32
1 การรักษาริดสีดวงจมูกโดยวิธีล้างจมูกด้วยการผสมยาสเตียรอยด์สาหรับพ่นแบบ ละอองฝอยกับน้าเกลือล ้างจมูกเปรียบเทียบกับการใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมูกใน การลดอาการทางจมูก และลดขนาดก้อนริดสีดวงจมูก Efficacy of Budesonide in Saline Sinonasal Irrigations in the Management of Nasal polyposis. โดย แพทย์หญิง ชิษณุภา ภิญโญยาง การวิจัยนี้ถือเป็ นส่วนหนึ ่งของการศึกษาและฝึ กอบรม ตามหลักสูตรเพื ่อวุฒิบัตรแสดงความรู ้ความชานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา ของแพทยสภา พ.. 2555 ลิขสิทธิ ์ของภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล คารับรองจากสถาบันฝึกอบรม

การรักษาริดสีดวงจมูกโดยวิธีล้างจมูกด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ส ...¸ªรุป... ·

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • 1

    การรักษาริดสีดวงจมูกโดยวิธีล้างจมูกด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ส าหรับพ่นแบบ

    ละอองฝอยกับน า้เกลือล้างจมูกเปรียบเทียบกับการใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมูกใน

    การลดอาการทางจมูก และลดขนาดก้อนริดสีดวงจมูก

    Efficacy of Budesonide in Saline Sinonasal Irrigations in the Management of

    Nasal polyposis.

    โดย

    แพทย์หญิง ชิษณุภา ภิญโญยาง

    การวิจยันีถ้ือเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาและฝึกอบรม

    ตามหลักสูตรเพื่อวุฒบิัตรแสดงความรู้ความช านาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม

    สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา ของแพทยสภา พ.ศ. 2555

    ลิขสิทธ์ิของภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา

    คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

    ค ารับรองจากสถาบันฝึกอบรม

  • 2

    ค ารับรองจากสถาบันฝึกอบรม

    ข้าพเจ้าขอรับรองวา่รายงานฉบบันีเ้ป็นผลงานของ พ.ญ. ชิษณภุา ภิญโญยาง ท่ีได้ท าการวิจยัขณะรับการ

    ฝึกอบรม ตามหลกัสตูรการฝึกอบรมแพทย์ประจ าบ้านและแพทย์ใช้ทนุ สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะ

    แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหวา่งปี พ .ศ . 2554 – 2555 จริง

    ...................................................................... อาจารย์ท่ีปรึกษาหลกั

    (อาจารย์นายแพทย์ บญุสาม รุ่งภวูภทัร)

    ...................................................................................

    (ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์วิชิต ชีวเรืองโรจน์)

    หวัหน้าภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา

    คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยัมหิดล

  • 3

    การรักษาริดสีดวงจมกูโดยวิธีล้างจมกูด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ส าหรับพ่นแบบละอองฝอยกับน า้เกลือล้างจมกู

    เปรียบเทยีบกับการใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมกูในการลดอาการทางจมกู และลดขนาดก้อนริดสีดวงจมกู

    Efficacy of Budesonide in Saline Sinonasal Irrigations in the Management of Nasal polyposis.

    ชิษณุภา ภญิโญยาง, พบ.*, บุญสาม รุ่งภูวภัทร, พบ.*,

    บทน า การใช้ยาสเตียรอยด์พน่จมูกจดัเป็นวธีิดัง้เดิมในการรักษาริดสีดวงจมูก ต่อมา ได้มีการล้างจมูกด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ชนดิน า้ส าหรับพน่

    แบบละอองฝอยกบัน า้เกลือล้างจมูก พบวา่ได้ผลดีในการรักษาริดสีดวงจมูก เน่ืองจากสามารถให้ความเข้มข้นของยาสเตียรอยด์ไปบริเวณท่ีต้องการ

    ได้มากกวา่แบบสเปรย์ถึง 100 เทา่ มีการศึกษาชีใ้ห้เหน็วา่การล้างจมูกด้วยยาสเตียรอยด์ชนดิน า้ส าหรับพน่แบบละอองฝอยกบัน า้เกลือล้างจมูก

    สามารถใช้ "ปิดฉลาก" ในการรักษาของริดสีดวงจมูก ซึง่ผู้ป่วยจ านวนมากตอบสนองต่อการรักษา อย่างไรก็ตาม ปัจจุบนัยงัไม่มีการทดลองทาง

    คลนิกิท่ีรับรองเร่ืองประสทิธิภาพการรักษาและความปลอดภยัส าหรับวธีิดงักลา่วนี ้

    วัตถุประสงค์ในการวิจัย เพ่ือศึกษาผลการรักษาริดสีดวงจมูกโดยวธีิล้างจมูกด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ ชนดิน า้ส าหรับพน่แบบละอองฝอยกบั

    น า้เกลือล้างจมูกร่วมกบัใช้ยาสเตียรอยด์พน่จมูกเปรียบเทียบกบัการใช้ยาสเตียรอยด์พน่จมูกอย่างเดียว ในแง่ของการลดอาการทางจมูก และลด

    ขนาดก้อนริดสีดวงจมูก รวมทัง้ศึกษาผลข้างเคียงของการใช้ยาสเตียรอยด์ในแง่การกดการท างานของ Hypothalamo-pituitary axis

    วิธีการวิจัย ท าการเก็บข้อมูลการวจิยัเป็น prospective randomized control trial โดยมีผู้ป่วยเข้าร่วมโครงการวจิยั 20 คน กลุม่ท่ีใช้ การล้าง

    จมูกด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ Budesonide ส าหรับพน่แบบละอองฝอยกบัน า้เกลือล้างจมูก ร่วมกบั ใช้ยาสเตียรอยด์พน่จมูก Budesonide พน่

    จมูก 13 คน กลุม่ท่ีใช้การล้างจมูกด้วยน า้เกลือ ร่วมกบัใช้ยาสเตียรอยด์พน่จมูก Budesonide พน่จมูก 7 คน ประเมินผลการรักษาท่ี 4,8 และ 12

    สปัดาห์ โดยพจิารณาอาการทางจมูกและไซนสั ขนาดริดสีดวงจมูก และประสทิธิภาพการรักษาโดยรวม อีกทัง้เจาะวดัระดบั serum cortisol ก่อน

    และหลงัการศึกษา

    ผลการวิจัย ผู้ป่วยกลุม่ท่ีใช้การผสมยาสเตียรอยด์ ชนดิน า้ส าหรับพน่แบบละอองฝอยกบัน า้เกลือล้างจมูกมีอาการทางจมูกและไซนสัลดลง ขนาด

    ก้อนริดสีดวงจมูกยุบลง และประสทิธิภาพการรักษาโดยรวมดีขึน้อย่างมีนยัส าคญัทางสถิติ แต่ เม่ือเปรียบเทียบกบักลุม่ควบคุม พบวา่มีเพียงขนาด

    ก้อนริดสีดวงจมูกท่ีลดลงอย่างมีนยัส าคญัทางสถิติ ไม่พบวา่มีอาการข้างเคียงจากการรักษาในผู้ป่วยทัง้ 2 กลุม่

    สรุป การรักษาริดสีดวงจมูกด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ ชนดิน า้ส าหรับพน่แบบละอองฝอยกบัน า้เกลือล้างจมูกร่วมกบัใช้ยาสเตียรอยด์พน่จมูก มี

    ความปลอดภยั และสามารถลดอาการทางจมูกและไซนสั รวมถึงลดขนาดก้อนริดสีดวงจมูกได้ดี เปรียบเทียบกบัการใช้ยาสเตียรอยด์พน่จมูกอย่าง

    เดียว

    *ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

  • 4

    Efficacy of Budesonide in Saline Sinonasal Irrigations in the Management of Nasal polyposis.

    Chitsanupa Pinyoyang ,MD.*, Boonsam Roongpuvapath, MD.*

    Background : The delivery of topical intranasal corticosteroid sprays has traditionally been the primary method of treating

    nasal polyposis. An emerging treatment for polyposis is budesonide nasal irrigations. Delivered at the concentrations

    nearly 100 times greater than found in prescription nasal sprays. Studies have suggested that Budesonide respules can

    be used “ off-label” in the treatment of nasal polyps . Many patients respond to the treatment. However ,a controlled

    clinical trial has not been performed and the safety of this procedure has not been established.

    Objective : To evaluate the efficacy of budesonide in saline sinonasal irrigations in the management of nasal polyposis

    and to assess the effect of topical budesonide saline irrigations on systemic cortisol levels.

    Study design Prospective randomized controlled study.

    Methods Twenty patients were prospectively enrolled in this study. Patients were assigned into 2 groups. Patient in Group

    1 (n= 13) irrigated twice daily with 1 mg/2ml of budesonide mixed with 250 ml of saline solution. Group 2 (n=7) was

    irrigated twice daily with normal saline. All patient applied with 512 mcg of Budesonide sprays.Nasal symptom score was

    assessed by established scoring system and polyp grading was assessed from video nasal endoscopy before therapy, 4,

    8 and 12 weeks after the therapy.

    Results Budesonide in saline sinonasal irrigations showed statistical significant improvements in all nasal symptoms ,

    polyp size and overall treatment efficacy compared with before therapy at 12 weeks after treatment . Polyp size was the

    only parameter that showed significant differences between 2 groups after therapy and also no significant adverse

    events.

    Conclusion : Budesonide in saline sinonasal irrigations was safe and improved all nasal symptoms and reduce polyp

    grading more effective than intranasal corticosteroids alone.

    Key words: Budesonide, nasal irrigation, nasal polyps, cortisol, Pulmicort respule

    *From the Department of otolaryngology, Faculty of Medicine , Ramathibodi Hospital ,Mahidol University

    ,Bangkok, Thailand

  • 5

    กิตตกิรรมประกาศ

    ผู้วจัิยขอขอบคุณ

    1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์วิชิต ชีวเรืองโรจน์

    หวัหน้าภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยัมหิดล ท่ีอนญุาตให้ท าการวิจยัและน าเสนอ

    2. อาจารย์นายแพทย์บญุสาม รุ่งภวูภทัร

    อาจารย์ประจ าภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบด ี

    ท่ีปรึกษาโครงการและควบคมุการวิจยั

    3. คณุดิษฐพล มัน่ธรรม

    คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบด ี

    ท่ีปรึกษาด้านสถิต ิ

  • 6

    สารบัญ

    หน้า

    ค ารับรอง 2

    บทคดัย่อ 3

    ABSTRACT 4

    กิตติกรรมประกาศ 5

    บทน า 7

    วตัถปุระสงค ์ 9

    วิธีการวิจยั 11

    วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติ 14

    ผลการวิจยั 14

    บทวิจารณ์ 21

    สรุปผลการวิจยั 22

    บรรณานกุรม 23

    แบบสอบถาม 27

    เอกสารการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจยั 31

  • 7

    การรักษาริดสีดวงจมูกโดยวธีิล้างจมูกด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ส าหรับพ่นแบบละอองฝอยกับ

    น า้เกลือล้างจมูกเปรียบเทียบกับการใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมูกในการลดอาการทางจมูก และลดขนาด

    ก้อนริดสีดวงจมูก

    Efficacy of Budesonide in Saline Sinonasal Irrigations in the Management of Nasal polyposis.

    บทน า

    โรคริดสีดวงจมกูเป็นโรคท่ีพบบ่อยในคลินิกโรคหคูอจมกูมีการศกึษาถึงอบุตัิการณ์ของโรคนีใ้น

    ตา่งประเทศพบประมาณร้อยละ 1-6.2 ในประชากรทัว่ไป1-3การท่ีมีริดสีดวงจมกูจะมีโอกาสท าให้เกิดโรคไซนสั

    อกัเสบร่วมด้วยได้บ่อยนอกจากนีก้ารท่ีมีริดสีดวงจมกูอาจเป็นอาการแสดงหนึ่งของโรคหลายอย่างเช่น cystic

    fibrosis, dysmotile cilia syndrome โรคนีอ้าจสง่ผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาได้เช่นใบหน้าผิดรูปนอน

    กรนภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชือ้ในไซนสัท าให้คณุภาพชีวิตของผู้ป่วยแย่ลงด้วย4-5

    ริดสีดวงจมกูและไซนสัอกัเสบมกัจะเกิดร่วมกนั บางครัง้ไมส่ามารถแยกจากกนัได้ หรือไมส่ามารถบอกได้

    วา่อะไรเกิดขึน้ก่อนกนั ใน European Position Paper on Rhinosinusitis and Nasal Polyps 20126 ถือวา่

    ริดสีดวงจมกูจะพบร่วมกบัโรคไซนสัอกัเสบเรือ้รัง ( Chronic rhinosinusitis ) โดยเป็น inflammatory disease

    ของ sinonasal mucosa ซึ่งมีการด าเนินโรคท่ีตอ่เน่ืองกนั มีการศกึษาท่ีพยายามแยกโรคและบอกความ

    แตกตา่งระหวา่งริดสีดวงจมกูและไซนสัอกัเสบ โดยใช้ inflammatory markers เป็นตวัแยก พบวา่ ในผู้ป่วย

    ริดสีดวงจมกูจะมี eosinophils และ IL-5 expression มากกวา่ในผู้ป่วยไซนสัอกัเสบเรือ้รัง7-11 จนถึงปัจจบุนั

    สาเหตท่ีุแท้จริงของการเกิดริดสีดวงจมกูก็ยงัไมเ่ป็นท่ีทราบกนัแน่ชดั อย่างไรก็ตามมีปัจจยัส าคญัหลายประการ

    ท่ีอาจมีสว่นในการเกิดริดสีดวงจมกู7 ,12 ซึ่งจะไมข่อกลา่วรายละเอียดในท่ีนี ้

    โดยทัว่ไปวิธีการรักษาริดสีดวงจมกูแบ่งเป็น 4 วิธี7คือ 1. ยาสเตียรอยดช์นิดพ่นจมกู 2. ยาสเตียรอยดช์นิดกินหรือฉีด 3. ผา่ตดัเอาริดสีดวงจมกูออกแบบธรรมดา ( simple polypectomy ) 4. การผา่ตดัริดสีดวงจมกูและไซนสัด้วยกล้อง ( endoscopic sinus surgery )

  • 8

    ยาสเตียรอยด์ชนิดพ่นจมกูเป็นยาท่ีใช้ในการรักษาริดสีดวงจมกูท่ีมีการศกึษาแล้ววา่ได้ผลดี ท าให้ขนาด

    ริดสีดวงจมกูเลก็ลง 13-17 และเมื่อใช้ในขนาดท่ีเหมาะสม แม้ใช้เป็นระยะเวลานานก็ไมท่ าให้เย่ือบจุมกูฝ่อหรือ

    กดการท างานของ Hypothalamo-pituitary axis18-19 อย่างไรก็ตามพบวา่ผู้ป่วยจ านวนมากถึงร้อยละ 50 ไม่

    ตอบสนองตอ่ยาสเตียรอยด ์ชนิดพ่นจมกู20 โดยอาจเกิดจากยาไมส่ามารถกระจายเข้าไปในโพรงจมกูได้เตม็ท่ี

    เน่ืองจากมีริดสีดวงอยูเ่ตม็จมกู ผู้ป่วยมีน า้มกูข้นค้างอยูใ่นโพรงจมกู พ่นจมกูไมถ่กูวิธี หรือโครงสร้างทางกาย

    วิภาคของโพรงจมกูแคบ

    จากสมมติฐานท่ีวา่ยาไมส่ามารถกระจายไปในโพรงจมกูได้เตม็ท่ี ได้มีการศกึษาเก่ียวกบัเร่ืองนีพ้บวา่

    middle meatus เป็นเป้าหมายส าคญัของการใช้ยาพ่นจมกู ทัง้ในโรคไซนสัอกัเสบเรือ้รังและริดสีดวงจมกู

    เน่ืองจากโรคริดสีดวงจมกูมกัมีจดุก าเนิดจาก middle meatus ดงันัน้การใช้ยาสเตียรอยด์ชนิดพ่นจมกู

    จ าเป็นต้องให้ยาเข้าถึงจดุดงักลา่ว ปัญหาการกระจายยามกัเกิดบริเวณ nasal valve ซึ่งเป็นจดุท่ีแคบท่ีสดุใน

    จมกู ยาสว่นใหญ่มกัผา่นไปได้ถึง anterior end of middle turbinate 21-25 ท าให้ทัง้ยาพ่นจมกูไมว่า่จะเป็น

    Pumped aqueous spray, powdered sprays หรือ Drops มกัจะไมส่ามารถผา่น nasal valve และ inferior

    turbinate hypertrophy ไปได้

    ดงันัน้ ยาสเตียรอยด์ชนิดพ่นจมกูท่ีต้องการควรมีปัจจยัดงัตอ่ไปนี ้ 20

    1. สดัสว่นของยาท่ีผา่น nasal valve ต้องมีปริมาณมาก

    2. ต้องมีปริมาณยามากพอไปถึง middle meatus

    3. ยาท่ีกระจายไปถึงบริเวณคอหอยควรมีปริมาณน้อยท่ีสดุ

    4. การกระจายของยาควรมีความสม ่าเสมอ

    5. ผู้ป่วยสามารถใช้ได้ง่ายเพ่ือท่ีจะได้ใช้ได้อย่างสม ่าเสมอ

    จากการศกึษาของ Mandy schebie26และคณะได้ท าการศกึษาโดยเปรียบเทียบ การกระจายของสีใน

    จมกูเมื่อใช้เทคนิคในการใสส่ีเข้าไปในรูจมกู 3 วิธี คือ หยด พ่นสเปรย์และ พ่นเป็นละอองน า้ (system

    producing squirt) พบวา่ มีเพียงวิธีพ่นเป็นละอองน า้ท่ีสามารถท าให้สี เข้าไปลกึถึง olfactory cleft ในขณะท่ี

  • 9

    วิธีหยดสีสว่นใหญ่จะอยู่ท่ี nasal floor และวิธีพ่นสเปรย์ สีจะกระจายอยู่ท่ีจมกูทางด้านหน้าและถกูบงัโดย

    middle turbinate เป็นสว่นใหญ่ ปัจจบุนัจึงเร่ิมมีวิธีผสมยาสเตียรอยดส์ าหรับพ่นแบบละอองฝอยผสมกบั

    น า้เกลือล้างจมกู 31 แทนการพ่นจมกูแบบ sprayพบวา่มีการกระจายของยาได้ดีขึน้ ช่วยเพ่ิมอตัราเร็วของขน

    กวดั (mucociliary flow rate) และมีฤทธ์ิของการท าให้เกิด เส้นเลือดหดตวั นอกจากนีย้งัได้เป้าหมายของการ

    ล้างจมกูทัว่ไป คือ การชะล้างสิ่งท่ีเป็นตวักระตุ้นตา่งๆ ออกไป เช่น สารก่อภมูิแพ้ รา ฝุ่ น และอนภุาคของสิ่ง

    สกปรกในอากาศ ช่วยลดจ านวนแบคทีเรียท่ีสะสม และชะล้างหนองท่ีสะสมในโพรงจมกู

    โดยได้เร่ิมมีการศกึษาดงักลา่วในผู้ป่วยไซนสัอกัเสบเรือ้รังท่ีได้รับการผา่ตดัไซนสัแบบสอ่งกล้องแล้ว

    พบวา่การใช้การผสมยาสเตียรอยด ์ส าหรับพ่นแบบละอองฝอย กบัน า้เกลือล้างจมกู ได้ประโยชน์เหนือกวา่ ยา

    สเตียรอยดช์นิดพ่นจมกูแบบ spray อย่างมีนยัส าคญั27-28 อีกทัง้ไมก่ดการท างานของ Hypothalamo-pituitary

    axis29-31 แตก่ารศกึษาท่ีมีอยู่เป็นการศกึษาในผู้ป่วยหลงัผา่ตดัไซนสัอกัเสบ ยงัไมเ่คยมีการศกึษาในผู้ป่วย

    ริดสีดวงจมกูก่อนการผา่ตดั ซึ่งการรักษาจะเร่ิมต้นจากการใช้ยาก่อน หลงัจากนัน้ถ้าอาการไมด่ีขึน้ จึงพิจารณา

    วิธีผา่ตดั

    ในการศกึษานีจ้ึงประยกุต์การรักษาริดสีดวงจมกูโดยการล้างจมกูด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ส าหรับ

    พ่นแบบละอองฝอยกบัน า้เกลือล้างจมกู31 ในผู้ป่วยริดสีดวงจมกู เปรียบเทียบกบัการรักษาแบบเดิม ในแง่ของ

    การลดอาการทางจมกู และลดขนาดก้อนริดสีดวงจมกู ซึ่งอาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิธีการรักษาริดสีดวง

    จมกูในอนาคตและอาจลดความจ าเป็นของการผา่ตดัลงได้

    ซึ่งจากการค้นข้อมลูในปัจจบุนั ยงัไมพ่บวา่มีการศกึษาผลการรักษาริดสีดวงจมกูด้วยการล้างจมกูด้วย

    การผสมยาสเตียรอยด ์ส าหรับพ่นแบบละอองฝอย กบัน า้เกลือล้างจมกู

    วัตถุประสงค์หลัก

    เพ่ือศกึษาผลการรักษาริดสีดวงจมกูโดยวิธีล้างจมกูด้วยการผสมยาสเตียรอยด ์ส าหรับพ่นแบบละออง

    ฝอย กบัน า้เกลือล้างจมกูร่วมกบัการใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมกู ในแง่ของการลดอาการทางจมกู และลดขนาด

    ก้อนริดสีดวงจมกู

  • 10

    วัตถุประสงค์รอง

    ศกึษาผลข้างเคียงของการใช้ยาสเตียรอยดใ์นแง่การกดการท างานของ Hypothalamo-pituitary axis

    ระยะเวลาท่ีท าการศึกษาและเก็บข้อมูล

    1 พฤศจิกายน พ .ศ. 2554 ถึง 31 ตลุาคม พ.ศ. 2555

    วธีิการวจิัย

    เก็บข้อมลูจากผู้ป่วยท่ีได้รับการวินิจฉยัวา่เป็นริดสีดวงจมกูท่ีเข้ารับการตรวจรักษาท่ี ภาควิชาโสต ศอ

    นาสิกวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบด ีจ านวน 20 คน โดยแบ่งผู้ป่วยออกเป็น 2 กลุม่ กลุม่

    ละเท่าๆกนั สุม่โดยวิธี Simple randomization

    เกณฑ์การคัดเลือกเข้า ( Inclusion criteria )

    อาย ุ18-75 ปี

    ตรวจพบริดสีดวงจมกูทัง้ 2 ข้างหรือข้างเดียว จากการสอ่งกล้องตรวจทางจมกูหรือได้ผลทางพยาธิ

    วิทยาพิสจูน์วา่เป็นริดสีดวงจมกู

    ผู้ป่วยยินดีเข้าร่วมโครงการวิจยัโดยการลงนามในหนงัสือยินยอมให้ท าการรักษาในโครงการวิจยั (Inform consent form) หลงัได้รับค าอธิบายรายละเอียดของงานวิจยัแล้ว

    เกณฑ์การคัดเลือกออก )Exclusion criteria )

    ได้รับยาสเตียรอยด์ชนิดกิน หรือฉีดภายใน 1 เดือน

    ริดสีดวงจมกูท่ีเกิดจาก cystic fibrosis or mucociliary disorder

    ไซนสัอกัเสบท่ีเกิดจากเชือ้รา

    ผู้ป่วยปฏิเสธเข้าร่วมในโครงการวิจยั หรือขอถอนตวัจากโครงการวิจยั

    ผู้ป่วยท่ีก าลงัตัง้ครรภ์

  • 11

    การศึกษาในผู้ป่วย

    1. ผู้ป่วยท่ีผา่นเกณฑ์การคดัเข้าร่วมงานวิจยัแล้วจะถกูแบ่งเป็น 2 กลุม่โดยการเลือกสุม่ (randomize)

    กลุ่มท่ี 1 กลุม่ท่ีได้รับการรักษาโดย การล้างจมกูด้วยการผสมยาสเตียรอยดส์ าหรับพ่นแบบละออง

    ฝอยกบัน า้เกลือล้างจมกู โดยใช้ยา Budesonide respules ( 1mg/2ml) 1mg ผสมกบัน า้เกลือ 500

    มล.ล้างจมกู 125 มล.ตอ่ข้าง เช้า-เย็นร่วมกบั ใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมกู Budesonide พ่นจมกู ครัง้ละ

    2 กด (64mcg)/ข้าง วนัละ 2 ครัง้ เช้า-เย็น

    กลุ่มท่ี 2 กลุม่ท่ีได้รับการรักษาโดยการล้างจมกูด้วยน า้เกลือ ปริมาณ 500 มล.เท่ากนั ร่วมกบัใช้

    ยาสเตียรอยด์พ่นจมกู Budesonide พ่นจมกู ครัง้ละ 2 กด (64mcg)/ข้าง วนัละ 2 ครัง้ เช้า-เย็น

    การค านวณประชากร

    ค านวณ N จากการหาขนาดตวัอย่างระหวา่งประชากร 2 กลุม่ โดยทดสอบความแตกตา่งระหวา่ง

    สดัสว่น 2 กลุม่ท่ีอิสระตอ่กนั จากสตูร two-sample comparison of proportions

    Alpha =0.05 Power =0.8 p1=0.8 p2=0.4

    n2/n1=1 n1=28 n2=28

    2. ผู้ป่วยทัง้ 2 กลุม่ จะได้รับการตรวจเพ่ิมเติมตามการศกึษานี ้

    ผู้ป่วยแตล่ะกลุม่จะได้รับการบนัทึกประวตัิการเจ็บป่วย และการตรวจร่างกายทาง ห ูคอ จมกู

    อย่างละเอียด รวมทัง้การสอ่งกล้องจมกู( Nasal endoscopy ) เพ่ือตรวจหาความผิดปกติในจมกู

    และหลกัฐานของโพรงอาการข้างจมกูอกัเสบ โดยแบ่งขนาดของริดสีดวงจมกูตามเกณฑ์ของ

    Lildholdt ดงัตอ่ไปนี ้

    Grade 0 คือ ตรวจไมพ่บริดสีดวงจมกู

    Grade 1 คือ ริดสีดวงจมกูขนาดเลก็อยู่เฉพาะในมีเอตสัอนักลาง

  • 12

    Grade 2 คือ ริดสีดวงจมกูโผลย่ื่นจากมีเอตสัอนักลาง โดยสว่นลา่งลงมาไมถ่ึงขอบลา่งของเทอร์บิเนท

    อนัลา่ง

    Grade 3 คือ ริดสีดวงจมกูมีขนาดใหญ่ลงมาต ่ากวา่ขอบลา่งของเทอร์บิเนทอนัลา่ง หรือถึงพืน้ของ

    โพรงจมกู

    เจาะเลือด morning serum cortisol ก่อนและหลงัเร่ิมการรักษาเพ่ือศกึษาผลข้างเคียงของการใช้

    ยาสเตียรอยดใ์นแง่การกดการท างานของ Hypothalamo-pituitary axis

    ตรวจผิวหนงัทดสอบภมูิแพ้ ( skin prick test )

    3. ผู้ป่วยทัง้ 2 กลุม่ จะได้รับการรักษาตามแนวทางเดิม คือ

    ถ้ามีการติดเชือ้ไซนสัอกัเสบในระหวา่งการศกึษาวิจยั จะให้การรักษาท่ีเหมือนกนัทัง้สองกลุม่คือ ยา Amoxicillin ขนาด 2 กรัม/วนั แบ่งให้ 2 เวลา เป็นเวลา 14 วนั ( กรณีแพ้ Penicillin จะให้ Roxithromycin 150 mg Bid ) และถ้าหากไมต่อบสนองตอ่ยาต้านจลุชีพตวัแรกหรืออาการไมด่ีขึน้ จะเปลี่ยนเป็น Amoxicillin/Clavulanate 875/125 วนัละ 2 เวลา

    4. ผู้ป่วยทัง้ 2 กลุม่ จะได้รับการพ่นยาสเตียรอยด์และ/หรือ ล้างจมกูตามวิธีการของแตล่ะกลุม่อย่างตอ่เน่ือง

    วนัละ 2 ครัง้ เช้าและเย็น

    5. หลงัเร่ิมการรักษาท่ี 4,8และ 12 สปัดาห์ ท าการประเมินประสทิธิภาพการรักษาโดยรวม ( Overall

    assessment of treatment efficacy )

    โดยท าการเก็บข้อมลูดงัตอ่ไปนี ้

    ประเมินและติดตามอาการทางจมกูโดยแพทย์ โดยท าการเก็บข้อมลูจากแผนภมูิประเมินผล

    (Visual analog scale)ของ อาการทางจมกูและไซนสั ดงันี ้

    - อาการคดัจมกู(Nasal blockage)

    - มีน า้มกูไหลออกจากจมกู ( Rhinorhea )

  • 13

    - อาการคนัจมกู (Itching )

    - อาการจาม ( Sneezing )

    - มีเสมหะไหลลงคอ ( Postnasal drip )

    - การรับกลิ่นได้ลดลง ( Hyposmia or anosmia )

    และเก็บข้อมลูผลข้างเคียงจากการล้างจมกู ดงันี ้

    - อาการแสบโพรงจมกู - อาการเลือดก าเดาไหล - อาการส าลกัน า้เกลือ - อาการปวดห ู, หอืูอ้

    ทกุครัง้ท่ีพบแพทย์ แพทย์จะวดัขนาดของริดสีดวงจมกูในจมกูแตล่ะข้างโดยการการสอ่งกล้องจมกู( Nasal endoscopy ) และให้คะแนนตามขนาดของริดสีดวงจมกู คือ คะแนน 0 คือ ริดสีดวงจมกูเกรด 0 คะแนน 1 คือ ริดสีดวงจมกูเกรด 1 คะแนน 2 คือ ริดสีดวงจมกูเกรด 2 คะแนน 3 คือ ริดสีดวงจมกูเกรด 3

    ประเมินผลข้างเคียงของยาสเตียรอยด์เฉพาะท่ี

    ประเมินความสม ่าเสมอของการใช้ยา ( compliance )

    การวัดผลการศึกษา

    เปรียบเทียบอาการทางจมกูและขนาดริดสีดวงจมกูก่อนและหลงัการล้างจมกูด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ ส าหรับพ่นแบบละอองฝอยกบัน า้เกลือล้างจมกู ร่วมกบั ใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมกู Budesonide พ่นจมกู หลงัสิน้สดุสปัดาห์ท่ี 4,8 และ 12 ในกลุม่ควบคมุและกลุม่ศกึษา โดยใช้แบบสอบถามผู้ป่วยข้างต้น แบบประเมินผลการรักษาโดยแพทย์หคูอจมกู และ Nasal endoscopy วา่แตกตา่งกนัอย่างมีนยัส าคญัทางสถิติหรือไม ่

  • 14

    และประเมินผลข้างเคียงท่ีเกิดจากการใช้ยาทัง้เฉพาะท่ี หลงัสิน้สดุสปัดาห์ท่ี 4,8 และ 12 และเจาะ

    เลือด morning serum cortisol ก่อนและหลงัเร่ิมการรักษาเพ่ือศกึษาผลข้างเคียงของการใช้ยาสเตียรอยด ์ใน

    แง่การกดการท างานของ Hypothalamo-pituitary axis

    วธีิวเิคราะห์ทางสถติ ิ

    ข้อมลูท่ีได้จะถกูน ามาค านวณทางสถิติโดยใช้ โปรแกรม STATA 11.0

    สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลูคือ

    1. Descriptive statistics –median,range

    2. Test distribution – Kulmonerov-Smirnov test

    3. Analytics statistics:

    3.1 T-test & Fischer’s exact test for categorical data

    3.2 Mann-Whitney-U test for continuous data

    ผลการวจิัย

    จากการศกึษาในผู้ป่วย ท่ีเข้าร่วมการวิจยัทัง้หมด 25 คน มีริดสีดวงจมกู 48 ข้าง เป็นเพศชาย 12 คน

    เพศหญิง 13 คน ในจ านวนนีม้ีผู้ไมม่ารักษาตามนดั 4 คน ( เป็นผู้ป้วยกลุม่ศกึษา 2 คนและกลุม่ควบคมุ 2 คน )

    และขอออกจากงานวิจยั 1 คน ( เป็นผู้ป่วยในกลุม่ควบคมุ ขอออกจากงานวิจยัเน่ืองจากอาการไมด่ีขึน้หลงัใช้

    ยา และรู้สกึแสบคอจากยา ) จึงเหลือผู้ป่วยมี่เข้าร่วมการศกึษาทัง้หมด 20 คน มีริดสีดวงจมกู 38 ข้าง ทกุคน

    ได้รับการรักษาตามแผนการวิจยัท่ีก าหนดและมารับการติดตามหลงัการรักษาเป็นเวลา 4 สปัดาห์ ครบทัง้ 20

    คน โดยแบ่งเป็น กลุม่ท่ีตารางท่ี 1

    - กลุม่ท่ีใช้ การล้างจมกูด้วยการผสมยาสเตียรอยด ์ส าหรับพ่นแบบละอองฝอยกบัน า้เกลือล้างจมกู

    ร่วมกบั ใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมกู Budesonide พ่นจมกู ( study group )

    เป็นผู้หญิง 6 คน ( 46.2%) ,ผู้ชาย 7คน ( 53.8%)

  • 15

    - กลุม่ท่ีใช้การล้างจมกูด้วยน า้เกลือ ร่วมกบัใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมกู Budesonide พ่นจมกู ( control

    group ) เป็นผู้หญิง 5 คน ( 71.4%) , ผู้ชาย 2 คน ( 28.6%)

    - อายขุองผู้ป่วยกลุม่ศกึษาอายเุฉล่ีย 48.07 ปี , กลุม่ควบคมุ อายเุฉล่ีย 58.57 ปี

    ข้อมลูทัว่ไป ข้อมลูทางการแพทย์ท่ีเก่ียวข้อง, อาการทางจมกูและไซนสั และ ขนาดริดสีดวงจมกูก่อนเข้าร่วมการศกึษาของผู้เข้าร่วมการศกึษาทัง้ 2 กลุม่ ไมม่ีความแตกตา่งทางสถิต ิดงัตารางท่ี 1

    ผู้ป่วยสว่นใหญ่ในกลุม่ศกึษามีริดสีดวงจมกูขนาดปานกลาง (grade 2 ) ก่อนเข้าร่วมการศกึษา ( ร้อยละ 65.38) ผู้ป่วยสว่นใหญ่ในกลุม่ควบคมุ มีริดสีดวงจมกูขนาดเลก็ (grade 1 ) ก่อนเข้าร่วมการศกึษา ( ร้อยละ 57.14 ) และผู้ป่วยคอ่นข้างมากมีอาการทางจมกูและไซนสั ระดบัปานกลางก่อนเข้าร่วมการศกึษา

    ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบข้อมูลพืน้ฐานระหว่างผู้ป่วย 2 กลุ่ม

    Demographic & medical data Budesonide group Control group P- value N ( number of nasal polyps ), side 24 14 - Age ; mean( range), y 48.07 ( 25-72 ) 58.57 ( 39-72

    ) 0.08

    Sex ; M:F (%) 7:6 (53.8:46.2 ) 2:5 (28.6:71.4)

    0.37

    Previous INS used ; No. (%) 11 (84.62 ) 5 (71.43 ) 0.48 Previous ESS ; No. (%) 5 (38.46 ) 0 ( 0 ) 0.114 Skin prick test positive ; No. (%) 2 ( 15.38 ) 0 ( 0 ) 0.43 Nasal symptom score Pre-Rx ; mean ( range ) 26.8 (12-42) 21 ( 8-41 ) 0.36 Nasal polyp grading Pre-Rx; Total No., side Grade 3 Grade 2 Grade 1

    24 3 17 4

    14 2 4 8

    0.02

  • 16

    ผลต่อขนาดของริดสีดวงจมูก

    ผลจากการศกึษานี ้พบวา่ ในกลุม่ศกึษามีคะแนนเกรดริดสีดวงจมกูลดลงอย่างมีนยัส าคญัทางสถิต ิ (p - value = 0 ) และ ในกลุม่ควมคมุมีคะแนนเกรดริดสีดวงจมกูลดลง (p - value = 0.23 ) ขณะสิน้สดุการศกึษาเมื่อเทียบกบัก่อนศกึษา โดยในกลุม่ศกึษามผีู้ป่วยท่ีมคีะแนนเกรดริดสีดวงจมกูลดลง ≥ 1 จ านวน 18 ราย ( 75%) และในกลุม่ควบคมุมีผู้ป่วยท่ีมีคะแนนเกรดริดสีดวงจมกูลดลง ≥ 1 จ านวน 5 ราย ( 35.71% ) เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเกรดริดสีดวงจมกูระหวา่ง 2 กลุม่ โดยเทียบก่อนศกึษาและสิน้สดุการรักษา พบวา่ขนาดริดสีดวงจมกูในกลุม่ศกึษาลดลงมากกวา่กลุม่ควบคมุ อย่างมีนยัส าคญัทางสถิต ิ(p - value = 0.017) ( Figure 1)

    Figure 1 คะแนนเฉล่ียเกรดริดสีดวงจมกูตัง้แตก่่อนการศกึษาจนถึงสิน้สดุการศกึษาในผู้ป่วยกลุม่ศกึษา และกลุม่ควบคมุ

    1.95

    1.5

    1.25

    1.04

    1.57

    1.14 1.141.28

    0

    0.5

    1

    1.5

    2

    2.5

    0 4 wk 8 wk 12 wk

    Mea

    n p

    oly

    p g

    rad

    ing

    sco

    re

    Time ( wk )

    Study group

    Control group

  • 17

    ผลต่ออาการทางจมูกและไซนัส

    อาการทางจมกูและไซนสั ได้แก่ คดัจมกู น า้มกูไหล น า้มกูไหลลงคอ คนั จาม ไมไ่ด้กลิ่น ก่อนรักษา

    อาการโดยรวมของผู้ป่วยในทัง้สองกลุม่ไมม่ีความแตกตา่งกนัอย่างมีนยัส าคญัทางสถิติ ( P = 0.36 )

    ติดตามอาการจนถึงสิน้สดุการรักษา พบวา่ผู้ป่วยกลุม่ศกึษา มีอาการดีขึน้อย่างมีนยัส าคญัทางสถิต ิ

    สว่นกลุม่ควบคมุ มีอาการดีขึน้ แตไ่มม่ีความแตกตา่งกนัอย่างมีนยัส าคญัทางสถิติ และเทียบระหวา่งในผู้ป่วย

    ทัง้ 2 กลุม่ พบวา่ไมม่ีความแตกตา่งกนัอย่างมีนยัส าคญัทางสถิติ ( P-value = 0.19 ) (Figure 2)

    Figure 2 คะแนนเฉล่ียอาการทางจมกูและไซนสั ตัง้แตก่่อนการศกึษาจนถึงสิน้สดุการศกึษาในผู้ป่วยกลุม่ศกึษาและกลุม่ควบคมุ

    เมื่อพิจารณาตามอาการทางจมกูท่ีพบบ่อยในผู้ป่วยริดสีดวงจมกู ได้แก่ อาการคดัจมกูและจมกูไมไ่ด้

    กลิ่น พบวา่ในกลุม่ศกึษามีอาการดขีึน้อย่างมีนยัส าคญัทางสถิติ สว่นในกลุม่ควบคมุมีอาการดีขึน้แตไ่มม่ี

    ความแตกตา่งกนัอย่างมีนยัส าคญัทางสถิติ ( ตารางท่ี 2 )

    26.85

    14.15

    10

    5.77

    21

    8.717

    8.86

    0

    5

    10

    15

    20

    25

    30

    0 4 wk 8 wk 12 wk

    Nas

    al s

    ymp

    tom

    s sc

    ore

    Time ( wk )

    Study group

    Control group

  • 18

    ตารางท่ี 2 แสดงผลเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงของอาการทางจมูกและไซนัส ก่อนและหลังการ

    รักษาริดสีดวงจมูก โดยทัง้ 2 วธีิ

    อาการทางจมูกและไซนัส

    การล้างจมูกด้วยการผสมยาสเตียรอยด์

    ร่วมกับใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมูก

    การล้างจมูกด้วยน า้เกลือร่วมกับ

    ใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมูก

    ความแตกต่างระหว่าง 2 วิธี ( P-value )

    คัดจมูก

    ก่อนการศกึษา สิน้สุดการศกึษา

    P-value

    6.23±2.12

    0.69±1.03

    < 0.001

    4.14 ± 3.62

    0.71± 1.88

    0.10

    0.423

    น า้มูกไหล

    ก่อนการศกึษา สิน้สุดการศกึษา

    P-value

    5.84 ± 2.99

    0.69 ± 1.18

    0.002

    5 ± 2.51

    2.42± 3.04

    0.12

    0.172

    น า้มูกไหลลงคอ

    ก่อนการศกึษา สิน้สุดการศกึษา

    P-value

    5 ± 2.91

    0.53 ± 1.12

    0.001

    4.14 ± 3.43

    1.42 ± 2.99

    0.167

    0.277

    ไม่ได้กลิ่น

    ก่อนการศกึษา สิน้สุดการศกึษา

    P-value

    6.61 ± 3.64

    3.38± 3.77

    0.018

    5.42 ± 5.12

    4± 5.03

    0.158

    0.162

  • 19

    Figure 3 ประสิทธิภาพการรักษาโดยรวม (overall assessment of treatment efficacy) ประเมินโดยผู้ป่วยให้

    คะแนนความพึงพอใจ คะแนน 1 คือ อาการเท่าๆเดิม คะแนน 4 คือ ควบคมุอาการได้ทัง้หมด

    หลงัสิน้สดุการรักษา พบวา่ประสิทธิภาพการรักษาโดยรวมในผู้ป่วยกลุม่ศกึษาดีขึน้ อย่างมีนยัส าคญั

    ทางสถิต ิ (p - value = 0.0038 ) และในผู้ป่วยกลุม่ควบคมุดีขึน้ (p - value = 0.179 ) ทัง้นีพ้บวา่ไมม่ีความ

    แตกตา่งกนัในผู้ป่วยทัง้ 2 กลุม่ ( P-value = 1 ) (Figure 3)

    2.85

    3.46

    3.77

    2.57

    2.863

    0

    0.5

    1

    1.5

    2

    2.5

    3

    3.5

    4

    4 wk 8 wk 12 wk

    ความ

    พึงพอ

    ใจขอ

    งผู้ป่ว

    Time (wk)

    Sutudy group

    Control group

  • 20

    ความปลอดภัยและผลข้างเคียงของการล้างจมูกด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ ส าหรับพ่นแบบละออง

    ฝอยกับน า้เกลือล้างจมูก ร่วมกับ ใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมูก Budesonide พ่นจมูก

    โดยรวมแล้ว คา่ serum cortisol ก่อนการศกึษาจนถึงสิน้สดุการศกึษา ไมไ่ด้มีคา่เฉล่ียลดลงต ่ากวา่คา่ปกติในผู้ป่วยทัง้กลุม่ศกึษาและกลุม่ควบคมุ โดยในกลุม่ศกึษามีคา่ baseline serum cortisol 11.27 ± 3.2 mcg/dL และในกลุม่ควบคมุมีคา่ baseline serum cortisol 11.5 ± 4.2 mcg/dL หลงัจากสิน้สดุการศกึษาท่ี 12 สปัดาห์ พบวา่คา่ serum cortisolในกลุม่ศกึษา อยู่ท่ี 8.27± 3.5 mcg/dL ในกลุม่ควมคมุอยู่ท่ี 10.05± 4.6 mcg/dL

    ทัง้นีม้ีผู้ ป่วย 1 รายในกลุม่ศกึษามีคา่ serum cortisol หลงัสิน้สดุการรักษา ต ่ากวา่คา่ปกติ คือ < 1 mcg/dL ( คา่ baseline serum cortisol 18.4 mcg/dL ) โดยท่ีผู้ป่วยไมไ่ด้มีอาการผิดปกติเช่น ความอยากอาหารเพ่ิมขึน้ ง่วงนอนมากกวา่ปกต ิอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ปวดหลงัมากกวา่ปกต ิหรือเท้าบวม ผู้ป่วยรายนีไ้ด้รับการเจาะเลือดซ า้อีก 1 เดือน พบคา่ serum cortisol อยู่ในเกณฑ์ปกติแล้ว ทัง้นีไ้ด้ซกัประวตัิเพ่ิมเติมไม่พบวา่มีปัจจยัอื่นท่ีมีผลตอ่คา่ serum cortisol เช่น การรับยาสเตียรอยด์จากท่ีอ่ืน หรือการเจ็บป่วยด้วยโรคอ่ืนในช่วงท่ีเจาะเลือด

    Figure 4 ตารางเปรียบเทียบคา่ serum cortisol ก่อนการศกึษาจนถึงสิน้สดุการศกึษา ในผู้ป่วยกลุม่ศกึษาและกลุม่ควบคมุ

    11.28 11.5

    8.31

    10.06

    0

    2

    4

    6

    8

    10

    12

    14

    Study group Control group

    Seru

    m c

    ort

    iso

    l ( m

    cg/d

    L)

    Normal range 5-25 mcg/dL

    Serum cortisol

    Pre- treatment

    Post-treatment

  • 21

    ส าหรับผลข้างเคียงของยาสเตียรอยด์เฉพาะท่ี เช่น เลือดออกจากจมกู คออกัเสบ จมกูแห้งและเป็นสะเก็ด แสบจมกู หรือผนงักัน้จมกูทะล ุไมพ่บทัง้ในผู้ป่วยทัง้กลุม่ศกึษาและกลุม่ควบคมุ

    ผลจากการศกึษานี ้พบวา่ผลข้างเคียงของการล้างจมกูด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ ส าหรับพ่นแบบละอองฝอยกบัน า้เกลือล้างจมกู ร่วมกบั ใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมกู Budesonide เมื่อเปรียบเทียบกบักลุม่ท่ีใช้การล้างจมกูด้วยน า้เกลือ ร่วมกบัใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมกู Budesonide ในการรักษาริดสีดวงจมกู พบวา่ไมม่ีความแตกตา่งทางสถิต ิ บทวิจารณ์

    ยาสเตียรอยดช์นิดพ่นจมกูเป็นยาท่ีใช้ในการรักษา ริดสีดวงจมกูท่ีมีการศกึษาแล้ววา่ได้ผลดีท าให้

    ขนาดริดสีดวงจมกูเลก็ลง13-17 อย่างไรก็ตามพบวา่ผู้ป่วยจ านวนมากถึงร้อยละ 50 ไมต่อบสนองตอ่ยา สเตีย

    รอยด์ชนิดพ่นจมกู20 โดยอาจเกิดจากยาไมส่ามารถกระจายเข้าไปในโพรงจมกูได้เตม็ท่ี มีการศกึษาเก่ียวกบั

    เร่ืองนีพ้บวา่ middle meatus เป็นเป้าหมายส าคญัของการใช้ยาพ่นจมกู ทัง้ในโรคไซนสัอกัเสบเรือ้รังและ

    ริดสีดวงจมกู เน่ืองจากโรคริดสีดวงจมกูมกัมีจดุก าเนิดจาก middle meatus ดงันัน้การใช้ยาสเตียรอยด์ ชนิด

    พ่นจมกู จ าเป็นต้องให้ยาเข้าไปถึงจดุดงักลา่ว

    ปัจจบุนัมีการผสมยาสเตียรอยด์กบัน า้เกลือล้างจมกู แทนการพ่นจมกูแบบ spray พบวา่มีการกระจาย

    ของยาได้ดีขึน้ ช่วยเพ่ิมอตัราเร็วของขนกวดั (mucociliary flow rate) และมีฤทธ์ิของการท าให้เกิด เส้นเลือดหด

    ตวั นอกจากนีย้งัได้เป้าหมายของการล้างจมกูทัว่ไป คือ การชะล้างสิ่งท่ีเป็นตวักระตุ้นตา่งๆ ออกไป เช่น สาร

    ก่อภมูิแพ้ รา ฝุ่ น และอนภุาคของสิ่งสกปรกในอากาศ ช่วยลดจ านวนแบคทีเรียท่ีสะสม และชะล้างหนองท่ี

    สะสมในโพรงจมกู

    การศกึษาของ Hamilos DL. และคณะ ³² พบวา่การล้างจมกูด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ ส าหรับพ่นแบบละอองฝอย ( Budesonide respules ) กบัน า้เกลือล้างจมกูในกลม่ผู้ป่วยริดสีดวงจมกู สามารถลดอาการทางจมกู และลดขนาดริดสีดวงจมกูได้ อย่างไรก็ตาม การศกึษาดงักลา่วไมไ่ด้เป็นการศกึษาแบบสุม่และไมไ่ด้มีการศกึษาถึงผลข้างเคียงของยาสเตียรอยด ์ จากการศกึษา พบวา่กลุม่ท่ีล้างจมกูด้วยการผสมยาสเตียรอยด์ ส าหรับพ่นแบบละอองฝอยกบัน า้เกลือล้างจมกู ร่วมกบั ใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมกู Budesonide มีอาการทางจมกูและไซนสัลดลงอย่างมี

  • 22

    นยัส าคญัทางสถิตขิณะสิน้สดุการศกึษาเมื่อเทียบกบัก่อนศกึษา แตไ่มม่ีความแตกตา่งกนัในผู้ป่วยทัง้ 2 กลุม่ และขนาดริดสีดวงจมกูลดลงในผู้ป่วยทัง้ 2 กลุม่ โดยในกลุม่ศกึษาลดลงมากกวา่กลุม่ควบคมุ อย่างมีนยัส าคญัทางสถิต ิ

    ความพึงพอใจและ ประสิทธิภาพการรักษาโดยรวมในผู้ป่วยกลุม่ศกึษาและกลุม่ควบคมุ ดีขึน้อย่างมีนยัส าคญัทางสถิติแตไ่มม่ีความแตกตา่งกนัในผู้ป่วยทัง้ 2 กลุม่

    ส าหรับผลข้างเคียงของยาสเตียรอยด์เฉพาะท่ี เช่น เลือดออกจากจมกู คออกัเสบ จมกูแห้งและเป็นสะเก็ด แสบจมกู หรือผนงักัน้จมกูทะล ุไมพ่บทัง้ในผู้ป่วยทัง้กลุม่ศกึษาและกลุม่ควบคมุ อีกทัง้ไมพ่บผลข้างคียงจากการใช้ยาสเตียรอยด์ในแง่ของการกดการท างานของ Hypothalamo-pituitary axis ในผู้ป่วยทัง้ 2 กลุม่

    ข้อจ ากดัของการศกึษานีค้ือ ขนาดตวัอย่างประชากรไมม่ากพอ และไมม่ีการ double blinded เน่ืองจากยา Budesonide respule มีฉลากอย่างชดัเจน รวมถึงในขัน้ตอนรับยา เภสชักรได้มีการแนะน าคณุลกัษณะของยา วิธีใช้ และภาวะแทรกซ้อนท่ีอาจเกิดจากยา

    สรุปผลการวจิัย

    การล้างจมกูด้วยการผสมยาสเตียรอยด ์ส าหรับพ่นแบบละอองฝอยกบัน า้เกลือล้างจมกู ร่วมกบั ใช้

    ยาสเตียรอยด์พ่นจมกู Budesonide พ่นจมกู ปลอดภยัและมีแนวโน้มวา่สามารถลดอาการทางจมกูและไซนสั

    และลดขนาดริดสีดวงจมกูได้รวดเร็วกวา่การใช้สเตียรอยด์พ่นเฉพาะท่ีทางจมกูเพียงอย่างเดียว แตเ่น่ืองจากยงั

    ขาดขนาดตวัอย่างท่ีมากพอ จึงไมพ่บวา่มีความแตกตา่งทางสถิต ิท าให้ไมส่ามารถสรุปได้อย่างชดัเจนจน

    สามารถน าไปสูก่ารตดัสินใจใช้ในทางคลินิกได้ทนัที ดงันัน้จึงต้องอาศยัการศกึษาเพ่ิมเติมตอ่ไป

  • 23

    บรรณานุกรม

    1. Larsen K, Tos M. The estimated incidence of symptomatic nasal polyps.ActaOtolaryngol 2002;122(2):179-82.

    2. Johansson L, Akerlund A, Holmberg K, Melen I, Bende M. Prevalence of nasal polyps in adults: the Skovde population-based study. Ann OtolRhinolLaryngol 2003;112(7):625-9.

    3. Klossek JM, Neukirch F, Pribil C, et al. Prevalence of nasal polyposis in France: a cross-sectional, case-control study. Allergy 2005;60(2):233-7.

    4. Serrano E, Neukirch F, Pribil C, et al. Nasal polyposis in France: impact on sleep and quality of life. J LaryngolOtol 2005;119(7):543-9.

    5. Alobid I, Benitez P, Bernal-Sprekelsen M, et al. Nasal polyposis and its impact on quality of life: comparison between the effects of medical and surgical treatments. Allergy 2005;60(4) :452-8. 6. Fokkens W, Lund V, Mullol J. European position paper on rhinosinusitis and nasal polyps 2012.

    RhinolSuppl 2012 (20):1-136.

    7. พีรพนัธ์ เจริญชาศรี. สงวนศกัดิ์ ธนาวิรัตนานิจ . Rhinisinusitis and Nasal polyps.ไซนสัอกัเสบ=

    Rhinosinusitis .พีรพนัธ์ เจริญชาศรี ,สงวนศกัดิ์ ธนาวิรัตนานิจ ,ฉวีวรรณ บนุนาค. – พิมพ์ครัง้ท่ี 1. – กรุงเทพฯ :

    Pentagon Advertising, 2553. 248-67.

    8. Michael Gleeson. Nasal polyposis.In:NielsMygind,et al. Scott-Brown’s Otorhinolaryngology Head

    and Neck Surgery. 7th edition 2008;121:1549-57

    9.Tos M. The pathogenetic theories on formation of nasal polyps. Am J Rhinol 1990;4;51-6.

    10. Kirsch JP, White JA. Nasal polypisis. J La State Med Soc 1990 Dec;142(12):11-4

    11. Hosemann W, Gode U, Wagner W. Epidermiology, pathophysiology of nasal polyposis, and

    spectrum of endonasal sinus surgery. Am J Otolaryngol 1994 Mar-Apr;15(2):85-98

  • 24

    12. Stierna PL. Nasal polyps: relationship to infection and inflammation. Allergy Asthma Proc 1996

    Sep-Oct;17(5):251-7

    13. Lildholdt T, Rundcrantz H, Lindqvist N. Efficacy of topical corticosteroid powder for nasal

    polyps: a double-blind, placebo-controlled study of budesonide. ClinOtolarylgol Allied Sci 1995

    Feb;20(1):26-30.

    14. Chalton R, Mackay I, Wilson R, Cole P. Double blind, placebo controlled trial of betamethasone

    nasal drops for nasal polyposis. Br Med J (Clin Res Ed) 1985 Sep 21;291(6498):788.

    15. Karlsson G, Rundcrantz H. A randomized trial of intranasal beclomethasonedipropionate after

    polypectomy. Rhinology 1982 Sep;20(3):144-8.

    16. LindholdtT,Rundcrantz H, Bende M, Larsen K. Glucocorticoid treatment for nasal polyps. The

    use of topical budesonide powder, intramuscular betamethasone, and surgical treatment. Arch

    Otolaryngol Head Neck Surg 1997 Jun;123(6):595-600.

    17. F.C.P. Valera, R. Queiroz, C. Scrideli, L.G. Tone and W. T. Anselmo-Lima. Evaluating

    budesonide efficacy in nasal polyposis and predicting the resistance to treatment. 2009 Clinical

    and Experimental Allergy, (39), 81–88.

    18. Boner AL. Effect of intranasal corticosteroids on the hypothalamic-pituitary-adrenal axis in

    children. Journal of Allergy and clinical immunology 2001;108;s32-9

    19. Dluhy RG. Clinical relevance of inhaled corticosteroid and HPA axis suppression. J Allergy

    ClinImmuno 1998;101;447-50

    20. Aggarwal R., Cardozo A. & Homer J.J. The assessment of topical nasal drug

    distribution.ClinOtolaryngol2004 ;29;201-205

  • 25

    21.Homer J.J.&Raine C.H.(1998) An endoscopic photographic comparison of nasal drug delivery

    by aqeous spray. Clin.Otolaryngol. 23,560-563

    22. Tsikoudas A.& Homer J.J. (2001) The delivery of topical nasal sprays and drops to the middle

    meatus: a semiquantitative analysis. Clin.Otolaryngol. 26, 294-297

    23. Homer J.J., Maughan J.&Burniston M.(2002) A quantitative analysis of the intranasal delivery of

    topical nasal drugs to the middle meatus: spray versus drop administration. J. Laryngol. Otol. 116,

    10-13

    24. Weber R., Keerl R., Radziwill R. et al.(1999) Videoendoscopic analysis of nasal steroid

    distribution. Rhinology 37, 69-73

    25. Richard J. Harvey, Nick Debnath, Aviva Srubiski, Ben Bleier, and Rodney J. Schlosser. Fluid

    residuals and drug exposure in nasal irrigation.Otolaryngology–Head and Neck Surgery (2009) 141,

    757-761.

    26. .Scheibe M, Bethge M , Witt M , Hummel T. Intranasal administration of drug. Arch

    OtolaryngolHeadNeckSurg 2008;134(6):643-6.

    27. Jiang Y, Zhang C, Zhou J, Zhou Z, Xu Y. A clinical analysis of nebulized Pulmicortrespimat

    around FESS period. Lin Chung Er Bi Yan HouTou Jing WaiKeZaZhi.(Article in Chinese).(2007)

    Oct;21(20):939-41

    28. Yu C, Chen FDY, Wang J, et al. Effect of Pulmicortrespule on rehabilitation after functional endoscopic sinus surgery. ActaChimi Sin. 2007;21(2):100-102 29. Neil S. Sachanandani, et al. The Effect of Nasally Administered Budesonide Respules on Adrenal Cortex Function in Patients With Chronic Rhinosinusitis. Arch Otolaryngol head neck surg/vol 135 (NO. 3), (2009); 303-307.

    http://www.ncbi.nlm.nih.gov.ejournal.mahidol.ac.th/pubmed?term=%22Jiang%20Y%22%5BAuthor%5Dhttp://www.ncbi.nlm.nih.gov.ejournal.mahidol.ac.th/pubmed?term=%22Zhang%20C%22%5BAuthor%5Dhttp://www.ncbi.nlm.nih.gov.ejournal.mahidol.ac.th/pubmed?term=%22Zhou%20J%22%5BAuthor%5Dhttp://www.ncbi.nlm.nih.gov.ejournal.mahidol.ac.th/pubmed?term=%22Zhou%20Z%22%5BAuthor%5Dhttp://www.ncbi.nlm.nih.gov.ejournal.mahidol.ac.th/pubmed?term=%22Xu%20Y%22%5BAuthor%5D

  • 26

    30. Rajiv K. Bhalla, et al. Safety of Budesonide in Saline Sinonasal Irrigations in the Management of Chronic Rhinosinusitis with Polyposis: Lack of Significant Adrenal Suppression. Journal of Otolaryngology Head and Neck Surgery, Vol 37, No.6, (2008); 821-825 31. Kevin C. Welch, et al. The effects of serum and urinary cortisol levels of topical intranasal irrigations with budesonide added to ssaline in patients with recurrent polyposis after endoscopic sinus surgery. Am J Rhonol Allergy 24, (2010);26-28 32. Hamilos DL. Approach to the evaluation and medical management of chronic rhinosinusitis. Chapter19: From: Hamilos DL, Baroody FM, editors. Chronis Rhinosinusitis: Pathogenesis and Medical Management. New York: Informa Healthcare; 2007.

  • 27

    แบบประเมินผู้ป่วยริดสีดวงจมูกโดยแพทย์ (Physician assessment)

    1.ประวัติส่วนตัว เลขท่ี ……………………..……. เพศ ………………..อาย ุ…………ปีอาชีพ……………………………. จังหวดั ………………………………………………….. โรคประจ าตวั .............................................................. ระยะเวลาท่ีเป็น………………………………………….. การแพ้ยา………………………………………………… ประวติัโรคภมูิแพ้………………………………………… 2.ความรุนแรงของอาการทางจมูกก่อนรักษา ความรุนแรง [--------[--------[---------[--------[---------[--------[---------[--------[--------[---------[ 0 5 10 อาการ [-------------------------------------------------------------------------------------------- ] คดัจมกู [--------------------------------------------------------------------------------- -----------] น า้มกูไหล [--------------------------------------------------------------------------------------------- ] คนัจมกู [-------------------------------------------------------------------------------------------- ] จาม [-------------------------------------------------------------------------------------------- ] เสมหะไหลลงคอ [-------------------------------------------------------------------------------------------- ] จมกูไมไ่ด้กล่ิน [--------------------------------------------------------------------------------------------]

    (โปรดกาเคร่ืองหมาย X ในระดบัความรุนแรงท่ีเลือก) หมายเหต ุคะแนน 0คือ ไมม่ีอาการเลย คะแนน 5 คือ มีอาการปานกลาง คะแนน 10 คือ มีอาการรุนแรงมากจนไมส่ามารถทนได้ 3.เคยมีการใช้ยาสเตียรอยด์พน่จมกูมากอ่น มี ไมม่ี ถ้ามี โปรดระบุช่ือยา………………………………………………….. เร่ิมใช้เมื่อ…………………………………..ระยะเวลาท่ีใช้ ........................................................... ขนาดท่ีใช้ ................................................................ 4.เคยได้รับยาสเตียรอยด์กินมากอ่น มี ไมม่ี ถ้ามี โปรดระบุช่ือยา………………………………………………….. เร่ิมใช้เมื่อ…………………………………..ระยะเวลาท่ีใช้ ...........................................................

    ขนาดท่ีใช้ ................................................................

  • 28

    5.ประวติัการผ่าตดัไซนัสกอ่นหน้านี ้

    มี ไมม่ี ระบ…ุ………………………………………………..

    6.ประวติัโรคทางจมกูและโพรงอาการข้างจมกู เช่น ริดสีดวงจมกู ไซนัสอกัเสบเรือ้รัง

    มี ไมม่ี ตรวจร่างกาย (Physical examination)

    Nose Rt Lt -Septum (0=Normal, 1=Deviated to ) 0 1 0 1 -Mucosa � Color (0=Normal, 1=Pale, 2 Erythematous) 0 1 2 0 1 2 �Swelling / Edema [0 = No 0 1 2 3 0 1 2 3 1 = Mild (IT prominent but visualization of MT) 2 = Moderate (Not visualization of MT but IT not touching septum) 3= Severe (IT touching septum)] -Secretion � Color (0=Clear, 1=White, 2=Yellow, 3=Green) 01 2 3 0 1 2 3 �Amount (0=None, 1=Moderate, 2=Profuse) 0 1 2 0 1 2 -Post nasal drip (0=Clear, 1=White, 2=Yellow, 3=Green) 0 1 2 3 0 1 2 3 -Obstruction (0 = No, 1 = Yes) 0 1 0 1

    - Polyps Grading 0 1 2 3 0 1 2 3 Endoscopic appearance score

    No polyp 0

    Restricted to middle meatus 1

    Below middle turbinate 2

    Massive polyposis 3

    - Ears : Middle ear effusion (0 = No, 1 = Yes) 0 1 0 1

  • 29

    ประเมินผลการรักษา

    1.คะแนนความรุนแรงของอาการ ( nasal symptom scores)

    เวลา อาการ (สัปดาห์)

    (คะแนน)

    กอ่นการรักษา

    หลังการรักษา

    4 สัปดาห์

    หลังการรักษา

    8 สัปดาห์

    หลังการรักษา 1 2 สัปดาห์

    คดัจมกู น า้มกูไหล คนัจมกู จาม เสมหะไหลลงคอ จมกูไมไ่ด้กล่ิน คะแนนรวม

    2.คะแนนตามขนาดริดสีดวงจมูก

    เวลา จมกู (สัปดาห์ )

    (ข้าง )

    กอ่นการรักษา

    หลังการรักษา

    4 สัปดาห์

    หลังการรักษา

    8 สัปดาห์

    หลังการรักษา 1 2 สัปดาห์

    ขวา ซ้าย คะแนนรวม 3.ประสิทธิภาพการรักษาโดยรวม ( overall assessment of treatment efficacy)

    เวลา (สัปดาห์) กอ่นการรักษา หลังการรักษา 4 สัปดาห์

    หลังการรักษา 8 สัปดาห์

    หลังการรักษา 1 2 สัปดาห์

    ประสิทธิภาพการ รักษาโดยรวม

    หมายเหต ุ :คะแนน 0 คือ อาการแยล่ง

    คะแนน 1 คือ อาการเท่าๆเดิม คะแนน 2 คือ ควบคมุอาการได้เล็กน้อย

    คะแนน 3 คือ ควบคมุอาการได้ปานกลาง คะแนน 4 คือ ควบคมุอาการได้ทัง้หมด

  • 30

    4.ผลข้างเคียงของยา corticosteroids เฉพาะที่

    เวลา อาการ (สัปดาห์ )

    หลังการรักษา 4 สปัดาห์

    หลังการรักษา 8 สปัดาห์

    หลังการรักษา 12 สปัดาห์

    เลือดออกจากจมกู คออกัเสบ จมกูแห้งและเป็นสะเก็ด แสบจมกู ผนังกัน้จมกูทะล ุ

    Skin prick test result ……………………………

    อื่นๆ ระบ…ุ…………………………….

    ........................................ผู้ประเมิน

    เวลา (สัปดาห์) กอ่นการรักษา หลังการรักษา 12 สัปดาห์

    Serum cortisol

  • 31

  • 32