพลังผลักดันใหคนใชความสามารถมากขึ้น เอนกกูล กรีแสง (2520, หนา 168) กลาววา แรงจูงใจ หมายถึง การกระตุนใหแสดงพฤติกรรมและการควบคุมพฤติกรรมใหมนุษยเราแสดงปฏิกิริยาตอบสนองตอส่ิงเราอยางเดยีวกันไมเหมือนกัน หรือทําใหมีพฤติกรรมไมเหมือนเดิม ธงชัย สันติวงษ (2530, หนา 23) กลาววา แรงจูงใจเปนสิ่งที่มีอยูภายใน ที่มีแรงผลักดันและมีทิศทางที่ใชกํากับพฤติกรรมของมนุษยเพื่อใหบรรลุถึงเปาหมายที่ตองการ ปรัชญา เวสารัชช (2526, หนา 440) ใหทศันะวาแรงจูงใจเปนเรื่องสวนตัวของคนแตละบุคคล เปนเรื่องของความอยากความปรารถนา เปนเรื่องของพลังผลักดันภายในใจของแตละคน พลังผลักดันภายในใจนีจ้ะเรงเราหรือกระตุนใหบุคคลมีพฤติกรรมบางอยาง พฤติกรรมดังกลาวอาจเปนการปรับปรุง สรางสรรค หรือทําอะไรก็ไดที่ผิดแผกไปจากเดิม อยางไรก็ดีพฤติกรรมที่กลาวมิไดดําเนินไปโดยปราศจากเปาหมาย ตรงกันขามพฤติกรรมที่เกิดจากลังผลักดันในใจนั้นมุงใหบรรลุเปาหมายสวนตวัของแตละคน สุเมธ เดียวอิศเรศ (2527, หนา 4) กลาววา แรงจูงใจ หมายถึง การกระตุนที่ทําใหมนษุยกระทํากจิกรรมหรือมีพฤติกรรมออกมา และเปนพฤติกรรมที่ดําเนินไปสูเปาหมายอยางใดอยางหนึ่ง แรงจูงใจเปนสาเหตุที่กอใหเกดิการแสดงพฤติกรรมเพื่อตอบสนองความตองการที่มีอยูและความตองการที่มีความเขมมากที่สุดจะเปนแรงจูงใจใหมนุษยเราแสดงพฤติกรรมออกมา ถวิล เกื้อกูลวงศ (2528, หนา 53) ใหความเห็นวา แรงจูงใจ หมายถึง ความตองการ แรงขับ หรือแรงกระตุนที่อยูภายในตวับุคคล แรงจูงใจจะถูกนํามุงหนาสูเปาหมาย ซ่ึงอาจเปนลักษณะของจติสํานึกหรือจติใตสํานึกก็ได ฉายศิลป เชี่ยวชาญพิพัฒน, ผุสดี รุยาคม และสุวรรณา ทองประดิษฐ (2527, หนา 259)ใหความเห็นวา แรงจูงใจคือ แรงดันภายในรางกายที่ผลักดันใหบุคคลแสดงพฤติกรรมในทางใด ทางหนึ่งอันมสีาเหตุเกิดจากรางกาย หรือจติใจมีความตองการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ตวัอยางของสิ่งที่รางกายตองการ คือ อาหาร อากาศ น้ํา การพักผอน หรือความตองการทางเพศ ส่ิงที่จติใจตองการคอื การไดรับความสําเร็จในชีวติ เกียรตยิศชื่อเสียง การยกยอง และสถานภาพ

Page 18: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

9

พรรณราย ทรัพยะประภา (2529, หนา 41) ใหทัศนะวา แรงจูงใจ หมายถึง สภาวะที่อินทรียถูกกระตุนใหแสดงพฤติกรรมเพื่อไปยังจดุหมายปลายทาง และเชื่อวามนษุยหรือสัตวก็ตามเมื่อตกอยูในสภาวะที่ไดรับการจูงใจจะตองมีความกระตือรือรน และขวนขวายในการทํากิจกรรมหรือพฤติกรรมเพื่อใหเกิดความสําเร็จซึ่งเปนจุดหมายปลายทางที่ตองการ จากทัศนะของผูรูที่ไดใหความหมายของแรงจูงใจไวดังกลาวขางตน พอสรุปไดวา แรงจูงใจ หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของผูหนึ่งผูใดก็ตาม ที่ถูกกระตุนดวยทั้งปจจยัภายในและปจจยัภายนอก เพื่อใหบุคคลแสดงพฤติกรรมอยางหนึ่งอยางใดออกมา ทั้งที่ตั้งใจและไมตั้งใจ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่วางไว

แรงจูงใจในการทํางาน

แรงจูงใจในการทํางาน เปนเรื่องที่มีผูสนใจศึกษากันอยางกวางขวาง ดงัจะปรากฏอยูในงานวิจยัเปนอนัมากที่ผูวิจยัไดนําเอาแรงจูงใจในการทํางานนี้เปนตวัแปรในการศึกษา ทั้งในลักษณะของตวัแปรอิสระและตัวแปรตาม ทั้งนี้เพราะแรงจูงใจในการทํางานของบุคคลในองคกร มีผลกระทบตอความสําเร็จและความลมเหลวของงานและองคกรได (Davis & Newstrom, 1985, p. 109) องคกรใดก็ตามหากบคุคลในองคกรที่พึงพอใจในการทํางานก็จะเปนมูลเหตุหนึ่งที่ทําใหผลการปฏิบัติงานต่ํา คุณภาพงานลดลง มีการขาดงาน ลาออกจากงาน หรือ อาจกอใหเกดิปญหาอาชญากรรมและปญหาทางวินัยไดอีกดวย แตในทางตรงกันขามหากองคกรที่มีบุคคลที่มีความ พึงพอใจในการทํางานสูง จะมีผลบวกตอการปฏิบัติงาน นอกจากนั้นแรงจูงใจในการทํางานยังเปนเครื่องหมายแสดงใหเห็นถึงการบริหารงานที่ดีและผลการปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพดวย (ภรณี กีรติบุตร, 2529, หนา 189) ความหมายของแรงจงูใจในการทํางาน นักการศึกษาไดใหความหมายของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานไวหลายทาน ดังจะนํามากลาวเฉพาะที่สําคัญดังนี้ ฮอพพอค (Hopock, 1935) ใหนิยามแรงจูงใจในการทํางานวา หมายถึง ส่ิงที่ผสมผสานของความรูสึกทางดานจิตใจ สภาพรางกายและสภาพแวดลอมจนเปนมูลเหตุใหบุคคลรูสึกวาเขามีแรงจูงใจในการทํางานของเขา ฮอพพอคผูนี้เปนคนแรกทีม่ีงานวิจยัเกี่ยวกับแรงจูงใจในการทํางานปรากฏ โดยสรุปเขาไดใหความหมาย แรงจูงใจในการทาํงานวาเปนทศันคติที่พึงพอใจของบุคคลตองาน มีผูใหความหมายสอดคลองกัน คือ กิลเมอร (Gilmer, 1966, p. 255) กลาววา แรงจูงใจในการทํางาน หมายถึง ผลของทัศนคติตาง ๆ ของบุคคลที่มีตอองคประกอบของงาน

Page 19: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

10

กูด (Good, 1973, p. 320) ไดใหความหมายของแรงจูงใจในการทํางานวา หมายถึง คุณภาพ สภาพ หรือระดับแรงจูงใจซึ่งเปนผลจากความสนใจและทัศนคติของบุคคลที่มีตองาน โวลแมน (Wolman, 1973, p. 333) กลาววา แรงจูงใจ หมายถึง ความรูสึกมีความสุขเมือ่ไดรับผลสําเร็จตามจุดมุงหมาย ความตองการ หรือแรงจูงใจ เซอรเมอรฮอน (Shermerhorn, Hunt & Osborn, 1982, p. 41) ไดใหความหมายแรงจูงใจวา หมายถึง ระดับความรูสึกที่ดีของแตละคนเกีย่วกับงาน ฮอยและมิสเกล (Hoy & Miskel, 1982, p. 384) ไดใหความหมายของแรงจูงใจในการทํางานวา เปนความรูสึกที่ดตีองาน ซ่ึงมักเกี่ยวของกับคณุคาและความตองการของแตละบุคคลดวย มิทเชลล (Mitchell, 1982, p. 393) กลาววา แรงจูงใจในการทํางานวาเปนปจจยัที่สงผลตอความสําเร็จในการปฏิบัติงานที่สําคัญ เพราะแรงจูงใจเปนตัวการที่กอใหเกิดการเพิ่มขวญัซึ่งนําไปสูการเพิ่มผลผลิต มอรส (Morse, 1958, p. 288) ไดใหนิยามแรงจูงใจในการทํางาน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่สามารถลดความเครียดของผูปฏิบัติงานใหนอยลง และความตึงเครียดนี้มีผลมาจากความตองการของมนุษย เมือ่มนุษยไดรับการตอบสนองความเครียดกจ็ะลดนอยลงหรือหมดไป ลูทัน (Luthan, 1977, p. 420) ไดใหความหมายของแรงจงูใจในการทํางานวา หมายถึง ผลรวมขององคประกอบตาง ๆ ซ่ึงสนองความตองการและเปนศักยภาพที่เจริญขึ้น เปนทัศนคติแฝงอยูในทํานองเดียวกัน ล็อค (Locke, 1992, p. 103) กลาววา แรงจงูใจในการทํางานเปนอารมณดานบวกที่เกดิจากการตอบสนองของผลการทํางาน การประเมินวางานนั้นสําเร็จหรือมีคุณคา สวนความ ไมพึงพอใจในการทํางาน จะมีผลจาการประเมินวาถูกปฏเิสธความรูสึกอึดอัด หรือความรูสึกเปนลบกับคุณคาของงาน สเตาสและเซเลส (Stauss & Sayles, 1960, pp. 119-121) ไดกลาววา แรงจูงใจในการทํางาน หมายถึง ความรูสึกพอใจในการทาํงานที่ทําและเต็มใจที่ทํางานนั้นใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกร คนจะรูสึกพอใจในการทํางานเมื่องานนัน้ใหผลประโยชนตอบแทนทั้งดานวัตถุและจิตใจ ซ่ึงสามารถตอบสนองความตองการของเขาได กิติมา ปรีดีดิลก (2529, หนา 321) ไดใหความหมายของแรงจูงใจในการทํางานวา หมายถึง ความรูสึกชอบหรือพอใจที่มีตอองคประกอบและสิ่งจูงใจในดานตาง ๆ ของงาน และ ผูปฏิบัตินั้นไดรับการตอบสนองความตองการของเขาได จากความหมายที่กลาวมาขางตนอาจสรุปไดวา แรงจูงใจในการทํางาน หมายถึง ความรูสึกสมหวังและมีความสุขจากสิ่งที่ทําใหเกิดแรงจูงใจของบุคคลในการปฏิบัติงาน บุคคลที่มี

Page 20: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

11

แรงจูงใจในการปฏิบัติงานจะกระตือรือรน ขยันขันแข็ง ทุมเทพลังตาง ๆ ที่มีอยูในตนเองและแสวงหาจากคนอื่น เพื่อพัฒนางานที่ตนเองไดรับดวยความสนุกและเปนสุขกับการปฏิบัติงาน ทฤษฎีเก่ียวกับแรงจูงใจในการทํางาน ในปจจุบนัองคกรตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนใหความสนใจตอความรูสึกของบุคคลที่ปฏิบัติงานในองคกรนั้น ๆ จากแนวคิดทีว่าความรูสึกเปนสวนหนึ่งในการเพิ่มประสทิธิภาพในการปฏิบัติงาน การที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน จําเปนตองสรางแรงจูงใจและในการสรางแรงจูงใจใหไดผลดีนั้นจะตองมีความรูในทฤษฎีตาง ๆ เกี่ยวกับแรงจูงใจ เพื่อจะไดนาํไปใชในการจูงใจใหบุคคลากรในองคกรไดทํางานอยางมีประสิทธิภาพ อาจกลาวไดวาแรงจูงใจ นาจะประกอบไปดวย 3 สวน คือ ตัวกระตุน (activate) ตัวนํา (direct) และตวัสนับสนุนพฤติกรรมของมนุษย (sustain) ตัวกระตุนนี้ถือวาอยูในตัวของบุคคลอยูแลว ซ่ึงจะเปนตัวที่นําใหแสดงพฤติกรรมออกมาตอส่ิงใดสิ่งหนึ่ง เพื่อสนองความตองการตามเปาหมายของแตละบุคคล ในเรื่องเกีย่วกบัทฤษฎีการสรางแรงจูงใจในการทํางาน ไดมีผูศึกษาคนควาและเขยีนไวมากมาย ในทีน่ี้ไดนําทฤษฎจีากตัวแปรที่ศกึษาดังนี ้ ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว (Maslow’s general theory of human motivation) มาสโลว (Maslow, 1970, pp. 36-46 อางถึงใน กริชเพชร ชัยชวย, 2544, หนา12) นักจิตวิทยาชาวอังกฤษไดเสนอทฤษฎีการจูงใจโดยอธบิายวาการจูงใจคนคือ การปฏิบัติการตอบสนองความตองการของคน ซ่ึงมาสโลวไดแบงความตองการของคนออกเปน 5 ระดับ ดังนี ้ 1. ความตองการทางรางกาย (physiological needs) เปนความตองการเบือ้งตนเพื่อการอยูรอด เชน ความตองการอาหาร ที่อยูอาศัย และความตองการทางเพศ ความตองการทางรางกาย จะมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของคนตอเมื่อความตองการของคนยังไมไดรับการตอบสนอง 2. ความตองการความปลอดภัย (security needs) เปนเรื่องของการปองกัน เพื่อใหเกิดความปลอดภยัจากอนัตรายตาง ๆ ที่จะเกดิขึ้นกับรางกาย ความเจ็บปวดและความสูญเสีย ทางเศรษฐกิจรวมถึงการใหความแนนอนหรือการรับประกันความมั่นคงของงานและการสงเสริมเพื่อใหเกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจมากยิ่งขึ้น 3. ความตองการทางสังคม (belongingness needs) เมื่อความตองการทางรางกายและความปลอดภยัไดรับการตอบสนองแลว ความตองการทางสังคมจะเริ่มเปนสิ่งจูงใจทีสํ่าคัญตอพฤติกรรมของคนเพราะคนมีนิสัยชอบอยูรวมกันเปนกลุม ดังนั้นความตองการดังกลาวจึงเปนความตองการอยูรวมกัน การไดรับการยอมรับจากคนอื่น และการมีความรูสึกวาตนเองเปนสวนหนึ่งของกลุมสังคมอยูเสมอ

Page 21: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

12

4. ความตองการที่จะไดรับการยกยอง (esteem needs) เปนความตองการระดับสูงเปนความตองการความมั่นใจตนเองในความรูความสามารถเปนความตองการใหผูอ่ืนยกยองสรรเสริญและความตองการมีฐานะเดนทางสังคม 5. ความตองการที่จะไดรับความสําเร็จในชวีิต (self-actualization needs) เปนความตองการรับสูงสุด เปนความตองการความสําเร็จในทุกสิง่ทุกอยางตามความนึกคดิของตนเอง ควรจะผลักดนัชีวิตของตนเองใหเปนไปในทางที่ดีที่สุดตามความคาดหมายไวและสิ่งนี้ยอมขึ้นอยูกับขีดความสามารถของเขาเอง ในการนําทฤษฎีความตองการตามลําดับขั้นของมาสโลวมาประยกุตใชเพื่อจูงใจในการปฏิบัติงานตามการศึกษาคนควา มี 3 ดาน ดังนี ้ 1. ดานความรูสึกเปนสวนหนึ่ง เปนการตอบสนองความตองการดานสงัคม กระทําไดโดยการใหความรูสึกวาเขาเปนสวนหนึ่งขององคการ ไดรับความอบอุนจากเพื่อนรวมงานและผูบังคับบัญชา และการไดรับโอกาสในการแสกงความคิดเห็น 2. ดานความรูสึกมั่นคงปลอดภัย เปนการตอบสนองความตองการดานความมั่นคงปลอดภัยโดยใหความมั่นคงในหนาทีก่ารงาน ไมปลอยใหวางงานหรอืไลออกโดยไมมีเหตุผลหรือไดรับความยุตธิรรมเมื่อไดรับการกลั่นแกลง 3. ดานความรูสึกประสบความสําเร็จ เปนการตอบสนองความตองการที่จะไดรับความสําเร็จ กระทําไดโดยการเปดโอกาสใหแสดงความสามารถที่มีอยู ทฤษฎีการจูงใจของแอลเดอรเฟอร (Alderfer’s existence relatedness growth theory) แอลเดอรเฟอร (Alderfer, 1972, pp. 507–532) ไดเสนอทฤษฎี ERG โดยอาศัยพืน้ฐานมาจากทฤษฎีของมาสโลวแตไดมีการสรางรูปแบบที่มีจุดเดนที่ตางไปจากทฤษฎีของมาสโลวจากการวิจัยของแอลเดอรเฟอร เห็นวา ความตองการของมนุษยจาการศึกษาวิจยัเชิงประจกัษ แอลเดอรเฟอรไดแบงความตองการของมนุษยออกเปน 3 ประเภท ซ่ึงจะใชสะดวกและตรงกับความเปนจริงมากกวาความตองการของมนุษยทั้ง 3 ประเภทจะประกอบดวย E หรือความตองการดํารงชีวิต(Existence) R หรือความตองการสัมพันธ (Relatedness) และ G หรือความตองการเจริญกาวหนา (Growth) ซ่ึงความตองการแตละประเภทขยายความดังนี ้ 1. ความตองการดํารงชีวิต (Existence needs) หรือ E ความตองการในกลุมนี้จะเกี่ยวของกับความตองการทางดานรางกายและปรารถนาอยากมีส่ิงของเครื่องใชตาง ๆ เชน ตองการอาหาร ที่อยูอาศัย เปนตน สําหรับในชวีิตจริงในองคการนั้นการตองการ คาจาง เงนิโบนัส และผลประโยชนตอบแทน ตลอดจนสภาพเงือ่นไขการทํางานที่ดีและสัญญาการวาจางเหลานี้ ลวนแตเปนเครื่องมือ

Page 22: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

13

ตอบสนองสิ่งจูงใจดานนี้ทั้งสิ้น และถาหากจะนํามาเปรยีบเทียบจะเปรียบเทียบไดกบัความตองการความปลอดภยัและความมั่นคงตามทฤษฎีของมาสโลวนั่นเอง 2. ความตองการสัมพันธ (Relatedness needs) หรือ R จะประกอบดวยเร่ืองราวที่มสีวนเกี่ยวกับความสัมพันธตาง ๆ ที่มีอยูตอกันระหวางบุคคลในองคการ ทั้งนี้ความสัมพันธเหลานี้จะหมายถึงความตองการทุกชนิดที่มีความหมายความสําคญัในเชิงมนษุยสัมพันธ ซ่ึงสําหรับชีวิตจริงในองคการนัน้ ความตองการของคนที่ตองการจะเปนผูนาํหรือมียศฐานะเปนหัวหนา ความตองการที่จะเปนผูตามและความตองการอยากมีสายสัมพันธทางมิตรภาพกับใคร ๆ เชน สมาชิกในครอบครัว เพื่อนฝูง เพื่อนรวมงาน และคนที่ตองการจะมีความสัมพันธดวย เหลานี้ลวนอยูในความตองการประเภทนี้ ความตองการทางสังคมนี้ถาเปรียบกบัความตองการที่มาสโลวกําหนดไว ก็เทากับความตองการทางดานความมั่นคงทางใจ การไมถูกทอดทิ้ง ความตองการทางสังคมและความตองการที่จะไดรับการยกยอง ยอมรบันับถือจากเพือ่นรวมงานและหวัหนาตามทฤษฎีของ มาสโลว 3. ความตองการเจริญกาวหนา (Growth needs) หรือ G เปนความตองการที่เกี่ยวกับเร่ืองราวของการพัฒนาตนตามศักยภาพสูงสุด และการเตบิโตกาวหนาของคนผูทํางาน ความตองการ อยากเปนผูมีความรเิร่ิมบุกเบิก มีขอบเขตอํานาจขยายกวางออกไปเรื่อย และการพัฒนาเติบโตดวยความรูความสามารถ ตางก็เปนความตองการประเภทนี้ ซ่ึงสําหรับชีวิตจริงในองคการนี้ ความตองการที่จะไดรับความรับผิดชอบเพิ่ม หรือความตองการอยากไดทํากิจกรรมใหม ๆ ที่มีโอกาสใชความรูความสามารถใหม ๆ และไดมีโอกาสเขาไปสัมผัสกับงานใหม ๆ อีกหลาย ๆ ดานมากขึ้นเหลานีล้วนจัดอยูในประเภทความตองการกาวหนา และเติบโตทั้งสิ้น ความตองการประเภทนี้จะเปรยีบเทยีบไดกับความตองการที่จะไดรับความสําเร็จทางใจและความสําเร็จตามความนึกคดิทุกอยางที่สูงสุดแหงตนและความตองการยอมรับนับถือในตนเองตามทฤษฎีของมาสโลวนั่นเอง ทฤษฎ ีERG นีจ้ะมีขอสันนษิฐาน 3 ประการเปนกลไกสําคัญอยูคือ 1. ความตองการที่จะไดรับการตอบสนอง (need satisfaction) นั่นเองหากความตองการระดับใดไดรับการตอบสนองนอย ความตองการประเภทนั้นจะมีอยูสูง 2. ขนาดความตองการ (desire strength) ถาหากความตองการประเภททีอ่ยูต่ํากวา เชน ความตองการอยูรอด ไดรับการตอบสนองมากเพียงพอแลว ก็จะยิ่งทําใหความตองการประเภทที่อยูสูงกวามีมากยิง่ขึ้น 3. ความตองการที่ไมไดรับการตอบสนอง (need frustration) ถาหากความตองการประเภทที่อยูสูงมีอุปสรรคติดขัดไดรับการตอบสนองนอย ก็จะทําใหความตองการประเภทที่อยู ต่ํากวาลงไปมคีวามสําคัญมากขึ้น

Page 23: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

14

นอกจากทฤษฎี ERG ยังไมเครงครัดกับลําดับขั้นความตองการมากนักในขอที่วาตองไดรับความพึงพอใจในความตองการเจริญกาวหนา (growth needs) กไ็ด หรือความตองการทั้ง 3 นี้ อาจดําเนนิไปในขณะเดยีวกนัก็ได ในการนําทฤษฎี ERG ของแอลเดอรเฟอรมาประยุกตใชเพื่อจูงใจในการปฏิบัติงานตามการศึกษาคนควา มี 2 ดานดังนี้ 1. ดานความสัมพันธในหนวยงาน เปนความตองการที่จะมีความสมัพันธกับบุคคลอื่น ๆ ในสังคม 2. ดานความรูสึกประสบความสําเร็จ เปนความตองการดานความกาวหนา เปนความตองการขั้นสูงสุด และเปนความตองการทีจ่ะไดรับการยกยองในสังคม และไดรับความสําเร็จในชีวิต ทฤษฎีปจจัยคู (two-factor theory) ของเฟรดเดอริก เฮอรซเบอรกในเรื่องปจจัยจูงใจ (motivation factors) และปจจัยค้ําจุน (hygiene factors) ทฤษฎีที่สําคัญที่เกี่ยวของกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และความพึงพอใจในการทํางานของบุคลากรคือ ทฤษฎีปจจัยคู (two-factor theory) ของเฟรดเดอริก เฮอรซเบอรกในเรือ่งปจจัย จูงใจ (motivation factors) และปจจัยค้ําจุน (hygiene factors) ปจจัยจูงใจเปนองคประกอบ หรือปจจัยทีเ่กี่ยวของ กับการปฏิบัติงานโดยตรงเปนปจจัยที่จูงใจบุคลากรในหนวยงานใหเกิดความพอใจซึ่งไดแก 1. ความสําเร็จของงาน (achievement) 2. การไดรับการยอมรับนับถือ (recognition) 3. ความกาวหนาในตําแหนงการงาน (advancement) 4. ลักษณะของงาน (work itself) ปจจัยสุขอนามัยเปนองคประกอบที่ไมใชเกี่ยวกับตวังานโดยตรงแตมีความเกีย่วโยงกบัการปฏิบัติงานเปนปจจยัที่ไมใชส่ิงจูงใจแตสามารถทําใหบุคลากรพึงพอใจหรือไมพึงพอใจที่จะปฏิบัติงาน ซ่ึงไดแก 1. การบังคับบัญชา (supervision) 2. นโยบายการบริหาร (policy and administration) 3. สภาพการทํางาน (working condition) 4. ความสัมพันธระหวางบุคคล (interpersonal relation) 5. เงินเดือน (salary) 6. ความมั่นคงในงาน (job security)

Page 24: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

15

ปจจัยทั้ง 2 ปจจยันี้ เปนสิ่งที่คนทํางานตองการเพราะเปนแรงจูงใจในการทํางานปจจยัจูงใจ เปนองคประกอบทีสํ่าคัญที่ทําใหคนเกิดความสุขในการทํางาน สวนปจจัยสุขอนามัยทําหนาทีเ่ปนตัวปองกนัมิใหคนเกิดความทุกขหรือความไมพึงพอใจในการทํางานขึ้น เมื่อใดก็ตามที่คนไดรับการตอบสนองปจจัยชนิดนี้อยางเพยีงพอแลว จะไมมีความไมพึงพอใจในการทํางานแตมิไดหมายความวา ความพงึพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อปจจยัจูงใจไดรับการตอบสนอง นอกจากนี้มีผูศึกษา คุณภาพชวีิตการทํางานที่มุงศึกษา วอลตัน (Walton, 1974, p. 12 อางถึงใน กริชเพชร ชัยชวย, 2544, หนา 9) ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับลักษณะสําคัญที่ประกอบขึ้นเปนแรงจูงใจในการปฏิบัติงานแบงออกเปน 8 ประการคือ 1. คาตอบแทนที่เปนธรรมและเพยีงพอ (adequate and fair compensation) หมายถึง การที่ผูปฏิบัติงานไดรับคาจาง เงนิเดือน คาตอบแทน และผลประโยชนอ่ืน ๆ อยางเพียงพอตอการมีชีวิตอยูไดตามมาตรฐานที่ยอมรับกันโดยทัว่ไป และตองเปนธรรมเมื่อเปรียบเทียบกบังานหรือองคการอื่น ๆ ดวย 2. ส่ิงแวดลอมที่ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย (safe and healthy environment) หมายถึง ส่ิงแวดลอมทัง้กายภาพและทางดานจิตใจ คือ สภาพการทํางานตองไมมีลักษณะที่ตองเสี่ยงจนเกนิไป และจะตองชวยใหผูปฏิบัติงานรูสึกสะดวกสบายและไมเปนอันตรายตอสุขภาพอนามยั 3. เปดโอกาสใหผูปฏิบัติงานไดพัฒนาความรูความสามารถไดเปนอยางดี (development of human capacities) งานที่ปฏิบัติอยูนั้นจะตองเปดโอกาสใหผูปฏิบัติงานไดใช และพัฒนาทักษะ ความรูอยาง แทจริงและรวมถึงการมีโอกาสไดทํางานที่ตนยอมรับวาสําคัญและมีความหมาย 4. ลักษณะงานที่สงเสริมความเจริญเติบโตและความมัน่คงใหแกผูปฏิบัติงาน (growth and security) นอกจากจะชวยเพิ่มพนูความรูความสามารถแลว ยังชวยใหผูปฏิบัติงานไดมีโอกาสกาวหนา และมีความมั่นคงในอาชีพตลอดจนเปนทีย่อมรับทั้งของเพื่อนรวมงาน และสมาชิก ครอบครัวของตน 5. ลักษณะงานที่มีสวนสงเสริมดานบูรณาการทางสังคมของปฏิบัติงาน (social integration) หมายความวา งานนั้นชวยใหผูปฏิบัติงานไดมีโอกาสสรางสัมพันธภาพกับบุคคลอ่ืน ๆ รวมถึงโอกาส เทาเทียมกันในความกาวหนาที่ตั้งอยูบนฐานของระบบคุณธรรม 6. ลักษณะงานที่ตั้งอยูบนฐานของกฎหมายหรือกระบวนการยุติธรรม (constitutionalism) หมายถึง วิถีชีวิตและวัฒนธรรมในองคการสงเสริมใหเกิดการเคารพสิทธิสวนบุคคลมีความเปนธรรมในการพิจารณาใหผลตอบแทนและรางวัล รวมทั้งโอกาสที่แตละคนจะไดแสดงความคิดเห็นอยางเปดเผย มีเสรีภาพในการพูด มีความเสมอภาคและมีการปกครองดวยกฎหมาย

Page 25: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

16

7. ความสมดุลระหวางชีวิตกับการทํางานโดยสวนรวม (total life span) เปนเรื่องของการเปดโอกาสใหผูปฏิบัติงานไดใชชีวิตในการทาํงาน และชีวิตสวนตัวนอกองคการอยางสมดุลนั้นคือ ตองไมปลอยใหผูปฏิบัติงานไดรับความกดดันจากการปฏิบัติงานมากเกินไป ดวยการกําหนด ช่ัวโมงการทํางานที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงการที่ตองคร่ําเครงกับงาน จนไมมีเวลาพักผอน หรือไดใชชีวิตสวนตัวอยางเพียงพอ 8. ลักษณะงานมีสวนเกี่ยวของและสัมพันธกับสังคมโดยตรง (social relevance) ซ่ึงนับเปนเรื่องสาํคัญประการหนึ่งที่ผูปฏิบัติงานจะตองรูสึกและยอมรับวาองคการที่ตนปฏิบัติงานอยูนั้นรับผิดชอบตอสังคมในดานตาง ๆ ทั้งในดานผลิต การกําจัดของเสีย การรักษาสภาพแวดลอม การปฏิบัติเกี่ยวกับการจางงานและเทคนิคดานการตลาด นอกจากนี้บุญแสง ชีระภากร (2533, หนา 7-12) ไดใหแนวคิดเกี่ยวกับองคประกอบในการกําหนดแรงจูงใจในการปฏิบัติงานได 10 ประการ คือ 1. คาตอบแทนที่เหมาะสมและเพยีงพอ 2. ผลประโยชนเกื้อกูล 3. สภาพแวดลอมที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ 4. ความมั่นคงในงาน 5. เสรีภาพในการเจรจาตอรอง 6. พัฒนาการและการเจริญเติบโต 7. บูรณาการสังคม 8. ประชาธิปไตยในการทํางาน 9. การมีสวนรวม 10. เวลาวางของชีวิต สมพงศ เกษมสิน (2526, หนา 320-321) ไดแยกประเภทของสิ่งจูงใจใหคนพอใจในการทํางาน ออกเปน 2 ประเภท คือ 1. ส่ิงจูงใจที่เปนเงิน ส่ิงจูงใจประเภทนี้มีอิทธิพลโดยตรงตอการปฏิบัติงานซึ่งสามารถใชจูงใจทางตรงและทางออมได ส่ิงจูงใจทางตรงไดแก เงินเดือนและคาจาง สวนสิ่งจูงใจทางออมไดแก บําเหนจ็บํานาญคารักษาพยาบาล และผลประโยชนเกื้อกูลตาง ๆ 2. ส่ิงจูงใจที่มใิชเงิน เปนความตองการทางจิตใจของผูปฏิบัติงาน ไดแก การยกยองชมเชย การยอมรับจากหมูคณะ โอกาสกาวหนาในการปฏบิัติงานและความมั่นคงในงาน เอกชัย กี่สุขพนัธ (2533, หนา 80-81) ไดกลาวเกี่ยวกับปจจัยจูงใจ (motivator) ที่สําคัญไวมี 6 ประการ

Page 26: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

17

1. สัมฤทธิผลของงาน (achievement) คนเปนจํานวนมากที่ตองการความสําเร็จในการทํางาน และพอใจในการมีสวนสรางสรรคที่มีความสําคัญใหแกบริษัท ถาผูบริหารยอมในขอนี้ก็ยอมสนับสนุนใหบุคคลไดมีโอกาสประสบความสําเร็จในการทํางานตามศักยภาพ (potential) ของแตละบุคคล 2. การยอมรับ (recognition) โดยปกตแิลวทุกคนมีความรูความสามารถและทักษะในการทํางานที่แตกตางกัน ดังนั้น ถาผูบริหารแสดงออกถึงพฤติกรรมการยอมรับในความคิดหรือ ความสามารถของบุคคล ไมวาจะเปนคํายกยองชมเชยหรือการใหผลตอบแทน (feedback) ที่เหมาะสมจะมสีวนจูงใจในการทํางานมากทีเดียว 3. ความกาวหนา (advancement) ความกาวหนาในการทํางานเปนสิ่งที่ทกุคนตองการ เพราะการเขาสูตําแหนงใหม หรือการไดเผชิญกับงานในสถานการณใหม ๆ ที่มีความทาทายจะทาํใหบุคคลนั้นมโีอกาสพัฒนาทักษะการทํางานอยูเสมอ

4. ความสนใจ (interest) หมายถึงการใหบุคคลมีโอกาสพัฒนาหรือเสริมสรางทักษะหรือการทํางานตามที่เขาสนใจ หรือใหเขามีโอกาสใชความรูความสามารถ ในการทํางานที่เขาสนใจนับเปนการ จงูใจที่ดวีิธีหนึ่ง 5. ความรับผิดชอบ (responsibility) สําหรับบุคคลที่มีความสามารถมีไหวพริบและทกัษะในการทํางานที่ดี อยากทีจ่ะทํางานดวยอํานาจและความรับผิดชอบของตนเอง และจะไมชอบการถกูบังคับใหทํางาน 6. การมีสวนรวมในการทํางาน (participation) การเปดโอกาสใหบุคคลมีสวนรวมในการทํางานมากขึ้นไมวาจะเปนการกําหนดนโยบาย วธีิทํางาน ตลอดจนการตัดสินใจในการทํางานจะสรางใหเกิดความรูสึกผูกพนักับหนวยงานหรือบริษัท การใหมีสวนรวมในการทํางานนี้ จะจูงใจใหบุคคลยอมรับในความสามารถซึ่งกันและกัน และมีโอกาสพัฒนาการทํางานเปนทีมดวย แมคเคลลแลนด (McClelland อางถึงใน สุจินดา ออนแกว, 2538, หนา 43) ไดเสนอแนวคดิแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 3 อยาง คือ 1. ความตองการความสําเร็จ เปนความตองการมีผลงานและบรรลุเปาหมายที ่พงึปรารถนา 2. ความตองการความรัก ความเปนพวกพอง เปนความตองการมีความสัมพันธภาพที่ดีกับผูอ่ืน 3. ความตองการมีอํานาจบารมี เปนความตองการมีอิทธิพลและการครอบงําเหนือผูอ่ืน

Page 27: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

18

การจูงใจมีผลสําคัญในการปฏิบัติงานผูบังคับบัญชาจึงจําเปนตองหยบิยื่นความตองการใหพนกังานเพือ่กอใหเกิดความพอใจและทาํงานไดด ีซ่ึง ลีลา สินานุเคราะห (2530, หนา 140) ไดใชแนวความคดิในตารางที ่1

ตารางที่ 1 การจูงใจที่กอใหเกิดความพอใจและทํางานไดด ี

ความตองการของพนักงาน พนักงานเกิดความพอใจและทํางานไดด ี1. การมั่นคงทางเศรษฐกิจ

- มีรายไดด ี- ไดรับสิทธิและประโยชนตาง ๆ - ไดรับการเลือ่นตําแหนง - ไดรับความกาวหนา - มีความมั่นคงในงานที่ทํา - มีความรูสึกวางานที่ทําแนนอนมั่นคง

2. ความมั่นคงทางอารมณและจิตใจ

- มีความมั่นใจและเชื่อใจตอผูบังคับบัญชา - รูสถานภาพของตนเอง - ไดรับการอนุมัติเห็นชอบดวยหรือเปนทีพ่อใจของ ผูบังคับบัญชา - มีความรูสึกวาตนมีสวนเปนเจาของ - ไดรับการปฏิบัติ ตออยางยุติธรรมเสมอตนเสมอปลาย

3. มีการยอมรับความรูความสามารถ

- ไดรับรางวัลในผลงานที่ด ี- มีความรูสึกวาตนมีสวนสรางสรรคหนวยงานและสังคม - ไดรับการยกยองในความสําเร็จ

4. มีโอกาสแสดงความรูความสามารถ

- รูสึกวาความสามารถของตนไดถูกนําไปใช - มีความเจริญกาวหนากับงาน - มีความรูสึกกระฉับกระเฉงและไดมีสวนรวมใน กิจกรรมที่เปนประโยชน - ไดทํางานชนดิตาง ๆ ที่ไมจาํเจนาเบื่อและเหนื่อย - รูสึกวาไดรับการปฏิบัติตอในฐานะมนษุยและไดรับ

5. ไดรับการยกยอง - การเคารพในศักดิ์ศรีไมถูกลบหลู

Page 28: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

19

กิลเมอร (Gilmer, 1967, pp. 380-384) ไดกลาวถึงปจจยัที่มีผลตอแรงจูงใจในการทาํงานไว 10 ประการ คือ 1. ความมั่นคงปลอดภัย (security)ไดแก ความมั่นคงการทํางาน การไดรับความเปนธรรมจาก ผูบังคับบัญชา คนที่พื้นฐานความรูนอย หรือขาดความรู ยอมเห็นวาความมั่นคงในงาน มีความสําคัญสําหรับเขามาก แตคนที่มีความรูสูงจะรูสึกวาไมมีความสําคัญมากนัก 2. โอกาสกาวหนาในการงาน (opportunity for advancement) ไดแก การมีโอกาสไดเล่ือนตําแหนงการงานสูงขึ้น การมีโอกาสกาวหนาจากความสามารถในการทํางานยอมทําใหเกดิความพึงพอใจในงาน ผูชายมคีวามตองการในเรื่องนี้สูงกวาผูหญิง 3. สถานที่ทํางานและการจดัการ (company and management) ไดแก ความพอใจตอสถานที่ทํางาน ช่ือเสียงของสถาบัน และการดําเนินงานของสถาบัน 4. คาจาง (wages) คนงานชายจะเห็นคาจางมีความสําคัญกวาคนงานหญิง และผูทํางานในโรงงานจะ เห็นวาคาจางมคีวามสําคัญสําหรับเขามากกวา ทํางานในหนวยงานของรัฐ 5. ลักษณะของงานที่ทํา (intrinsic aspects of the job) ซ่ึงมีความสัมพันธกับความรู ความสามารถของผูปฏิบัติงาน หากไดทํางานที่ตรงตามความตองการ และความถนัดก็เกิดความ พึงพอใจ 6. การนิเทศงาน (supervision) การนิเทศงานมีความสําคัญที่จะทําใหผูทํางานมีความรูสึกพอใจหรือไมพอใจตองานไดการนิเทศงานทีไ่มดีอาจเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหยายงานและลาออกจากงาน 7. ลักษณะทางสังคม (social aspects of the job) ถาผูปฏิบัติงานทํางานรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสขุ ก็จะเกิดความพอใจในงานนั้น 8. การติดตอส่ือสาร (communication) การติดตอส่ือสารมีความสําคัญมากสําหรับผูมีการศึกษาสูง กระบวนการวธีิทํางานและบคุคลระดับตาง ๆ ที่รวมกันปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมาย จะสําเร็จได ก็เพราะมีกระบวนการวิธีทํางานที่ดีไมวาจะเปนการวางแผนงานการจดัการองคการ การบริหารงานและการประเมินผลงานทุกกระบวนการ ตองมีการติดตอส่ือสารเปนตัวเชื่อมตอ 9. สภาพการทํางาน (working condition) ไดแก แสง เสียง อากาศ ช่ัวโมงทํางาน มีงานวิจยัหลายเรื่อง ที่แสดงวาสภาพการทํางานมีความสําคญัสําหรับหญิงมากกวาชาย 10. ส่ิงตอบแทนหรือประโยชนเกื้อกูลตาง ๆ (benefits) เชน เงินบําเหน็จตอบแทนเมื่อออกจากงาน การบริหารและการรักษาพยาบาลสวัสดิการที่อยูอาศัย

Page 29: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

20

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ไพฑรูย พืน้ชมพู (2531) ไดทําวิจยัเร่ือง ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของขาราชการครูโรงเรยีนมัธยมศึกษาระดบัตําบล เขตการศกึษา 6 โดยใชทฤษฎีของเฮอรซเบอรก ผลการวจิัยพบวา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของขาราชการครูโรงเรียนมัธยมศกึษาระดบัตําบล เขตการศกึษา 6 เปนรายขอทั้ง 10 ขอ อยูในระดับปานกลาง เมื่อพจิารณาเปนรายดาน ปรากฏวา ความพงึพอใจในการปฏิบัตงิานของขาราชการครูโรงเรียนมัธยมศกึษาระดบัตําบล เขตการศกึษา 6 ตามลําดบัจากมากไปหานอย คอื ดานลักษณะของงาน ดานความสัมพันธกบัผูบังคับบัญชา ดานความสัมพนัธกบัผูรวมงาน ดานความกาวหนา ดานนโยบายและการบรหิาร ดานความสําเรจ็ในการปฏิบัติงาน ดานการยอมรับนับถือ ดานวิธีการบังคับบัญชา ดานสภาพการทํางาน และดานความรบัผิดชอบ ตามลําดับ และยงัพบอีกวา ความพงึพอใจในการปฏิบัติงานของขาราชการครูโรงเรียนมัธยมศกึษาระดบัตําบล เขตการศกึษา 6 ตอปจจยัจงูใจและปจจยัสุขอนามยั จําแนกตามเพศ ถ่ินที่อยูปจจุบนั และสถานภาพทางครอบครวัไมแตกตางกนั แตจําแนกตามประสบการณการทํางานและอายุ จะมีความพงึพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกนัอยางมนียัสําคญัทางสถิติที่ระดบั .01 ปญจมาพร พพิัฒนวงศ (2540, หนา 43-44) ไดทําการวจิัยเพื่อศึกษา ความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของขาราชการคร ูโรงเรียนมัธยมในสังกดักรมสามัญศึกษาตามเกณฑการสรางคุณภาพชีวติการทํางาน พบวาการจดัใหมแีผนกําหนดความกาวหนาของผูปฏิบัติแตละคนเอาไวลวงหนา โดยมีเงือ่นไขในการทาํงานเปนเครื่องชี้วดัหรือบงชี้ เมือ่ผูปฏิบัติทําไดตามเครื่องบงชี้เขากจ็ะมีความกาวหนายอมกอใหเกิดความพอใจ ซ่ึงจะมีผลตอการผลิตและความสําเร็จในงานตลอดจนเกดิความภาคภูมใิจในความสามารถของตน ตันติมา ดวงโยธา (2540) ไดศึกษาวิจยัเร่ืองแรงจูงใจในการทํางานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลจิตเวช สังกัดกรมสุขภาพจิต และเปรียบเทยีบระดับแรงจงูใจในการทํางานพยาบาลวิชาชีพ โดยศึกษาจากกลุมตวัอยางที่เปนพยาบาลวิชาชีพที่กําลังปฏิบัติงานในโรงพยาบาลจิตเวชสังกัดกรมสุขภาพจิต พ.ศ. 2539 จํานวน 441 คน โดยใชแบบสอบถามประมาณคา 5 ระดับ วิเคราะหขอมูลโดยใช t – test และ F – test ผลการวิจัยพบวา พยาบาลวชิาชีพ โรงพยาบาลจิตเวชสังกัดกรมสุขภาพจิตสวนใหญมีแรงจูงใจในการทํางานในระดบัปานกลาง พยาบาลวิชาชีพมีทัศนคติตอการทํางานดานการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ตางกนั มแีรงจูงใจในการทํางานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 วัชราภรณ มณีวงษ (2541) ไดศึกษาแรงจงูใจในการปฏิบัติงานของบุคคลากรสายบริการมหาวิทยาลัยบรูพา และเปรยีบเทียบแรงจงูใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายบริการ โดยจําแนก

Page 30: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

21

ตามสายงานของบุคลากร และประสบการณในการทํางาน กลุมตัวอยางเปนบุคลากรสายบริการมหาวิทยาลัยบรูพา จํานวน 220 คน โดยอาศัยทฤษฎีแรงจงูใจของอัลเดอรเฟอร 3 ดาน คือ ดานความอยูรอด ดานความสัมพันธกับผูอ่ืน และดานความเจริญกาวหนา ผลการวิจัยพบวาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายบริการ มหาวิทยาลัยบูรพา มีแรงจูงใจในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา มีแรงจูงใจในระดับปานกลางทุกดาน เรียงลําดับคะแนนจากมากไปหานอย คือ ดานความสัมพันธกับผูอ่ืน ดานความอยูรอด และดานความเจริญกาวหนา เมื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายบริการ มหาวิทยาลัยบูรพา ระหวางบุคลากร ที่มีประสบการณต่ํากวา 5 ป กบับุคลากรที่มีประสบการณตั้งแต 5 ป ขึ้นไป พบวา มแีรงจูงใจในการปฏิบัติงานไมแตกตางกันทกุดาน ดาํรง ศรีอราม (2543) ไดศกึษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมผูนําของผูบริหารโรงเรียนกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาเขตการศึกษา 12 โดยจําแนกตามประสบการณการบรหิารงานของผูบริหารโรงเรียน และขนาดของโรงเรียน กลุมตัวอยางทีใ่ชในการศึกษาคนควาไดแก ครูผูสอนโรงเรียนมัธยมศกึษา จํานวน 367 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาเปนแบบสอบถามมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ผลการศึกษาพบวา พฤติกรรมผูนําของผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 12 มีพฤติกรรมเปนแบบมุงงาน เมือ่จําแนกตามประสบการณการบริหารงานของผูบริหารที่ตางกัน มีพฤติกรรมของผูบริหารไมแตกตางกัน และจําแนกตามขนาดของโรงเรียนที่ตางกนั มพีฤติกรรมผูนํา ผูบริหาร แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) ระดับของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา มแีรงจูงใจอยูในระดับมาก ทั้งโดยรวม และแยกเปนรายดานเมื่อจําแนกตามประสบการณการบริหารของผูบริหารโรงเรียนที่ตางกนั มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูผูสอนแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ และจําแนกตามขนาดของโรงเรียนที่ตางกัน แตกตางกันอยางมนีัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) และมีความสมัพันธกับพฤตกิรรมผูนําของผูบริหารอยางมรนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) ทั้งจําแนกตามประสบการณผูบริหารและขนาดของโรงเรียน มาตาเฮรุ (Mataheru, 1985) ไดวจิัยเกี่ยวกบัการศึกษาแรงจูงใจในการทํางานของอาจารยในอินโดนีเซยี ผลการวิจัยพบวา แรงจูงใจที่กอใหเกิดความไมพอใจมากที่สุด ไดแก สถานะอาชีพ โอกาสกาวหนา และเงินเดือน ตัวแปรดานชีวสังคม ไดแก เพศ อายุ ระยะเวลาการทํางาน ไมมีผลตอแรงจูงใจในการทํางาน โอโกมากะ (Ogomaka, 1986) ไดทําการวิจยัเร่ืององคประกอบของแรงจงูใจของครูในโรงเรียนสอนศาสนาในลอสแองเจอรลิส พบวา ปจจัยทีเ่ปนแรงจูงใจ คือ การไดรับความ

Page 31: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

22

เจริญกาวหนาในงาน รองลงมาไดแก การไดรับการยอมรบันับถือ ผลสัมฤทธิ์ในงาน ขอตกลงทางศาสนา สวนความสัมพันธกบัครูและนักเรยีน ความสนับสนุนจากผูปกครอง ความมั่นคง ปลอดภัยและการเงนิเดอืนไมมีผลตอแรงจูงใจของงาน การไดรับการยอมรับนบัถือ โอกาสที่จะกาวหนาและแรงจูงใจภายนอก ไดแก นโยบายของเงินเดือน ความสมัพันธกับบุคคลอื่น และสภาพการทํางาน มีผลตอความพงึพอใจในการปฏิบัติงานเปนอยางมาก เรย (Ray, 1987) ไดศึกษาความสัมพันธระหวาง องคประกอบภายใน (ปจจัยจูงใจ) กบัองคประกอบภายนอก (ปจจยัค้ําจุน) กับความพึงพอใจในงานของเจาหนาที่ฝายกิจการนักศึกษาในวิทยาลัยชุมชน โดยมวีัตถุประสงคที่จะศึกษาองคประกอบของความพึงพอใจในงานของเจาหนาที่ฝายกิจการนักศึกษา จํานวย 156 คน ซ่ึงผลการวิจยัปรากฏวา องคประกอบสําคัญที่สําคัญที่สุดที่ทําใหเกิดความพงึพอใจในงานคือ ลักษณะของงาน รองลงมา ไดแก คาจาง การปกครอง บังคับบัญชา โอกาสกาวหนา เพื่อนรวมงาน ความมั่นคง และเรื่องทั่ว ๆ ไป องคประกอบภายในและองคประกอบภายนอก มีความสัมพันธกับความพึงพอใจในงานทกุระดบัอยางมีนัยสําคัญ เมอรเรย (Murry, 1988, p. 3225-A) ไดศึกษาแรงจูงใจภายในและแรงจงูใจภายนอกทีม่ีผลตอความพึงพอใจในงานและการเปลี่ยนงานของพยาบาลในโรงพยาบาลนิวเจอรซี พบวาองคประกอบของความพึงพอใจในงานของพยาบาล ไดแก ความสัมพันธระหวางบุคคล ความกาวหนาของงานที่ทํา การเขาใจงาน ความมีอิสระในการทํางาน และพบวา บุคลิกภาพและความหลากหลายของงานพิเศษอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมายมีความสัมพันธกับการคงอยูหรือการเปลี่ยนงานของพยาบาลอีกดวย ไพลภ หนูมี (2541, หนา 78) ไดวิจยัเร่ือง การศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในเขตการศึกษา 3 พบวา ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม โดยภาพรวม และรายองคประกอบอยูในระดับปานกลาง ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามที่มีประสบการณในการทํางานตางกันโดยภาพรวมไมแตกตางกัน สวนองคประกอบดานความสําเร็จของงานแตกตางกันมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดที่ตั้งของโรงเรียนตางกนั โดยภาพรวมไมแตกตางกัน สวนองคประกอบความสําเร็จของงานและการปกครองบังคับบัญชาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อาคม เกสร (2541, หนาบทคัดยอ) ไดทําการวจิัยเร่ือง ปจจัยที่มีผลตอการจูงใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจวิทยาการ ตํารวจชั้นประทวนและชั้นสัญญาบัตร ในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ ผลการวิจัยพบวา ปจจัยที่มีผลตอการจูงใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่

Page 32: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

23

ตํารวจวิทยาการตํารวจชั้นสญัญาบัตร มีความพึงพอใจในดานนโยบายและการบริหารงาน ความมั่นคงของงาน การไดรับการยอมรับนับถือ ลักษณะของงานและความรับผิดชอบมีคามากกวาของช้ันประทวนในทุกดาน การพิจารณาความดีความชอบของผูบังคับบัญชาควรพิจารณาดวยความเปนธรรม ผูบังคับบัญชา ควรใหความสนใจตอผูใตบังคับบัญชาใหมาก ควรอยูปฏิบัติหนาที่ ควบคุมการปฏิบัติงานใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และควรมกีารฝกอบรมเจาหนาที่ตํารวจวิทยาการสมัยใหมอยางสม่ําเสมอ สวนความตองการสวนใหญมีความตองการงบประมาณ สวสัดิการ ตลอดจนวัสดอุุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชในการปฏิบัติงานที่เพียงพอและตองการใหผูบังคับบัญชาใหความสําคญักับผูใตบังคับบัญชาเพื่อขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน พระบุญจันทร ผาคํา (2547, บทคัดยอ) ไดทําการวิจยัเร่ือง แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของผูบริหาร อาจารย และเจาหนาที่ในมหาวิทยาลัยมหาจฬุาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน พบวา แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของผูบริหาร อาจารยและเจาหนาที่ในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน ในปจจัยจูงใจและปจจยัสุขอนามัย โดยรวมอยูในระดบัปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนราย ดานปจจยัจงูใจ พบวาอยูในระดับมาก เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ไดแก ลักษณะเจาของงาน ดานการไดรับความสําเร็จในงาน และดานการยอมรบันับถือ นอกนั้นอยูในระดับปานกลาง เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยมากไปหานอย ไดแก ดานความกาวหนาในงาน และดานความรับผิดชอบ สําหรับปจจัยสุขอนามัย พบวาอยูในระดับมาก 1 ดาน ไดแก ดานความสัมพันธระหวางบุคคลในหนวยงาน นอกนั้นอยูในระดับปานกลาง เรียงตามลําดบัคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ไดแก ดานความมั่นคงในการทํางาน ดานสภาพแวดลอมในการทํางาน ดานนโยบายและการบริหารงาน และดานเงินเดือนและคาจาง เรย (Ray. 1987, p. 24–A) ไดทําการวจิัยเร่ือง ปจจัยจูงใจของครูโรงเรียนประถมศึกษาของรัฐบาลในเมืองหลวง พบวา การประสบความสําเร็จในงาน การไดรับการยอมรบันับถือ ความสัมพันธกับบุคคลอื่น กับกลุมเพื่อนผูปกครอง มีผลในทางบวกกบัแรงจูงใจ เงนิเดือน ความมั่นคง ในงานทั้งทางบวกและทางลบ แรงจงูใจขึ้นอยูกับแรงจูงใจภายใน แรงจูงใจภายนอก ไดแก ลักษณะงาน

กรอบแนวคดิในการวิจัย

จากการสํารวจกรอบแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยัที่เกีย่วของกับทฤษฎีเฟรดเดอริก เฮอรซเบอรก จะเห็นไดวา แรงจูงใจการปฏิบัติงานงานประกอบดวย 1) องคประกอบที่เกี่ยวของกบัการปฏิบัติงานที่ประกอบดวยดานตาง ๆ คอื 1.1 ความสําเร็จของงาน 1.2 การไดรับการยอมรับ นับถือ 1.3 ความกาวหนาในตําแหนงการงาน 1.4 ลักษณะงานความรับผิดชอบ และ

Page 33: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

24

2) องคประกอบที่ไมเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานโดยตรงที่ประกอบดวยดานตาง ๆ คอื 2.1 การบังคับบัญชา 2.2 นโยบายการบริหาร 2.3 สภาพการทํางาน 2.4 ความสัมพันธระหวางบุคคล 2.5 เงินเดือน 2.6 ความมั่นคงในงาน 2.7 ชีวิตสวนตวั โดยกําหนดเปนตัวแปรตามในการศึกษา สวนปจจยัที่มผีลตอแรงจูงใจในการทํางานประกอบดวยปจจยัดานเศรษฐกิจและสังคม ไดแก รายได สถานภาพทางครอบครัว ระดับการศึกษา และปจจยัดานลักษณะงาน ไดแก อายุราชการ ระดับตําแหนง โดยกําหนดเปนตัวแปรอิสระในการศึกษา

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิในการวิจัย

ปจจัยดานเศรษฐกิจและสังคม - รายได - ภาระความรบัผิดชอบ ตอครอบครัว - ระดับการศึกษา

ปจจัยลักษณะงาน - อายุราชการ - ระดับตําแหนง

องคประกอบที่เกี่ยวของกับ - ความสําเร็จของงาน - การไดรับความยอมรับนบัถือ - ความกาวหนาในตําแหนง - ลักษณะงานความรับผิดชอบ

องคประกอบที่เกี่ยวของกับ - การบังคับบญัชา - นโยบายการบริหาร ความสัมพันธระหวางบุคคล - เงินเดือน - ความมั่นคงในงาน - ชีวิตสวนตัว

Page 34: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

25

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย การศึกษาวิจยัคร้ังนี้ เปนการศึกษาวจิัยเชิงปริมาณเปนการศึกษารวบรวมขอมูลจากเอกสารตาง ๆ ทั้งที่เปนทฤษฎี แนวคดิและผลงานที่เกี่ยวของกับแรงจูงใจในการทํางาน

ประชากร

ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ ไดแก ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล จํานวน 135 คน สําหรับในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดทําการแจกแบบสอบถามไปจํานวน 135 ชุด โดยมีแบบสอบถามที่ไดรับกลับคืนมาและมีความสมบูรณ จํานวน 135 ชุด คิดเปน 100 เปอรเซ็นต

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการทํางาน โดยแบงเปน 2 ตอน ดังนี ้ ตอนที่ 1 เกีย่วกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก อายุ ระดับรายได ระดับการศึกษา อายรุาชการ ระดับตําแหนง สภาพครอบครัว ลักษณะของคําถามเปนแบบใหเลือกตอบเกี่ยวกับตวัผูตอบ มีคําถามทั้งสิ้น 6 ขอ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความรูสึกที่มีตอแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล ประกอบดวย 1. องคประกอบที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานไดแก ความสําเร็จของงาน การไดรับความยอมรับนับถือ ความกาวหนาในตําแหนงการงาน ลักษณะงานความรับผิดชอบ 2. องคประกอบที่ไมเกี่ยวกบัการปฏิบัติงานไดแก การบงัคับบัญชา นโยบายการบริหาร สภาพการทํางาน ความสัมพันธระหวางบุคคล เงินเดือน ความมั่นคงในงาน และชวีิตสวนตวั ลักษณะของคําถามเปนแบบใหขอความและใหผูตอบประเมินตามระดบัของความตรงกันของขอความที่ถามกบัความจริงเกีย่วกับงานที่ทําอยูเปนแบบมาตราลิเคิรท (Likert scale)

Page 35: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

26

โดยดัดแปลงเปน 4 ระดับ คอื เห็นดวยอยางยิ่ง เหน็ดวย ไมเห็นดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง มีขอคําถามในแตละดาน ๆ ละ 5 ขอ รวมทั้งสิ้น 55 ขอ มีการใหคะแนนดังนี้ เห็นดวยอยางยิ่ง เทากับ 4 คะแนน เห็นดวย เทากับ 3 คะแนน ไมเห็นดวย เทากับ 2 คะแนน ไมเห็นดวยอยางยิ่ง เทากับ 1 คะแนน

การสรางและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ

ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามที่สรางขึ้นสําหรับการศึกษาไปทดสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่น ดังนี ้ 1. การหาความเที่ยงตรง (validity) โดยนําแบบสอบถามที่ผูศึกษาสรางขึ้นเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษาปญหาพิเศษ เพื่อทําการตรวจสอบความถูกตอง เที่ยงตรง เชิงเนื้อหา (content validity) ของคําถามในแตละขอวา ตรงตามจุดมุงหมายของการศึกษาครั้งนี้หรือไม หลังจากนัน้กน็ํามาแกไขปรับปรุงเพื่อดําเนินการในขั้นตอไป 2. การหาความเชื่อมั่น (reliability) ผูศึกษาจะหาความเชือ่มั่นโดยนําแบบสอบถามไปทดสอบกับประชากรในกลุมที่มีลักษณะใกลเคียงกับกลุมที่จะศึกษา จํานวน 30 ราย หาความเชื่อมั่นรวมโดยวิธีการของครอนบาช (Cronbach) ไดคาความเชื่อมั่นขององคประกอบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน = 0.92 องคประกอบทีไ่มเกี่ยวของกบัการปฏิบัติงานโดยตรง = 0.88 และแรงจูงใจในการทํางานโดยรวม = 0.91

การเก็บรวบรวมขอมูล

ผูศึกษาไดดําเนินการจดัสงแบบสอบถามไปยังประชากรและเก็บรวบรวมแบบสอบถามคืนดวยตัวเอง ซ่ึงไดรับแบบสอบถามคืนทั้งหมด รวม 135 ชุด คิดเปน 100 เปอรเซ็นต การศึกษาคร้ังนี้ใชเวลาในการเก็บรวบรวมขอมูลระหวางวันที ่1 - 30 กรกฎาคม 2548 รวม ระยะเวลา 30 วัน

การประมวลผลขอมูลและการวิเคราะหขอมลู

การวิเคราะหขอมูลสําหรับการวิจัยนี้แบงการวิเคราะหออกเปน 1. การประมวลผลขอมูล ใชโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับการวิจยัเชิงสังคมศาสตร โดยมีขั้นตอน ดังนี ้

Page 36: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

27

1.1 ตรวจสอบความสมบูรณ และความถกูตองของแบบสอบถามหลังจาก 1.2 บันทึกขอมูลที่เปนรหัสลงในแบบบันทึกขอมูล และเครื่องคอมพิวเตอรตามลําดับ 1.3 ตรวจสอบความถูกตองของขอมูลโปรแกรมคอมพวิเตอร 1.4 ประมวลผลขอมูลตามจุดมุงหมายของการศึกษาวิจยั 2. การวิเคราะหขอมูล ทําการวิเคราะหขอมูลตามวัตถุประสงค โดยใชสถิติดังตอไปนี้ สถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistics) เพือ่จัดทําเปนหมวดหมูและเพือ่ทราบความคิดเห็นของกลุมประชากรที่ศกึษาในครั้งนี้ จะทําการศกึษาวิเคราะหโดยใชคารอยละ (percentage) และคาเฉลี่ย การเปรียบเทยีบเนื่องจากเปนคาของประชากร (parameter) แลวจึงใชคา µ เปรียบเทียบแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล 3. กําหนดตัวแปรในการวิจยั ดังนี ้ 3.1 ตัวแปรอสิระ (independent variable) ซ่ึงจําแนกเปน 2 ดาน คือ 3.1.1 ปจจัยดานเศรษฐกจิและสังคม ไดแก 3.1.1.1 ระดับรายได 3.1.1.2 สถานภาพทางครอบครัว 3.1.1.3 ระดับการศึกษา 3.1.2 ปจจัยดานลักษณะงาน ไดแก 3.1.2.1 อายุราชการ 3.1.2.2 ระดับตําแหนง 3.1.2.3 อายุราชการ 3.2 ตัวแปรตาม (dependent variable) ซ่ึงจําแนกแรงจูงใจในการทํางานเปน 2 ดาน คือ 3.2.1 องคประกอบที่เกี่ยวของกับปจจยัจูงใจ ไดแก 3.2.1.1 ความสําเร็จของงาน 3.2.1.2 การไดรับความยอมรับนับถือ 3.2.1.3 ความกาวหนาในตําแหนงการงาน 3.2.1.4 ลักษณะงานความรบัผิดชอบ 3.2.2 องคประกอบที่เกี่ยวของกับปจจยัค้ําจุน ไดแก 3.2.2.1 การบังคับบัญชา 3.2.2.2 นโยบายการบริหาร

Page 37: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

28

3.2.2.3 สภาพการทํางาน 3.2.2.4 ความสัมพันธระหวางบุคคล 3.2.2.5 เงินเดอืน 3.2.2.6 ความมั่นคงในงาน 3.2.2.7 ชีวิตสวนตวั เกณฑการแปลผล นําผลคะแนนที่ไดมาวเิคราะหหาคาเฉลี่ยเลขคณิต โดยมีเกณฑในการแปลความ ดังนี ้ สูตร การหาอันตรภาคชั้น =

NN 1− =

414 − = 0.75

แทนคา N = 4 เกณฑคาเฉล่ียในการแปลความ คาเฉลี่ย 3.26 - 4.00 หมายถึง ระดับแรงจูงใจในการทํางานสูงที่สุด คาเฉลี่ย 2.51 - 3.25 หมายถึง ระดับแรงจูงใจในการทํางานคอนขางสูง คาเฉลี่ย 1.76 - 2.50 หมายถึง ระดับแรงจูงใจในการทํางานคอนขางต่ํา คาเฉลี่ย 1.00 - 1.75 หมายถึง ระดับแรงจูงใจในการทํางานต่ําที่สุด

Page 38: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

บทที่ 4

ผลการศึกษา การศึกษาเรื่องแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงแรงจูงใจในการทํางานปจจัยที่มีความสัมพนัธแรงจูงใจในการทํางานตลอดจนปญหาอุปสรรคและแนวทางสงเสริมแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานุกูล เปนการเก็บรวบรวมขอมูลประชากร คือ ขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานุกูล จํานวน 135 คน ซ่ึงผูศึกษานําเสนอผลการศึกษาไดดังนี ้ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม สวนที ่2 แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล

สวนที่ 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกลูที่ปฏิบัติงานจําแนกตามอาย ุ

อายุ จํานวน รอยละ 20-30 2 1.50 31-40 19 14.10 41-50 66 48.90

51ขึ้นไป 48 35.50 รวม 135 100.00

จากตารางที่ 2 พบวาอายุของขาราชการครูโรงเรียนชลกนัยานกุูล สวนใหญมีอายุระหวาง 41 - 50 ป คิดเปนรอยละ 48.90 อันดับรองลงมาคือผูมีอาย ุ51 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 35.50 สวนกลุมที่มีอายุระหวาง 31 – 40 ป คิดเปนรอยละ 14.10 และกลุมที่มีอายุระหวาง 20 – 30 ป คิดเปนรอยละ 1.50

Page 39: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

30

ปจจัยท่ีเก่ียวกับคุณภาพชีวิตการทํางาน 1. ปจจัยดานเศรษฐกิจและสังคม 1.1 ระดับรายได

ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกลูที่ปฏิบัติงานจําแนกตาม ระดับรายได (เงินเดือนและเงินรายไดอ่ืน ๆ นอกเหนือจากเงินเดือน)

ระดับรายได จํานวน รอยละ 5,000-10,000 1 0.70 10,001-20,000 23 17.00 20,001-30,000 84 62.30 30,001ขึ้นไป 27 20.00

รวม 135 100.00

จากตารางที่ 3 ผลการศึกษาพบวา สวนใหญมีรายไดระหวาง 20,001-30,000บาท คิดเปนรอยละ 62.30 รองลงมา คือ กลุมที่มีรายไดมากกวา 30,001 บาทขึ้นไป คิดเปนรอยละ 20.00 สวนกลุมผูมีรายไดระหวาง 10,001 – 20,000 คิดเปนรอยละ 17.00 และกลุมผูมีรายไดระหวาง 5,000 - 10,000 บาท คิดเปนรอยละ 0.07 1.2 สถานภาพครอบครัว

ตารางที่ 4 จํานวนและรอยละของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลที่ปฏิบัติงานจําแนกตาม สถานภาพครอบครัว

สถานภาพครอบครัว จํานวน รอยละ สมรส 107 79.30 โสด 25 18.50

หยาราง 3 2.20 รวม 135 100.00

จากตารางที ่4 พบวา สวนใหญมีสถานภาพสมรส คิดเปนรอยละ 79.30 กลุมผูที่มีสถานภาพโสด คิดเปนรอยละ 18.50 และกลุมผูที่หยาราง คิดเปนรอยละ 2.2 0

Page 40: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

31

1.3 วุฒิการศกึษาชั้นสูงสุดที่ไดรับ

ตารางที่ 5 จํานวนและรอยละของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกลูที่ปฏิบัติงานจําแนกตามวฒุิ การศึกษาชั้นสูงสุดที่ไดรับ

วุฒิการศึกษาชัน้สูงสุดที่ไดรับ จํานวน รอยละ ปริญญาตรี 108 80.00 ปริญญาโท 27 20.00

รวม 135 100.00

จากตารางที ่5 พบวา สวนใหญมีวุฒิการศกึษาวฒุิการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเปน รอยละ 80.00 และกลุมผูที่มวีุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท คิดเปนรอยละ 20.00 2. ปจจัยดานลักษณะงาน 2.1 ระดับตําแหนง

ตารางที่ 6 จํานวนและรอยละของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกลูที่ปฏิบัติงานจําแนกตาม ระดับตําแหนง

ระดับ จํานวน รอยละ คศ.1 4 3.00 คศ.2 117 86.70 คศ.3 13 9.60 คศ.4 1 0.70

รวม 135 100.00

จากตารางที ่6 พบวา สวนใหญมีระดับตําแหนงครู คศ.2 คิดเปนรอยละ 86.70 รองลงมาคือครู คศ.3 คิดเปนรอยละ 9.60 ครู คศ.1 คิดเปนรอยละ 3.00 และครู คศ.4 คิดเปนรอยละ 0.70

Page 41: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

32

2.2 อายุราชการ

ตารางที่ 7 จํานวนและรอยละของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกลูที่ปฏิบัติงานจําแนกตาม อายุราชการ

อายุราชการ จํานวน รอยละ 1-10 ป 4 3.00 11-20 ป 21 15.50 21-30 ป 81 60.00

31 ปขึ้นไป 29 21.50 รวม 135 100.00

จากตารางที ่7 พบวา สวนใหญมีอายุราชการ 21 – 30 ป คิดเปนรอยละ 60.00 รองลงมาคือ กลุมผูที่มีอายุราชการมากกวา 31 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 21.50 กลุมผูมีอายุราชการระหวาง 11 – 20 ป คิดเปนรอยละ 15.50 และกลุมผูที่มอีายุราชการระหวาง 10 – 20 ป คิดเปนรอยละ 3.00 3. แรงจูงใจในการทํางาน จําแนกตามองคประกอบที่เกีย่วของกับการทาํงาน

ตารางที่ 8 ระดับแรงจูงใจในการทํางานในดานขององคประกอบที่เกีย่วของกับการทาํงาน

ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ดานองคประกอบที่เกี่ยวของ กับการปฏิบัติงาน µ σ ระดับ

อันดับ

ดานความสําเรจ็ของงาน 3.32 (83.00)

.38 สูงที่สุด 1

ดานการไดรับความยอมรับนับถือ 3.00 (75.00)

.41 คอนขางสูง 2

ความกาวหนาในตําแหนงการงาน 2.61 (65.25)

.46 คอนขางสูง 4

ดานลักษณะงานความรับผิดชอบ 2.83 (70.75)

.48 คอนขางสูง 3

รวม 2.94 .35 คอนขางสูง

Page 42: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

33

จากตารางที่ 8 พบวา แรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลในภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง เมื่อจําแนกแตละดานขององคประกอบที่เกี่ยวของกบัการปฏิบัติงาน พบวา ดานความสําเร็จของงานมีระดับแรงจงูใจในการปฏิบัติงานอยูในระดับสูงที่สุด ดานการไดรับความยอมรับ นับถือ ดานลักษณะงานความรับผิดชอบ ดานความกาวหนาในตําแหนงการงานมีระดับแรงจูงใจในการทาํงานอยูในระดับคอนขางสูงรองลงมาตามลําดับ

ตารางที่ 9 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานความสําเร็จของงาน

ดานความสําเรจ็ของงาน µ σ แปลความ อันดับ 1. ความสําเร็จของงานคือชีวิตจิตใจของการทํางาน 3.46 0.53 สูงที่สุด 1 2. ทานเปนบคุคลประเภททีต่องทํางานใหสมบูรณ แบบที่สุด

3.27

0.55

สูงที่สุด

3

3. ทานรีบทํางานใหสําเร็จลุลวง เมื่อไดรับมอบหมาย จากผูบังคับบัญชา

3.25

0.48

คอนขางสูง

4

4. ทานรูสึกพอใจเปนอยางมากในความสําเร็จที่ทาน ไดรับจากการทํางาน

3.45

0.53

สูงที่สุด

2

5. ทานมีความภาคภูมใิจมากกับตําแหนงหนาที่การ งานที่ปฏิบัติอยูในขณะนี ้

3.16 0.58 คอนขางสูง 5

ภาพรวม 3.32 .38 สูงที่สุด

จากตารางที่ 9 พบวา แรงจงูใจในการทํางานดานความสําเร็จของงานในภาพรวมอยูในระดับสูงที่สุด เมื่อแยกเปนรายขอตามลําดบัการปฏิบัติงานดานความสําเร็จของงาน ไดดังนี ้ ความสําเร็จของงานคือชีวิตจิตใจของการทํางาน ระดับการปฏิบัติงานดานความสําเรจ็ของงานเปนอนัดับ 1 รองลงมาคือ ทานรูสึกพอใจเปนอยางมากในความสําเร็จที่ทานไดรับจากการทํางาน อันดับ 3 คือ ทานเปนบุคคลประเภทที่ตองทํางานใหสมบูรณ แบบที่สุด อันดบั 4 คือ ทานรีบทํางานใหสําเร็จลุลวง เมื่อไดรับมอบหมายจากผูบังคับบัญชา และอันดับสุดทาย คือ ทานมีความภาคภูมิใจมากกับตําแหนงหนาทีก่ารงานที่ปฏิบัติอยูในขณะนี ้

Page 43: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

34

ตารางที่ 10 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานความกาวหนาของงาน

ดานความกาวหนาของงาน µ σ แปลความ อันดับ 1. โรงเรียนชลกันยานกุูลไดใชหลักระบบคุณธรรม อยางเครงครัดในการพจิารณาความดีความชอบ หรือการเลื่อนตําแหนง

2.50

.65

คอนขางสูง

3

2. ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลมีโอกาส กาวหนา ในหนาทีก่ารงานมากกวาขาราชการครูใน ที่อ่ืน ๆ

2.47

.62

คอนขางต่ํา

4

3. การปฏิบัติงานในโรงเรียนชลกันยานุกลู ทําใหทาน มีโอกาสประสบความสําเร็จในชวีิตตามจุดมุงหมาย ของทาน

2.78

.61

คอนขางสูง

2

4. ทานเคยไดรับการสนับสนุนจากผูบังคบับัญชาใน การปรับหรือโยกยายตําแหนงใหกาวหนากวาเดิม

2.46

.60

คอนขางต่ํา

5

5. ทานไดรับการสนับสนุนในเรื่องการศึกษาดูงาน การเขารวมประชุม สัมมนาหรือการอบรมเพื่อ พัฒนาวิชาชีพครู

2.90

.65 คอนขางสูง

1

ภาพรวม 2.61 .46 คอนขางสูง

จากตารางที่ 10 พบวา แรงจูงใจในการทาํงานดานความกาวหนาของงานในภาพรวม อยูในระดับคอนขางสูง เมื่อแยกเปนรายขอตามลําดับการปฏิบัติงานดานความกาวหนาของงาน ไดดังนี ้ ทานไดรับการสนับสนุนในเรื่องการศึกษาดูงาน การเขารวมประชุม สัมมนาหรือการอบรมเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู ระดับการปฏบิัติงานดานความกาวหนาของงานเปนอันดบั 1 รองลงมาคือ การปฏิบัติงานในโรงเรียนชลกันยานุกลู ทําใหทานมโีอกาสประสบความสําเรจ็ในชีวิตตามจุดมุงหมายของทาน อันดับ 3 คือ โรงเรียนชลกันยานุกลูไดใชหลักระบบคุณธรรม อยางเครงครัดในการพจิารณาความดีความชอบหรือการเลื่อนตําแหนงที่สุด อันดับ 4 คือ ขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานกุูลมีโอกาสกาวหนา ในหนาที่การงานมากกวาขาราชการครูในที่อ่ืน ๆ และอันดับสุดทาย คือ ทานเคยไดรับการสนับสนุนจากผูบังคบับัญชาในการปรับหรือโยกยายตําแหนงใหกาวหนากวาเดิม

Page 44: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

35

ตารางที่ 11 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานลักษณะความรับผิดชอบ

ดานลักษณะงานความรับผิดชอบ µ σ แปลความ อันดับ 1. ทานมีโอกาสใชความรูความสามารถในการทํางาน อยางเต็มที ่

3.19

.62

สูงที่สุด

1

2. ในการปฏบิัติงาน ทานมสีวนชวยทั้งในการ วางแผนและการลงมือปฏิบัติงานนั้น

2.79

.65

คอนขางสูง

2

3. ทานมักไดรับมอบหมายจากผูบังคับบัญชาให รับผิดชอบโครงการพิเศษที่มิใชงานในหนาที ่ ประจําที่มคีวามสําคัญตอโรงเรียนชลกันยานุกูล

2.68

.75

คอนขางสูง

5

4. งานที่ทานปฏิบัติอยูมีลักษณะงานและความ รับผิดชอบที่ทานสามารถทํางานไดดวยตนเองอยาง อิสระ

2.76

.56

คอนขางสูง

3

5. งานที่ทานทําอยูมีความหลากหลายไมซํ้าซากจําเจ จนนาเบื่อ

2.70 .72 คอนขางสูง

4

ภาพรวม 2.83 .48 คอนขางสูง

จากตารางที่ 11 พบวา แรงจูงใจในการทาํงานดานลักษณะความรับผิดชอบในภาพรวม อยูในระดับคอนขางสูง เมื่อแยกเปนรายขอตามลําดับการปฏิบัติงานดานลักษณะความรับผิดชอบ ไดดังนี ้ ทานมีโอกาสใชความรูความสามารถในการทํางานอยางเต็มที่ ระดับการปฏิบัติงานดานลักษณะความรับผิดชอบ เปนอันดับ 1 รองลงมาคือ ในการปฏิบัติงาน ทานมีสวนชวยทั้งในการวางแผนและการลงมือปฏิบัติงานนั้น อันดับ 3 คือ งานที่ทานปฏิบัติอยูมีลักษณะงานและความรับผิดชอบที่ทานสามารถทํางานไดดวยตนเองอยางอิสระ อันดับ 4 คือ งานที่ทานทําอยูมีความหลากหลายไมซํ้าซากจําเจจนนาเบื่อและอนัดับสุดทาย คือ ทานมักไดรับมอบหมายจากผูบังคับบัญชาใหรับผิดชอบโครงการพิเศษที่มิใชงานในหนาที่ประจาํที่มีความสําคัญตอโรงเรียน ชลกันยานกุูล

Page 45: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

36

4. แรงจูงใจในการทํางาน จําแนกตามองคประกอบที่ไมเกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน

ตารางที่ 12 ระดับแรงจูงใจในการทํางานในแตละดานขององคประกอบที่ไมเกี่ยวของกับการ ปฏิบัติงาน

ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ดานองคประกอบที่ไมเกี่ยวของ กับการปฏิบัติงาน µ σ ระดับ

อันดับ

ดานการบังคับบัญชา 2.40 (60.00)

.54 คอนขางต่ํา 7

ดานนโยบายการบริหาร 2.54 (63.50)

.44 คอนขางสูง 6

ดานสภาพการทํางาน 2.67 (66.75)

.55 คอนขางสูง 4

ดานความสัมพันธระหวางบุคคล 2.66 (66.50)

.75 คอนขางสูง 5

ดานเงินเดือน / สวัสดิการ 2.73 (68.25)

.45 คอนขางสูง 3

ดานความมัน่คงในงาน 2.82 (70.50)

.41 คอนขางสูง 2

ดานชีวิตสวนตัว 3.11 (77.75)

.47 สูงที่สุด 1

รวม 2.71 .35 คอนขางสูง

จากตารางที่ 12 พบวา แรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกลู ในภาพรวมอยูในระดบัคอนขางสูง เมื่อจําแนกแตละดานขององคประกอบที่ไมเกีย่วของกับการปฏิบัติงานโดยตรงพบวา ดานชีวิตสวนตวัมีระดับแรงจงูใจในการปฏิบัติงานอยูในระดับสูงที่สุด ดานความมัน่คงในงานดานเงินเดือน / สวสัดิการ ดานสภาพการทํางาน ดานความสัมพันธระหวางบุคคล ดานนโยบายการบรหิารอยูในระดบัคอนขางสงูรองลงมาตามลําดับและดานการบังคับบัญชามีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานอยูในระดับคอนขางต่ํา

Page 46: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

37

ตารางที่ 13 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานการบังคับบัญชา

การบังคับบัญชา µ σ แปลความ อันดับ 1. ผูบังคับบัญชาของทานทํางานในลักษณะที่ไดทั้ง งานและครองใจคน

2.31

.64

คอนขางต่ํา

4

2. ทานมีโอกาสเสนอความคิดเห็นขอเสนอแนะตอ ผูบังคับบัญชาเสมอ ๆ

2.89

.63

คอนขางสูง

1

3. ทานมีความไววางใจและเชื่อมั่นในตวัผูบังคับ บัญชาของทานมาก

2.61

.68

คอนขางสูง

2

4. ทานรูสึกไดรับความเปนธรรมในการมอบหมาย งานหรือแจกจายงานจากผูบังคับบัญชาของทาน

2.61

.57

คอนขางสูง

3

5. เมื่อทานมปีญหาเกิดขึน้ทั้งในดานปญหาสวนตวั และปญหาในเรื่องการทํางาน ทานสามารถเดินไป เคาะประตหูองผูบังคับบัญชา แลวปรึกษาหารือ เร่ืองตาง ๆ ได

2.30

.72 คอนขางต่ํา

5

ภาพรวม 2.40 .54 คอนขางต่ํา

จากตารางที่ 13 พบวา แรงจูงใจในการทาํงานดานการบังคับบัญชาในภาพรวมอยูในระดับคอนขางต่ํา เมื่อแยกเปนรายขอตามลําดับการปฏิบัติงานดานลักษณะความรับผิดชอบ ไดดังนี ้ ทานมีโอกาสเสนอความคิดเห็นขอเสนอแนะตอผูบังคับบัญชาเสมอ ๆ เปนอันดับ 1 รองลงมาคือ ทานมีความไววางใจและเชื่อมั่นในตวัผูบังคับบัญชาของทานมาก อันดับ 3 คือ ทานรูสึกไดรับความเปนธรรมในการมอบหมายงานหรือแจกจายงานจากผูบังคับบัญชาของทาน อันดับ 4 คือ ผูบังคับบัญชาของทานทํางานในลักษณะทีไ่ดทั้งงานและครองใจคน และอันดับสุดทาย คือ เมือ่ทานมีปญหาเกิดขึ้นทั้งในดานปญหาสวนตัวและปญหาในเรื่องการทํางาน ทานสามารถเดินไปเคาะประตหูองผูบังคับบัญชา แลวปรึกษาหารือเร่ืองตาง ๆ ได

Page 47: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

38

ตารางที่ 14 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานนโยบายการบริหาร

ดานนโยบายการบริหาร µ σ แปลความ อันดับ 1. ทานรูสึกพอใจนโยบายการบริหารงานของ โรงเรียนชลกันยานกุูลเพราะทําใหการปฏิบัติงาน คลองตัว

2.36

.60

คอนขางต่ํา

4

2. ทานมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและ ขอบังคับตาง ๆ ของโรงเรียนชลกันยานุกูล

2.33

.63

คอนขางสูง

5

3. ทานสามารถนํานโยบายของโรงเรียนชลกันยานุกูล มาปฏิบัติไดจนบรรลุผล

2.63

.60

คอนขางสูง

3

4. นโยบายในการบริหารงานโรงเรียนชลกันยานุกูล มักมีการเปลี่ยนแปลงอยูบอยครั้งทําใหทานเกิด ความสับสนในการปฏิบัติงาน

2.67

.84

คอนขางสูง

2

5. โรงเรียนชลกันยานกุูลไดกําหนดนโยบายและ แนวทางการปฏิบัติงานของโรงเรียนชลกันยานุกูล ไวอยางชดัเจน

2.69 .60 คอนขางสูง

1

ภาพรวม 2.54 .44 คอนขางสูง

จากตารางที่ 14 พบวา แรงจูงใจในการทาํงานดานนโยบายการบริหารในภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง เมื่อแยกเปนรายขอตามลําดับการปฏิบัติงานดานนโยบายการบริหาร ไดดังนี ้ โรงเรียนชลกนัยานกุูลไดกําหนดนโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานของโรงเรียน ชลกันยานกุูลไวอยางชดัเจน เปนอันดับ 1 รองลงมาคือ นโยบายในการบริหารงานโรงเรียน ชลกันยานกุูลมักมีการเปลี่ยนแปลงอยูบอยคร้ังทําใหทานเกิดความสับสนในการปฏบิัติงาน อันดับ 3 คือ ทานสามารถนํานโยบายของโรงเรียนชลกนัยานกุูลมาปฏิบัติไดจนบรรลุผล อันดับ 4 คือ ทานรูสึกพอใจนโยบายการบริหารงานของโรงเรียนชลกันยานกุูลเพราะทําใหการปฏิบัติงานคลองตัว และอันดับสุดทาย คือ ทานมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและขอบังคับตาง ๆ ของโรงเรียนชลกนัยานกุูล

Page 48: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

39

ตารางที่ 15 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานสภาพการทํางาน

ดานสภาพการทํางาน µ σ แปลความ อันดับ 1. ทานรูสึกวาบรรยากาศในการทํางานของทานมี ลักษณะเปนประชาธิปไตย

2.47

.67

คอนขางต่ํา

5

2. หนวยงานของทานมีการจัดสถานที่ทํางานและจดั วางของใชอยางมีระเบยีบ ชวยใหทํางานได สะดวก รวดเร็ว และปลอดภยั

2.72

.55

คอนขางสูง

3

3. ทานมีอุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชในการทํางาน อุปกรณ ประจําสํานักงานที่เอื้ออํานวยตอการ ปฏิบัติงานของทาน

2.88

.56

คอนขางสูง

1

4. สภาพการทํางานของทานและเพื่อนรวมงานมี ลักษณะเปนการชวยกันคิดชวยกันทํา รวมกัน รับผิดชอบ

2.75

.62

คอนขางสูง

2

5. ทานรูสึกพอใจอยางมากในการรักษาความสะอาด อาคารและสถานที่ตาง ๆ ของโรงเรียนชลกันยานกุูล

2.53

1.92 คอนขางสูง

4

ภาพรวม 2.67 .55 คอนขางสูง

จากตารางที่ 15 พบวา แรงจูงใจในการทาํงานดานสภาพการทํางานในภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง เมื่อแยกเปนรายขอตามลําดับการปฏิบัติงานดานนโยบายการบริหาร ไดดังนี ้ ทานมีอุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชในการทํางานอุปกรณ ประจําสํานักงานที่เอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงานของทาน เปนอันดับ 1 รองลงมาคือ สภาพการทํางานของทานและเพือ่นรวมงานมี ลักษณะเปนการชวยกนัคิดชวยกันทํารวมกนัรับผิดชอบ อันดับ 3 คือ หนวยงานของทานมีการจัดสถานที่ทํางานและจัดวางของใชอยางมีระเบียบ ชวยใหทาํงานได สะดวก รวดเรว็ และปลอดภัย อันดับ 4 คือ ทานรูสึกพอใจอยางมากในการรักษาความสะอาดอาคารและสถานที่ตาง ๆ ของโรงเรียน และอันดับสุดทาย คือ ทานรูสึกวาบรรยากาศในการทํางานของทานมีลักษณะเปนประชาธิปไตย

Page 49: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

40

ตารางที่ 16 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานความสัมพันธระหวางบุคคล

ดานความสัมพันธระหวางบุคคล µ σ แปลความ อันดับ 1. มีความเปนกันเองระหวางผูบังคับบัญชาของทาน กับผูใตบังคับบัญชา

2.52

.74

คอนขางสูง

3

2. เพื่อนรวมงานในหนวยงานที่ทานทํางานอยู มีความ สามัคคีกันดีไมแบงพรรคแบงพวก

2.44

.73

คอนขางต่ํา

4

3. ทานมักเขารวมกิจกรรมที่จัดทําภายในหนวยงาน ของทาน เชน งานเลี้ยงสังสรรค งานแขงขันกฬีา งานพิธีการตาง ๆ เปนตน

3.07

.61

คอนขางสูง

1

4. ทานมักใชเวลาวันละครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมงหลัง เวลาเลิกงานในการพูดคยุแลกเปลีย่นขอคิดเห็นใน เร่ืองการทํางาน

2.79

.68

คอนขางสูง

2

5. เมื่อทานมปีญหาสวนตวั ทานสามารถนําปญหา นั้น ๆ ปรึกษาผูบังคับบญัชาได

2.27 .66 คอนขางต่ํา

5

ภาพรวม 2.66 .75 คอนขางสูง

จากตารางที่ 16 พบวา แรงจูงใจในการทาํงานดานความสัมพันธระหวางบุคคลในภาพรวม อยูในระดับคอนขางสูง เมื่อแยกเปนรายขอตามลําดับการปฏิบัติงานความสัมพันธระหวางบุคคล ไดดังนี ้ ทานมักเขารวมกิจกรรมที่จดัทําภายในหนวยงานของทาน เชน งานเลี้ยงสังสรรค งานแขงขันกฬีา งานพิธีการตาง ๆ เปนตน เปนอันดับ 1 รองลงมาคือ ทานมักใชเวลาวนัละครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมงหลังเวลาเลิกงานในการพูดคยุแลกเปลีย่นขอคิดเห็นในเรือ่งการทํางาน อันดับ 3 คือมีความเปนกันเองระหวางผูบงัคับบัญชาของทานกับผูใตบังคับบัญชา อันดับ 4 คือ เพื่อนรวมงานในหนวยงานที่ทานทํางานอยู มีความสามัคคีกันดีไมแบงพรรคแบงพวก และอันดับสุดทาย คือ เมื่อทานมีปญหาสวนตวั ทานสามารถนําปญหานั้น ๆ ปรึกษาผูบังคับบัญชาได

Page 50: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

41

ตารางที่ 7 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานเงินเดือน/สวัสดิการ

ดานเงินเดือน/สวัสดิการ µ σ แปลความ อันดับ 1. ทานคิดวาเงินรายไดที่ทานไดรับพอเพยีงกับ คาครองชีพในปจจุบนัโดยไมเดือดรอน

2.73

.75

คอนขางสูง

2

2. เงินเดือนทีท่านไดรับในปจจุบันเหมาะสมกับงานที ่ รับผิดชอบ

2.73

.70

คอนขางสูง

3

3. บัญชีอัตราเงินเดือนของขาราชการครูไมควรเทากับ บัญชี เงินเดือนขาราชการพลเรือนทั่วไป ควรแยก เปนบัญชี พิเศษเชนเดยีวกับอาจารยมหาวิทยาลัย

3.27

.68

สูงที่สุด

1

4. โรงเรียนชลกันยานกุูลไดจัดใหมีสวัสดิการและ บริการเพิ่มเติมตาง ๆ ใหแกทานอยางเพียงพอ

2.55

.65

คอนขางสูง

4

5. ทานคิดวาระดับเงนิเดือนของทานอยูในเกณฑ ที่ เหมาะสม เมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการสังกัด อ่ืน ๆ เชน ขาราชการ ตํารวจ ขาราชการอัยการ ขาราชการตุลาการ เปนตน

2.35

.69 คอนขางต่ํา

5

ภาพรวม 2.73 .45 คอนขางสูง

จากตารางที่ 17 พบวา แรงจูงใจในการทาํงานดานเงนิเดือน/สวัสดิการ ในภาพรวมอยูในระดบัคอนขางสูง เมื่อแยกเปนรายขอตามลําดับการปฏิบัติงานดานเงินเดือน/สวัสดิการ ไดดังนี ้ บัญชีอัตราเงินเดือนของขาราชการครูไมควรเทากับบัญช ีเงินเดือนขาราชการพลเรือนทั่วไป ควรแยกเปนบัญชี พิเศษเชนเดียวกบัอาจารยมหาวิทยาลัย เปนอนัดับ 1 รองลงมาคือ ทานคิดวาเงินรายไดทีท่านไดรับพอเพียงกับคาครองชีพในปจจุบนัโดยไมเดือดรอน อันดับ 3 คือ เงินเดือนที่ทานไดรับในปจจุบันเหมาะสมกับงานที่ รับผิดชอบ อันดับ 4 คือ โรงเรียนชลกันยานุกูลไดจัดใหมีสวัสดิการและบริการเพิ่มเติมตาง ๆ ใหแกทานอยางเพยีงพอ และอนัดับสุดทาย คือ ทานคิดวาระดับเงินเดือนของทานอยูในเกณฑที่เหมาะสม เมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการสังกัดอื่น ๆ เชน ขาราชการ ตํารวจ ขาราชการอัยการ ขาราชการตุลาการ เปนตน

Page 51: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

42

ตารางที่ 18 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานความมัน่คงในงาน

ดานความมัน่คงในงาน µ σ แปลความ อันดับ 1. งานที่ทานทําอยูจะใหความมั่นคงกับอนาคตของทาน 3.15 .51 คอนขางสูง 1 2. ทานไดรับความเสมอภาคหรือความเทาเทียมกนั ในการทํางานทั้งในเรื่องกฎระเบยีบและความมั่นคง ในการทํางาน

2.75

.62

คอนขางสูง

4

3. หนวยงานของทานไดสงเสริมใหทานม ี ความกาวหนาในตําแหนงหนาที่การงาน เชน การสงเสริมใหศึกษาตอการฝกอบรม การดูงานตางประเทศ เปนตน

2.75

.65

คอนขางสูง

3

4. ทานคิดวาการทํางานในโรงเรียนชลกนัยานกุูลนี้ม ี ความมั่นคงมาก

3.07

.55

คอนขางสูง

2

5. งานที่ทานทําอยูในขณะนี้มีโอกาสที่จะถูกถายโอน ไปใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

2.36 .84 คอนขางต่ํา

5

ภาพรวม 2.82 .41 คอนขางสูง

จากตารางที่ 18 พบวา แรงจูงใจในการทาํงานดานความมั่นคงในงาน ในภาพรวมอยูในระดับคอนขางสูง เมื่อแยกเปนรายขอตามลําดับการปฏิบัติงานดานความมั่นคงในงาน ไดดังนี ้ งานที่ทานทําอยูจะใหความมัน่คงกับอนาคตของทาน เปนอันดับ 1 รองลงมาคือ ทานคิดวาการทํางานในโรงเรียนชลกันยานุกูลนี้มีความมั่นคงมาก อันดับ 3 คือ หนวยงานของทานไดสงเสริมใหทานมีความกาวหนาในตําแหนงหนาที่การงาน เชน การสงเสริมใหศึกษาตอการฝกอบรม การดูงานตางประเทศ เปนตน อันดับ 4 คือ ทานไดรับความเสมอภาคหรือความเทาเทยีมกันใน การ ทํางานทั้งในเรื่องกฎระเบยีบและความมั่นคงใน การทํางาน และอันดับสุดทาย คือ งานที่ทานทําอยูในขณะนี้มีโอกาสที่จะถูกถายโอนไปใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

Page 52: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

43

ตารางที่ 19 ระดับแรงจูงใจในการทํางานดานชีวิตสวนตัว

ดานชีวิตสวนตัว µ σ แปลความ อันดับ 1. ชีวิตในครอบครัวของทานมีความอบอุนไดอยู พรอมหนาพรอมตากันทัง้ครอบครัว

3.78

.57

สูงที่สุด

1

2. ทานมีเวลาวางเพยีงพอทีจ่ะทํากจิกรรมตาง ๆ เชน ออกกําลังกาย ทํางานอดิเรกหรืออานหนังสือ เปนตน

3.05

.66

คอนขางสูง

3

3. ทานพอใจอยางมากในการจัดแบงเวลาไดอยาง เหมาะสมทัง้ในดานเวลาในการทํางาน ครอบครัว สังคมและเวลาเปนสวนตวั

3.00

.63

คอนขางสูง

5

4. ทานมีเงินเก็บออมสําหรับการวางแผนอนาคตของ ตัวเองหรือการวางแผนอนาคตทางการศึกษาของ บุตร

3.03

.70

คอนขางสูง

4

5. ทานรูสึกวาตัวทานเองมีส่ิงอํานวยความสะดวกที ่ จําเปนในการดําเนินชวีิตในปจจุบนัอยางสมบูรณ

3.07 .66 คอนขางสูง

2

ภาพรวม 3.11 .47 คอนขางสูง

จากตารางที่ 19 พบวา แรงจูงใจในการทาํงานดานชวีิตสวนตัว ในภาพรวมอยูในระดับสูงที่สุด เมื่อแยกเปนรายขอตามลําดบัการปฏิบัติงานดานชวีิตสวนตัว ไดดังนี ้ ชีวิตในครอบครัวของทานมคีวามอบอุนไดอยูพรอมหนาพรอมตากันทั้งครอบครัว เปนอันดับ 1 รองลงมาคือ ทานรูสึกวาตัวทานเองมีส่ิงอํานวยความสะดวกที่จําเปนในการดําเนินชวีิตในปจจุบันอยางสมบูรณ อันดบั 3 คือ ทานมีเวลาวางเพียงพอที่จะทํากิจกรรมตาง ๆ เชน ออกกําลังกาย ทํางานอดิเรกหรืออานหนังสือ เปนตน อันดับ 4 คือ ทานมีเงินเก็บออมสําหรับการวางแผนอนาคตของตัวเองหรอืการวางแผนอนาคตทางการศึกษาของบุตร และอันดับสุดทาย คือ ทานพอใจอยางมากในการจัดแบงเวลาไดอยางเหมาะสมทัง้ในดานเวลาในการทํางาน ครอบครัว สังคมและเวลาเปนสวนตวั

Page 53: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

44

5. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล

ตารางที่ 20 ระดับแรงจูงใจในการทํางานโดยรวมของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล

จํานวน µ σ ระดับ

แรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวม 135 2.82 (70.50) .35 คอนขางสูง

จากตารางที่ 20 พบวา ระดบัแรงจูงใจในการทํางานโดยรวมของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลสวนใหญมีระดับแรงจูงใจในการทํางานอยูในระดับคอนขางสูง

สวนที่ 2 การเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานุกูล

การเปรียบเทยีบระหวางปจจยัที่เกีย่วของกบัแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกนัยานกุูล จากผลการศึกษาพบวา ปจจยัที่มอิีทธิพลตอแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลอาจมีผลระหวางตวัแปรอิสระกับตัวแปรตามที่ทําใหแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลมีระดับที่ตางกนั ดังนั้นผูศกึษา จึงทําการเปรียบเทียบระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ดังนี ้

ตารางที่ 21 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางตําแหนงกับแรงจูงใจในการทํางาน

ตําแหนง ครู คศ.1 - ครูคศ.2 ครู คศ.3 - ครู คศ.4

µ σ µ σ แรงจูงใจในการทํางาน 3.34 .44 3.57 .47

จากตารางที่ 21 พบวา เปรียบเทียบความแตกตางระหวางตําแหนงกับแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล สรุปไดวา ขาราชการครูมีตําแหนงที่ตางกันจะมีแรงจูงใจในการทํางานโดยรวมแตกตางกนั โดยขาราชการครูที่มีตําแหนง ครู คศ.3 และครู คศ.4 จะมีแรงจูงใจในการทํางานสูงกวา ขาราชการครูที่มีตําแหนง ครู คศ.1 และครู คศ.2

Page 54: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

45

ตารางที่ 22 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางรายไดกบัแรงจูงใจในการทํางาน

รายได 5,000-10,000 10,001-20,000 20,001-30,000 30,001ขึ้นไป

µ σ µ σ µ σ µ σ แรงจูงใจในการทํางาน 2.5 .00 3.24 .39 3.35 .46 3.56 .40

จากตารางที่ 22 พบวา เปรียบเทียบความแตกตางระหวางรายไดกับแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล สรุปไดวา ขาราชการครูมีรายไดตางกันจะมีแรงจูงใจในการทํางานโดยรวมแตกตางกนั โดยขาราชการครูที่มีรายได 30,001 ขึ้นไป, 20,001-30,000 บาท และ 10,001-20,000 บาท มีแรงจูงใจในการทํางานที่สูงกวาขาราชการครูที่มีรายได 5,000-10,000 บาท

ตารางที่ 23 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางสถานภาพทางครอบครัวกับแรงจูงใจในการทํางาน

สถานภาพทางครอบครัว สมรส โสด หยาราง

µ σ µ σ µ σ แรงจูงใจในการทํางาน 3.41 .44 3.16 .47 3.50 .00

จากตารางที่ 23 พบวา เปรยีบเทียบความแตกตางระหวางสถานภาพทางครอบครัวกับแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล สรุปไดวา ขาราชการครูมีสถานภาพทางครอบครัวที่ตางกันจะมีแรงจงูใจในการทํางานโดยรวมแตกตางกัน โดยขาราชการครูที่หยารางจะมแีรงจูงใจในการทํางานสูงกวาขาราชการที่เปนโสดและสมรส

ตารางที่ 24 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางวุฒิการศกึษากับแรงจูงใจในการทํางาน

วุฒิการศึกษา ปริญญาโท ปริญญาตรี

µ σ µ σ แรงจูงใจในการทํางาน 3.22 .53 3.40 .43

Page 55: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

46

จากตารางที่ 24 พบวา เปรยีบเทียบความแตกตางระหวางวุฒิการศึกษากับแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกนัยานกุูล สรุปไดวา ขาราชการครูมีวุฒิการศึกษาที่ตางกันจะมีแรงจูงใจในการทํางานโดยรวมแตกตางกัน โดยขาราชการครูที่มีวุฒิปริญญาตรีจะมีแรงจูงใจในการทํางานสูงกวาขาราชการครูที่มีวุฒิการศึกษาปริญญาโท

ตารางที่ 25 เปรียบเทียบความแตกตางระหวางอายุราชการกับระดับแรงจูงใจในการทํางาน

อายุราชการ 1-10 ป 11 – 20 ป 21 – 30 ป 30 ปขึ้นไป

µ σ µ σ µ σ µ σ แรงจูงใจในการทํางาน 2.50 .50 3.24 .40 3.35 .47 3.56 .41

จากตารางที่ 25 พบวา เปรียบเทียบความแตกตางระหวางอายุราชการกับแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล สรุปไดวา ขาราชการครูมีอายุราชการที่ตางกันจะมีแรงจูงใจในการทํางานโดยรวมแตกตางกนั โดยขาราชการครูที่อายุราชการ 30 ปขึ้นไป, 21 - 30 ปและ 11 - 20 ป จะมีแรงจูงใจในการทํางานสูงกวาขาราชการครูที่อายุราชการ 1 - 10 ป

Page 56: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การศึกษาแรงจูงใจในการทาํงานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลผูศึกษาไดทําการศึกษาประชากรที่เปนขาราชการครูทําหนาที่ปฏิบตัิงานอยูในโรงเรียนชลกันยานุกูล โดยมีจุดมุงหมายเพือ่ตองการทราบถึง 1. แรงจูงใจในการทํางานโดยรวมของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล 2. แรงจูงใจของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลที่มีคุณลักษณะสวนบุคคลแตกตางกัน ในการศึกษานีไ้ดกําหนดแรงจูงใจในการทาํงานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูล โดยมองในแงมุม 2 ดาน คือ องคประกอบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน และองคประกอบที่ไมเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานโดยตรง รวมไปถึงตองการทราบถึงการเปรียบเทียบความแตกตางระหวางปจจยัภูมิหลังของขาราชการครูกับแรงจูงใจในการทํางาน งานวิจยันี้ศกึษาขาราชการครูโรงเรียนชลกนัยานกุูล จํานวน 135 คน ในการพรรณนาลักษณะทั่วไปของประชากร ไดใชตารางแจกแจงความถี่ คาอัตราสวน รอยละ คาเฉลี่ยในการเปรียบเทียบความแตกตางระหวางตัวแปรอิสระตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอแรงจูงใจในการทํางาน ไดนํามาทําการวเิคราะหโดยอาศัยโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับการวิจยัเชิงสังคมศาสตร เพื่อตอบจุดประสงคของการศึกษาทีก่ําหนดไว การวิเคราะหขอมูลและวิเคราะหตวัแปรเพื่อใหทราบถึงแรงจูงใจในการทํางานในแงมุมขององคประกอบที่เกีย่วของกับการปฏิบัติงานและองคประกอบที่ไมเกี่ยวของกบัการปฏิบัติงานโดยตรง

สรุปผลของการศึกษา

1. สถานภาพสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลสวนใหญเปนหญิงและมีอายุระหวาง 41-50 ป ปจจัยดานเศรษฐกิจและสังคม พบวา ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลสวนใหญมีรายไดระหวาง 20,001 – 30,000 บาท มีสถานภาพสมรส วุฒิการศึกษาระดับระดับปริญญาตรีมากที่สุด สวนปจจยัดานลักษณะงานพบวาสวนใหญเปนขาราชการครูในตําแหนงครู คศ.2- ครู คศ3 และมีอายุราชการระหวาง 21 – 30 ป

Page 57: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

48

2. แรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูล 2.1 องคประกอบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน พบวา ขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานกุูลสวนใหญมีแรงจูงใจในการทํางานอยูในระดับคอนขางสูง ดานความสําเร็จของงาน มีระดับแรงจูงใจในการทํางานสูงที่สุด สวนดานความกาวหนาในตําแหนงการงาน มีระดับแรงจูงใจในการทํางานคอนขางต่ํา ปรากฏดังนี ้ ดานความสําเรจ็ของงาน จากการศึกษาพบวา ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลสวนใหญ เหน็ความสําคัญของการทํางานกลาวคือ ตองการทํางานทีไ่ดรับมอบหมายใหเสร็จสมบูรณภายในกําหนดเวลา เมื่อไดรับมอบหมายจากผูบังคับบัญชาและตองการเห็นความสําเร็จของงาน ดานการไดรับการยอมรับนบัถือ จากการศึกษาพบวา ขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานกุูลสวนใหญเห็นวา ผูบริหารยอมรับในดานความรู ความสามารถและใหเกียรติยกยองตลอดจนเปนที่ยอมรับของบุคคลอื่น ดานความกาวหนาในตําแหนงงาน จากการศึกษาพบวา ขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานกุูลสวนใหญเห็นวาไดรับการสงเสริมในการดูงาน ฝกอบรมหรือศึกษาตอ ซ่ึงทําใหไดรับความกาวหนา ในตําแหนงการงานและไมมีความแตกตางในดานความกาวหนาระหวางขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลกบัขาราชการในหนวยงานอืน่ ๆ ดานลักษณะงานความรับผิดชอบ จากการศึกษาพบวา ขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานกุูลสวนใหญเห็นวางานที่ทําอยูเปนงานหลักของโรงเรียนชลกันยานุกูลที่มสีวนในการพัฒนาสังคมสวนรวมใหไดรับประโยชนและมีโอกาสไดใชความรูคามสามารถในการทํางานอยางเต็มที่แตไมคอยไดรับโอกาสในการวางแผนในการปฏิบัติงานนั้น ๆ 2.2 องคประกอบที่ไมเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานโดยตรง พบวา ขาราชการครูโรงเรียนชลกนัยานกุูล สวนใหญมีแรงจูงใจในการทํางานอยูในระดับคอนขางสูง ซ่ึงดานชีวิตสวนตัวมีระดบัแรงจูงใจในการทํางานสูงที่สุด สวนดานการบังคับบญัชามีระดับแรงจูงใจในการทํางานคอนขางต่ํา ปรากฏดังนี้ ดานการบังคับบัญชา จากการศึกษาพบวา ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล สวนใหญเห็นวามีความเปนกันเองระหวางหัวหนากับลูกนอง สามารถปรึกษาหารือกับผูบังคับบัญชาไดไมวาเรื่องงานหรือเร่ืองสวนตวัรวมทั้งเสนอขอคิดเหน็ ขอเสนอแนะตอกับผูบังคับบัญชาไดและรูสึกพอใจในการปกครองบังคับบัญชาของผูบังคับบัญชา ดานนโยบายการบริหาร จากการศึกษาพบวา ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล สวนใหญเห็นวาโรงเรียนชลกันยานุกูล ไดกําหนดนโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานของครู

Page 58: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

49

โรงเรียนชลกนัยานกุูลไวอยางชัดเจน แตมกีารเปลี่ยนแปลงนโยบายบางประการอยูบอยครั้ง ทําใหเกิดความสับสนในการปฏิบัติงาน และไมไดรับโอกาสในการกําหนดนโยบายและขอบังคับตาง ๆ ของโรงเรียนชลกันยานกุูล ดานสภาพการทํางาน จากการศึกษาพบวา ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล สวนใหญเห็นวา สภาพการทํางานในโรงเรียนชลกันยานุกูล มีลักษณะรับฟงความคดิเห็นของบุคคลอื่นชวยกันคิดชวยกันทํางานและมีอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใชประจําสํานักงานอยางเพยีงพอ แตรูสึกไมคอยพอใจในการรักษาความสะอาดอาคารและสถานที่ตาง ๆ ของโรงเรียนชลกันยานุกลู ดานความสัมพันธระหวางบุคคล จากการศึกษาพบวา ขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานกุูลสวนใหญ เห็นวา การทํางานในโรงเรียนชลกันยานกุูลทําใหมีโอกาสไดพบปะและรูจักคนมากขึน้และมีความสัมพันธอันดีระหวางเพื่อนรวมงานและผูบังคับบัญชา ดานเงินเดือน จากการศึกษา พบวา ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลสวนใหญ เห็นวาไดรับ เงินเดือนไมเหมาะสมกับคาครองชีพในปจจุบันและเงินเดือนที่ไดรับไมเหมาะสมกับงานที่ทําหรืองานที่ตองรับผิดชอบและคิดจะเปลี่ยนงานใหมที่ไดรับเงนิเดือนที่สูงกวา แตโรงเรียน ชลกันยานกุูลไดจัดใหมีสวสัดิการ และบริการเพิ่มเติมตาง ๆ ไวอยางเพียงพอ ดานความมัน่คงในงาน จากการศึกษาพบวา ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล สวนใหญเห็นวา การรับราชการครู จะใหความมั่นคงในอนาคตและไมมีโอกาสที่จะถูกโยกยายไปทํางานในจังหวัดอื่น ๆ โดยไมเต็มใจ ดานชีวิตสวนตัว จากการศึกษาพบวา ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลสวนใหญเห็นวา การทํางานราชการในโรงเรียนชลกันยานุกูลมีเวลาใหแกครอบครัว สังคมและสวนตวั ดานของการมีเงินเหลือเก็บออม สวนสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปนในการดําเนินชวีิตในปจจุบัน เห็นวามีเพยีงพอ 2.3 แรงจูงใจในการทํางานโดยรวม พบวา มีแรงจูงใจในการทํางานอยูในระดบัคอนขางสูง 3. เปรียบเทียบความแตกตางแรงจูงใจของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล พบวา ในแตละดานขององคประกอบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานและองคประกอบที่ไมเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานโดยตรง ปรากฏดังนี ้ 3.1 ขาราชการครูมีตําแหนงที่ตางกันจะมีแรงจูงใจในการทํางานโดยรวมแตกตางกัน โดยขาราชการครูที่มีตําแหนง ครู คศ.3 และครู คศ.4 จะมีคุณภาพชวีิตในการทํางานสูงกวาขาราชการครูที่มีตําแหนง ครู คศ.1 และครู คศ.2

Page 59: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

50

3.2 ขาราชการครูมีรายไดตางกันจะมีแรงจูงใจในการทาํงานโดยรวมแตกตางกัน โดยขาราชการครูที่มีรายได 30,001 ขึ้นไป, 20,001-30,000 บาทและ 10,001-20,000 บาท จะมีคุณภาพชวีิตในการทํางานทีสู่งกวาขาราชการครูที่มีรายได 5,000-10,000 บาท 3.3 ขาราชการครูมีสถานภาพทางครอบครัวที่ตางกนัจะมแีรงจูงใจในการทํางานโดยรวมแตกตางกัน โดยขาราชการครูที่หยารางจะมีคุณภาพชีวิตในการทํางานสูงกวาขาราชการที่เปนโสดและสมรส 3.4 ขาราชการครูมีวุฒิการศึกษาที่ตางกนัจะมีแรงจูงใจในการทํางานโดยรวมแตกตางกัน โดยขาราชการครูที่มีวฒุิปริญญาตรีจะมีแรงจูงใจในการทํางานสงูกวาขาราชการครูที่มีวุฒิการศึกษาปรญิญาโท 3.5 ขาราชการครูมีอายุราชการที่ตางกันจะมีแรงจูงใจในการทํางานโดยรวมแตกตางกัน โดยขาราชการครูที่อายุราชการ 30 ปขึ้นไป, 21-30 ปและ 11-20 ป จะมีแรงจูงใจในการทํางานสูงกวาขาราชการครูที่อายุราชการ 1–10 ป

อภิปรายผลการศึกษา

จากผลการศึกษาเกีย่วกับแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลมีประเด็นสําคัญที่จะนํามาอภปิรายผลดังนี้ 1. ผลการศึกษา พบวา แรงจูงใจในการทาํงานโดยรวมของขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานกุูลอยูในระดับคอนขางสูง ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาโรงเรียนชลกันยานกุูลมีนโยบายในการพัฒนาขาราชการครูทุกระดบั ใหมีคุณภาพตามมาตรฐานที่เหมาะสมกับวิชาชีพ ตลอดจนสนับสนุนใหเกิดแรงจูงใจในการปฏิบัติงานรวมทั้งมนีโยบายพฒันาประสิทธิภาพการบริหารงาน และในทัศนคติของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล โดยทัว่ไปคิดวาการรับราชการครูคือการทํางานเพื่อประเทศ ชาติในดานการศึกษาจึงเห็นความสําคัญของความสําเร็จของงาน อาชีพรับราชการครูไดรับการยอมรับจากบุคคลทั่ว ๆ ไปวา มีเกียรติและศักดิศ์รี การทํางานในระบบราชการมีเวลาการทํางานที่แนนอน ทําใหขาราชการมีเวลาวางเพียงพอตอสังคม ครอบครัว และตวัเอง การทํางานในระบบราชการมีสายงานการบังคับบัญชาที่แนนอนชดัเจนมีเอกภาพในการบังคับบัญชา จึงทําใหภาพรวมของแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลอยูในระดับคอนขางสูง ซ่ึงยืนยันแนวคิดทฤษฎีปจจยัคู (two-factor theory) ของเฟรดเดอริก เฮอรซเบอรกใน เร่ืองปจจัย จูงใจ (motivation factors) และปจจัยค้ําจุน (hygiene factors) ปจจยัทั้ง 2 ปจจัยนี้ เปนสิ่งที่คนทํางานตองการเพราะเปนแรงจูงใจในการทํางานปจจัยจูงใจ เปนองคประกอบที่สําคัญที่ทําใหคนเกิดความสุขในการทํางาน สวนปจจยัสุขอนามัยทําหนาที่เปนตัวปองกันมิใหคนเกดิความทุกขหรือ

Page 60: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

51

ความไมพึงพอใจในการทํางานขึ้น เมื่อใดก็ตามที่คนไดรับการตอบสนองปจจัยชนิดนี้อยางเพยีงพอแลว จะไมมีความไมพึงพอใจในการทํางานแตมิไดหมายความวา ความพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อปจจยัจูงใจไดรับการตอบสนอง สอดคลองกับงานวิจยัของพระบุญจันทร ผาคํา (2547) ไดทําการวจิัยเร่ือง แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของผูบริหาร อาจารย และเจาหนาที่ในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน พบวา แรงจงูใจในการปฏิบัติงานมีปจจยัจูงใจและปจจัยสุขอนามัย ประกอบดวยองคประกอบดังนี้คือ ดานการไดรับความสําเร็จในงาน ดานการยอมรับนับถือ ดานความกาวหนาในงาน ดานความรับผิดชอบ ดานความสัมพันธระหวางบุคคลในหนวยงาน ดานความมั่นคงในการทํางาน ดานสภาพแวดลอมในการทํางาน ดานนโยบายและการบริหารงาน และดานเงนิเดือนและคาจาง 2. ผลการศึกษา พบวา องคประกอบที่เกีย่วของกับการปฏิบัติงานหรอืปจจัยจูงใจ ของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลมีสัดสวนแรงจูงใจในการทํางานทีสู่งกวาองคประกอบที่ไมเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานโดยตรงหรือปจจัยค้ําจุน ทั้งนี ้อาจเนื่องจากองคประกอบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานหรือปจจัยจูงใจ เปนปจจัยทีผู่บริหารสามารถใหแกผูใตบงัคับบัญชาไดเพื่อสรางแรงจูงใจขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลทําใหเกิดความพึงพอใจในการทํางาน สวนองคประกอบที่ไมเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานโดยตรงหรือปจจัยค้ําจนุ ผูบริหารของโรงเรียน ชลกันยานกุูลไมสามารถพิจารณาจัดสรรไดเอง เชน เงินเดือน ความมั่นคงในงานหรือนโยบายการบริหาร เปนตน จึงมีผลทําใหขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลไดรับปจจัยค้ําจุนไมเพียงพอตอความตองการ นอกจากนี้แลวขาราชการครูโดยสวนใหญยังมีหนี้สิน โดยกูจากสหกรณครูและหนี้นอกระบบอีกมาก เนื่องจากครูเปนนักบริโภคนิยม ชอบซื้อสินคาตาง ๆ โดยเฉพาะเครื่องอํานวยความสะดวกตาง ๆ โดยไมคาํนึงถึงหนี้ที่ตองรับผิดชอบ ทําใหรายไดลดนอยลงไปอกีเนื่องจากตองชําระหนี้สิน ยืนยนัแนวคิดของ มาสโลว (Maslow) ตามทฤษฎีการจูงใจ ที่วาการจูงใจคือ การปฏิบัติการตอบสนองความตองการของคนในดานความตองการทางรางกาย (physiological needs) ความตองการความปลอดภยั (security needs) ดังที่ สมยศ นาวีการ (2522) กลาววาการจูงใจมีผลตอบแทนคือ เงินเดือน คาจาง หรือ คาตอบแทนหรือเงนิเดือน ที่ผูปฏิบัติงานรับอยูในปจจุบันนั้นมีลักษณะเพยีงพอ มั่นคงกับสภาพทางเศรษฐกิจปจจุบันของผูจะทําใหเกิดความพึงพอใจที่จะปฏิบัติไดพอสมควร สอดคลองกับผลการวิจัยของ อํานวย เดชะสุข (2533) ไดศึกษาปจจัยที่สงผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของขาราชการพลเรือน ในสํานกังานประถมศึกษาจังหวดั เขตการศึกษา 7 พบวา ดานเงินเดือนและความมั่นคงในงานอยูในระดับปานกลาง 3. ผลการศึกษาในแตละดานขององคประกอบที่เกีย่วของกับการปฏิบัติงาน พบวา ดานความสําเร็จของงาน มีสัดสวนแรงจูงใจในการทํางานสงูที่สุด สวนดานความกาวหนาในตําแหนง

Page 61: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

52

งานมีสัดสวนแรงจูงใจในการทํางานคอนขางต่ํา ทั้งนี้อาจเนื่องจาก ขาราชการสวนใหญมีแนวความคิดวา การรับราชการครูเปนอาชีพที่มีความ สําคัญตอประเทศชาติอยางยิ่ง เนื่องจากประเทศชาติจะเจริญไดนั้น สวนหนึ่งยอมอยูที่การปฏิบัติงานของครู ครูจึงตองมีคุณลักษณะทีด่ี คือมีความสามารถในการปฏิบัติหนาที่มีอุดมการณและมวีิญญาณของความเปนครู เพราะคุณภาพชีวิตการทํางานของครูที่ดียอมสงผลใหการปฏิบัติงานประสบผลสําเร็จบรรลุจุดหมายปลายทางและมีประสิทธิภาพสูงสุด ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซ่ึงยืนยันแนวคิดสอดคลองของมาสโลว (Maslow) ตามทฤษฎีการจูงใจ ทีว่าการจูงใจคือ การปฏิบัติการตอบสนองความตองการของคนในดาน ความตองการทางสังคม (belongingness needs) ความตองการที่จะไดรับการยกยอง (esteem needs) ความตองการที่จะไดรับความสําเร็จในชีวิต (self-actualization needs) ที่สอดคลองกับผลงานของ ปญจมาพร พิพัฒนวงศ ที่กลาววา การจดัใหมแีผนกําหนดความกาวหนาของผูปฏิบัติแตละคนเอาไวลวงหนา โดยมีเงื่อนไขในการทํางานเปนเครื่องชี้วัดหรือบงชี้ เมื่อผูปฏิบัติทําไดตามเครื่องบงชี้เขาก็จะมีความกาวหนายอมกอใหเกิดความพอใจ ซ่ึงจะมีผลตอการผลิตและความสําเร็จในงานตลอดจนเกิดความภาคภูมิใจในความสามารถของตน จากเหตุผลดังกลาวขางตน จึงนาจะเปนสาเหตุที่ทําใหขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลมีแรงจูงใจในการทํางานดานนีสู้งที่สุด สวนดานความกาวหนาในตําแหนงงานเปนสวนของการทํางานในองคกรทีม่ีโอกาสประสบความสําเร็จในตําแหนงหนาที่และมีการพจิารณาความดคีวามชอบหรอืเล่ือนระดับ เล่ือนตําแหนงใหแตละบุคคล ซ่ึงทําใหความคิดเห็นของขาราชการครูที่อยูในแตละกลุมงานหรือตําแหนง มีความคิดเห็นในดานความกาวหนาในตําแหนงงานแตกตางกนัไป จึงทําใหแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกนัยานกุูลดานนี้อยูในระดับคอนขางต่ํา 4. ผลการศึกษาในแตละดานขององคประกอบที่ไมเกีย่วของกับการปฏิบัติงานโดยตรง พบวาดานชีวติสวนตัวมีสัดสวนแรงจูงใจในการทํางานสูงที่สุด สวนดานการบังคับบัญชามีสัดสวนคุณภาพชวีิตการทํางานคอนขางต่ํา ทั้งนี้อาจเนื่องจากขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลรูสึกพอใจอยางมากในการจัดแบงเวลาไดอยางเหมาะสม ทั้งในดานเวลาในการทํางาน ครอบครัว สังคมและเวลาสวนตัว รวมทั้งเก็บออมเงนิสําหรับการวางแผนอนาคตของตนเองและบุตรตลอดจนการมีส่ิงอํานวยความสะดวกที่จําเปนในการดําเนินชีวิตในปจจุบันอยางสมบูรณ ในการดําเนินชวีิตของมนุษยทกุคนยอมมีเวลาพกัผอนเปนของตัวเอง หรือทํากจิกรรมนันทนาการ จากเหตุผลดังกลาวขางตน จึงนาจะเปนสาเหตใุหขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลมีแรงจูงใจในการทํางานดานนีสู้งที่สุด สวนดานการบังคับบัญชา ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกลูสวนใหญเหน็วาผูบริหารมีความเปนกันเองระหวางหวัหนากับลูกนองสามารถปรึกษาหารือกับผูบังคับบัญชาไดไมวาเรื่องงานหรือเร่ืองสวนตัว แตในบางเรื่องผูบริหารไมเปดโอกาสเสนอความคิดเห็น

Page 62: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

53

ขอเสนอแนะทําใหผูปฏิบัติไมสามารถปฏิบัติงานไดตรงตามความสามารถ จึงทําใหขาราชการครูโรงเรียนชลกนัยานกุูลมีแรงจูงใจในการทาํงานดานนี้ต่ําที่สุด ยืนยนัแนวคิดบุญแสง ธีระภากร ที่กลาววา องคประกอบในการกําหนดแรงจูงใจในการทํางาน คือ คาตอบแทนที่เหมาะสมและเพียงพอ ผลประโยชนเกื้อกลู สภาพแวดลอมที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ ความมั่นคงในงาน เสรีภาพในการเจรจาตอรอง พัฒนาการและการเจริญเติบโต บูรณาการสังคม ประชาธิปไตยในการทํางาน การมสีวนรวม เวลาวางของชีวิต ซ่ึงสอดคลองกับผลงานของโอโกมากะ (Ogomaka, 1986) ไดทําการวิจัยเร่ืององคประกอบของแรงจูงใจของครูในโรงเรียนสอนศาสนาในลอสแองเจอรลิส พบวา ปจจัยทีเ่ปนแรงจูงใจ คือ การไดรับความเจริญกาวหนาในงาน รองลงมาไดแก การไดรับการยอมรับนับถือ สวนความสัมพันธกับครูและนักเรียน ความสนับสนุนจากผูปกครอง ความมั่นคง ปลอดภัยและการเงินเดือนไมมีผลตอแรงจูงใจของงาน การไดรับการยอมรับนับถือ โอกาสที่จะกาวหนาและแรงจูงใจภายนอก ไดแก นโยบายของเงินเดอืน ความสัมพนัธกับบุคคลอื่น และสภาพการทํางาน มีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานเปนอยางมาก 5. ผลการศึกษาความแตกตางแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานกุูล พบวา ขาราชการครูมีตําแหนง รายได วฒุิการศึกษาสูง อายุราชการมาก สถานภาพทางครอบครัวหยาราง จะมีคณุภาพชวีิตในการทํางานสูงกวาขาราชการครูที่มีตาํแหนง รายได วุฒิการศึกษา อายุราชการนอยกวาและสถานภาพทางครอบครัวโสดและสมรส เนื่องจาก ขาราชการครูไดรับการสงเสริมในการดูงานการฝกอบรมและการศึกษาตอมีความรูความสามารถและประสบการณเหมาะสมกับตําแหนงทาํใหมีความกาวหนาในตําแหนงหนาที่การงาน ไดรับคาตอบแทนที่เหมาะสมกับคาครองชีพในปจจุบัน มีเกียรติไดรับการยกยองเปนทีย่อมรับของบุคคลอ่ืน สวนดานชวีิตครอบครัว โดยเฉพาะขาราชการที่มีสถานะครอบครัวหยาราง จะมีความมุงมั่น เสียสละและตัง้ใจในการทํางานมากกวาขาราชการครูที่เปนโสดและสมรส เนื่องจากไมมีภาระรับผิดชอบ ซ่ึงยืนยนัแนวคดิของวอลตัน (Walton) ลักษณะสําคัญที่ประกอบขึ้นเปนแรงจูงใจในการทํางานแบงออกเปน 8 ประการคือ 1) คาตอบแทนที่เปนธรรมและเพียงพอ 2) ส่ิงแวดลอมที่ถูกสุขลักษณะและปลอดภยั 3) เปดโอกาสใหผูปฏิบัติงานไดพัฒนาความรูความสามารถไดเปนอยางดี 4) ลักษณะงานที่สงเสริมความเจริญเติบโตและความมัน่คงใหแกผูปฏิบัติงาน 5) ลักษณะงานที่มีสวนสงเสริมดานบูรณาการทางสังคมของปฏิบัติงาน 6) ลักษณะงานทีต่ัง้อยูบนฐานของกฎหมายหรือกระบวนการยุติธรรม 7) ความสมดุลระหวางชวีิตกบัการทํางานโดยสวนรวม 8) ลักษณะงานมีสวนเกีย่วของและสัมพันธกบัสังคมโดยตรง ซ่ึงสอดคลองกับผลงานของ ไพฑูรย โพธิทัพพะ (2531) ไดทําการวิจัยเร่ืองความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของจาราชการครูโรงเรียนมัธยมระดับตําบล เขตการศึกษา 6 พบวา ปจจยัจูงใจและปจจยัสุขอนามัย จําแนกตามเพศ และสถานภาพทาง

Page 63: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

54

ครอบครัวไมแตกตางกัน แตจําแนกตามประสบการณการทํางานอายุ จะมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ขอเสนอแนะ

1. ขอเสนอแนะดานนโยบาย 1.1 จากผลการศึกษาในประเด็นหรือดานทีข่าราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูลมีระดับแรงจูงใจในการทํางานคอนขางต่ํา มีขอเสนอแนะดังนี ้ 1.1.1 หนวยงานที่เกีย่วของควรมีการพิจารณาปรับปรุงเกี่ยวกับอัตราเงินเดือนของขาราชการครู รวมทั้งสวัสดกิารดานตาง ๆ ใหทัดเทยีมกบัอาชีพอ่ืน เพือ่ใหครูมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึน้ 1.1.2 ผูบริหารโรงเรียนควรใหความสําคญัของหลักระบบคุณธรรม นาํมาใชในการพิจารณาโยกยาย เล่ือนขั้นเงินเดือนหรือเล่ือนตําแหนง 1.1.3 ผูบริหารของโรงเรียนชลกันยานกุูลควรเปดโอกาสใหขาราชการครูในแตละสายงานหรือกลุมงานตาง ๆ มีสวนรวมในการกําหนดนโยบายหรือระเบียบขอบังคับตาง ๆ ของโรงเรียนชลกนัยานกุูลเทาทีส่ามารถจะทําได และอธิบายใหขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลใหเขาใจในนโยบายของสวนกลาง เพื่อใหเขาใจในนโยบายของผูบังคับบัญชาและไมใหเกิดความสับสนในการทํางาน 1.1.4 ผูบริหารของโรงเรียนชลกันยานกุูลควรติดตามการปฏิบัติงานตามนโยบาย 5 ส. เพื่อใหสถานที่ทํางานเปนระเบียบเรยีบรอย และกาํหนดระเบียบการดูแลรักษาความสะอาดภายในหนวยงานอยางชัดเจน 1.2 นโยบายหรือมาตรการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวติ ควรสนใจองคประกอบที่ไมเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานโดยตรง คือ ดานการบังคับบญัชา นโยบายการบริหาร สภาพการทํางาน ความสัมพันธระหวางบุคคล เงินเดือน ความมั่นคงในงานและชวีิตสวนตัว 2. ขอเสนอแนะดานปฏิบตักิาร 2.1 หัวหนาฝายตาง ๆ ของโรงเรียนชลกันยานุกูลควรจัดใหมีการประชมุขาราชการในบังคับบัญชา เพื่อช้ีแจงทําความเขาใจในเรื่องนโยบายและขอบังคับตาง ๆ ของหนวยอยางนอยเดือนละ 1 คร้ัง รวมทั้งเปดโอกาสใหขาราชการครูไดแสดงความคิดเหน็ในเรื่องดังกลาวดวย 2.2 ผูบริหารของโรงเรียนชลกันยานุกูลควรสนับสุนนใหขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานกุูลไดมีการปลดภาระหนี้สิน จัดใหมีสวัสดกิาร คารักษาพยาบาล คาเชาบาน เพื่อแรงจูงใจในการทํางานที่ดีขึ้น

Page 64: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

55

2.3 ใหขาราชการครูปฏิบัติตามนโยบาย 5 ส. อยางเครงครัดและสงเสริมใหขาราชการครูสนใจในการรักษาความสะอาดสถานที่ เชน ใหขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกลูรวมใจทําความสะอาดหองทํางาน สัปดาหละ 1 คร้ัง 2.4 ผูบริหารควรเปดโอกาสใหครูไดเขารับการอบรม สัมมนาใหมากขึ้น ตลอดจนการศึกษา ดูงานภาคเรียนละ 1 คร้ัง โดยจัดหางบประมาณสนับสนุน เพื่อเพิ่มพูนทกัษะในการทํางาน และสนับสนุนใหนําความรูมาใชในการทํางานเพื่อความกาวหนาในอาชีพ 3. ขอเสนอแนะดานวชิาการ 3.1 ควรทําการวิจัยเชิงคณุภาพเกี่ยวกับแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกนัยานกุูล เพื่อใหไดขอมูลที่สะทอนภาพของคุณภาพชวีติในดานลึก อันจะทําใหไดความรูที่รอบดานมากยิ่งขึน้ 3.2 ควรศึกษาเปรียบเทียบแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูโรงเรียน ชลกันยานกุูลที่ปฏิบัติหนาทีอ่ยูในสวนกลางกับสวนภูมิภาคอื่น ๆ 3.3 ควรศึกษาความตองการคาตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม ของขาราชการครูโรงเรียนชลกนัยานกุูลและขาราชการอาชีพอ่ืนเพื่อนําผลมาเปรียบเทียบกัน 3.4 ควรศึกษาแรงจูงใจในการทํางานของบุคลากรโรงเรียนชลกันยานุกลูใหครอบคลุมทุก ๆ ฝาย เชน ขาราชการครู ลูกจางประจํา ลูกจางชั่วคราว แมครัว ยามรักษาความปลอดภัย 3.5 ควรมีการศึกษาเรื่องแรงจูงใจในการทาํงานของขาราชการครู ตามกรอบแนวคิดทฤษฎีอ่ืน ๆ ที่นอกเหนือจากการศึกษาครั้งนี้ เพื่อใหเกดิความสมบูรณเกีย่วกับแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครู 3.6 ควรมีการศึกษาตวัแปรอสิระอ่ืน ๆ ที่มีผลตอแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครู เชน ปจจยัดานการศึกษา เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อเปนแนวทางในการเสริมสรางแรงจูงใจในการทํางานของขาราชการครูดียิง่ขึ้นตอไป

Page 65: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

บรรณานุกรม

Page 66: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

บรรณานุกรม กระทรวงศกึษาธิการ. (2542). คําชี้แจงประกอบพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา. กริชเพชร ชัยชวย (2544). คุณภาพชวีิตในการทํางานของขาราชการกรมเจาทา. ปญหาพิเศษ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารทั่วไป, บัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบรูพา. กิติ ตยัคคานนท. (2532). เทคนิคการสรางภาวะผูนํา. กรุงเทพฯ: เชษฐสตูดิโอ. กิติมา ปรีดีดิลก. (2529). แนวทางการปฏบิัติงานใหมีคณุภาพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา. จรูญ ชูลาภ. (2544). การปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบญัญัติการศึกษาแหงชาติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา. จารุวรรณ พฒุฌิบัณฑิต. (2538). การศกึษาปจจัยที่สงผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของ ครูโรงเรียนเอกชนอาชีวศกึษา. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑติ ภาควิชาบริหาร การศึกษา, บณัฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ฉายศิลป เชี่ยวชาญพิพัฒน, ผุสดี รุยาคม และสุวรรณา ทองประดิษฐ. (2527). การบริหาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ดนัย เทียนพฒุ. (2537). กลยุทธการพัฒนาคน ส่ิงทาทายความสําเร็จของธุรกิจ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ดํารง ศรีอราม. (2543). ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมผูนําของผูบริหารโรงเรียนกับแรงจูงใจใน การปฏิบัติงานของครูผูสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกดักรมสามัญศึกษา เขตการศกึษา 12. ปริญญานิพนธปริญญาการศึกษามหาบณัฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยับูรพา. ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2530). หนวยที ่4 ตัวแปรพฤติกรรมศาสตรที่สําคัญในการพัฒนาองคการ. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาองคการ. หนา 266. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช. ถวิล เกื้อกูลวงศ. (2528). การจูงใจเพื่อผลงาน. นครปฐม: มหาวิทยาลยัศิลปากร วทิยาเขต พระราชวังสนามจันทร.

Page 67: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

58

ทองศรี กําภ ูณ อยุธยา และคณะ. (2534). รายงานการวจิัยเร่ืองความสนใจและความเขาใจของ ผูบริหารหนวยงานภาครัฐบาลและภาคเอกชนตอการพฒันาทรัพยากรมนุษย. กรุงเทพฯ: สํานักวิจยัสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร. ธงชัย สันติวงษ. (2530). การบริหารงานบุคคล. (พิมพคร้ังที่ 6). กรุงเทพฯ: ไทยวฒันาพานิช. นพรัตน รุงอุทัย. (2533). มิติใหมแผนพฒันาบุคลากร. จุฬาลงกรณวารสาร, (กรกฎาคม-ธันวาคม 2533), หนา 199. นิศากร สุขะกาศี. (2548). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของขาราชการครูในโรงเรียนอนุบาลชลบุรี. ปริญญานิพนธปริญญาการศึกษามหาบณัฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบรูพา. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2546). สถิติวิเคราะหเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจามจุรี โปรดักท. บุญเจือ วงษเกษม. (2529). คุณภาพชวีิตการทํางานกับการเพิ่มผลผลิต. วารสารเพิ่มผลผลิต, 26 (ธันวาคม 2529 – มกราคม 2530), หนา 29-33. บุญแสง ชีระภากร. (2533). การปรับปรุงคุณภาพชวีิตการทํางาน. จุลสารพัฒนาขาราชการ, 1 (มกราคม – มีนาคม 2533), หนา 5 – 12. บัญญัติ แสวงดี. (2543). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของขาราชการพลเรือนกับประสิทธิผลของ สํานักงานศึกษาธิการ สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศกึษาธิการ เขตการศึกษา 12. ปริญญานิพนธปริญญาการศึกษามหาบณัฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบรูพา. ปญจมาพร พิพัฒนวงศ. (2540). ความพงึพอใจตอการปฏิบัติงานของขาราชการครูโรงเรียน มัธยมศึกษาในสังกัดกรมสามัญศึกษาตามเกณฑการสรางคุณภาพชวีติการทํางาน. ปริญญานิพนธปริญญาการศึกษามหาบณัฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบรูพา. ปญญา จั่นรอด. (2548). ปจจัยดานแรงจงูใจในการปฏิบัติงานของขาราชการในสํานักงานพืน้ที ่ การศกึษาชลบรีุ เขต 3. ปริญญานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑติ สาขาการบริหาร การศึกษา, บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ปรัชญา เวสารัชช. (2526). แรงจูงใจในพฤติกรรมองคการ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. ปรีชา เปยมพงษศานต. (2535). การมีสวนรวมของแรงงานกับการปรบัปรุงคุณภาพชีวิตการ ทํางานและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิอารมณพงศพงัน.

Page 68: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

59

พรรณาราย ทรัพยะประภา. (2529). จิตวทิยาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. พระบุญจันทร ผาคํา. (2537). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของผูบริหาร อาจารย และเจาหนาทีใ่น มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิยาเขตขอนแกน. ปริญญานิพนธการจดัการ มหาบัณฑติ สาขาการจัดการทรัพยากรมนุษย, บณัฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยบูรพา. พิเชษฐ สิชณรังสี. (2529). แรงจูงใจในการเขาไปมสีวนรวมทางการเมืองของผูนําชุมชนไทย ศึกษากรณี ผูนาํชุมชนเขต อําเภอบางเลน จงัหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธครุศาสตร มหาบัณฑติ สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลยั จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย. พิมลวรรณ พงษสวัสดิ์. (2535). ความคาดหวังหลังปรับระบบราชการ. วารสารขาราชการ, 37 (เมษายน-พฤษภาคม 2535), หนา 18. ไพลภ หนมูี. (2541). การศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลาม ในเขตการศกึษา 3 ปริญญานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยับูรพา. ไพฑูรย พืน้ชมพู. (2531). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของขาราชการครูโรงเรียนมัธยมศึกษา ระดับตําบล เขตการศึกษา 6. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาบริหาร การศึกษา, บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ บางแสน. ภรณี กีรติบุตร. (2529). การประเมินประสิทธิผลขององคการ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. ลีลา สินานุเคราะห. (2530). องคการและการจัดการ. กรุงเทพฯ: หนวยศึกษานิเทศก กรมการ ฝกหัดครู. วัชราภรณ มณีวงษ. (2541). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคคลากรสายบริการมหาวิทยาลัย บูรพา และเปรยีบเทียบแรงจงูใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายบริการ ปริญญานิพนธปริญญาการศึกษามหาบณัฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบรูพา. วชัิย โถสุวรรณจินดา. (2535). ความลับขององคการพฤติกรรมขององคการสมัยใหม. กรุงเทพฯ: หจก. ภาพพิมพ. วินัย โกยดุลย. (2537). ปจจัยที่สงผลตอความพึงพอใจในการทํางานของหัวหนางานประถมศึกษา อําเภอ. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา, บณัฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สมพงศ เกษมสิน. (2526). การบริหารงานบุคคลแบบใหม. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. สมยศ นาวกีาร. (2533). การบริหารแบบมสีวนรวม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพธรรมศาสตร.

Page 69: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

60

สมสุข ติลกสกุลชัย. (2534). การเปรียบเทียบเจตคดติอวิชาชีพการพยาบาลและความพึงพอใจใน งานของพยาบาลโรงพยาบาลจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่มีอาย ุ ตําแหนง และระดับ การศึกษาแตกตางกัน. วิทยานิพนธพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร การพยาบาล, บัณฑิตวิทยาลยั จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สมใจ ลักษณะ. (2546). การพัฒนาประสทิธิภาพในการทํางาน. กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ จํากัด. สุขุม หลานไทย. (2537). ความสัมพันธระหวางบรรยากาศขององคการกับความพอใจในการ ทํางานของครูชางในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธการศึกษามหาบณัฑิต สาขาอุตสาหกรรมการศึกษา, บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติร. สุจินดา ออนแกว (2538). คณุภาพชวีิตการทํางานของอาจารยสหวิทยาลัยทราวดี. วทิยานิพนธ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุเมธ เดียวอิศเรศ. (2527). พฤติกรรมผูนําทางการศึกษา. ชลบุรี: ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน. สุทธิลักษณ สุนทโรดม. (2538). การศึกษามาตรการกฎหมายตอการพฒันาคุณภาพชวีิตแรงงาน. วิทยานิพนธสังคมศาสตรมหาบัณฑติ สาขาสังคมศาสตร, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. โสมสรางค อารยะศาสตร. (2534). ความพึงพอใจในการทํางานของผูใตบังคับบญัชา และ ผูปฏิบัติงานระดับ 7-10 : ศึกษาเฉพาะกรณีการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. วิทยานิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อาคม เกสร. (2541). ปจจยัที่มีผลตอการจูงใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจวทิยาการ ตํารวจชั้นประทวนและชั้นสญัญาบัตร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพฒันา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบรูพา. เอกชัย กี่สุขพันธ. (2533). การบริหารทักษะและการปฏบิัติ. กรุงเทพฯ: อรุณการพมิพ. เอนกกุล กรีแสง. (2520). จิตวิทยาการศกึษา. กรุงเทพฯ: พิฆเนศ.

Page 70: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

61

อําไพ อินทรประเสริฐ. (2533). การศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคคลในสํานักงาน คณะกรรมการขาราชการครู. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลยั จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย. Alderfer, C. P. (1972). Existence: Relatedness and growth, human needs in organizational setting. New York: Free Press. Davis, K. & Newstrom, J. W. (1985). Human behavior at work: Organizational behavior. (7 th ed.). New York: McGraw – Hill. Delamotte, Y. & Takezawa, S. (1984). Quality of working life in international perspective. Geneva: International labour office. Gilmer, V. H. B. (1966). Industrial psychology. (2nd ed). New York: McGraw – Hill. ____________. (1967). Applied Psychology. New York: McGraw – Hill. Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw – Hill. Guest, R. (1979). Quality of work life learning form tarytown. Havard Business Review, 57, pp. 76-78. Hoppock, R. (1935). Job satisfaction. New York: Harper & Row. Hoy, W. K. & Miskel, C. G. (1982). Educational administration. (2nd ed). New York: Random House. Locke, E. A. (1992). A university course in English grammar. New York: Prentice Hall. Luthan, F. (1977). Organizational behavior. (2nd ed). Tokyo: McGraw – Hill. Maslow, A. H. (1970). Motivation and Personality. (2 nd ed). New York: Harper & Row. Mitchell, T. R. (1982). People in organization: An introduction to organizational behavior. (2nd ed). Tokyo: McGraw – Hill. Morse, N. C. (1958). Satisfactions in the white collar job. Michigan: University of Michigan. Murray. (1988, May). Intrinsic. Extrinsic and contextual work variables influencing job satisfaction turnover among registered nurses in selected New Jersey hospitals. Dissertation Abstracts International, 49 (1), p. 3225-A. Ogomaka, U. J. (1986). The factors which motivation California credentialed teacher to teach in Los Angeles archdiocesan high school. Dissertation Abstracts International, 46 (12), p. 3563-A.

Page 71: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

62

Ray, D. S. (1987). A study of motivation factors of elementary school teacher in metropolitan public school system. Dissertation Abstracts International, 48 (1), p. 24-A. Sanford, F. H. & Sman, L. W. (1970). Psychology. (3rd ed). Belmont: Brooks Cole. Shermerhorn, J. R., Hunt, J. G. & Osborn, R. N. (1982). Managing organizational behavior. New York: John Wiley and Sons. Stauss. G. & Sayles, L. R. (1960). Personnel: The human problems of management. New Jersey: Prentice – Hall. Steer, R. W. & Porter, L. W. (1979). Motivation and work behavior. (3rd ed) New York: McGraw – Hill. Wolman, B. B. (1973). Dictionary of behavior science. New York: Van Nostrand Rinehold.

Page 72: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

ภาคผนวก

Page 73: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

64

แบบสอบถาม

การวิจัยเพื่อการศึกษาระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยบรูพา

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แบบสอบถามนี้เปนสวนหนึง่ของโครงการวิจัย เพื่อเปนการรวบรวมขอมูลประกอบการเขียนปญหาพิเศษเรือ่ง “คุณภาพชวีิตการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูล”

คําชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม 1. แบบสอบถามนี้เปนขอคําถามเกี่ยวกับคณุภาพชวีิตการทํางานของทาน ซ่ึงประกอบดวย 1.1 ตอนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพ 1.2 ตอนที่ 2 คุณภาพชวีิตการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล ประกอบดวย - องคประกอบที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน - องคประกอบที่ไมเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานโดยตรง 2. งานวิจยันี้เปนการศึกษาเชิงวิชาการสวนบุคคล ดังนัน้การตอบแบบสอบถามนี้จะไมมีผลตอการปฏิบัติงานของทานแตอยางใด และขอมูลจะถูกเก็บรักษาไวเปนความลบั การนําเสนอผลการวิจัยจะนําเสนอเปนภาพรวม จึงขอความกรุณาใหทานตอบแบบสอบถามตามความเปนจริงและครบทุกขอ ผูวิจัยขอขอบคุณเปนอยางสูงที่ทานไดสละเวลาใหความรวมมือในการทําวิจยัคร้ังนี ้

ผาสุข จิตนาวสาร ผูวิจัย

Page 74: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

65

ตอนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม คําชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมาย / ลงใน ( ) หนาขอความซึ่งตรงกับสถานภาพของทาน 1. ปจจุบันอายุ ( ) 1. 20 – 30 ป ( ) 2. 31 – 40 ป ( ) 3. 41 – 50 ป ( ) 4. 51 ปขึ้นไป 2. วุฒิการศึกษาสูงสุด ( ) 1. ปริญญาตรี ( ) 2. ปริญญาโท 3. ระดับตําแหนง ( ) 1. คศ. 1 ( ) 2. คศ. 2 ( ) 3. คศ. 3 ( ) 4. คศ. 4 4. อายุราชการ ( ) 1. 1 - 10 ป ( ) 2. 11 - 20 ป ( ) 3. 21 - 30 ป ( ) 4. 31 ปขึ้นไป 5. ระดับรายได ( ) 1. 5,000 – 10.000บาท ( ) 2. 10,001 - 20,000 บาท ( ) 3. 20,001 - 30,000 บาท ( ) 4. 30,001 บาทขึ้นไป 6. สภาพครอบครัว ( ) 1. สมรส

Page 75: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

66

( ) 2. โสด ( ) 3. หยาราง ตอนที่ 2 คุณภาพชวีิตการทํางานของขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล

คําชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมาย / ลงใน ( ) หนาขอความซึ่งตรงกับสภาพความเปนจริง

คําแนะนํา จากขอความดังตอไปนี้ ขอใหทานเลือกคําตอบเดียวที่ตรงกับความรูสึกของทานวาเปนจริงหรือเกิดขึน้บอย มากนอยเพยีงใด (เปนเรื่องความรูสึกลวน ๆ ไมเกีย่วกับความถูกผิดเปนการประเมินความคิดเห็น หรือความรูสึกของตัวทานเอง)

1. องคประกอบท่ีเก่ียวกับการปฏิบตัิงาน

ขอความ เห็นดวย

อยางยิง่

เห็นดวย

ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางยิง่ ความสําเร็จของงาน 1. ความสําเร็จของงานคือชีวิตจิตใจของการทํางาน

2. ทานเปนบคุคลประเภททีต่องทํางานใหสมบูรณแบบ ที่สุด

3. ทานรีบทํางานใหสําเร็จลุลวง เมื่อไดรับมอบหมายจาก ผูบังคับบัญชา

4. ทานรูสึกพอใจเปนอยางมากในความสําเร็จที่ทาน ไดรับจากการทํางาน

5. ทานมีความภาคภูมใิจมากกับตําแหนงหนาที่การงานที่ ปฏิบัติอยูในขณะนี ้

ขอความ เห็น เห็น ไมเห็น ไมเห็น

Page 76: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

67

ดวยอยางยิง่

ดวย ดวย ดวยอยางยิง่

การไดรับความยอมรับนับถอื 1. งานที่ทานปฏิบัติหนาที่อยูทําใหทานมีโอกาสเปนคน ที่มีความสําคัญในสายตาของคนอื่น

2. ทานรูสึกวาผูบังคับบัญชามักจะยกยองหรือใหเกยีรต ิ ทานเสมอ

3. ทานรูสึกพอใจอยางมากในการยอมรับในตําแหนง หนาที่การงานจากบุคคลทั่วไปที่ทานรูจัก

4. งานที่ทานทําอยูในขณะนี้เปนอาชีพทีม่ีเกียรตแิละ ไดรับการยอมรับในสังคม

5. เพื่อนรวมงานยอมรับในความสามารถของทาน ความกาวหนาในตําแหนงการงาน 1. โรงเรียนชลกันยานุกูลไดใชหลักระบบคณุธรรมอยาง เครงครัดในการพิจารณาความดีความชอบหรือการ เล่ือนตําแหนง

2. ขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานกุูลมีโอกาสกาวหนา ในหนาที่การงานมากกวาขาราชการครูในที่อ่ืน ๆ

3. การปฏิบัติงานในโรงเรียนชลกันยานุกลู ทําใหทานม ี โอกาสประสบความสําเร็จในชวีิตตามจดุมุงหมายของ ทาน

4. ทานเคยไดรับการสนับสนุนจากผูบังคบับัญชาในการ ปรับหรือโยกยายตําแหนงใหกาวหนากวาเดิม

5. ทานไดรับการสนับสนุนในเรื่องการศึกษาดูงาน การ เขารวมประชุม สัมมนาหรือการอบรมเพื่อพัฒนา วิชาชีพครู

Page 77: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

68

ขอความ เห็นดวย

อยางยิง่

เห็นดวย

ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางยิง่ ลักษณะงานความรับผิดชอบ 1. ทานมีโอกาสใชความรูความสามารถในการทํางาน อยางเต็มที ่

2. ในการปฏบิัติงาน ทานมสีวนชวยทั้งในการวางแผน และการลงมือปฏิบัติงานนั้น

3. ทานมักไดรับมอบหมายจากผูบังคับบัญชาให รับผิดชอบโครงการพิเศษที่มิใชงานในหนาที่ประจาํที่ มีความสําคัญตอโรงเรียนชลกันยานกุูล

4. งานที่ทานปฏิบัติอยูมีลักษณะงานและความ รับผิดชอบที่ทานสามารถทํางานไดดวยตนเองอยาง อิสระ

5. งานที่ทานทําอยูมีความหลากหลายไมซํ้าซากจําเจจน นาเบื่อ

Page 78: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

69

2. องคประกอบท่ีไมเก่ียวของกับการปฏิบตังิานโดยตรง

ขอความ เห็นดวย

อยางยิง่

เห็นดวย

ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางยิง่ การบังคับบัญชา 1. ผูบังคับบัญชาของทานทํางานในลักษณะที่ไดทั้งงาน และครองใจคน

2. ทานมีโอกาสเสนอความคิดเห็นขอเสนอแนะตอ ผูบังคับบัญชาเสมอ ๆ

3. ทานมีความไววางใจและเชื่อมั่นในตวัผูบังคับบัญชา ของทานมาก

4. ทานรูสึกไดรับความเปนธรรมในการมอบหมายงาน หรือแจกจายงานจากผูบังคับบัญชาของทาน

5. เมื่อทานมปีญหาเกิดขึน้ทั้งในดานปญหาสวนตวัและ ปญหาในเรือ่งการทํางาน ทานสามารถเดินไปเคาะ ประตูหองผูบังคับบัญชา แลวปรึกษาหารือเร่ือง ตาง ๆ ได

Page 79: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

70

ขอความ เห็นดวย

อยางยิง่

เห็นดวย

ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางยิง่ นโยบายการบริหาร 1. ทานรูสึกพอใจนโยบายการบริหารงานของโรงเรียน ชลกันยานกุูลเพราะทําใหการปฏิบัติงานคลองตัว

2. ทานมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและขอบังคับ ตาง ๆ ของโรงเรียนชลกนัยานกุูล

3. ทานสามารถนํานโยบายของโรงเรียนชลกันยานุกูลมา ปฏิบัติไดจนบรรลุผล

4. นโยบายในการบริหารงานโรงเรียนชลกันยานุกูลมักมี การเปลี่ยนแปลงอยูบอยคร้ังทําใหทานเกิดความ สับสนในการปฏิบัติงาน

5. โรงเรียนชลกันยานกุูลไดกําหนดนโยบายและ แนวทางการปฏิบัติงานของโรงเรียนชลกันยานุกูลไว อยางชัดเจน

Page 80: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

71

ขอความ เห็นดวย

อยางยิง่

เห็นดวย

ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางยิง่ สภาพการทํางาน 1. ทานรูสึกวาบรรยากาศในการทํางานของทานมี ลักษณะเปนประชาธิปไตย

2. หนวยงานของทานมีการจัดสถานที่ทํางานและจดัวาง ของใชอยางมีระเบียบ ชวยใหทํางานได สะดวก รวดเร็ว และปลอดภยั

3. ทานมีอุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชในการทํางาน อุปกรณ ประจําสํานักงานที่เอื้ออํานวยตอการ ปฏิบัติงานของทาน

4. สภาพการทํางานของทานและเพื่อนรวมงานมีลักษณะ เปนการชวยกันคดิชวยกนัทํา รวมกนัรับผิดชอบ

5. ทานรูสึกพอใจอยางมากในการรักษาความสะอาด อาคารและสถานที่ตาง ๆ ของโรงเรียนชลกันยานกุูล

ความสัมพันธระหวางบุคคล 1. มีความเปนกันเองระหวางผูบังคับบัญชาของทานกับ ผูใตบังคับบัญชา

2. เพื่อนรวมงานในหนวยงานที่ทานทํางานอยู มีความ สามัคคีกันดีไมแบงพรรคแบงพวก

3. ทานมักเขารวมกิจกรรมที่จัดทําภายในหนวยงานของ ทาน เชน งานเลี้ยงสังสรรค งานแขงขันกีฬา งานพิธีการตาง ๆ เปนตน

4. ทานมักใชเวลาวันละครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมงหลัง เวลาเลิกงานในการพูดคยุแลกเปลีย่นขอคิดเห็นใน เร่ืองการทํางาน

5. เมื่อทานมปีญหาสวนตวั ทานสามารถนําปญหานั้น ๆ ปรึกษาผูบังคับบัญชาได

Page 81: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

72

ขอความ เห็นดวย

อยางยิง่

เห็นดวย

ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางยิง่ เงินเดือน 1. ทานคิดวาเงินรายไดที่ทานไดรับพอเพยีงกับ คาครองชีพในปจจุบนัโดยไมเดือดรอน

2. เงินเดือนที่ทานไดรับในปจจุบันเหมาะสมกับงานที่ รับผิดชอบ

3. บัญชีอัตราเงินเดือนของขาราชการครูไมควรเทากับ บัญชี เงินเดือนขาราชการพลเรือนทั่วไป ควรแยกเปน บัญชี พิเศษเชนเดยีวกับอาจารยมหาวิทยาลัย

4. โรงเรียนชลกันยานกุูลไดจัดใหมีสวัสดิการและบรกิาร เพิ่มเติมตาง ๆ ใหแกทานอยางเพียงพอ

5. ทานคิดวาระดับเงินเดือนของทานอยูในเกณฑที่ เหมาะสม เมื่อ เปรียบเทียบกับขาราชการสังกัดอื่น ๆ เชน ขาราชการ ตํารวจ ขาราชการอัยการ ขาราชการตุลาการ เปนตน

ความมั่นคงในงาน 1. งานที่ทานทําอยูจะใหความมั่นคงกับอนาคตของทาน

2. ทานไดรับความเสมอภาคหรือความเทาเทียมกันใน การทํางาน ทั้งในเรื่องกฏระเบียบและความมั่นคงใน การทํางาน

3. หนวยงานของทานไดสงเสริมใหทานมคีวามกาวหนา ในตําแหนงหนาที่การงาน เชน การสงเสริมใหศึกษา ตอการฝกอบรม การดูงานตางประเทศ เปนตน

4. ทานคิดวาการทํางานในโรงเรียนชลกนัยานกุูลนี้ม ี ความมั่นคงมาก

5. งานที่ทานทําอยูในขณะนี้มีโอกาสที่จะถูกถายโอนไป ให องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

Page 82: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

73

ขอความ เห็นดวย

อยางยิง่

เห็นดวย

ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวย

อยางยิง่ ชีวิตสวนตัว 1. ชีวิตในครอบครัวของทานมีความอบอุนไดอยูพรอม หนาพรอมตากันทั้งครอบครัว

2. ทานมีเวลาวางเพยีงพอทีจ่ะทํากจิกรรมตาง ๆ เชน ออกกําลังกาย ทํางานอดิเรกหรืออานหนังสือ เปนตน

3. ทานพอใจอยางมากในการจัดแบงเวลาไดอยาง เหมาะสมทัง้ในดานเวลาในการทํางาน ครอบครัว สังคมและเวลาเปนสวนตวั

4. ทานมีเงินเก็บออมสําหรับการวางแผนอนาคตของ ตัวเองหรือการวางแผนอนาคตทางการศึกษาของบุตร

5. ทานรูสึกวาตัวทานเองมีส่ิงอํานวยความสะดวกที ่ จําเปนในการดําเนินชวีิตในปจจุบนัอยางสมบูรณ

Page 83: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

74

ประวัติโรงเรียนชลกันยานุกูล โรงเรียนชลกนัยานกุูล สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ฐานเปนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญพิเศษ ประเภทไป – กลับ เปดรับเฉพาะนกัเรยีนหญิงในชวงชั้นที่ 3 (มัธยมศึกษาปที่ 1 – มัธยมศึกษาปที่ 3) และแบบสหศึกษา ในชวงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปที่ 4 – มัธยมศึกษาปที่ 6) ปจจุบันมีนักเรียน 4,060 คน ครู 135 คนและ นกัการภารโรง 11 คน โรงเรียนชลกนัยานกุูล ไดกอตั้งในป พ.ศ. 2458 โดย พระยาปราศรัยสุรเดชขาหลวงประจําจังหวดัชลบุรี มีความประสงคอยางแรงกลาจะสรางโรงเรียนประจําจังหวดัชลบุรีเพื่อเปนสถานศึกษาสําหรับกุลบุตรกลุธิดา ไดดําเนนิการเรี่ยไรจากประชาชนชาวชลบุรี สมทบกับเงินงบประมาณแผนดินกอสรางอาคารเรียน เปดเรียนเปนทางการในป พ.ศ. 2460 โดยยายนักเรียนจากโรงเรียนพินิจบุรพการ (วัดตนัสน) และโรงเรียนอุดมพิทยา (วัดกําแพง) มาเรียน มี ร.บ. (ราชบุตร) ชม ชมสุนทรี เปนครูใหญคนแรกของโรงเรียน ใชช่ือวา “โรงเรียนประจําจังหวดัชลบุรี” เปดทําการสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แบบสหศึกษา ป พ.ศ. 2471 มีจํานวนนักเรียนมากขึน้จึงแยกนกัเรียนเฉพาะชั้นมัธยมไปเรียนที่สโมสรขาราชการ ป พ.ศ. 2474 กระทรวงธรรมการ มีคําสั่งใหแยกนักเรยีนหญิง – ชายเปนคนละโรงเรียน แตเนื่องจากอาคารเรียนยังไมเพียงพอ จงึแยกใหนกัเรียนหญิงเรียนครึ่งหนึ่งและนักเรียนชายเรียนคร่ึงหนึ่ง ทางฝายนักเรียนหญิงมี นางสาวอุน ติรัตนะ เปนครูใหญ ป พ.ศ. 2478 – 2479 ชาวจังหวัดชลบุรี ไดบริจาคเงินสมทบกับเงินงบประมาณแผนดินสรางอาคารเรียนหลังใหม ในวันที่ 10 กันยายน 2479 ไดยายนักเรยีนหญิงทั้งหมดไปเรียนที่อาคารสรางใหม ใชช่ือโรงเรียนวา โรงเรียนสตรีชลบุรี “ชลกันยานุกูล”

ป พ.ศ. 2503 ไดรับอนุญาตจากระทรวงศกึษาธิการใหเปดการสอนถึงชั้นเตรียมอุดม ศึกษา แผนกอักษรศาสตร เปนแบบสหศกึษาและเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเปนโรงเรียนชลกันยานกุูล ป พ.ศ. 2504 นารถ มนตเสวี ผูวาราชการจังหวดัชลบุรี ไดเหน็ความสาํคัญของการศึกษา และมีความประสงคจะขยายพื้นที่ของโรงเรียน จึงไดหาทีส่รางโรงเรียนใหม โดยปรับพื้นที่ชายทะเลบรเิวณปาแสม หลังศาลากลางจังหวดัชลบุรี ซ่ึงมีเนื้อที่ 27 ไร 2 งาน 46 ตารางวา สรางอาคารเรียนเปนตึกสองชั้นกวาง 10 เมตร ยาว 126 เมตร มีหองเรยีน 22 หอง หองครู 2 หอง ส้ินคากอสรางเปนเงิน 2,287,481.25 บาท (สองลานสองแสนแปดหมืน่เจ็ดพันสี่รอยแปดสิบเอ็ดบาทยี่สิบหาสตางค) จากเงนิรายไดของงานสงกรานตประจําป สภาจังหวัดชลบุรี พอคา คหบดี

Page 84: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

75

ประชาชน สมาคม ศิษยเกาและหางรานตาง ๆ สรางเสร็จเมื่อวันที ่30 พฤศจิกายน 2504 และจัดตัง้“มูลนิธิชลกันยานุกูล” ในป พ.ศ. 2520 ป พ.ศ. 2523 ไดรับมอบหมายใหเปนที่ตั้งศนูยวฒันธรรมจังหวดัชลบุรีในโรงเรียน ชลกันยานกุูล และตอมาไดใหเปนทีต่ั้งหนวยอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมทองถิ่นจังหวดัชลบุรีใหเปนที่ตั้งศนูยพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (English Resource Instruction Center) (ERIC) ศูนยพัฒนาการสอนภาษาตางประเทศ ภาษาที่ 2 (ภาษาฝรั่งเศส) ปจจุบันโรงเรยีนชลกันยานกุูล มีอาคารเรียนจํานวน 8 หลัง หอประชุม 1 หลัง อาคารพลศึกษา 1 หลัง มีมูลนิธิเพื่อการศึกษาจํานวนทั้งสิ้น 19 มูลนิธิ และ 3 กองทุน โรงเรียนไดดําเนินการจัดการเรียนการสอนเปนที่ยอมรับของชุมชน ไดรับรางวัลโรงเรียนพระราชทานขนาดใหญพิเศษ 3 คร้ัง เมื่อป พ.ศ. 2525, 2532, 2542 และไดรับการคัดเลือกใหเปนโรงเรยีนปฏิรูปการศึกษาดเีดน โรงเรียนตนแบบในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาขัน้พื้นฐาน โรงเรียนพัฒนาหองสมุดดีเดน โรงเรียนจดักิจกรรมรณรงคตอตานยาเสพติดดีเดน (โรงเรียนสีขาว) รางวัลวารสารของสถาบันการศึกษาดีเดน สถานศึกษาสนับสนุนการใชภาษาไทยดีเดน พัฒนาครูเปนครูตนแบบ ครูแกนนํา ครูแหงชาติ และนักเรียนไดรับรางวัลพระราชทานการแตงบทรอยกรอง ดานภาษาไทย รวมทั้งไดรับรางวัลเยาวชนดเีดนในดานวิชาการ กีฬา ดนตรี นาฏศิลป ศิลปะ ในระดับประเทศและตางประเทศ มีช่ือเสียงติดตอกันเปนระยะเวลายาวนานจวบจนถงึปจจุบัน 2. ปรัชญาและสัญลักษณของโรงเรียน

ปรัชญาของโรงเรียน “อตฺตนา โจทยตฺตาน”ํ หมายถึง จงเตือนตนดวยตนเอง คําขวัญของโรงเรียน เรียนเดน เลนดี มีวินยั คติพจนของโรงเรียน เดินทางธรรม นําชีวิตไมผิดครรลอง สีประจําโรงเรียน กรมทา – เนื้อ ธงประจําโรงเรียน ธง 2 แถบ แถบบน สีกรมทา หมายถึง เกียรติศักดิ ์ แถบลาง สีเนื้อ หมายถึง เยาวสตรี และม ี นางกมุทมาศนารีอยูกลางผืนธง อักษรยอ ช.น.

ตราประจําโรงเรียน เปนภาพนางกมุทมาศนารี อยูในดอกบวั ลอยอยูในมหาสมุทร หัตถขวาถือปากการขนไก หัตถซายถือสมุดเขียนวา “อตฺตนา โจทยตฺตาน”ํ เปนสัญลักษณของโรงเรียน มีความหมายวา นางกมุทมาศนารี เปนนางฟาซึ่งมีความงดงาม เพียบพรอมดวยคณุสมบัติของกุลสตรีไทย อยูในดอกบวั ซ่ึงเปนดอกไมทีแ่สดงถึงความมีคุณธรรม ยึดมัน่ในคณุความดี ตามหลัก

Page 85: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

76

พุทธศาสนา ดอกบัวลอยอยูในมหาสมุทร แสดงถึง ถ่ินกําเนิดในจังหวัดแหงทองทะเล คือ จังหวดัชลบุรี หัตถขวาถือปากกาขนไก แสดงถึงความมีสติปญญาหลักแหลม รักการเขียนการอานหนังสอื หัตถซายถือสมุดเขียนวา “อตฺตนา โจทยตฺตานํ” แสดงถงึ ความใฝรู ใฝเรียน รักการศึกษาคนควา มีความอุตสาหะพากเพยีรในการศึกษาอยางสม่ําเสมอ สมดังพทุธสุภาษติที่วา “จงเตือนตนดวยตนเอง” ซ่ึงเปนแบบอยางและเปนแนวทางในการพัฒนาคุณภาพนักเรยีนโรงเรียนชลกันยานุกูลใหมีความรูคูคุณธรรม สามารถนําความรู ความสามารถไปพัฒนาสังคมและประเทศชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. วิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมายของโรงเรียนชลกันยานุกูล วิสัยทัศน (vision)

เปนโรงเรียนของชุมชน มุงเนนความเปนเลิศทางวิชาการและคุณธรรม มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา สืบสานภูมิปญญาทองถ่ิน และความกาวไกลเทคโนโลยี

พันธกิจ (mission) 1. พัฒนาการบริหารการจัดการแบบมีสวนรวมโดยใชโรงเรียนเปนฐาน 2. พัฒนาคุณภาพนกัเรียนตามมาตรฐานการศึกษา 3. สงเสริมใหนักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม และคานยิมที่พึงประสงค 4. พัฒนาครูตามมาตรฐานสูความเปนครูมอือาชีพ 5. สืบสานภูมิปญญาทองถ่ิน 6. จัดใหมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย ใหนักเรยีนมีความรูและทักษะในการใชเทคโนโลยี 7. สงเสริมใหบุคลากรรวมมือกันพัฒนาโรงเรียนในทุกดาน เปาหมาย (objective) 1. นักเรียนมีความสุขตามมาตรฐานการศึกษา สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมอยางมีความสุข 2. นักเรียนทกุคนสําเร็จการศึกษาภาคบังคับ และการศกึษาขั้นพืน้ฐานอยางมีประสิทธิภาพ 3. นักเรียนมีความรูและทกัษะในการใชเทคโนโลยี สามารถศึกษาตอและประกอบอาชีพไดอยางมีคุณภาพ 4. บุคลากรไดรับการพัฒนาเต็มศักยภาพ สามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนแบบอยางที่ดีในชุมชน 4. นโยบายของโรงเรยีน

Page 86: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

77

เพื่อใหการดําเนินงานของโรงเรียนชลกันยานุกูลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพสอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุธศักราช 2540 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 สภาวะดานเศรษฐกจิ สังคมในปจจุบนัและแนวโนมในอนาคตโรงเรียนชลกันยานุกูลไดกําหนดนโยบายคุณภาพการศึกษา ประจําปงบประมาณ 2548 ดังนี ้ นโยบายขอที่ 1 การรับรองสิทธิและโอกาสทางการศึกษา เรงรัดจัดการศกึษาขั้นพืน้ฐานดานมัธยมศกึษาใหเดก็ทุกกุลมไดเรียน โดยเฉพาะเดก็ดอยโอกาส และเดก็พิการทุกประเภทอยางทัว่ถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย

นโยบายขอที่ 2 การปฏิรูปการเรียนรู เรงพัฒนาการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคญั โดยเนนการปฏิบัติและผลงานการมีสวนรวมกระบวนการกลุม บรรยากาศการเรียนที่มีความสุข การเรียนรูดวยตนเอง ดวยรูปแบบวิธีการ เนื้อหาส่ือและเทคโนโลยีที่หลากหลายและประหยัดโดยสอดแทรกและผสมผสานการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะทีพ่ึงประสงค โดยเฉพาะความรับผิดชอบ ซ่ือสัตย ประหยัด และนิยมไทยไวอยางผสมกลมกลืน นโยบายขอที่ 3 การประกันคุณภาพการศกึษา เรงดําเนินการใหโรงเรียนพฒันาระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก ดําเนนิการประเมินตนเองและรายงานผลการประเมินมาตรฐานตามแบบรายงาน สมศ. นโยบายขอที ่4 การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เรงพัฒนาประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการพัฒนาเครือขาย ศูนยวิทยบริการ (resource center) เครือขายคอมพิวเตอร หองปฏิบัติการทางภาษา ระบบการศึกษาทางไกล ที่มีอยูแลวใหเกิดประโยชนตอการเรียนการสอนยิ่งขึ้น นโยบายขอที ่5 การปรับปรุงโครงสรางเพื่อรองรับการกระจายอํานาจ เรงปรับปรุงโครงสรางการบริหารงานโรงเรียนเพื่อเสรมิสรางความแข็งแกรง กระชบั คลองตัว ในการบริหารงานเพื่อรองรับการกระจายอํานาจสูเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 นโยบายขอที ่6 การมีสวนรวม สงเสริมการมีสวนรวมในการจัดการศึกษาขององคคณะบุคคลครอบครัวชุมชนสถานประกอบ การและองคกรปกครองสวนทองถ่ินสนับสนุนใหมกีารถายโอนการศึกษาสูองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

Page 87: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

78

นโยบายขอที ่7 การระดมทรพัยากรเพื่อการศึกษา เรงระดมทรัพยากรจากหนวยงานตาง ๆ ทัง้ภาครัฐและเอกชนในการจัดการศึกษาสนับสนุนใหครอบครัว องคกรเอกชนและชุมชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ปรับปรุงและปฏิรูประบบงบประมาณใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น พัฒนาการบริหารงบประมาณใหคุมคา ประหยัด รวมทั้งมีการกาํกับ ตรวจสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการใชจายเงินงบประมาณ นโยบายขอที ่8 การพัฒนาบคุลากร เรงพัฒนาประสิทธภิาพครูและบุคลากรใหมีความรูความสามารถและคุณธรรมเปนแบบอยางไดและสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษา นโยบายขอที ่9 พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศ พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศใหทันสมัย เพื่อใชเปนพื้นฐานพัฒนาคุณภาพการเรียนรู และใชในการบริหารจัดการอยางมีคุณภาพ นโยบายขอที ่10 การสื่อสารเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ใหทุกฝาย/หมวด/งาน ถือเปนหนาที่ทีจ่ะสือ่สารทําความเขาใจแกผูที่เกีย่วของใหเขาใจเจตนารมณ และหลักการทีสํ่าคัญของการปฏิรูปการศึกษา รวมทั้งการรายงานผลการดําเนินงานตอสาธารณชน 5. โครงสรางการบริหารงานโรงเรียนชลกันยานุกูล

ภาพที่ 2 โครงสรางผูบริหารสถานศึกษา

ผูบริหารสถานศึกษา

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

สมาคมผูปกครองและครูโรงเรยีนชลกันยานุกูล

คณะกรรมการบริหารโรงเรียน

สมาคมศิษยเกาชลกันยานุกูล

กลุมอํานวยการ กลุมจัดการศึกษาและพัฒนาวิชาการ กลุมกิจการนักเรียน

Page 88: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

79

ภาพที่ 3 โครงสรางกลุมอํานวยการ

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนชลกันยานกุูล

คณะกรรมการบริหารโรงเรยีน

สมาคมศิษยเกาชลกันยานุกูล

ฝายบริหารงาน

งานจัดสรรงบประมาณ งานการเงิน-บัญชี งานบริหารพัสดุและสินทรัพย

งานระดมทรัพยากรฯ

ฝายชุมชนสัมพันธ

งานประชาสัมพันธ

งานสมาคมผูปกครอง งานสมาคมศิษยเกา.

งานมูลนิธิ

ฝายบริหารงาน

งานสารบรรณ งานธุรการ

งานประสานงานงานบุคคล

งานติดตามงานรับนักเรียน

งานสวัสดิการ

ฝายบริการและสวัสดิการนักเรียน

งานสวัสดิการงานโภชนาการงานสหกรณ

งานยานพาหนะ

ฝายงานอาคารสถานที่

งานบริหารงานนักการ งานรักษาความปลอดภัย งาน

งาน 5 ส งานจราจรและรักษาความปลอดภัย

กลุมอํานวยการ

งานวารสาร

ผูอํานวยการสถานศึกษา

Page 89: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

80

ภาพที่ 4 โครงสรางกลุมจัดการศึกษาและพฒันา

ผูบริหารสถานศึกษา

ฝายจัดการศึกษา

งานกิจกรรมพัฒนาผูเรียน งานพัฒนาแหลงเรียนรูและภูมิปญญา

งานทะเบียนวัดผลนักเรียน

งานศูนยวิทยบริการ งานแนะแนว

ฝายเทคโนโลยีการศึกษา

งานพัฒนาสื่อและนวัตกรรม

งานโสตทัศนศึกษา งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

งานนิเทศการศึกษา

งานประสานและพัฒนาเครือขายการศึกษา

งานติดตามผลและประเมินผล

งานประกันคุณภาพการศึกษา

ฝายพัฒนาวิชาการ งานพัฒนาบุคลากร

งานวัดผลประเมินผล งานทะเบียนนักเรียน

งานกลุมสาระ

งานสํานักงาน

งานสื่อสาร

งานคอมพิวเตอร

กลุมจัดการศึกษาและพัฒนาวิชาการ

ฝายนโยบายและแผนฝายนโยบายและแผน งานแผนงาน งานสารสนเทศ งานวิจัยและพัฒนา

งานสํานักงานผูอํานวยการ

งานหนวยอนุรักษสิ่งแวดลอม

งาน EIS

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนชลกันยานกุูล

คณะกรรมการบริหารโรงเรยีน

สมาคมศิษยเกาชลกันยานุกูล

Page 90: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

81

ภาพที่ 5 โครงสรางกลุมกิจการนักเรียน

ผูอํานวยการสถานศึกษา

กลุมกจิการนกัเรียน

งานสงเสริมศิลปวัฒนธรรม งานคณะกรรมการนักเรียน

ฝายกิจการและสวัสดิการนักเรยีน

งานคณะส ีงานสงเสริมประชาธิปไตย

งานปองกันแกไขปญหายาเสพติดและอบายมุข

งานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน

ฝายปกครองนักเรียน

งานเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน

งานระดบัชั้น

งานขอมูลนักเรียน งานติดตามประเมนิผล

งานอนามัยนักเรียน

Page 91: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

82

6. อัตรากําลังขาราชการครูโรงเรียนชลกันยานุกูล ตารางที่ 26 จํานวนครูจําแนกตามเพศ วุฒ ิ ประสบการณ

เพศ วุฒิการศึกษา กลุมสาระการเรียนรู ชาย หญิง รวม ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี รวม

ผูบริหาร ผูชวยผูบริหาร ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาตางประเทศ สนับสนุนการสอน

- 2 1 3 6 3

4 3 4

1 -

1 2

13 11 13 15

6 4

15

21 6

1 4

14 14 19 18

10 7

19

22 13

- - - - - -

- - -

-

1 4 1 2 8 2

2 - 2

4 1

- 1

13 12 11 16

8 7

17

18 5

1 5

14 14 19 18

10 7

19

22 6

รวม 22 113 135 - 27 108 135

Page 92: แรงจูงใจในการท ํางานของข า ...ตรวจสอบแก ไขข อบกพร องต าง ๆ จนเสร จส นสมบ

83

ประวัติยอของผูเขียนปญหาพิเศษ

ชื่อ–สกุล นางสาวผาสุข จิตนาวสาร วัน เดือน ป 10 กันยายน 2503 สถานที่เกิด จันทบุรี สถานที่อยูปจจุบัน 153/13 หมู 3 ตําบลเสม็ด อําเภอเมืองชลบุรี จังหวดัชลบุรี

สถานที่ทํางาน

ปจจุบัน โรงเรียนชลกนัยานกุูล จังหวัดชลบุรี

วุฒิการศึกษา

พ.ศ. 2521 มัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนศรียานุสรณ จังหวดัจันทบุรี พ.ศ. 2523 ป.กศ.สูง (พลศึกษา) วิทยาลัยรําไพพรรณี จังหวดัจันทบุรี พ.ศ. 2525 ก.ศบ. (พลศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พลศึกษา กรุงเทพฯ พ.ศ. 2549 รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการบริหารทั่วไป) วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา