50
ปญหาพิเศษ เรื่อง การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia areolata ในระบบน้ําหมุนเวียนในชวงอายุ 1-2 เดือน GROWTH OF SPOTTED BABYLON (Babylonia areolata Link, 1807) IN WATER RECIRCULATION SYSTEM IN 1 st – 2 nd MONTH โดย นายกิตติ ทิพยมณี รหัส 5107101003 สาขาวิชาการประมง มหาวิทยาลัยแมโจ ชุมพร มหาวิทยาลัยแมโจ ปการศึกษา 2554

การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

 

 

ปญหาพิเศษ

เร่ือง

การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia areolata ในระบบน้ําหมุนเวียนในชวงอายุ 1-2 เดือน

GROWTH OF SPOTTED BABYLON (Babylonia areolata Link, 1807)

IN WATER RECIRCULATION SYSTEM

IN 1st – 2nd MONTH

โดย

นายกิตติ ทิพยมณี

รหัส 5107101003

สาขาวิชาการประมง

มหาวิทยาลัยแมโจ – ชุมพร

มหาวิทยาลัยแมโจ

ปการศึกษา 2554

Page 2: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

 

 

ปญหาพิเศษ

เร่ือง

การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia areolata ในระบบน้ําหมุนเวียนในชวงอายุ 1-2 เดือน

GROWTH OF SPOTTED BABYLON (Babylonia areolata Link, 1807)

IN WATER RECIRCULATION SYSTEM

IN 1st – 2nd MONTH

โดย

นายกิตติ ทิพยมณี

รหัส 5107101003

ปญหาพิเศษนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรบณัฑิต

สาขาการประมง (การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา) มหาวิทยาลัยแมโจ-ชุมพร

มหาวิทยาลัยแมโจ

ปการศึกษา 2554

Page 3: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

 

 

การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia areolata ในระบบน้ําหมุนเวียนในชวงอายุ 1-2 เดือน

GROWTH OF SPOTTED BABYLON (Babylonia areolata Link, 1807)

IN WATER RECIRCULATION SYSTEM

IN 1st – 2nd MONTH

ไดพิจารณาเหน็ชอบโดย

………………………… อาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษ

(อาจารยกมลวรรณ ศุภวิญ)ู วันที.่......เดือน……………พ.ศ. ……..

………………………… อาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษรวม

(อาจารยยุทธนา สวางอารมย) วันที…่….เดือน……………พ.ศ. ……..

Page 4: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

 

 

ช่ือเร่ือง : การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia areolata ในระบบน้ําหมุนเวยีน

ในชวงอายุ 1-2 เดือน

GROWTH OF SPOTTED BABYLON (Babylonia areolata Link, 1807)

IN WATER RECIRCULATION SYSTEM IN 1st – 2nd MONTH

ช่ือผูเขียน : นายกิตติ ทพิยมณ ี

ช่ือปริญญา : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิาการประมง (การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา)

อาจารยที่ปรึกษา : อาจารยกมลวรรณ ศุภวิญู

บทคัดยอ

การศึกษาการเจริญเติบโตของหอยหวานที่เล้ียงในระบบน้ําหมุนเวียนและระบบปด ในการ

เล้ียงหอยหวานระหวางชวงอายุ 1-2 เดือน ศึกษาทดลองที่อาคารปฏิบัติการทางทะเล มหาวิทยาลัย

แมโจ-ชุมพร ใชระยะเวลาในการทดลอง 9 สัปดาห โดยแบงชุดการทดลองออกเปน 3 ชุดการ

ทดลองแตละชุดการทดลองแบงเปน 3 ซํ้า เพื่อหาการเจริญเติบโตของหอยหวานและเก็บขอมูลทุกๆ

สัปดาห

การศึกษาการเจริญเติบโตของหอยหวานที่เล้ียงในระบบน้ําหมุนเวียน พบวา ความยาวเฉลีย่ของลําตัวหอยหวาน ในแตละชุดการทดลองเรียงลําดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ชุดการทดลองที่1, ชุดการทดลองที่3 และ ชุดการทดลองที่2 เทากับ 1.54±0.076, 1.56±0.081 และ 1.59±0.035 เซนติเมตรตามลําดับ (P>0.05) และคาเฉลี่ยน้ําหนักของหอยหวานในแตละชุดการทดลองเรียงลําดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ชุดการทดลองที่3, ชุดการทดลองที่1 และชุดการทดลองที่2 เทากับ 1.54±0.082, 1.67±0.206 และ 1.73±0.165 กรัมตามลําดับ (P>0.05)

คําสําคัญ: หอยหวาน, การเจริญเติบโต, ระบบน้ําหมุนเวยีน

Page 5: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

 

 

กิตติกรรมประกาศ

ขาพเจาขอขอบพระคุณ อาจารยกมลวรรณ ศุภวิญู ซ่ึงไดกรุณารับเปนอาจารยที่ปรึกษา

ปญหาพิเศษ และอาจารยยุทธนา สวางอารมย ไดกรุณารับเปนอาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษรวม

ใหแกขาพเจา และชวยตรวจสอบแกไขจนกระทั่งสําเร็จออกมาเปนรูปเลมปญหาพิเศษอยางสมบูรณ

ขอขอบพระคุณ คุณณิชาพล แกวชฎา นักวิทยาศาสตรประจําหองปฏิบัติการมหาวิทยาลัย

แมโจ-ชุมพร ที่ใหความอนุเคราะหในการใชอุปกรณในการทดลองครั้งนี้

นอกจากนี้ ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ไดสนับสนุนทุนทรัพยในการศึกษา

เลาเรียนมาโดยตลอดและขอขอบคุณทุกคนในครอบครัวที่คอยใหกําลังใจตลอดเวลาในการศึกษา

กิตติ ทิพยมณ ี

กันยายน 2554

Page 6: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

(ก)

สารบัญ

เร่ือง หนา

บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ (ก) สารบัญภาพ (ข) สารบัญตาราง (ค)บทท่ี1 คํานํา 1 บทท่ี2 การตรวจเอกสาร

ชีววิทยาของหอยหวาน 2 อาหารและการกินอาหาร 3

การสืบพันธุ 3 วงจรชีวิต 4 การเลี้ยงหอยหวาน 4 การเลี้ยงสัตวน้ําในระบบน้าํหมุนเวียน 9

บทท่ี3 วิธีการวิจัย เวลาและสถานที่ทําการศึกษาวิจยั 12 อุปกรณในการศึกษาวจิัย 13 วิธีการดําเนนิการศึกษาวจิยั 13 บทท่ี4 ผลและวิจารณผลการทดลอง 16 บทท่ี5 สรุปผลการทดลอง 24 บรรณานุกรม 25ภาคผนวก (ก) ภาพกจิกรรมการดําเนนิงาน 27 ภาคผนวก (ข) ตารางขอมูล 33 ภาคผนวก (ค) ประวัติผูวจิัย 41

Page 7: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

(ข)

สารบัญภาพ

ภาพที ่ หนา 1 แผนผังบอผาใบในการเลี้ยงหอยหวาน 15 2 ความยาวเฉลี่ยของลําตัวตัวหอยหวานที่เล้ียงดวยระบบน้ําหมุนเวียน 19 3 น้ําหนกัเฉลี่ยของหอยหวานที่เล้ียงดวยระบบน้ําหมุนเวยีน 23 ภาพผนวกที ่ 1 สถานที่ทําการวิจัย 28 2 น้ําที่ใชเล้ียงหอยหวาน 28 3 การทําโครงบอหอยหวาน 29 4 การปูผาใบบอหอยหวาน 29 5 บอเล้ียงหอยหวาน 30 6 ลักษณะการกนิอาหารของหอยหวาน 30 7 ปลิงทะเล 31 8 สาหรายโพรง 31 9 การชั่งน้ําหนกัหอยหวาน (กรัม) 32 10 การวัดความยาวหอยหวาน (เซนติเมตร) 32

Page 8: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

(ค)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา 1 แผนการดําเนนิงาน 12 2 ความยาวเฉลี่ยของหอยหวานที่เล้ียงดวยระบบน้ําหมนุเวียน 18 3 น้ําหนกัเฉลี่ยของหอยหวานที่เล้ียงดวยระบบน้ําหมุนเวยีน 22 ตารางผนวกที่ 1 วิเคราะหความแปรปรวน (ANOVA) คาความยาวเฉลี่ยของหอยหวานสปัดาหที1่-9 34 2 วิเคราะหความแปรปรวน (ANOVA) คาน้ําหนักเฉลี่ยของหอยหวานสัปดาหที1่-9 36 3 ความยาวและน้ําหนกัหอยหวาน สัปดาหที ่1-9 38

Page 9: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

 

 

บทท่ี 1

คํานํา

หอยหวานนอกจากจะนํามาบริโภค และนําเปลือกมาทําเปนเครื่องประดับจําหนายภายในประเทศแลวยังสงออกไปจําหนายตางประทศ ซ่ึงปจจุบันหอยหวานเกือบทั้งหมดตองอาศัยจับจากธรรมชาติ ซ่ึงนับวันจะลดจํานวนลงจนนาเปนหวงวาจะสูญพันธุไป โดยการทําประมงหอยหวานในประเทศไทย สวนมากใชลอบดักโดยใชเนื้อปลาเปนเหยื่อ ความตองการหอยหวานเพื่อบริโภคทั้งภายใน และตางประเทศ เชน ฮองกง, ไตหวัน, ญ่ีปุนและประเทศอื่นๆ จะมีความตองการเพิ่มขึ้นเปนอันมาก ดังนั้นปจจุบันหอยหวานจึงมีปริมาณไมเพียงพอกับความตองการของตลาดอยางเห็นไดชัด

ปจจุบันไดมีการเพาะเลี้ยงหอยหวานกันอยางแพรหลาย แตพบปญหาในการเลี้ยงหอยหวานเนื่องจากลูกหอยหวานในระยะแรกมีอัตราการรอดต่ํา หากมีการจัดการที่ไมเหมาะสม ซ่ึงกรมประมงไดมีการวิจัยและพัฒนาการเลี้ยงหอยหวาน เชน มีการพัฒนารูปแบบการเลี้ยง พัฒนาอาหารสําเร็จรูป ศึกษาหาวิธีการลดตนทุนในการผลิต ตั้งแตการผลิตลูกพันธุหอยหวาน ใหมีอัตราการรอดตายสูง พัฒนาเทคนิค และรูปแบบการเลี้ยงหอยหวานใหเหมาะสมกับ สภาพแวดลอม มีการจัดการใหหอยหวานเลี้ยงงายโตเร็ว และมีคุณภาพตามที่ตลาดตองการ

ดังนั้นจึงไดทําการทดลองเลี้ยงหอยหวานอายุ 1-2 เดือน เพื่อตองการศึกษาการเจริญเติบโตของหอยหวาน โดยทําการทดลองเลี้ยงหอยหวานในระบบน้ําหมุนเวียน ซ่ึงเปนแนวโนมของการเพาะเลี้ยงในอนาคตที่น้ําทะเลในธรรมชาติเสื่อมโทรมลงและมีการปนเปอนจากสารตกคางทางการเกษตรตางๆ เพื่อเปนแบบอยางแกเกษตรกรผูเพาะและเลี้ยงหอยหวานในเชิงพาณิชย รวมทั้งสามารถประยุกตใชในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําอื่นๆ ตอไป

วัตถุประสงค

ศึกษาการเจริญเติบโตของหอยหวานในระบบน้ําหมุนเวียนที่มีอายุ 1-2 เดือน

Page 10: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

2

บทท่ี 2

ตรวจเอกสาร

หอยหวาน หอยหวานมีช่ือสามัญวา หอยตุกแก หรือ หอยเทพรส และมีช่ือวิทยาศาสตรวา

Babylonia areolata หอยหวานจัดจําแนกตามหลักอนุกรมวิธานดังนี ้

Phylum Mollusca Class Gastropoda

Subclass Prosobranchia Order Neogastropoda

Family Buccinidae Genus Babylonia

Species areolata ลักษณะโดยทั่วไป

หอยหวาน (Babylonia areolata) เปนหอยทะเลฝาเดียวมีเปลือกคอนขางหนา ทรงไข (ovate) ผิวเรียบ เปลือกมีพื้นสีขาว และมีแตมสี่เหล่ียมสีน้ําตาลดําขนาดใหญเรียงเปนแถว 3 แถวบนวงลําตัว (Body whorl) บริเวณปลายสุดของสวนหัวจะแหลม โดยสวนหัวจะขดเปนเกลียว (Spire) และมีรองที่ไมลึกมากนัก ฝาปด (Operculum) เปนรูปทรงไขที่สามารถปดชองเปดลําตัวไดอยางสนิท หอยหวานมีหนวด 1 คูและมีตา 1 คู สําหรับหอยหมาก (Babylonia spirata) มีลักษณะที่แตกตางจากหอยหวานคือเปลือกมีแตมสีน้ําตาลจํานวนมากกวา เปลือกมีสีเขมกวา สวนหัวเปนเกลียวที่มีรองลึกมากกวาและหอยหมากมีขนาดเล็กกวาหอยหวาน การแพรกระจาย

หอยหวาน (Babylonia areolata) อาศัยอยูบริเวณพื้นทะเลที่เปนทรายหรือทรายปนโคลนที่ระดับความลึกประมาณ 5-20 เมตร หอยหวานแพรกระจายอยูทั่วไปบริเวณชายฝงทะเลของอาวไทยและทะเลอันดามัน ไดแกระยอง จันทบุรี ตราด เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ สุราษฏรธานี

Page 11: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

3

นครศรีธรรมราช กระบี่ ระนอง และสตูล สําหรับหอยหมาก (Babylonia spirata) สวนใหญพบแพรกระจายอยูบริเวณชายฝงทะเลของจังหวัดสตูล ระนอง (กรมประมง, 2548) อาหารและการกินอาหาร

พฤติกรรมการกินอาหารของหอยหวานสามารถแบงออกเปน 2 แบบตามชวงชีวิตคือลูกหอยหวานระยะวัยออนเปนสัตวที่มีการดํารงชีพแบบแพลงกตอนลองลอยอยูในมวลน้ําและกินอาหารดวยการกรอง โดยลูกหอยมีอวัยวะคลายแปรงเปนวงที่เรียกวา Velum สําหรับโบกพัดน้ําทะเลเขาสูชองปากและกรองกินแพลงกตอนพืชเซลลเดียวเปนอาหาร สําหรับลูกหอยหวานระยะลงพื้นและระยะเต็มวัยเปนสัตวที่มีการดํารงชีพบนพื้นทะเลและกินเนื้อเปนอาหาร (Carnivorous feeder) โดยหอยหวานกินซากสัตวที่ตายแลวเปนอาหารทั้งในสภาพสดและไมสด หอยหวานมีการกินอาหารแบบกลุมกอน โดยหอยหวานมีตอมน้ําลายสําหรับสรางน้ํายอยและสงออกมาทางงวงยาวที่เรียกวา Proboscis เพื่อยอยอาหารภายนอกรางกายแลวจึงดูดเขาไปภายในรางกาย โดยงวงนี้สามารถยืดยาวไดประมาณ 8-10 เซนติเมตร ดังนั้นหอยหวานจึงไมมีปญหาในการกินอาหารแบบกลุมกอนเพราะหอยที่อยูดานหลังสามารถยืดงวงผานตัวอ่ืนๆ เขาไปเจาะกินอาหารได โดยปกติเมื่อหอยหวานกินอาหารอิ่มแลวจะเดินออกจากเหยื่อและฝงตัวอยูใตช้ันทรายทันที ระบบทางเดินอาหารของหอยหวานประกอบดวยปาก หลอดอาหาร กระเพาะ ลําไส และทวารหนัก (นิลนาจ, 2545) การสืบพันธุ

หอยหวานจัดเปนสัตวแยกเพศ (Dioecious) คือมีเพศผูและเพศเมียแยกกัน แตหอยหวานไมสามารถจําแนกเพศไดจากลักษณะเปลือกภายนอก การจําแนกเพศของหอยหวานจะตองใหมันยืดอวัยวะภายในออกมากลาวคือเพศผูสามารถเห็นอวัยวะสืบพันธุที่เรียกวา Penis ซ่ึงมีรูปรางคลายติ่งรูปใบไม (Leaftlet shape) มีสีเหลืองออนอยูบริเวณโคนหนวดดานขวา สําหรับเพศเมียจะไมพบอวัยวะใดๆ ในตําแหนงเดียวกัน ระบบสืบพันธุของหอยหวานเพศเมียประกอบดวยรังไข (Ovary) อยูบริเวณปลายสุดของสวนหัว มีตอมสรางไขขาว (Albumin gland) และตอมสรางเปลือก (Capsule gland) สําหรับเพศผูประกอบดวยอัณฑะ (Testis) อยูบริเวณปลายสุดของสวนหัวเชนกัน ตอมสรางฮอรโมนเพศ (Prostrate gland) และทอสงสเปริ์ม (Sperm duct) และชองเปดออกทาง Penis

Page 12: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

4

วงจรชีวิต วงจรชีวิตของหอยหวานเริ่มจากไขที่ปฏิสนธิแลวที่เรียกวา Fertilized eggs พัฒนาเปนลูก

หอยระยะพัฒนาที่เรียกวา Trocophore ภายในเวลา 24 ช่ัวโมงหลังการวางไขลูกหอยระยะนี้จะเจริญอยูภายในฝกไขเปนเวลาประมาณ 4-5 วันหลังการวางไข หลังจากนั้นลูกหอยระยะวัยออนที่เรียกวา Veliger จึงฟกออกจากฝกไขและดํารงชีพแบบแพลงกตอนลองลอยอยูในมวลน้ํา โดยลูกหอยระยะวัยออนสามารถเจริญเขาสูลูกหอยระยะลงพื้น (Settled juveniles) ภายในเวลาเฉลี่ย 14-16 วันหลังฟกออกจากฝกไข ลูกหอยระยะนี้มีเปลือกและรูปรางอยางสมบูรณเหมือนพอแมทุกประการและมีการดํารงชีพดวยการคืบคลานบนพื้นทะเล โดยหอยหวานสามารถเริ่มมีการเจริญพันธุ (First maturity) ที่ความยาวเปลือกประมาณ 3.6 เซนติเมตรหรืออายุประมาณ 6 เดือนหลังจากวางไข (นิลนาจ, 2545) การเลี้ยงหอยหวาน 1. รูปแบบการเลี้ยงหอยหวาน ปจจุบันมี 2 รูปแบบ 1.1 การเลี้ยงบริเวณชายฝงทะเล โดยจัดสรางเปนโรงเรือนมีหลังคาคลุมบังแสงแดดและปองกันน้ําฝน บอเล้ียง อาจใชเปนบอซีเมนต หรือบอที่ทําจากผาใบอยางหนาอาจจะเปนบอเหล่ียม หรือรูปรางกลมก็ได แตตองมีระบบการถายเทน้ําไดสะดวกมีทอน้ําลม และน้ําเขา-ออกสะดวก มีระบบใหอากาศ เพียงพอ พื้นกนบอจะใสทรายพอทวมตัวลูกหอย ขนาดบอไมควรใหญจนเกินไปเพราะจะดูแล จัดการไดยาก ขนาดที่เหมาะสมควรจะมีพื้นที่บอไมเกิน 30-40 ตารางเมตร ควรทําการพรางแสงไมใหพื้นบอสัมผัสแสงแดดโดยตรงเพราะจะทําใหเกิดสาหรายขึ้นที่พื้น และเมื่อสาหรายตายลง จะทําใหเกิดน้ําเสียข้ึน ทําใหลูกหอยมีสุขภาพไมแข็งแรง การใหอาหาร ใหเนื้อปลาขางเหลือง ซ่ึงบั้งดานขางใหลูกหอยกินหรือเนื้อหอยแมลงภู กินวันละ 1 คร้ัง ถาเปนเนื้อปลาจะให 2-10 เปอรเซ็นต ของน้ําหนักตัวตอวัน ถาเปนเนื้อหอยแมลงภูจะให 5-30 เปอรเซ็นต โดยตองคอยดูอยาใหอาหารเหลือ สําหรับอัตราการแลกเปลี่ยนเปน เนื้อหอยหวาน (FCR) เนื้อปลาขางเหลืองเทากับ 2.03:1 และเนื้อหอยแมลงภูเทากับ 3.47:1 อัตราการปลอย ลูกหอยหวานขนาด 1 เซนติเมตร ควรปลอยลงเล้ียงในอัตรา 300 ตัวตอตารางเมตร การเปลี่ยนถายน้ํา ควรถายน้ําไมต่ํากวาวันละ 30 เปอรเซ็นต ถาถายน้ําไดมาก หอยจะยิ่งโตเร็ว แตตนทุนจะสูงขึ้นตาม การทําความสะอาดทราย เมื่อเล้ียงหอยหวานไปไดประมาณ 1 เดือนจะพบวาทรายมีสีดําและเริ่มมีกล่ินเหม็น เนื่องจากหอยขับถายของเสียลงทรายสะสมมากขึ้นควรจะใชน้ํามีความเค็มเทากับที่เล้ียงในบอ ฉีดลางทรายใหส่ิงสกปรก ออกนอกบอทิง้ไป

Page 13: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

5

1.2 การเลี้ยงหอยหวานในกระชังในทะเล การเลี้ยงหอยหวานในกระชังในทะเล จะมีตนทุนต่ํากวาการเล้ียงหอยหวาน บนบกบริเวณชายฝง เพราะไมตองเสียคาไฟฟา หรือคาน้ํามันในการถายเทน้ํา เนื่องจากน้ําทะเลมีการเคลื่อนตัวไหลผานกระชังอยูตลอดเวลาและยังทําใหหอยหวานโตเร็วกวาอีกดวย แตมีขอจํากัดเลือกสถานที่วางกระชังใหเหมาะสม กลาวคือความเค็มของน้ําไมต่ํากวา 20 สวนในพันสวน และไมมีคล่ืนลมรุนแรง (มีเกาะหรือส่ิงกอสรางกําบังคลื่นลม) ผลผลิต ลูกหอยหวานที่เล้ียงโดยถายน้ําวันละ 30 เปอรเซ็นต จะใชเวลาเลี้ยงประมาณ 6-7 เดือน จะไดหอยหวานขนาด 100 ตัวตอกิโลกรัม ถาเลี้ยงตออีก 2 เดือน จะไดขนาด 70 ตัวตอกิโลกรัม ราคาขายอยูระหวาง 250-320 บาทตอกิโลกรัม สวนถาเลี้ยงโดยการใชระบบน้ําไหลผานตลอด 24 ช่ัวโมง จะใชเวลาเลี้ยงประมาณ 5-6 เดือน จะไดขนาดตัว 100 ตัวตอกิโลกรัม โดยมีอัตราการรอดตายสูงถึง 90-95 เปอรเซ็นต ทั้ง 2 ระบบ (กรมประมง, 2548)

2. หลักเกณฑการคัดเลือกสถานที่ สถานที่ที่ เหมาะสมสําหรับการเลี้ยง หอยหวานนั้นเปนเงื่อนไขสําคัญเบื้องตนของ

ความสําเร็จในการดําเนินการ โดยมีขอควรพิจารณาดังตอไปนี้ 2.1 พื้นที่ที่เหมาะสม ควรเปนพื้นที่ที่อยูติดกับทะเล หรือเปนเกาะอยูหางจากทะเลไมมากนัก สามารถนําน้ําทะเลมาใชไดสะดวกและเพียงพอ ตนทุนน้ําจะไดไมแพงมากนัก ไมควรอยูใกลปากแมน้ําหรือลําคลองขนาดใหมที่มีน้ําจืดไหลลงมาจํานวนมากในฤดูฝน เพราะอาจจะเกิดปญหาความเค็มของน้ําลดลงรวดเร็ว ซ่ึงจะมีผลตออัตราการตายของหอย 2.2 น้ําทะเลจะใชเล้ียงหอยหวาน ควรมีความเค็มอยูในชวง 28-35 psu หากน้ํามีความเค็มต่ํากวา 28 psu หอยหวานอาจจะเจริญเติบโตชาลง และหากความเค็มลดลงต่ํากวา 20 psu หอยบางสวนจะเริ่มตายลง 2.3 สถานที่ที่จะใชเล้ียงหอยหวาน ควรตั้งอยูใกลภัตตาคารโรงแรม และรานอาหารประเภทตางๆ หากอยูใกลแหลงทองเที่ยวก็ยิ่งดี เพราะจะไดจําหนายผลผลิตหอยหวานไดสะดวกยิ่งขึ้น 2.4 สถานที่สําหรับใชเล้ียงหอยหวาน ไมควรตั้งอยูใกลโรงงานหรือแหลงมลพิษตางๆ ที่จะเปนสาเหตุทําใหน้ําทะเลที่จะนํามาใชเล้ียงหอยหวานเกิดความสกปรก น้ําไมสะดวกเทาที่ควร อาจมีเชื้อโรคหรือสารพิษปนเปอน หอยท่ีเล้ียงไวเกิดโรคตางๆ ตายได

Page 14: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

6

2.5 แหลงเลี้ยงหอยหวาน ควรอยูใกลแหลงอาหารที่จะใชเล้ียงหอยหวาน เชน เนื้อปลา เนื้อหอยแมลงภู ทําใหตนทุนอาหารมีราคาถูกไมเสียคาขนสงแพง มีอาหารใหหอยกินอยางเพียงพอและสม่ําเสมอ (นิลนาจ, 2545)

3. การเตรียมบอหรือภาชนะที่ใชเล้ียง บอหรือภาชนะที่ใชเล้ียงหอยหวานนั้นมีหลายรูปแบบ เปนเหลี่ยมหรือรูปรางกลมก็ได แต

ตองมีระบบที่จะทําใหสามารถถายเทน้ําไดสะดวก อาจเปนบอคอนกรีต บอผาใบ หรือถังไฟเบอรกลาสที่มีรูปรางทรงกลม มีทอน้ําลน และทางน้ํา เขา -ออกสะดวก มีระบบใหอากาศในปริมาณที่พอเพียง พื้นกนบอหรือกนถังดังกลาวควรจัดใหมีทรายทองพื้นภาชนะ เร่ิมจากการใชทรายละเอียด หากลูกหอยยังมีขนาดเล็ก ปริมาณทรายที่ใชไมจําเปนตองมากนัก ใหทรายมีความหนาพอทวมตัวหอยที่เล้ียงก็เปนการเพียงพอแลว ในกรณีที่ผูเล้ียงไมประสงคใชทรายรองพื้นกนบอหรือภาชนะที่ใชเล้ียงก็สามารถทําได โดยผูเล้ียงจะตองหมั่นเช็ดถูพื้นผิวบอหรือภาชนะที่ใชเล้ียงใหสม่ําเสมอมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อเปนการกําจัดเมือกและสิ่งสกปรกจากมูลหอยรวมทั้งอาหารหอยที่เหลือตกคางซึ่งมักจะเกิดขึ้นเสมอ นอกจากนี้แลวผูเล้ียงยังควรตรวจวัดปริมาณออกซิเจน คาแอมโมเนีย ไนไตรทและไนเตรทเปนประจําอยางสม่ําเสมอ

บอหรือภาชนะที่ใชเล้ียงไมควรมีขนาดใหญมากนัก ควรเปนขนาดที่สะดวกกับการระวังดูแลรักษาความสะอาด บอที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางขนาด 1 เมตรก็นาจะใชไดดีแตตองมีพื้นผิวภาชนะที่ราบเรียบ ไมขรุขระซ่ึงอาจเปนที่สะสมของเชื้อโรคตาง ๆ ได ควรทําการพรางแสง เพื่อไมใหแสงสวางสองตัวหอยมากนักแสงสวางที่มากเกินไปนอกจากจะเปนการรบกวนหอยที่เล้ียงแลวยังเปนการกระตุน ใหแพลงกตอนและสาหรายที่อยูในบอเกิดการสังเคราะหแสง เกิดสาหรายสีเขียวจํานวนมากเกาะอยูที่กนบอและผนังบอ ซ่ึงจะเปนเหตุใหน้ําเสียและเปลือกหอยที่เล้ียงก็จะมีสาหรายและสิ่งปนเปอนเกาะติด ทําใหดูสกปรกไมสะอาด เปนแหลงสะสมของเชื้อโรคได

น้ําที่ใชเล้ียงหอยหวานบอหรือภาชนะจะตองเปนน้ําที่ใสสะอาด ไมมีตะกอนแขวนลอย หากมีอยูมากน้ําจะขุน ตะกอนขนาดเล็กเหลานี้ไปเกาะที่เหงือกภายในตัวหอย ทําใหหอยตามไดและน้ําที่ใชเล้ียงหอยก็ควรมีความเค็มในรอบปไมแตกตางกันมากนัก ขนาดความลึกของน้ําในบอหรือภาชนะที่ใชเล้ียงไมจําเปนตองลึกมากนัก ขนาดความลึกประมาณ 40 เซนติเมตร ก็ใชไดแลว ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขนาดและความหนาแนนของหอยที่นํามาเลี้ยงรวมทั้งปจจัยอ่ืน ๆ ดวย

Page 15: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

7

4. ขนาดและอตัราการปลอย เนื่องจากปจจุบันมีผูสนใจที่จะเลี้ยงหอยหวานมากขึ้น ในขณะที่หนวยราชการและเอกชน

ยังไมสามารถผลิตลูกพันธุหอยชนิดนี้ไดเพียงพอกับความตองการของผูที่สนใจจะนําไปทดลองเล้ียง อยางไรก็ตามหนวยงานของกรมประมงก็พยายามคนควาวิจัยเพื่อพัฒนาการเพาะขยายพันธุหอยหวานชนิดนี้ใหไดจํานวนลูกพันธุมากขึ้น ในขณะที่ตนทุนก็ตองมีราคาถูกลง ฉะนั้นผูที่สนใจจะเลี้ยงหอยหวาน ควรศึกษาวิธีการเพาะขยายพันธุหอยชนิดนี้ หากสามารถเพาะขยายพันธุไดดวยตนเองก็จะสามารถลดตนทุนที่เปนลูกพันธุหอยลงไดมาก ขนาดของลูกหอยหวานที่เหมาะสมจะนําไปเลี้ยงนั้น อยางนอยควรมีความยาวเปลือก 0.5เซนติเมตร.ขึ้นไป ถาจะใหใหไดผลดีควรมีความยาวเปลือกตั้งแต 1 เซนติเมตร.ขึ้นไป หากนําลูกหอยขนาดดังกลาวไปเลี้ยงก็จะมีอัตราการรอดตายคอนขางสูง อัตราการปลอยลุกหอยขนาดความยาวเปลือก 1 – 1.5 เซนติเมตร ที่เหมาะสมควรปลอยประมาณ 300 - 500 ตัวตอพื้นที่กนบอ 1 ตารางเมตร อยางไรก็ตาม อัตราปลอยจะมากหรือนอยข้ึนอยูกับการจัดการหากมีการจัดการเรื่องการเลี้ยงลูกและการ ดูแลรักษาที่ดีผูเล้ียงก็จะสามารถปลอยลูกหอยลงเลี้ยงในบอไดหนาแนนเพิ่มขึ้น

5. อาหารและการใหอาหาร โดยธรรมชาติของหอยหวานที่คืบคลานบนพื้นทะเล จะชอบกินอาหารประเภทเนื้อเปน

หลัก หากนําลูกหอยหวานมาเลี้ยงในบอก็สามารถเลี้ยงดวยเนื้อปลาเนื้อหอยแมลงภู เนื้อหอยกะพง รวมทั้งอาหารเม็ดกุงทะเล และอาหารผสมอื่นๆ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความสะดวกในการจัดซื้อจัดหาและราคาของอาหารชนิดนั้นๆ ปจจุบันพบวาการใชเนื้อหอยแมลงภูเล้ียงหอยหวาน หอยหวานจะมอัีตราการเจริญเติบโตดีกวาการใชเนื้อปลา การใหอาหารขึ้นอยูกับชนิดของอาหารที่จะให และขนาดของลูกหอยหวานที่เล้ียง หากใชเนื้อปลาควรใชเนื้อปลาที่มีราคาไมแพงนัก เชน เนื้อปลาขางเหลืองหรือปลาเบญจพรรณอื่นๆ ทําการแลเอาเฉพาะเนื้อปลา สับเปนชิ้นๆ ใหญเล็กตามขนาดของหอยที่เล้ียง หากใชเนื้อหอยแมลงภูควรซ้ือหอยแมลงภูขนาดเล็กหรือที่ชาวบานเรียกวา "หอยเปด" มีขนาดความยาวเปลือกไมเกิน 3 เซนติเมตร. ซ่ึงชาวประมงผูเล้ียงหอยแมลงภูจะตัดหลักหอยขนาดเล็กจําหนายในราคาถูก จะทําใหตนทุนคาอาหารต่ําลง หอยแมลงภูและเนื้อปลาที่ใชควรมีความสะอาด หากเปนหอยแมลงภูก็ทําการผาตัวหอยแลวแบะใหฝาหอยท้ังสองขางอาออก หอยหวานจะสามารถเขามาดูดกินเนื้อหอยแมลงภูไดสะดวก หากใชอาหารชนิดอื่น ๆ นอกจากที่กลาวมาแลวก็จําเปนตองดัดแปลงวิธีการใหอาหารใหเหมาะสมเปนชนิด ๆ ไป ปริมาณอาหารที่ใหกรณีที่ใชเนื้อปลาเลี้ยงควรให 2-10 เปอรเซ็นต ของน้ําหนักหอยหวานทั้งหมดที่เล้ียงหากใชเนื้อหอยแมลงภูเล้ียงก็ควรให 5-30 เปอรเซ็นต ของน้ําหนัก

Page 16: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

8

หอยท้ังหมดที่เล้ียง ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ขึ้นอยูกับปจจัยอ่ืนๆ จึงจําเปนตองปรับปริมาณอาหารที่ใหเปนประจําอยางสม่ําเสมอ เพื่อปองกันไมใหอาหารที่ใชเล้ียงเหลือมากเกินไปหรือไมเพียงพอ ปกติหลังใหอาหารแลวเก็บอาหารสวนที่เหลือออกใหหมด

6. การดูแลรักษา การเลี้ยงหอยหวานในระดับที่มีความหนาแนนมากมากนั้น จะมีเศษอาหารที่ใหและมูล

หอยซ่ึงเปนอินทรียสารจํานวนหนึ่ง เมื่อระบายน้ําซึ่งมีอินทรสารเหลานี้ลงทะเลก็จะเปนอาหารของส่ิงมีชีวิตอื่นๆ ในทะเล จึงไมมีผลในทางลบกับสภาพแวดลอมในทะเลอยางใด อยางไรก็ตามผูเล้ียงจะตองหมั่นทําความสะอาดทรายรองพื้นหรือบอเล้ียงเปนประจํา 3 วันครั้งหรือสัปดาหละ 1 คร้ัง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับคุณสมบัติของน้ําที่ใชเล้ียงและสภาพพื้นทรายวามีสีดําและสกปรกมากหรือไมเพียงใดหากพื้นทรายหอย อาศัยอยูเกิดมีลักษณะเปนคราบสีดําแผกวางออกมากขึ้น จําเปนตองจัดการทําความสะอาดทรายที่รองพื้นที่ดังกลาว กรณีที่ตรวจพบวาน้ํามีปริมาณออกซิเจนต่ํามาก และมีปริมาณแอมโมเนีย ไนไตรทและไนเตรทคอนขางสูง ผูเล้ียงตองทําการปรับเปลี่ยนน้ําในบอเล้ียงใหม หรือทําการปรับระบบใหน้ําที่ใชเล้ียงใหมีการไหลถายเทมากขึ้นตามความจําเปน เพื่อเปนการปองกันไมใหน้ําที่ใชเล้ียงคุณภาพเสื่อมและเสียเร็ว ผูเล้ียงควรเก็บอาหารที่ใชเล้ียงออกทุกครั้ง ควรทําการตรวจสอบประจําวันเกี่ยวกับระบบน้ํา ระบบการใหอากาศและสภาพการเปลี่ยนแปลงความเค็มของน้ําในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง หากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกะทันหันจะตองเรงแกไขทันที โดยเฉพาะในฤดูฝน หากมีฝนตกมากน้ําฝนหลากไหลลงสูทะเลน้ําบริเวณชายฝงจะมีความเค็มลดลงมาก หากนําน้ําดังกลาวมาใชบอเล้ียงจะสงผลตอการกินอาหารของหอย อาจทําใหหอยโตชาลงหรือตายได

การตรวจสอบการเจริญเติบโตของหอยหวานในบอที่เล้ียง ควรดําเนินการอยางนอยเดือนละคร้ัง รวมทั้งการรวบรวมขอสังเกตตาง ๆ ของผูเล้ียง นํามาวิเคราะหพิจารณาหาปญหา สาเหตุ และแนวทางแก ไข จะช วยใหการ เลี้ ย งมีการพัฒนาและประสบผลสํ า เ ร็ จมากยิ่ งขึ้ น (กรมประมง, 2548)

Page 17: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

9

การเลี้ยงสัตวน้ําในระบบน้ําหมุนเวียน

ปจจุบัน การเลี้ยงสัตวน้ําประสบกับปญหามากมาย ทําใหเลิกกิจการไปหลายราย เชน เล้ียง

กุง เล้ียงปลากะพงในกระชังแถวเกาะยอ เพราะวาสภาพของแหลงน้ําเปลี่ยนแปลงไปจนไมสมารถ

นําน้ํามาใชเล้ียงกุงในนาได และเลี้ยงปลากะพงในแหลงน้ําธรรมชาติได (อาจเสี่ยง) เพราะแหลงน้ํา

นั้นเกิดโรคระบาด น้ําเสียจากโรงงาน น้ําจืดตลอดป จึงเปนปญหาตอการจัดการและควบคุม แตเมือ่

มีปญหาเกิดขึ้น ปญหานั้นยอมแกไขไดและหาทุกวิธีที่จะทําใหตัวเองและคนอื่นอยูรอด เชน เปลี่ยน

จากนากุงรางมาเล้ียงปลากะพงขาว ปลาตะกรับ ปูมา ปูดํา และปลานิล ซ่ึงก็ประสบความสําเร็จ

หรือไม แตก็ตองดูตอไป เพราะปญหาตาง ๆ อาจจะเกิดขึ้นอีกและไดมีการทดลองและเลี้ยงปลา

แบบระบบน้ําหมุนเวียน บําบัดน้ํากอนทั้งระบบรีไซเคิลน้ํากลับมาใชใหมน้ําหมุนเวียนไมทําลาย

ธรรมชาติของแหลงน้ํารูหรือไมทําไมตองใชระบบน้ําหมุนเวียน และชวยส่ิงแวดลอมไดอยางไร

เพราะวาในการเลี้ยงสัตวน้ําทั่วไป การใหอาหาร เกิดการสะสมตะกอนทําใหเกิดเชื้อโรคปลาหรือ

สัตวน้ําอื่น ๆ ไมสบาย มีการเปลี่ยนถายน้ําตลอดและการถายโดยตรงอาจจะมีผลกระทบตอแหลง

น้ําทําใหเกิดโรคจนไมสามารถนําน้ําไปใชได และทําใหส่ิงแวดลอมของแหลงน้ําเปลี่ยนไปแต

ระบบน้ําหมุนเวียนเล้ียง ใหอาหาร ตกตะกอน ผานบอกรอง แตละชั้นแลวแตจะนําวัสดุชนิดใดมา

ใช เชน เศษอวน เศษอิฐ เศษหิน ดิน ทราย หรือ วัสดุตาง ๆที่หาไดจากธรรมชาติ เชน สาหรายวุน

สาหรายผมนาง สาหรายไสไก สาหรายหนามหรือสาหรายอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของน้ํา

หรือ หอยแมลงภูชวยดักตะกอนแขวนลอย ปลานิลชวยกินเศษอาหารหรือตะกอน จากนั้นลงบอพัก

น้ําแลวก็สูบน้ําเขาบอเล้ียงหมุนเวียนเปนชวง ๆ จนน้ํานั้นนํากลับมาใชเล้ียงไดอีก โดยไมตอง

เปลี่ยนถายน้ําและไมทําลายสิ่งแวดลอมในแหลงน้ําแตตองมีการจัดการที่ดีอีกดวย

ระบบน้ําหมุนเวียนสามารถเลี้ยงสัตว น้ําไดหลายชนิดขึ้นอยูกับการใชระบบกรองแบบ

ไหน หมุนเวียนอยางไร บําบัดมากนอยแคไหนการหมุนเวียนของระบบน้ําดีหรือไม จะเลี้ยงปลา

อยางไร ชนิดไหนจะเหมาะสมที่สุดขนาดของบอที่ใชเล้ียง เหมาะสบกับจํานวนปลาที่เล้ียงหรือไม

เพราะวิธีการเหลานี้จะทําใหสัตวน้ํา มีการเจริญเติบโตที่ดีเพราะวาการเลี้ยงแบบหมุนเวียนไม

จําเปนตองถายน้ําบอย ถาน้ําที่ใชเล้ียงปลามีคุณภาพดีและเปนการประหยัดคาไฟฟา ในการสูบน้ํา

เขาอีกดวย

Page 18: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

10

ขอสังเกตการณเปล่ียนถายน้ํา

- ระบบกรองน้ํามีตะกอนเติมไมสามารถกรองได หรือมีการหมักหมมของบอตกตะกอน

หรือบอกรอง

- น้ํามีกล่ิน ปลาไมกินอาหาร

- ปลาเปนโรค

ขอดีของระบบน้ําหมุนเวียน

- รักษาสิ่งแวดลอมและกระตุนใหเกิดการทําลายปรสิตและเชื้อโรคบางชนิดตอเนื่องพรอม

กันไปดวย

- น้ําที่ใชเล้ียงสามารถน้ํากลับมาใชเล้ียงสัตวน้ําใหมไดดีอยางเดิม

- ไมทําใหสภาพของแหลงน้ําเสื่อมโทรมเร็ว

- สามารถเลี้ยงสัตวน้ําไดในพื้นที่ที่สภาพแวดลอมไมเหมาะสม

- สามารถนําไปดัดแปลงเลี้ยงกับสัตวน้ําชนิดอื่น ๆ ได

- ลดการใชน้ําจากแหลงน้ําธรรมชาติ หรือแหลงน้ําที่ติดกับโรงงาน บานเรือน

ปญหา

- น้ําในบออาจเขียวจัด มี ซูโอแทมเนียม

- มีการสะสมของตะกอน ในระบบกรองเกิดเชื้อโรคถาไมมีการจัดการที่ดีพอฉะนั้น การ

เล้ียงปลาในระบบน้ําหมุนเวียนอาจจะเปนทางเลือกอีกทางหนึ่งสําหรับเกษตรกรผูเล้ียงสัตวน้ํา

เพราะระบบน้ําหมุนเวียนสามารถเลี้ยงปลาไดหลายชนิด ทั้งปลาน้ําจืด ปลาน้ําเค็ม หรือจะเลี้ยงปลา

สวยงามโดยใชระบบน้ําหมุนเวียนเปนระบบเล็ก มีการจัดสวนขนาดเล็กภายในบานหรือเล้ียงเปน

ระบบขนาดใหญในเชิงพาณิชยก็ไดเพราะวาอนาคตขางหนาเราอาจจะเห็นเกษตรกรนําวิธีการเลี้ยง

สัตวน้ําโดยใช ระบบน้ําหมุนเวียนก็ได เพราะปจจุบันนี้สภาพแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงบอย

เนื่องจากมนุษยเองบางหรือเกิดจากภัยธรรมชาติเกิดโรคตางๆ ทําใหเกษตรกรตองทิ้งบอใหวางเปลา

ไป เหมือนกับนากุงรางตามสถานที่ตางๆ ทําใหเกษตรตองหาวิธีการตางๆเพื่อจะเลี้ยงสัตวน้ําใหได

เชน การเปลี่ยนนากุงรางมาเลี้ยงปลากะพงขาว ปลาตะกรับและการเลี้ยงปลาในระบบน้ําหมุนเวียน

Page 19: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

11

อาจจะทําใหสภาพของแหลงน้ําบริเวณที่เล้ียงดีขึ้นได และไมทําลายธรรมชาติของแหลงน้ําและอาจ

ทําใหแหลงน้ําในธรรมชาติอยูคูกับเกษตรกรตลอดไปก็ได

Page 20: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

12

บทท่ี 3

เวลาและสถานที่

เวลา เร่ิมดําเนินการ วันที่ 22 เมษายน 2553 เสร็จสิ้น วันที่ 7 กนัยายน 2554 สถานที่คนควาขอมูล หองสมุด และหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยแมโจ-ชุมพร สถานที่ทําการทดลอง อาคารปฏิบัติการทางทะเลมหาวิทยาลัยแมโจ-ชุมพร

ตารางที่1 แผนการดําเนนิงาน

พ.ศ.2553 2554 การดําเนินงาน

เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ก.ย. 1. สงชื่อเร่ือง 2. คนควาขอมลู 3. เขียนโครงราง 4. เตรียมอุปกรณ 5. ทําการทดลองพรอมบันทึกผล

6. สรุปผลการทดลอง

7. นําเสนอผลการทดลอง

Page 21: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

13

อุปกรณและวิธีการดําเนินการศึกษาวิจัย

อุปกรณ

1. บอผาใบจํานวน 15 บอ

2. อุปกรณใหอากาศ 15 ชุด

3. ลูกพันธุหอยหวาน

4. สวิง

5. เครื่องชั่งดิจิตอล 1,000 กรัม

6. กลองถายภาพ ยี่หอ SONY Cyber-Shot (DSC-P200)

7. เวอรเนยี

8. เครื่องสูบน้ํา

วิธีการดําเนินการศึกษาวิจัย

1. การวางแผนการทดลอง

การศึกษาทดลองครั้งนี้เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของหอยหวานในระบบน้ําหมุนเวียน

ภายในบอผาใบเปนการทดลองแบบ CRD (Completely Randomize Design) โดยแบงการทดลอง

ออกเปน 3 ชุดการทดลอง (Treatment) แตละชุดการทดลองมีจํานวน 3 ซํ้า (Replication)

ชุดการทดลองที่ 1 บอเล้ียงหอยหวาน ระบบเปด (ชุดควบคุม) ชุดการทดลองที่ 2 บอเล้ียงหอยหวานเปนระบบหมุนเวยีนโดยเลี้ยงรวมกับสาหรายโพรง ชุดการทดลองที่ 3 บอเล้ียงหอยหวานเปนระบบหมุนเวยีน โดยใชปลิงทะเลรวมกับสาหรายโพรงในการบําบัดทางชีวภาพ

Page 22: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

14

2. การเตรียมอาหาร การใหอาหารจะใหปลาทูสด ลางสิ่งสกปรกออกใหทั้งตัวโดยกรีดเนื้อปลาทั้งสองดาน จากนั้นนําไปใหลูกหอยหวานกินจนอิ่ม 3. ขั้นตอนการเลี้ยง นําลูกพันธุหอยหวานมาใสลงในบอทดลองที่เตรียมไวตารางเมตรละ 300 ตัว นําอาหารไปเล้ียงลูกหอยหวานโดยใหหอยหวานกินวันละ 1 คร้ัง ชวงเชา และมีการเปลี่ยนถายน้ําทุกๆ 7 วันในชุดการทดลองที่ 1 และทําการเลี้ยงหอยหวานเปนระยะเวลา 9 สัปดาห 4. การวัดการเจริญเติบโต โดยทําการสุมเก็บหอยหวานบอละ 10 ตัวมาทําการชั่งน้ําหนักและวัดความยาวของตัวหอยหวาน ทุกๆสัปดาห ทั้ง 9 บอ 5. การเก็บขอมูล เก็บขอมูลการวัดการเจริญเติบโตของหอยหวาน สัปดาหละ 1 คร้ัง ทุกชุดการทดลองตลอดระยะเวลา 9 สัปดาห 6. การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ วิเคราะหความแตกตางของขอมูลจากการทดลองในแตละชุดการทดลอง โดยนําขอมูลที่ไดไปวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of variance) และเปรียบเทียบความแตกตางคาเฉลี่ยแตละชุดการทดลองโดยวิธี Duncan's new multiple range test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต

Page 23: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

15

ชุดที่ 3 ซํ้าที่ 1 ชุดที่ 3 ซํ้าที่ 2 ชุดที่ 2 ซํ้าที่ 1

ชุดที่ 3 ซํ้าที่ 3 ชุดที่ 1 ซํ้าที่ 1 ชุดที่ 1 ซํ้าที่ 2

หมายเหตุ

ชุดที่ 2 ซํ้าที่ 2 ชุดที่ 2 ซํ้าที่ 3 ชุดที่ 1 ซํ้าที่ 3 ทางน้ําเขา ทางน้ําออก

ภาพที่ 1 แผนผังบอผาใบในการเลี้ยงหอยหวาน

บอกรองที่มีสาหราย

บอเลี้ยงหอยหวาน

บอเลี้ยงหอยหวาน

บอเลี้ยงหอยหวาน

บอกรองที่มีสาหราย

บอเลี้ยงหอยหวาน

บอเลี้ยงหอยหวาน

บอเลี้ยงหอยหวานกับปลิงทะเล

บอกรองที่มีสาหราย

บอกรองที่มีสาหราย

บอเลี้ยงหอยหวานกับปลิงทะเล

บอเลี้ยงหอยหวานกับปลิงทะเล

บอเลี้ยงหอยหวาน

บอกรองที่มีสาหราย บอกรองที่มีสาหราย

บอเลี้ยง

บอกรอง

Page 24: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

16  

 

บทท่ี 4 ผลและวิจารณผลการทดลอง

ผลการศึกษาครั้งนี้เปนการศกึษาการเจริญเติบโตของหอยหวานที่เล้ียงในระบบน้ํา

หมุนเวียน หลังจากเลี้ยง 9 สัปดาห พบวา

1. ความยาวของหอยหวาน ความยาวเฉลี่ยลําตัวของหอยหวานในสัปดาหที่1, 2 และ 3ของทุกชุดการทดลองไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P>0.05) (ตารางที่ 2 และ ภาพที่ 1) สัปดาหที่ 4 ในชุดการทดลองที่ 2 มีความยาวเฉลี่ยลําตัวของหอยหวานเทากับ 1.28±0.042 เซนติเมตร มากกวาชุดการทดลองที่ 1 และ 3 มีความยาวเฉลี่ยลําตัวของหอยหวานเทากับ 1.20±0.037 เซนติเมตร และ 1.25±0.034 เซนติเมตร ตามลําดับ สัปดาหที่ 5, 6, 7, 8 และ9 ของทุกชุดการทดลองไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P>0.05)(ตารางที่ 2 และ ภาพที่ 1) ขอมูลดานความยาวทั้งหมดนี้อาจเกิดความคลาดเคลื่อน เพราะการสุมตัวอยางหอยหวานขึ้นมาวัดความยาวนอยมาก จึงทําใหขอมูลที่ไดมีความแปรปรวน เมื่อดูการเจริญเติบโตของหอยหวานในทุกชุดการทดลองจะเห็นไดวา การเจริญเติบโตของหอยหวานจะไมสม่ําเสมอ เชน ในชุดการทดลองที่ 1 ของสัปดาหที่ 1 จะมีความยาวเฉลี่ยลําตัวหอยหวานมากกวาชุดการทดลองที่ 1 ของสัปดาหที่ 2, 3, และ 4 อาจเกิดจากการแตกไซดของหอยหวาน และคุณภาพน้ําที่ไมเหมาะสม จากผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําของการเลี้ยงหอยหวานในระบบน้ําหมุนเวียน พบวาออกซิเจนที่ละลายในน้ํามีประมาณ 5.33 – 5.87 มิลลิกรัมตอลิตร (ชาญชัย, 2554)ถาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําต่ําจะทําใหสัตวน้ําไมแข็งแรง และการกินอาหารจะลดลงกวาปกติโดยทั่วไปในบอเล้ียงสัตวน้ําควรมีปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําไมนอยกวา 6 มิลลิกรัมตอลิตร จะทําใหการเลี้ยงสัตวน้ําเปนไปอยางราบรื่น (กรมประมง, 2546) คาความเปนดางของน้ําที่ใชในการเลี้ยงหอยหวาน โดยทั่วไปคาความเปนดางของน้ําที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวน้ําจะอยูในชวง100 – 120 มิลลิกรัม/ลิตร (ไมตรีและ จารุวรรณ 2528) การวิเคราะหคุณภาพน้ําในชุดการทดลองที่ 1 สัปดาหที่ 1 มีคาความเปนดางของน้ําอยูที่ 82.00 มิลลิกรัม/ลิตร สวนในชุดการทดลองที่ 1 ของสัปดาหที่ 2, 3 และ 4 มีคา 66.67, 55.33, และ 40.67 มิลลิกรัม/ลิตร ตามลําดับ (ชาญชัย, 2554) จากการวิเคราะหเบื้องตน พบวา ในสัปดาหที่ 1 จะมีคาความเปนดางของน้ําอยูในชวงที่ใกลเคียงกับคาที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของสัตวน้ํา เมื่อเปรียบเทียบจากสัปดาหอ่ืนของชุดการทดลองที่ 1

Page 25: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

17  

 

ในสัปดาหที่ 4, 5, 6, 8 และ 9 ชุดการทดลองที่ 2 จะมีคาเฉล่ียความยาวลําตัวของหอยหวานมากกวาชุดการทดลองที่ 1 และ 3 เนื่องจาก ไดมีการฉีดเลนตะกอนที่อยูกนบอ ในสัปดาหที่ 7 ทุกชุดการทดลองมีคาเฉล่ียความยาวลําตัวของหอยหวานลดลง เนื่องจาก สภาพอากาศไมดี มีฝนตก และน้ําฝนบางสวนไดไหลลงบอระบบหมุนเวียน ทําใหคุณภาพน้ําเปลี่ยนไป หอยหวานจึงกินอาหารนอยลง ปกติการเลี้ยงหอยหวานมีการเจริญเติบโตชา ตองใชเวลาในการเจริญเติบโตจนถึงตัวโตเต็มวัยประมาณ 9 – 12 เดือน (คเชนทร, 2544)

Page 26: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

18  

 

ตารางที่2 ความยาวเฉลี่ยของหอยหวานทีเ่ล้ียงดวยระบบน้ําหมุนเวยีน

ความยาวเฉลี่ยของหอยหวานที่เล้ียงดวยระบบน้ําหมนุเวียน (เซนติเมตร) สัปดาหที่ ชุดการทดลองที่ 1 ชุดการทดลองที่ 2 ชุดการทดลองที่ 3 P-value 1 1.22±0.186a 1.09±0.098a 1.06±0.051a 0.302 2 1.17±0.068a 1.13±0.063a 1.07±0.066a 0.215 3 1.21±0.165a 1.13±0.074a 1.06±0.036a 0.327 4 1.20±0.037a 1.28±0.042a 1.25±0.034a 0.107 5 1.37±0.031a 1.38±0.074a 1.32±0.040a 0.406 6 1.46±0.052a 1.49±0.056a 1.47±0.081a 0.790 7 1.45±0.047a 1.45±0.097a 1.41±0.037a 0.738 8 1.51±0.073a 1.58±0.110a 1.51±0.112a 0.661 9 1.54±0.076a 1.59±0.035a 1.56±0.081a 0.676

หมายเหตุ อักษร a,bที่ไมเหมือนกันในแนวนอนเดียวกนั แสดงมีความแตกตางกันอยางมี นัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)

Page 27: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

19  

 

ภาพที ่2ความยาวเฉลี่ยของหอยหวาน (เซนติเมตร) ที่เล้ียงดวยระบบน้าํหมุนเวียน

Page 28: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

20  

 

2. น้ําหนักของหอยหวาน น้ําหนักเฉลี่ยของหอยหวาน ในสัปดาหที่ 1, 2 และ 3มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยในสัปดาหที่ 1 ชุดการทดลองที่ 1 น้ําหนักเฉลี่ยของหอยหวานมีคาเทากับ 0.70±0.015 กรัม มากกวาชุดการทดลองที่ 2 และ 3 มีน้ําหนักเฉลี่ยของหอยหวานเทากับ 0.65±0.015 กรัม และ 0.61±0.029 กรัม ตามลําดับ ในสัปดาหที่ 2 ชุดการทดลองที่ 1 น้ําหนักเฉลี่ยของหอยหวานมีคาเทากับ 0.75±0.081 มากกวาชุดการทดลองที่ 2 และ 3 มีคาเทากับ 0.69±0.029 กรัม และ0.61±0.012 กรัม ตามลําดับ สัปดาหที่ 3 ชุดการทดลองที่ 1 น้ําหนักเฉลี่ยของหอยหวานมีคาเทากับ 0.74±0.049 กรัม มากกวาชุดการทดลองที่ 2 และ 3 มีคาเทากับ 0.68±0.017 กรัม และ 0.62±0.006 กรัม ตามลําดับ อาจเปนเพราะไดมีการสุมหอยหวาน และนําไปชั่งน้ําหนักแบบรวมทั้งหมดแลวนํามาหาคาเฉลี่ย และในสัปดาหที่ 4, 5, 6, 7, 8, และ 9 ของทุกชุดการทดลองไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P>0.05) (ตารางที่ 3 และ ภาพที่ 2) เนื่องจากในสัปดาหที่ 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 ไดนําหอยหวานที่สุมขึ้นมาชั่งทีละตัว เมื่อดูการเจริญเติบโตของหอยหวานในทุกชุดการทดลองจะเห็นไดวา การเจริญเติบโตของหอยหวานจะไมสม่ําเสมอ เชน ในชุดการทดลองที่ 3 ของสัปดาหที่ 1 จะมีความยาวเฉลี่ยลําตัวหอยหวานมากกวาชุดการทดลองที่ 3 ของสัปดาหที่ 2และ 3 อาจเกิดจากการแตกไซดของหอยหวาน และคุณภาพน้ําที่ไมเหมาะสมจากผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําของการเล้ียงหอยหวานในระบบน้ําหมุนเวียน พบวาออกซิเจนที่ละลายในน้ํามีประมาณ 5.33 – 5.87 มิลลิกรัมตอลิตร (ชาญชัย, 2554) ถาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําต่ําจะทําใหสัตวน้ําไมแข็งแรง และการกินอาหารจะลดลงกวาปกติโดยทั่วไปในบอเล้ียงสัตวน้ําควรมีปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําไมนอยกวา 6 มิลลิกรัมตอลิตร จะทําใหการเลี้ยงสัตวน้ําเปนไปอยางราบรื่น (กรมประมง, 2546) จากการวิเคราะหปริมาณไนไตรทมีคาเฉลี่ยเทากับ 7 - 18 มิลลิกรัมตอลิตร(ชาญชัย, 2554)ระดับความเขมขนของไนไตรทในบอปลาไมควรเกิน 0.25 มิลลิกรัมตอลิตร ((ไมตรีและ จารุวรรณ 2528)สวนคุณสมบัติของน้ําในดานอื่นตลอดการทดลองอยูในเกณฑปกติ โดยดูจากปริมาณแอมโมเนียรวมในน้ําสูงสุดเพียงแค 0.28 มิลลิกรัมตอลิตร เทียบกับปริมาณแอมโมเนียในน้ําของการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง (ประเภทที่ 4) ของสํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติไดกําหนดไววาตองมีคาไมเกิน 0.4 มิลลิกรัมตอลิตร(สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ,2537)สาเหตุที่ทําใหคุณภาพน้ําไมเหมาะสม เนื่องจากทรายภายในบอมีสารอินทรียเปนจํานวนมาก เกิดจากเศษอาหารไดแกเนื้อปลาซึ่งหอยกินเหลือตกคางปะปนอยูกับทราย รวมไปถึงการตายของสาหรายโพรง และปลิงทะเล จึงทําใหปริมาณแอมโมเนียเพิ่มสูงขึ้นในสัปดาหที่ 4, 5, 6, 8 และ 9 ชุดการทดลองที่ 2 จะมีคาเฉลี่ยความยาวลําตัวของหอยหวานมากกวาชุดการทดลองที่ 1 และ 3 เนื่องจากสาหรายโพรงเริม่มีการปรับตัวและมีปริมาณการตายลดลง คุณภาพน้ําจึงเริ่มดีขึ้น สวนในชุดการทดลองที่ 3ปลิงทะเล

Page 29: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

21  

 

ก็ยังมีการตายอยูเร่ือยๆ จึงเปนเปนสาเหตุใหคุณภาพน้ําลดลง ในสัปดาหที่ 7 ทุกชุดการทดลองมีคาเฉลี่ยความยาวลําตัวของหอยหวานลดลง เนื่องจาก สภาพอากาศไมดี มีฝนตก และน้ําฝนบางสวนไดไหลลงบอระบบหมุนเวียน ทําใหคุณภาพน้ําเปลี่ยนไป หอยหวานจึงกินอาหารนอยลง

Page 30: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

22  

 

ตารางที่3 น้ําหนักเฉลี่ยของหอยหวาน(กรัม)ที่เล้ียงดวยระบบน้ําหมุนเวยีน

น้ําหนกัเฉลี่ยของหอยหวาน (กรัม)ที่เล้ียงดวยระบบน้ําหมุนเวยีน สัปดาหที ่

ชุดการทดลองที่ 1 ชุดการทดลองที่ 2 ชุดการทดลองที่ 3 P-value 1 0.70±0.015b 0.65±0.015a 0.61±0.029a 0.005 2 0.75±0.081b 0.69±0.029ab 0.61±0.012a 0.046 3 0.74±0.049b 0.68±0.017a 0.62±0.006a 0.008 4 0.88±0.047a 1.04±0.125a 1.04±0.040a 0.081 5 1.19±0.129a 1.27±0.103a 1.23±0.157a 0.830 6 1.41±0.174a 1.49±0.061a 1.49±0.076a 0.424 7 1.43±0.062a 1.39±0.192a 1.33±0.066a 0.394 8 1.47±0.040a 1.81±0.285a 1.65±0.180a 0.245 9 1.67±0.206a 1.73±0.165a 1.54±0.082a 0.287

หมายเหตุ อักษร a,bที่ไมเหมือนกันในแนวนอนเดียวกนั แสดงมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)    

Page 31: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

23  

 

ภาพที ่3น้ําหนกัเฉลี่ยของหอยหวาน (กรัม) ที่เล้ียงดวยระบบน้ําหมุนเวยีน

Page 32: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

24  

 

บทท่ี 5

สรุปผลการทดลอง

จากการศึกษาการเจริญเติบโตของหอยหวานที่เล้ียงดวยระบบน้ําหมุนเวียน เมื่อส้ินสุดการทดลองจากการทดลองทั้ง 9 สัปดาห พบวาชุดการทดลองที่ 2 มีคาเฉลี่ยน้ําหนักเทากับ 1.73 กรัม ซ่ึงเปนการเล้ียงหอยหวานดวยระบบน้ําหมุนเวียนโดยมีสาหรายโพรงและ bioballชวยในการบําบัดน้ําดีที่สุดในดานน้ําหนัก และความยาวเปลือก

Page 33: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

 

 

บรรณานุกรม กรมประมง. 2546. วิธีวิเคราะหน้ําเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง.สถาบันเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง

กรมประมง. จังหวัดสงขลา. คเชนทร เฉลิมวัฒน. 2544. การเพาะเลี้ยงหอย. สํานักพิมพร้ัวเขียว.กรุงเทพฯ. 253 หนา. จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน.การเลี้ยงกุลาดําใหเปนมิตรกับสิง่แวดลอม.คัมภีรเพาะเลี้ยงสตัวน้ํา.2544.

ปที่ 1 ฉบับที่4หนา101-102 ชาญชัย อุตทาพงษ. 2554. คณุภาพน้ําในการเลี้ยงหอยหวานดวยระบบน้ําหมุนเวียนในชวงอายุ 1-2 เดือน. ปญหาพิเศษ มหาวิทยาลัยแมโจ– ชุมพร. มหาวิทยาลัยแมโจ. จงัหวัดชุมพร. นิลนาจชัยธนาวิสุทธิ์ และ ศิรุษากฤษณะพนัธุ.2545. คูมือการเพาะเลี้ยงหอยหวาน. สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ.114 หนา. นิลนาจชัยธนาวิสุทธิ์ และอนตุรกฤษณะพันธุ. 2542. การเพาะเลี้ยงหอยหวาน

(Babylonia areolata)เอกสารประกอบการฝกอบรมเชิงวชิาการ, โครงการเพาะเลี้ยงสตัวน้ําแกบณัฑิตที่กําลังวางงาน หลักสูตรที่ 1การเพาะเลี้ยงหอยทะเล. งานทรพัยากรประมง, สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้าํ, จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย. 17 หนา.

บังอรศรีมุกดา, สุรชาติฉวีภักดิ์และวริษฐาหนูปน. 2548. การผลิตลูกหอยหวาน. ( BabyloniaareolataLink, 1807) เชิงพาณชิย. เอกสารวิชาการเลขที่ 24/2548. ศูนยวจิัยและ

พัฒนาประมงชายฝงจันทบุรี, สํานักวิจยัและพัฒนาประมงชายฝง, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 34 หนา.

ปรีชา กัณหา. บําบัดน้ํากอนสิ่งแวดลอมจะยิ่งไปกนัใหญ. สัตวน้ําเศรษฐกิจ. 2546. ปที่ 2 ฉบับที่ 8

หนา 45-50

Page 34: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

26  

 

บรรณานุกรม (ตอ) ไมตรี ดวงสวสัดิ์ และ จารวุรรณสมศิริ. 2528. คุณสมบัตขิองน้ําและวิธีวิเคราะหสําหรับการวิจัย ทางการประมง. ฝายวจิัยส่ิงแวดลอมสัตวน้ํา สถาบันประมงน้ําจดืแหงชาติ กรมประมง,

กรุงเทพฯ.115หนา. การเพาะเลี้ยงหอยหวาน. [ระบบออนไลน]. แหลงขอมูล

http://www.aquatoyou.com/index.php?option=com_content&view=article&id=267 (15 มกราคม 2554)

การเลี้ยงหอยหวาน. [ระบบออนไลน]. แหลงขอมูล http://www.nicaonline.com/fish8.htm (20 มกราคม 2554)

การเลี้ยงหอยหวานเพื่อการคา.2551. [ระบบออนไลน]. แหลงขอมูล http://www.cubabylonia.com/topic/data/5/0011.html (20 มกราคม 2554)

คุณภาพน้ําทะเลเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง.2537. [ระบบออนไลน]. แหลงขอมูล http://www.onep.go.th/pra/committee_announcement07.htm(10 สิงหาคม 2554) ชีววิทยาบางประการและการเลี้ยงหอยหวาน.2546. [ระบบออนไลน].แหลงขอมูล http://www.nicaonline.com/articles3/site/view_article.asp?idarticle=123 (3 มกราคม 2554)

Page 35: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

ภาคผนวก (ก)

Page 36: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

28

ภาพผนวกที1่ สถานที่ทําการวิจัย

ภาพผนวกที่2 น้ําที่ใชเล้ียงหอยหวาน

Page 37: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

29

ภาพผนวกที่3 การทําโครงบอหอยหวาน

ภาพผนวกที่4 การปูผาใบบอหอยหวาน

Page 38: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

30

ภาพผนวกที่5 บอเล้ียงหอยหวาน

ภาพผนวกที่6 ลักษณะการกนิอาหารของหอยหวาน

Page 39: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

31

ภาพผนวกที่7 ปลิงทะเล

ภาพผนวกที่8 สาหรายโพรง

Page 40: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

32

ภาพผนวกที9่ การชั่งน้ําหนกัหอยหวาน (กรัม)

ภาพผนวกที่10 การวัดความยาวหอยหวาน (เซนติเมตร)

Page 41: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

ภาคผนวก (ข)

Page 42: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

34

ตารางผนวกที่1วิเคราะหความแปรปรวน (ANOVA) คาความยาวเฉลี่ยหอยหวานทีเ่ล้ียงในระบบน้ําหมุนเวียน สัปดาหที1่-9 ANOVA

Sum of Squares df Mean Square F Sig.

Between Groups

.045 2 .022 1.472 .302

Within Groups

.091 6 .015

W1

Total .136 8

Between Groups

.017 2 .008 2.008 .215

Within Groups

.025 6 .004

W2

Total .042 8

Between Groups

.031 2 .015 1.356 .327

Within Groups

.068 6 .011

W3

Total .099 8

Between Groups

.010 2 .005 3.328 .107

Within Groups

.009 6 .001

W4

Total .018 8

Between Groups

.005 2 .003 1.05 .406

Within Groups

.016 6 .003

W5

Total .021 8

Page 43: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

35

ตารางผนวกที่1(ตอ)

Sum of Squares df Mean Square F Sig.

Between Groups

.002 2 .001 .245 .790

Within Groups

.025 6 .004

W6

Total .027 8 Between Groups

.003 2 .001 .320 .738

Within Groups

.026 6 .004

W7

Total .029 8 Between Groups

.009 2 .005 .445 .661

Within Groups

.063 6 .011

W8

Total .072 8 Between Groups

.044 2 .002 .419 .676

Within Groups

.028 6 .005

W9

Total .032 8

Page 44: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

36

ตารางผนวกที่2 วิเคราะหความแปรปรวน (ANOVA) คาเฉลี่ยน้ําหนกัของหอยหวานที่เล้ียงในระบบน้ําหมนุเวียน สัปดาหที่1-9 ANOVA

Sum of Squares df Mean Square F Sig.

Between Groups

.021 2 .006 14.077 .005

Within Groups

.003 6 .000

W1

Total .015 8

Between Groups

.027 2 .013 5.351 .046

Within Groups

.015 6 .003

W2

Total .042 8

Between Groups

.022 2 .011 11.723 .008

Within Groups

.006 6 .001

W3

Total .027 8

Between Groups

.051 2 .026 3.938 .081

Within Groups

.039 6 .007

W4

Total .090 8

Between Groups

.006 2 .003 .193 .830

Within Groups

.100 6 .017

W5

Total .106 8

Page 45: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

37

ตารางผนวกที่2(ตอ)

Sum of Squares

df Mean Square F Sig.

Between Groups

.027 2 .014 .992 .424

Within Groups

.083 6 .014

W6

Total .110 8

Between Groups

.027 2 .013 1.091 .394

Within Groups

.073 6 .012

W7

Total .100 8

Between Groups

.136 2 .068 1.794 .245

Within Groups

.227 6 .038

W8

Total .362 8

Between Groups

.069 2 .034 1.550 .287

Within Groups

.133 6 .022

W9

Total .202 8

Page 46: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

ตารางผนวกที่ 3 ความยาวและน้ําหนกัหอยหวาน สัปดาหที่ 1-9

สัปดาห บอ 1 บอ 2 บอ 3 บอ 4 บอ 5 บอ 6 บอ 7 บอ 8 บอ 9 ที่ ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน.

1.35 0.72 1.39 0.64 1.20 0.67 0.91 0.69 1.20 0.70 1.10 0.63 1.12 0.65 1.13 0.58 1.31 0.63 1.36 0.72 1.21 0.64 0.99 0.67 1.12 0.69 1.10 0.70 1.29 0.63 1.40 0.65 0.78 0.58 0.99 0.63 1.27 0.72 1.56 0.64 1.00 0.67 1.10 0.69 1.21 0.70 1.15 0.63 1.05 0.65 0.97 0.58 1.30 0.63 1.43 0.72 1.51 0.64 0.95 0.67 1.20 0.69 1.10 0.70 0.99 0.63 1.13 0.65 0.93 0.58 1.12 0.63 1.46 0.72 1.10 0.64 1.20 0.67 1.16 0.69 1.10 0.70 0.80 0.63 0.76 0.65 1.25 0.58 1.10 0.63 1.44 0.72 0.92 0.64 0.96 0.67 1.26 0.69 1.30 0.70 1.00 0.63 0.82 0.65 0.85 0.58 1.10 0.63 1.56 0.72 1.27 0.64 0.95 0.67 0.94 0.69 0.93 0.70 0.85 0.63 0.90 0.65 0.85 0.58 0.85 0.63 1.53 0.72 0.90 0.64 1.11 0.67 1.10 0.69 1.20 0.70 0.80 0.63 1.05 0.65 1.15 0.58 1.10 0.63 1.39 0.72 0.93 0.64 1.24 0.67 1.00 0.69 1.12 0.70 1.28 0.63 1.20 0.65 0.98 0.58 1.21 0.63

1

1.55 0.72 1.22 0.64 0.89 0.67 1.10 0.69 1.10 0.70 1.29 0.63 0.73 0.65 1.21 0.58 1.03 0.63 Avg. 1.43 0.72 1.20 0.64 1.05 0.67 1.09 0.69 1.14 0.70 1.05 0.63 1.02 0.65 1.01 0.58 1.11 0.63

1.21 0.84 1.15 0.67 1.44 0.72 1.00 0.70 1.28 0.70 1.28 0.62 1.20 0.67 0.85 0.60 1.28 0.62 1.65 0.84 0.90 0.67 0.95 0.72 0.98 0.70 0.95 0.70 0.96 0.62 0.85 0.67 1.20 0.60 1.15 0.62 1.40 0.84 1.15 0.67 1.70 0.72 1.26 0.70 1.26 0.70 1.00 0.62 1.10 0.67 1.10 0.60 0.90 0.62 1.25 0.84 1.37 0.67 1.13 0.72 1.10 0.70 1.20 0.70 0.86 0.62 1.21 0.67 0.93 0.60 1.10 0.62 1.30 0.84 1.12 0.67 0.95 0.72 1.20 0.70 1.10 0.70 1.10 0.62 1.40 0.67 0.86 0.60 1.00 0.62 1.50 0.84 1.20 0.67 1.36 0.72 1.10 0.70 1.16 0.70 1.10 0.62 1.10 0.67 1.15 0.60 1.21 0.62 0.90 0.84 1.10 0.67 0.90 0.72 1.15 0.70 0.98 0.70 1.26 0.62 0.90 0.67 1.00 0.60 1.12 0.62 0.97 0.84 1.10 0.67 1.14 0.72 1.21 0.70 1.27 0.70 1.26 0.62 0.95 0.67 1.00 0.60 1.04 0.62 0.93 0.84 1.20 0.67 1.14 0.72 1.10 0.70 1.10 0.70 1.20 0.62 1.10 0.67 0.90 0.60 1.10 0.62

2

1.30 0.84 1.24 0.67 1.16 0.72 0.96 0.70 1.26 0.70 1.00 0.62 0.84 0.67 0.95 0.60 1.22 0.62 Avg. 1.24 0.84 1.15 0.67 1.19 0.72 1.11 0.70 1.16 0.70 1.10 0.62 1.07 0.67 0.99 0.60 1.11 0.62

1.40 0.80 1.43 0.67 1.13 0.70 1.10 0.72 1.23 0.71 1.00 0.63 1.20 0.67 0.95 0.62 1.13 0.62 1.43 0.80 1.30 0.67 0.96 0.70 1.28 0.72 1.10 0.71 1.20 0.63 1.25 0.67 1.19 0.62 1.10 0.62 1.36 0.80 1.40 0.67 0.98 0.70 1.20 0.72 1.20 0.71 1.23 0.63 0.87 0.67 1.10 0.62 0.96 0.62 1.20 0.80 1.26 0.67 1.10 0.70 1.20 0.72 1.15 0.71 0.98 0.63 1.10 0.67 0.98 0.62 1.00 0.62 1.45 0.80 1.20 0.67 1.20 0.70 1.26 0.72 1.00 0.71 0.90 0.63 1.15 0.67 1.00 0.62 1.26 0.62 1.55 0.80 0.98 0.67 1.12 0.70 1.13 0.72 1.25 0.71 1.16 0.63 1.00 0.67 1.13 0.62 1.21 0.62 1.30 0.80 1.10 0.67 1.23 0.70 1.00 0.72 1.21 0.71 0.83 0.63 1.12 0.67 0.98 0.62 1.15 0.62 1.35 0.80 1.23 0.67 0.90 0.70 1.18 0.72 0.98 0.71 1.10 0.63 0.99 0.67 1.16 0.62 0.94 0.62 1.43 0.80 1.10 0.67 1.22 0.70 1.26 0.72 1.00 0.71 1.12 0.63 1.30 0.67 0.92 0.62 1.12 0.62

3

1.55 0.80 1.12 0.67 0.80 0.70 1.14 0.72 1.11 0.71 0.97 0.63 1.25 0.67 1.00 0.62 1.20 0.62 Avg. 1.40 0.80 1.21 0.67 1.06 0.70 1.17 0.72 1.12 0.71 1.05 0.63 1.12 0.67 1.04 0.62 1.11 0.62

Page 47: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

ตารางผนวกที่ 3 ความยาวและน้ําหนกัหอยหวาน สัปดาหที่ 1-9(ตอ)

สัปดาห บอ 1 บอ 2 บอ 3 บอ 4 บอ 5 บอ 6 บอ 7 บอ 8 บอ 9 ที่ ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน.

1.11 2.00 1.35 4.50 1.32 2.20 1.20 1.20 1.24 2.00 1.40 3.60 1.43 2.50 1.20 2.70 1.30 2.6 1.00 1.70 1.21 3.60 1.21 3.00 1.30 1.50 1.20 2.40 1.28 3.30 1.10 2.30 1.32 2.20 1.20 1.9 1.21 2.00 1.24 1.90 1.40 1.10 1.11 1.10 1.28 2.00 1.36 5.50 1.23 2.50 1.10 2.10 1.27 6 1.29 4.10 1.51 4.00 1.15 2.70 1.55 1.70 1.35 2.20 1.30 3.30 1.30 2.30 1.00 3.20 1.62 2.5 1.26 1.40 1.00 2.80 1.35 1.60 1.28 1.90 1.23 3.00 1.20 3.80 1.50 2.30 1.20 1.80 1.21 4.5 0.91 2.50 1.34 2.40 1.32 4.00 1.33 2.10 1.11 1.80 1.21 3.90 1.30 1.70 1.43 2.50 1.30 3.8 1.20 1.10 1.11 1.90 1.28 3.40 1.20 2.30 1.00 1.60 1.33 1.50 1.20 4.10 1.26 2.70 1.31 3.2 1.24 1.50 1.10 3.80 1.36 2.30 1.11 1.60 1.20 2.50 1.20 3.00 1.23 2.40 1.28 2.60 1.22 1.5 1.20 0.80 1.11 2.00 1.55 1.60 1.22 1.00 1.30 1.00 1.23 2.60 1.40 1.70 1.14 2.70 1.21 2.6

4

1.20 0.90 1.44 2.30 1.32 3.10 1.00 1.90 1.30 0.80 1.10 3.10 1.20 2.40 1.20 3.10 1.14 4.1 Avg. 1.16 1.80 1.24 2.92 1.32 2.50 1.23 1.63 1.22 1.93 1.26 3.36 1.29 2.42 1.21 2.56 1.28 3.27

1.70 1.90 1.57 1.40 1.41 1.30 1.45 1.20 1.31 1.30 1.40 1.40 1.30 1.10 1.26 1.30 1.69 1.9 1.35 1.00 1.82 1.80 1.30 1.30 1.40 1.10 1.80 2.00 1.57 1.70 1.34 1.20 1.22 1.10 1.27 0.9 1.41 1.30 1.71 1.70 1.50 1.50 1.50 1.30 1.20 1.10 1.43 1.30 1.50 1.70 1.20 1.00 1.22 0.9 1.24 0.80 1.60 1.50 1.20 1.00 1.61 1.60 1.23 1.20 1.23 1.10 1.22 1.10 1.60 1.80 1.51 1.3 1.54 1.30 1.42 1.20 1.28 1.10 1.28 0.80 1.21 1.20 1.28 1.20 1.43 1.30 1.30 1.40 0.95 0.8 1.43 1.20 1.30 0.50 1.11 1.00 1.55 1.50 1.40 1.50 1.10 0.90 1.27 1.20 1.40 1.50 1.03 0.7 1.57 1.50 1.12 0.60 1.24 1.20 1.11 0.70 1.43 1.40 1.30 1.20 1.30 1.40 1.32 1.20 1.20 0.7 1.10 0.40 1.00 0.50 1.30 1.30 1.41 1.10 1.11 1.00 1.21 1.10 1.50 1.70 1.35 1.30 1.40 1.3 1.23 0.70 1.59 1.30 1.60 1.60 1.11 0.60 1.24 1.00 1.25 1.20 1.54 1.80 1.57 1.70 1.30 1

5

1.49 1.40 1.50 1.30 1.20 1.10 1.30 0.90 1.50 1.60 1.41 1.50 1.30 1.30 1.43 1.40 1.30 1.1 Avg. 1.40 1.15 1.46 1.18 1.31 1.24 1.37 1.08 1.34 1.33 1.32 1.26 1.37 1.38 1.36 1.37 1.29 1.06

1.67 1.50 1.50 1.60 2.20 2.50 1.40 1.40 1.61 1.80 1.52 1.50 1.60 1.80 1.30 1.30 1.52 1.5 1.62 1.30 1.47 1.40 1.70 1.80 1.41 1.30 1.50 1.40 1.60 1.50 1.70 1.80 1.26 1.30 1.80 1.9 1.21 0.80 1.43 1.30 1.43 1.40 1.60 1.70 1.63 1.70 1.70 1.80 1.43 1.40 1.61 1.70 1.60 1.7 1.21 0.80 1.30 1.20 1.20 1.00 1.52 1.60 1.70 1.80 1.43 1.30 1.75 1.70 1.40 1.30 1.26 1.1 1.21 0.80 1.48 1.50 1.33 1.20 1.21 1.00 1.81 2.00 1.54 1.60 1.30 1.10 1.50 1.60 1.51 1.6 1.61 1.20 1.42 1.40 1.20 1.20 1.38 1.40 1.32 1.20 1.59 1.70 1.61 1.60 1.43 1.50 1.37 1.1 1.50 1.40 1.63 1.80 1.60 1.80 1.32 1.30 1.40 1.40 1.41 1.40 1.40 1.50 1.40 1.40 1.30 1.3 1.30 1.30 1.42 1.30 1.54 1.60 1.70 2.00 1.61 1.60 1.54 1.60 1.87 1.90 1.32 1.10 1.20 1.6 1.48 1.60 1.21 1.00 1.29 1.10 1.29 1.30 1.20 1.00 1.76 1.80 1.53 1.40 1.53 1.40 1.43 1.5

6

1.39 1.40 1.70 2.00 1.21 1.00 1.61 1.70 1.41 1.50 1.60 1.50 1.40 1.40 1.51 1.60 1.30 1.4 Avg. 1.42 1.21 1.46 1.45 1.47 1.46 1.44 1.47 1.52 1.54 1.57 1.57 1.56 1.56 1.43 1.42 1.43 1.47

Page 48: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

ตารางผนวกที่ 3 ความยาวและน้ําหนกัหอยหวาน สัปดาหที่ 1-9(ตอ)

สัปดาห บอ 1 บอ 2 บอ 3 บอ 4 บอ 5 บอ 6 บอ 7 บอ 8 บอ 9 ที่ ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน. ย. นน.

1.45 1.50 1.38 1.50 1.59 1.80 1.40 1.50 1.80 2.40 1.27 1.00 1.34 1.30 1.41 1.30 1.53 1.70 1.30 1.20 1.31 1.10 1.45 1.30 1.60 1.70 1.51 2.40 1.55 1.60 1.21 1.00 1.41 1.60 1.50 1.20 1.41 1.40 1.45 1.40 1.60 1.70 1.45 1.30 1.31 1.40 1.28 1.00 1.24 1.00 1.45 1.30 1.60 1.50 1.50 1.30 1.55 1.60 1.30 1.10 1.31 1.20 1.30 1.20 1.12 0.50 1.22 1.10 1.45 1.40 1.40 1.40 1.31 1.10 1.55 1.70 1.45 1.50 1.70 1.80 1.45 1.00 1.30 1.00 1.34 1.30 1.31 1.10 1.50 1.50 1.43 1.60 1.80 1.90 1.54 1.50 1.40 1.60 1.00 0.50 1.62 1.80 1.50 1.20 1.33 1.50 1.60 1.80 1.60 1.80 1.33 1.20 1.70 1.70 1.60 1.40 1.55 1.60 1.60 1.80 1.28 1.00 1.40 1.40 1.21 1.00 1.54 1.60 1.20 1.10 1.50 1.40 1.55 1.60 1.30 1.10 1.30 1.20 1.50 1.50 1.20 0.90 1.57 1.50 1.60 1.60 1.54 1.60 1.80 2.00 1.64 1.70 1.55 1.20 1.41 1.30 1.67 1.60 1.50 1.40 1.26 1.00

7

1.59 1.40 1.60 1.70 1.41 1.20 1.20 1.00 1.21 0.80 1.64 2.00 1.14 0.70 1.30 0.80 1.32 1.40 Avg 1.47 1.45 1.47 1.48 1.53 1.52 1.49 1.48 1.40 1.36 1.41 1.32 1.34 1.17 1.38 1.27 1.45 1.40

1.76 1.90 1.51 1.60 2.10 3.40 1.90 2.00 1.60 1.40 1.53 1.50 2.40 3.50 1.50 1.40 1.90 2.20 1.31 1.00 1.33 1.20 2.14 3.10 1.74 1.80 1.31 1.10 1.70 2.20 1.80 2.60 1.61 2.00 1.52 1.90 1.50 1.30 1.44 1.50 1.70 1.80 1.22 0.90 1.21 1.00 1.52 1.80 1.57 1.60 1.26 1.30 1.87 2.40 1.56 1.60 1.29 1.10 1.45 1.80 1.91 2.20 1.61 1.90 1.87 2.20 1.30 0.90 1.43 1.90 1.60 1.50 1.41 1.20 1.43 1.30 1.59 1.80 1.40 1.20 1.30 1.10 1.52 2.00 1.30 1.20 1.60 1.90 1.39 1.30 1.70 1.90 1.52 1.50 1.34 1.30 1.40 1.30 1.45 1.40 1.41 1.60 1.50 1.70 1.26 1.40 1.41 1.30 1.60 1.20 1.38 1.50 1.20 1.00 1.60 1.40 1.32 1.40 1.40 1.60 1.75 2.20 1.32 1.40 1.69 1.70 1.54 1.60 1.21 1.10 2.00 3.10 1.48 1.40 1.81 2.50 1.52 1.70 1.70 1.70 1.23 1.10 1.53 1.60 1.46 1.10 1.82 2.70 1.60 1.90 1.44 1.50 1.23 1.10 1.41 1.30 1.49 1.40 1.40 1.10 1.50 1.60

8

1.54 1.70 1.61 1.70 1.54 1.70 1.50 1.50 1.40 1.60 1.71 2.10 1.30 1.30 1.21 1.00 1.51 1.50 Avg 1.54 1.45 1.45 1.52 1.67 2.09 1.56 1.52 1.42 1.45 1.56 1.80 1.61 1.81 1.38 1.45 1.59 1.70

1.51 1.80 1.42 1.10 1.90 2.50 1.79 2.00 1.43 1.60 1.60 1.70 1.75 2.10 1.40 1.60 1.50 1.30 1.45 1.40 1.43 1.30 1.68 1.70 1.48 1.60 1.30 1.10 1.40 1.30 2.00 2.40 1.61 1.70 1.30 1.50 1.60 1.90 1.82 2.50 1.69 2.10 1.60 1.80 1.23 1.10 1.53 1.70 1.40 1.50 1.60 1.80 1.85 1.90 1.50 1.40 1.70 1.80 1.52 1.60 1.50 1.40 1.60 1.80 1.87 1.90 1.30 1.10 1.50 1.40 1.65 1.70 1.63 2.30 1.43 1.40 1.63 2.50 1.43 1.40 1.40 1.30 1.52 1.40 1.57 1.50 1.43 1.40 1.55 1.60 1.80 3.20 1.43 1.30 1.42 1.80 1.80 2.20 1.50 1.60 1.70 1.80 1.50 1.40 1.32 1.10 1.40 1.30 1.69 2.50 1.89 2.60 1.53 1.50 1.40 1.50 1.69 1.80 1.62 1.40 1.70 1.80 1.71 1.80 1.80 1.70 1.48 1.30 1.47 1.50 1.86 2.20 1.74 1.90 1.40 1.30 1.26 1.10 1.80 1.90 1.40 1.30 2.00 2.20 1.40 1.30 1.43 1.10 1.50 1.70 1.86 1.90 1.60 1.80 1.40 1.20 1.30 1.40 1.60 1.60 1.51 1.50

9

1.60 1.50 1.50 1.30 1.40 1.50 1.40 1.20 1.40 1.10 1.61 1.70 1.80 1.70 1.23 1.00 1.85 1.60 Avg 1.57 1.86 1.55 1.59 1.61 1.91 1.60 1.69 1.45 1.45 1.55 1.52 1.61 1.68 1.48 1.47 1.64 1.63

Page 49: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

ภาคผนวก (ค)

Page 50: การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia ... · 2015-08-04 · การเจริญเติบโตของหอยหวาน Babylonia

42

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ-สกุล : นาย กิตติ ทพิยมณ ี เกิดเมื่อ : วันที1่5กุมภาพันธ2525 ประวัติการศึกษา :วทบ. สาขาการประมง พ.ศ. 2553 ประวัติการทํางาน : -

VITA NAME : MR.KITTI TIPMANEE DATH OF BIRTH :15FEBRURY 1982 EDUCATION : BACHELOR OF SCIENCE AQUACULTURE OF

FISHERIES, 2010 MAEJO UNIVERSITY AT CHUMPHON WORK EXPERIENCE :-