1
การศึกษาประสิทธิภาพการใช้ฟางข้าวเป็นแหล่งอาหารหยาบ ใบกระถินสด และต้นถั่วลิสงแห้งเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีน ในการเลี้ยงโคเนื้อ Study on Efficiency of Using Rice Straw as Roughage Leucaena Leaf and Soybean Straw as Protein Supplement for Feeding Beef Cattle วีระพล แจ่มสวัสดิสุรณีย์ เหล่าวัฒนกุล และ สมบูรณ์ หมุนแก้ว คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก [email protected] วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อหาประสิทธิภาพการใช้ฟางข้าวเป็นแหล่งอาหารพลังงานใบ กระถินสดและต้นถั่วลิสงแห้งเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีนต่อลักษณะ และอัตราการเจริญเติบโตของโคเนื้อ 2. เพื่อหาแนวทางในการนาผลผลิตทางการเกษตรมาใช้เป็นแหล่งอาหาร พลังงานและอาหารเสริมโปรตีนสาหรับเลี้ยงสัตว์ กระเพาะรวม (ruminant animal) และหาผลตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจ ผลการดาเนินโครงการตามวัตถุประสงค์ 1. น้าหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการทดลอง กลุ่มการทดลองที4(เสริมใบกระถินสดและต้นถั่วลิสงแห้ง) เพิ่มขึ้น มากที่สุด 165.00 กิโลกรัม หรือ 0.59 กิโลกรัมต่อวัน รองลงมาคือกลุ่มการทดลองที่3(เสริมต้นถั่วลิสง แห้ง)163.50 กิโลกรัม หรือ 0.58 กิโลกรัมต่อวัน กลุ่มการทดลองที่ 2(เสริมใบกระถินสด) 159.25 กิโลกรัม หรือ 0.57 กิโลกรัมต่อวัน น้าหนักเพิ่มขึ้นน้อยที่สุดคือกลุ่มที1(ไม่เสริมพืชตระกูลถั่ว) 114.00 กิโลกรัม หรือ 0.41 กิโลกรัมต่อวัน โดยน้าหนักเพิ่มขึ้นตลอดการทดลองและเฉลี่ยต่อวัน กลุ่มการทดลองที2, 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันแต่ต่างจากกลุ่มที1 อย่างมีนัยสาคัญยิ่งที่ระดับ P <0.01 2. อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้าหนักตัวที่เพิ่มขึ้น 1 กิโลกรัม กลุ่มการทดลองที่ 1 ใช้อาหารมากที่สุด 22.22 กิโลกรัม รองลงมาคือ กลุ่มการทดลองที่ 2 20.38 กิโลกรัม กลุ่มการทดลองที่ 3 19.79 กิโลกรัม และใช้อาหารน้อยที่สุดคือกลุ่มที่ 4 98.46 กิโลกรัม โดยกลุ่มการทดลองที่ 1 และ 2 เช่นเดียวกับกลุ่มการ ทดลองที่ 2,3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันแต่กลุ่มการทดลองที่1 แตกต่างจากกลุ่มการทดลองที่ 3 และ 4 อย่างมีนัยสาคัญยิ่งที่ระดับ P < 0.01 3. ค่าอาหารเปลี่ยนเป็นน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ สังเกตได้ว่า เมื่อคิดค่าการ เปลี่ยนเป็นน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม มีการใช้ค่าอาหารค่อนข้างมาก ทั้งนี้เนื่องมาจากค่าฟางข้าว มีราคาสูง เพราะรวมค่าขนส่ง (น้ามันเชื้อเพลิงราคาสูง) พร้อมทั้งวัตถุดิบในการผสมอาหารข้นมีราคาค่อนข้างแพง ดังนั้นวิธีการเสริมใบกระถินสดและต้นถั่วลิสงแห้งจะเป็นวิธีการหรือแนวทางในการช่วยลดต้นทุน ค่าอาหารนั้นๆได้ โดยเฉพาะถ้ามีการจัดการในเรื่องอาหารและการให้อาหารอย่างเหมาะสม แนวทางการนาผลการดาเนินโครงการไปใช้ประโยชน์ 1. นาวิธีการทดลองโดยใช้พืชตระกูลถั่วท้องถิ่นเป็นอาหารเสริมในการเลี้ยงลูกโคนม เผยแพร่สู่เกษตรกรและผู้เกี่ยวข้อง 2. นาวิธีการและผลการทดลองนี้ไปพัฒนาต่อยอดปรับปรุงพัฒนาคุณภาพของพืชตระกูล ถั่วท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น ในการเลี้ยงลูกโคนมและเพื่อเป็นแนวทางการลด ต้นทุนการผลิต ขอบเขตและวิธีดาเนินการวิจัย ใช้โคเนื้อเพศเมียหย่านมแล้ว ในการทดลองจานวน 16 ตัว คัดเลือกให้มีอายุ ขนาด น้าหนักใกล้เคียงโดยใช้แผนการทดลองแบบ Completely Random Design (CRD) โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 4 การทดลอง (treatment) แต่ละกลุ่มการทดลอง ประกอบด้วยโค 4 ตัว โดยใช้โคเนื้อเพศเมียอายุระหว่าง 12-16 เดือนเป็นโคลูกผสมบ ราห์มัน (Brahman) สายเลือด 62.5-75 เปอร์เซ็นต์โดยใช้ระยะเวลาทดลอง 280 วัน หรือจนกระทั่งเป็นโคเนื้อสาว โดยให้แต่ละกลุ่มการทดลองได้รับอาหารทดลองดังนีกลุ่มการทดลองที่ 1 (T 1 ) ฟางข้าว (control) กลุ่มการทดลองที่ 2 (T 2 ) ฟางข้าว + ใบกระถินสด กลุ่มการทดลองที่ 3 (T 3 ) ฟางข้าว + ต้นถั่วลิสงแห้ง กลุ่มการทดลองที่ 4 (T 4 ) ฟางข้าว + ใบกระถินสด + ต้นถั่วลิสงแห้ง โคทุกตัวจะได้รับอาหารข้นที่ทาจากวัตถุดิบที่หาง่ายและราคาถูกในท้องถิ่นโดยให้ อาหารข้นมีเปอร์เซ็นต์โปรตีน 14.04 % จานวน 1 เปอร์เซ็นต์ต่อน้าหนักตัว โดยฟาง ข้าวหรืออาหารหยาบ (roughage) ให้กินอย่างเต็มที่ ส่วนใบกระถินสดและต้นถั่วลิสง แห้ง จะเสริมในปริมาณ 1% ต่อน้าหนักตัว ส่วนโคทุกตัวจะอยู่ในคอกทดลองเฉพาะตัว มีน้า แร่ธาตุก้อน ให้กินตลอดเวลา และได้รับอาหารทดลองช่วงเช้า (7.00 น.) ครึ่งหนึ่งและช่วงเย็น (17.00 น.) อีกครึ่งหนึ่ง ทาการทดลองเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลา 1 ปี กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจาก สานักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนา มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา งบประมาณประจาปี 2554 คณะผู้วิจัย ต้องขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการทางานวิจัยครั้งนี้จนสาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์

การศึกษาประสิทธิภาพการใช้ ...herp-nru.psru.ac.th/file/O54539_12.pdf · 2013-01-15 · กระถินสดและต้นถั่วลิสงแห้งเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีนต่อลักษณะ

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การศึกษาประสิทธิภาพการใช้ ...herp-nru.psru.ac.th/file/O54539_12.pdf · 2013-01-15 · กระถินสดและต้นถั่วลิสงแห้งเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีนต่อลักษณะ

การศึกษาประสิทธิภาพการใช้ฟางข้าวเป็นแหล่งอาหารหยาบ ใบกระถินสด

และต้นถั่วลิสงแห้งเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีน ในการเลี้ยงโคเนื้อ Study on Efficiency of Using Rice Straw as Roughage Leucaena Leaf and Soybean Straw as Protein Supplement for Feeding Beef Cattle

วีระพล แจ่มสวัสดิ์ สุรณีย์ เหล่าวัฒนกุล และ สมบูรณ์ หมนุแก้ว คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาต ิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

[email protected]

วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อหาประสิทธิภาพการใช้ฟางข้าวเป็นแหล่งอาหารพลังงานใบกระถินสดและต้นถ่ัวลิสงแห้งเป็นแหล่งอาหารเสริมโปรตีนต่อลักษณะและอัตราการเจริญเติบโตของโคเนื้อ 2. เพื่อหาแนวทางในการน าผลผลิตทางการเกษตรมาใช้เป็นแหล่งอาหารพลังงานและอาหารเสริมโปรตีนส าหรับเลี้ยงสัตว์ กระเพาะรวม (ruminant animal)และหาผลตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจ

ผลการด าเนินโครงการตามวัตถุประสงค์ 1. น้ าหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการทดลอง กลุ่มการทดลองที่4(เสริมใบกระถินสดและต้นถั่วลิสงแห้ง) เพิ่มขึ้นมากที่สุด 165.00 กิโลกรัม หรือ 0.59 กิโลกรัมต่อวัน รองลงมาคือกลุ่มการทดลองที่3(เสริมต้นถั่วลิสงแห้ง)163.50 กิโลกรัม หรือ 0.58 กิโลกรัมต่อวัน กลุ่มการทดลองที่ 2(เสริมใบกระถินสด) 159.25 กิโลกรัม หรือ 0.57 กิโลกรัมต่อวัน น้ าหนักเพิ่มขึ้นน้อยที่สุดคือกลุ่มที่ 1(ไม่เสริมพืชตระกูลถั่ว) 114.00 กิโลกรัม หรือ 0.41 กิโลกรัมต่อวัน โดยน้ าหนักเพิ่มขึ้นตลอดการทดลองและเฉลี่ยต่อวัน กลุ่มการทดลองที่ 2, 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันแต่ต่างจากกลุ่มที่ 1 อย่างมีนัยส าคัญยิ่งที่ระดับ P <0.01 2. อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ าหนักตัวที่เพิ่มขึ้น 1 กิโลกรัม กลุ่มการทดลองที่ 1 ใช้อาหารมากที่สุด 22.22 กิโลกรัม รองลงมาคือ กลุ่มการทดลองที่ 2 20.38 กิโลกรัม กลุ่มการทดลองที่ 3 19.79 กิโลกรัมและใช้อาหารน้อยที่สุดคือกลุ่มที่ 4 98.46 กิโลกรัม โดยกลุ่มการทดลองที่ 1 และ 2 เช่นเดียวกับกลุ่มการทดลองที่ 2,3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันแต่กลุ่มการทดลองที่1 แตกต่างจากกลุ่มการทดลองที่ 3 และ 4 อย่างมีนัยส าคัญยิ่งที่ระดับ P < 0.01 3. ค่าอาหารเปลี่ยนเป็นน้ าหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ สังเกตได้ว่า เมื่อคิดค่าการเปลี่ยนเป็นน้ าหนักตัว 1 กิโลกรัม มีการใช้ค่าอาหารค่อนข้างมาก ทั้งนี้เนื่องมาจากค่าฟางข้าว มีราคาสูงเพราะรวมค่าขนส่ง (น้ ามันเชื้อเพลิงราคาสูง) พร้อมทัง้วัตถุดิบในการผสมอาหารข้นมีราคาค่อนข้างแพง ดังนั้นวิธีการเสริมใบกระถินสดและต้นถั่วลิสงแห้งจะเป็นวิธีการหรือแนวทางในการช่วยลดต้นทุนค่าอาหารนั้นๆได้ โดยเฉพาะถ้ามีการจัดการในเรื่องอาหารและการให้อาหารอย่างเหมาะสม

แนวทางการน าผลการด าเนินโครงการไปใช้ประโยชน ์1. น าวิธีการทดลองโดยใช้พืชตระกูลถั่วท้องถิ่นเป็นอาหารเสริมในการเลี้ยงลูกโคนม เผยแพร่สู่เกษตรกรและผู้เกี่ยวข้อง 2. น าวิธีการและผลการทดลองนี้ไปพัฒนาต่อยอดปรับปรุงพัฒนาคุณภาพของพืชตระกูลถั่วท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึน้ ในการเลี้ยงลูกโคนมและเพื่อเป็นแนวทางการลดต้นทุนการผลิต

ขอบเขตและวิธีด าเนินการวิจัย ใช้โคเนื้อเพศเมียหย่านมแล้ว ในการทดลองจ านวน 16 ตัว คัดเลือกให้มีอายุ ขนาด น้ าหนักใกล้เคียงโดยใช้แผนการทดลองแบบ Completely Random Design (CRD) โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 4 การทดลอง (treatment) แต่ละกลุ่มการทดลองประกอบด้วยโค 4 ตัว โดยใช้โคเนื้อเพศเมียอายุระหว่าง 12-16 เดือนเป็นโคลูกผสมบราห์มัน (Brahman) สายเลือด 62.5-75 เปอร์เซ็นต์โดยใช้ระยะเวลาทดลอง 280 วัน หรือจนกระทั่งเป็นโคเนื้อสาว โดยให้แต่ละกลุ่มการทดลองได้รับอาหารทดลองดังนี้ กลุ่มการทดลองที่ 1 (T1) ฟางข้าว (control) กลุ่มการทดลองที่ 2 (T2) ฟางข้าว + ใบกระถินสด กลุ่มการทดลองที่ 3 (T3) ฟางข้าว + ต้นถั่วลิสงแห้ง กลุ่มการทดลองที่ 4 (T4) ฟางข้าว + ใบกระถินสด + ต้นถั่วลิสงแห้ง โคทุกตัวจะได้รับอาหารข้นที่ท าจากวัตถุดิบที่หาง่ายและราคาถูกในท้องถิ่นโดยให้อาหารข้นมีเปอร์เซ็นต์โปรตีน 14.04 % จ านวน 1 เปอร์เซ็นต์ต่อน้ าหนักตัว โดยฟางข้าวหรืออาหารหยาบ (roughage) ให้กินอย่างเต็มที่ ส่วนใบกระถินสดและต้นถั่วลิสงแห้ง จะเสริมในปริมาณ 1% ต่อน้ าหนักตัว ส่วนโคทุกตัวจะอยู่ในคอกทดลองเฉพาะตัว มีน้ า แร่ธาตุก้อน ให้กินตลอดเวลา และได้รับอาหารทดลองช่วงเช้า (7.00 น.) ครึ่งหนึ่งและช่วงเย็น (17.00 น.) อีกครึ่งหนึ่ง ท าการทดลองเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลา 1 ป ี

กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจาก ส านักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา งบประมาณประจ าปี 2554 คณะผู้วิจัยต้องขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการท างานวิจัยครั้งนี้จนส าเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์