2
ย้อนเวลากลับไปในคราวเมื่อแรกเริ่มจะสถาปนากระทรวงมหาดไทย ๑๒๐ ปี ก่อนนั ้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรม วงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ มาเป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ด้วยมี พระราชดาริจะจัดการปกครองพระราชอาณาเขตใหม่...ให้เป็นการกวดขัน มั่นคงและ เป็นการสะดวกดีในการปกครองขึ ้น...ซึ ่งท่านหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล พระธิดา ทรงเล่าไว้ ในหนังสือ เรื่อง ชีวิตและงานสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ ถึงเหตุการณ์เมื่อ แรกทรงงานที่กระทรวงมหาดไทย ความว่า ในเวลาแรกเสด็จไปไม่ได้ทรงแก้ไขอะไร เลย ไปประทับทอดพระเนตรการงานที่เขาทากันอยู่ทุกแผนก และประทับอยู่ในห้องเจ้า คุณราชวรานุกูล (อ่วม) ผู้เป็นปลัดทูลฉลองโดยมาก จนกระทั่งทรงทราบการงานที่ทาอยูโดยละเอียดจึงทรงคิดแก้ไข โดยทรงกราบบังคมทูลขอตั ้งมณฑลและจังหวัด อาเภอ ขึ ้น ตามท้องทีนับเป็นจุดเริ่มแรกการเปลี่ยนแปลงการปกครองพระราชอาณาเขต จากเดิมที่เป็น จตุสดมภ์ เวียง วัง คลัง นา อย่างสมัยกรุงศรีอยุธยา กลายเป็น “มณฑล และจังหวัด” แต่เดิมนั ้น การตั ้งเมืองและศาลากลางจังหวัดยึดเอาความสะดวกของประชาชนเป็น หลัก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงเล่าว่า “...โบราณเขาเอา ที่มีน ้า และที่ราบทานาได้เป็นหลัก และระยะเมืองก็เอาเกณฑ์ตีนเดินแต่เช้ามืดถึงเย็น เป็นที่หยุดพัก ระยะทางจึงอยู่ในระยะ ๖๐ กิโลเมตรเสมอ ดังเช่น นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรีฯ เป็นต้น ในสมัยของพระองค์ท่านเอาความสะดวกของราษฎรเป็นหลัก เช่นถ้า ทางน ้าเปลี่ยนใหม่ ไม่สะดวกแก่การคมนาคม ราษฎรมักย้ายไปตามน ้า ถ้าเลือกที่ได้ ถูกต้องมั่นคง ก็ย้ายเมืองตามไป ถ้าไม่ถูกต้องก็แก้ไขชี ้แจงให้เข้าใจกัน เมืองสมัยนั ้นคือ ศาลากลางอยู่ที่ไหนที่นั่นคือเมือง...” ปัจจุบันอาคารมีสภาพทรุดโทรมไปตามกาลเวลาเกิดความชารุดเสียหาย รอยแตกร้าว ของคอนกรีต และโครงสร้างเพดานหลายแห่ง หลังคารั่วซึม ฝ้ าเพดาน ผุกร ่อน บันไดมีการ ทรุดตัว ขาดความปลอดภัย โดยเฉพาะภายหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหวส่งผลให้อาคารเกิดการ สั่นสะเทือนทั ้งอาคาร มีรอยร้าวเพิ่มมากขึ ้น ประกอบกับพื ้นที่ใช้สอยที่มีขนาดคับแคบ การ ให้บริการประชาชนขาดความคล่องตัว จึงจาเป็นต้องจัดสร้างอาคารใหม่ทดแทน ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต สร้างขึ ้น (ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๕๐ - ๒๔๕๖) ในสมัยที่พระยารัษฎา นุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี ้ ณ ระนอง) เป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต ได้กาหนดให้ บริษัททุ่งคาคอมเปาต์เป็นผู้สร้างให้ เพื่อแลกเปลี่ยนกับการอนุญาตให้ประทานบัตร ในการขุดแร่ ซึ ่งทาให้ไม่ต้องใช้งบประมาณแผ่นดินในการก่อสร้าง และบริษัททุ่งคาคอมเปาต์ได้ ให้ช่างชาวอิตาเลี่ยนเป็นผู้ออกแบบ และควบคุมการก่อสร้าง ดังนั ้น ศาลากลางจังหวัดภูเก็ตจึงเป็น อาคารที่มีสถาปัตยกรรมแบบยุโรป และเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังแรกของประเทศไทยที่มี ชื่อเสียงมากในสมัยนั ้น เป็นอาคารไม้สักสองชั ้น มีลักษณะเป็นคอร์ต ( court) คือ อาคารที่ล้อมรอบ เป็นสี่เหลี่ยม ตรงกลางเป็นลานกว้างเปิดโล่ง ไม่มีหลังคา ทาเป็นสวนหย่อม มีระเบียงอาคารทั ้งด้านนอก และด้านใน เดินรอบอาคารได้ทั ้งสองชั ้น อาคารหลังนี ้ เป็นอาคารที่ประกอบด้วยประตูทั ้งหมด จานวน ๙๙ ประตู ต่อมาในภายหลังได้มีการต่อเติมหน้าต่าง จานวน ๒ บาน ทางมุขด้านหลังของอาคาร ต่อมา กรมศิลปากรได้ขึ ้นทะเบียนและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๒๐ ให้เป็น โบราณสถาน มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ เห็นชอบแผนการใช้ที่ดินของ หน่วยงานของรัฐในเรื่องศูนย์กลางความเจริญของภาคใต้ : ภูเก็ต กาหนดให้มีการจัดวาง ผังแม่บทศูนย์ราชการจังหวัดภูเก็ต โดยศูนย์ราชการหลักมีเนื ้อที่ ๑๙๒ ไร ่ ถูกห้อมล้อม ด้วยถนนมนตรี ถนนดารง ถนนปะเหลียน ถนนอาเภอ ถนนนริศร และถนนสุรินทร์ และให้พื ้นที่บริเวณที่ราชพัสดุคลองเกาะผี เนื ้อที่ ๙๗ ไร ่ ถูกห้อมล้อมด้วยคลองท่าแครง ถนนรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี และถนนศักดิเดชทางทิศใต้ เป็นศูนย์ราชการรอง ศาลากลางจังหวัดหลังใหม่ ที่จะก่อสร้างให้ใช้พื ้นที่บริเวณสนามชัยและสนามเทนนิส โดยให้ย้ายสนามเทนนิสไปอยู่บริเวณศูนย์ที่พักบุคลากร และให้อาคารศาลากลางจังหวัด ในปัจจุบันเป็นอาคารอนุรักษ์ของกรมศิลปากรปรับปรุงการใช้สอยเป็นอาคารพิพิธภัณฑ์ หรืออาคารที่เกี่ยวกับศิลปะ วัฒนธรรมของจังหวัด ปัจจุบันรัฐบาลได้อนุมัติเงินงบประมาณ จานวน ๔๕๐ ล้านบาท ให้จังหวัดภูเก็ต เป็นค่าก่อสร้างศาลากลางจังหวัด จานวน ๑ หลัง เป็นรายการผูกพันงบประมาณรายจ่าย ประจาปี พ.ศ.๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ โดยให้จัดหาผู้รับจ้างตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๑ กระทรวงมหาดไทย ตามรอยเสด็จ ๔ ภาค ณ ศาลากลางจังหวัด และที่ว่าอาเภอที่เป็ นที่ประทับ

ยอ้นเวลากลบัไปในคราวเมื่อแรกเริ่มจะสถาปนากระทรวงมหาดไทย ...osmsouth-w.moi.go.th/article/แผนพับศาลากลาง... ·

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ยอ้นเวลากลบัไปในคราวเมื่อแรกเริ่มจะสถาปนากระทรวงมหาดไทย ...osmsouth-w.moi.go.th/article/แผนพับศาลากลาง... ·

ยอ้นเวลากลบัไปในคราวเม่ือแรกเร่ิมจะสถาปนากระทรวงมหาดไทย ๑๒๐ ปี ก่อนนั้น พระบาทสมเดจ็พระจุลจอมเกลา้เจา้อยูห่วัไดโ้ปรดเกลา้ฯ ใหส้มเดจ็พระบรมวงศเ์ธอ กรมพระยาด ารงราชานุภาพ มาเป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ดว้ยมีพระราชด าริจะจดัการปกครองพระราชอาณาเขตใหม.่..ใหเ้ป็นการกวดขนั มัน่คงและเป็นการสะดวกดีในการปกครองข้ึน...ซ่ึงทา่นหญิงพนูพิศมยั ดิศกลุ พระธิดา ทรงเล่าไว้ในหนงัสือ เร่ือง “ชีวิตและงานสมเดจ็กรมพระยาด ารงราชานุภาพ” ถึงเหตกุารณ์เม่ือแรกทรงงานท่ีกระทรวงมหาดไทย ความวา่ “ในเวลาแรกเสดจ็ไปไมไ่ดท้รงแกไ้ขอะไรเลย ไปประทบัทอดพระเนตรการงานท่ีเขาท ากนัอยูท่กุแผนก และประทบัอยูใ่นหอ้งเจา้คุณราชวรานุกลู (อ่วม) ผูเ้ป็นปลดัทลูฉลองโดยมาก จนกระทัง่ทรงทราบการงานท่ีท าอยู่โดยละเอียดจึงทรงคิดแกไ้ข โดยทรงกราบบงัคมทลูขอตั้งมณฑลและจงัหวดั อ าเภอ ข้ึนตามทอ้งท่ี”

นบัเป็นจุดเร่ิมแรกการเปล่ียนแปลงการปกครองพระราชอาณาเขต จากเดิมท่ีเป็นจตุสดมภ ์เวียง วงั คลงั นา อยา่งสมยักรุงศรีอยธุยา กลายเป็น “มณฑล และจงัหวดั” ๑

แต่เดิมนั้น การตั้งเมืองและศาลากลางจงัหวดัยดึเอาความสะดวกของประชาชนเป็นหลกั สมเดจ็พระเจา้บรมวงศเ์ธอ กรมพระยาด ารงราชานุภาพทรงเล่าวา่ “...โบราณเขาเอาท่ีมีน ้า และท่ีราบท านาไดเ้ป็นหลกั และระยะเมืองกเ็อาเกณฑตี์นเดินแต่เชา้มืดถึงเยน็เป็นท่ีหยดุพกั ระยะทางจึงอยูใ่นระยะ ๖๐ กิโลเมตรเสมอ ดงัเช่น นครปฐม ราชบรีุ เพชรบรีุฯ เป็นตน้ ในสมยัของพระองคท์า่นเอาความสะดวกของราษฎรเป็นหลกั เช่นถา้ทางน ้าเปล่ียนใหม ่ ไมส่ะดวกแก่การคมนาคม ราษฎรมกัยา้ยไปตามน ้า ถา้เลือกท่ีได้ถูกตอ้งมัน่คง กย็า้ยเมืองตามไป ถา้ไมถู่กตอ้งกแ็กไ้ขช้ีแจงใหเ้ขา้ใจกนั เมืองสมยันั้นคือศาลากลางอยูท่ี่ไหนท่ีนัน่คือเมือง...”

ปัจจุบนัอาคารมีสภาพทรุดโทรมไปตามกาลเวลาเกิดความช ารุดเสียหาย รอยแตกร้าว ของคอนกรีต และโครงสร้างเพดานหลายแห่ง หลงัคาร่ัวซึม ฝ้าเพดาน ผกุร่อน บนัไดมีการทรุดตวั ขาดความปลอดภยั โดยเฉพาะภายหลงัเกิดเหตุแผน่ดินไหวส่งผลใหอ้าคารเกิดการสัน่สะเทือนทั้งอาคาร มีรอยร้าวเพ่ิมมากข้ึน ประกอบกบัพ้ืนท่ีใชส้อยท่ีมีขนาดคบัแคบ การใหบ้ริการประชาชนขาดความคล่องตวั จึงจ าเป็นตอ้งจดัสร้างอาคารใหมท่ดแทน

ศาลากลางจงัหวดัภูเกต็ สร้างข้ึน (ระหวา่ง พ.ศ. ๒๔๕๐-๒๔๕๖) ในสมยัท่ีพระยารัษฎานุประดิษฐม์หิศรภกัดี (คอซิมบ้ี ณ ระนอง) เป็นสมหุเทศาภิบาลมณฑลภูเกต็ ไดก้ าหนดให้บริษทัทุ่งคาคอมเปาตเ์ป็นผูส้ร้างให้ เพ่ือแลกเปล่ียนกบัการอนุญาตให้ประทานบตัรในการขดุแร่ ซ่ึงท าใหไ้มต่อ้งใชง้บประมาณแผน่ดินในการก่อสร้าง และบริษทัทุง่คาคอมเปาตไ์ด ้ ใหช่้างชาวอิตาเล่ียนเป็นผูอ้อกแบบ และควบคุมการก่อสร้าง ดงันัน้ ศาลากลางจงัหวดัภูเกต็จึงเป็นอาคารท่ีมีสถาปัตยกรรมแบบยโุรป และเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหลก็ หลงัแรกของประเทศไทยท่ีมีช่ือเสียงมากในสมยันัน้ เป็นอาคารไมส้กัสองชัน้ มีลกัษณะเป็นคอร์ต (court) คือ อาคารท่ีลอ้มรอบเป็นส่ีเหล่ียม ตรงกลางเป็นลานกวา้งเปิดโล่ง ไมมี่หลงัคา ท าเป็นสวนหยอ่ม มีระเบียงอาคารทัง้ดา้นนอก และดา้นใน เดินรอบอาคารไดท้ัง้สองชัน้ อาคารหลงัน้ี เป็นอาคารท่ีประกอบดว้ยประตูทัง้หมด จ านวน ๙๙ ประตู ต่อมาในภายหลงัไดมี้การต่อเติมหนา้ต่าง จ านวน ๒ บาน ทางมขุดา้นหลงัของอาคาร ต่อมากรมศิลปากรไดข้ึ้นทะเบียนและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวนัท่ี ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๒๐ ใหเ้ป็นโบราณสถาน

มติคณะรัฐมนตรี เม่ือวนัท่ี ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ เห็นชอบแผนการใชท่ี้ดินของหน่วยงานของรัฐในเร่ืองศนูยก์ลางความเจริญของภาคใต ้: ภูเกต็ ก าหนดใหมี้การจดัวางผงัแมบ่ทศนูยร์าชการจงัหวดัภูเกต็ โดยศนูยร์าชการหลกัมีเน้ือท่ี ๑๙๒ ไร่ ถูกหอ้มลอ้มดว้ยถนนมนตรี ถนนด ารง ถนนปะเหลียน ถนนอ าเภอ ถนนนริศร และถนนสุรินทร์ และใหพ้ื้นท่ีบริเวณท่ีราชพสัดุคลองเกาะผี เน้ือท่ี ๙๗ ไร่ ถูกหอ้มลอ้มดว้ยคลองทา่แครง ถนนรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี และถนนศกัดิเดชทางทิศใต ้ เป็นศนูยร์าชการรอง

ศาลากลางจงัหวดัหลงัใหม ่ท่ีจะก่อสร้างใหใ้ชพ้ื้นท่ีบริเวณสนามชยัและสนามเทนนิส โดยใหย้า้ยสนามเทนนิสไปอยูบ่ริเวณศนูยท่ี์พกับคุลากร และใหอ้าคารศาลากลางจงัหวดัในปัจจุบนัเป็นอาคารอนุรักษข์องกรมศิลปากรปรับปรุงการใชส้อยเป็นอาคารพิพิธภณัฑ ์หรืออาคารท่ีเก่ียวกบัศิลปะ วฒันธรรมของจงัหวดั

ปัจจุบนัรัฐบาลไดอ้นุมติัเงินงบประมาณ จ านวน ๔๕๐ ลา้นบาท ใหจ้งัหวดัภูเกต็ เป็นคา่ก่อสร้างศาลากลางจงัหวดั จ านวน ๑ หลงั เป็นรายการผกูพนังบประมาณรายจ่ายประจ าปี พ.ศ.๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ โดยใหจ้ดัหาผูรั้บจา้งตามระเบียบส านกันายกรัฐมนตรีวา่ดว้ยการพสัดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และท่ีแกไ้ขเพ่ิมเติม

๑ กระทรวงมหาดไทย ตามรอยเสด็จ ๔ ภาค ณ ศาลากลางจังหวัด และที่ว่าอ าเภอที่เป็นท่ีประทับ

Page 2: ยอ้นเวลากลบัไปในคราวเมื่อแรกเริ่มจะสถาปนากระทรวงมหาดไทย ...osmsouth-w.moi.go.th/article/แผนพับศาลากลาง... ·

จงัหวดัภูเกต็มีความพร้อมในดา้นพ้ืนท่ีท่ีจะใชก่้อสร้างศาลากลางจงัหวดัภูเกต็หลงัใหม ่ ในพ้ืนท่ีสนามเทนนิส และสนามชยั ซ่ีงมีเน้ือท่ีรวม ๑๔-๒- ๖ ไร่

สนามสนามเทนนิสเดิมเป็นพ้ืนท่ีของสโมสรจงัหวดัภูเกต็ ไดถู้กเพิกถอนโดยข้อบังคับสมาคม และข้ึนทะเบียนเป็นท่ีราชพสัดุ โดยจงัหวดั ไดจ้ดัหาสถานท่ีก่อสร้างสนามเทนนิส จ านวน ๖ คอร์ด ใหมี้ขนาดมาตรฐานโดยใชท่ี้ราชพสัดุท่ีกรมการปกครองครอบครองดูแลบริเวณดา้นหลงัศาลากลางจงัหวดัในปัจจุบนั

ส าหรับพ้ืนท่ีสนามชยัจะยงัคงรักษาความเป็นพ้ืนท่ีสีเขียว เพ่ือการนนัทนาการ และผกัผอ่นหยอ่นใจ ในการวางแผนระยะยาว มีแผนงานท่ีจะยา้ยเรือนจ าจงัหวดั ซ่ึงมีเน้ือท่ีประมาณ ๔๗ ไร่ ไปอยูท่ี่บา้นบางโจ ต.ศรีสุนทร อ.ถลาง และปรับปรุงพ้ืนท่ีเป็นปอดส าหรับชุมชนเมือง เพ่ือการนนัทนาการกีฬาประเภทต่าง ๆ และกิจกรรมสาธารณประโยชนอ่ื์นๆ

อาคารส านกังานเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กขนาดความสูง ๕ ชั้น ออกแบบ

และตกแต่งภายในเป็นสถาปัตยกรรมอาคารเก่าสไตลโ์คโลเนียลหรือชิโนโปรตุกีส

ซ่ึงคงเอกลกัษณ์ของภูเก็ตแบบดั้งเดิม พ้ืนท่ีใชส้อยรวม ๑๖,๖๐๐ ตารางเมตร

ประกอบดว้ย ๑๗ หน่วยงาน

อาคารหอประชุมและศูนยอ์าหาร เป็นอาคาร ๒ ชั้น พ้ืนท่ีใชส้อยรวม

๓,๒๐๐ ตารางเมตร มีความจุของห้องประชุมถึง ๕๐๐ คน

อาคารจอดรถใตดิ้น ดา้นล่างของสนามชยั รองรับรถยนตไ์ด ้๑๙๐ คนั และพ้ืนท่ี

อเนกประสงคด์า้นบน ซ่ึงปรับสภาพเป็นท่ีจอดรถไดอี้ก ๑๙๐ คนั

บริเวณโดยรอบพ้ืนท่ี นอกจากเป็นท่ีจอดรถบางส่วนแลว้ ยงัเป็นสวนหยอ่ม

และพ้ืนท่ีนนัทนาการเพ่ือการพกัผอ่นและออกก าลงักาย

การด าเนินการจะแลว้เสร็จ ภายในปีงบประมาณ ๒๕๕๘