23
การปรับปรุงวิธีการทางานในแผนกจัดชิ้นงาน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมรถยนต์ Improvement of Working Method in Kitting Department : A Case Study of Automobile Industry

การปรับปรุงวิธีการท างานในแผนกจัดชิ้นงาน กรณีศึกษา ...ie.eng.cmu.ac.th/IE2014/downloads/2020_03/850/Presentation1.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • การปรับปรุงวิธีการท างานในแผนกจัดช้ินงาน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมรถยนต์

    Improvement of Working Method in Kitting Department

    : A Case Study of Automobile Industry

  • 1. ศึกษาขั้นตอนการท างานและหาระยะเวลาการท างานใน โรงงานกรณีศึกษา อุตสาหกรรม

    รถยนต์ ศึกษาเฉพาะแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้าย ตั้งแตก่ารรับรถเข็นตลอดจนถึงส่งรถเข็นเข้า

    สู่สายการผลิต โดยแบ่งออกเป็นจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝั่งขวาและจัดชิ้นงานส่วยท้ายฝั่งซ้าย

    2. การสังเกตการปฏิบัติงาน กระบวนการผลิตจริง และการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง โดยใช้เทคนิค

    การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา โดยใช้เทคนิคทางวิศวกรรมอุตสาหการ เช่น หลักการ

    ECRS การหาเวลามาตรฐาน การหาจ านวนสถานีงานที่น้อยที่สุด เป็นต้น

    3. การท างานใน 1 รอบสถานีคือการท างานจากจุดเริ่มต้นของสถานีงานไปยังการปฏิบัติ

    ขั้นตอนสุดท้ายของสถานีงานจนกระทั่งพนักงานผู้ปฏิบัติงานกลับมายังจุดเริ่มต้นอีกคร้ัง

    4. พิจารณาเฉพาะกระบวนการผลิตของรุ่นรถที่มีก าลังการผลิตหลัก 3 รุ่น คือ รุ่น CC

    รุ่น 31UX และรุ่น EXT

    ขอบเขตของการศึกษา

    1. เพื่อลดรอบเวลาการผลิต และวิเคราะห์ปัญหาการท างานของสายการผลิตในแผนกจัด

    ชิ้นงานส่วนท้าย ในปัจจุบัน

    2. เพื่อหาจ านวนพนักงานที่เหมาะสมในแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้าย (Kitting Final Line)

    วัตถุประสงค์

  • วิธีการด าเนินโครงงานวิจัย

  • วิธีการด าเนินโครงงานวิจัย

    เก็บข้อมูลกระบวนการผลิตเบ้ืองต้น ณ ปัจจุบัน

    วิเคราะห์การท างาน ณ ปัจจุบัน

    สร้างแบบจ าลองสถานการณ์

    โดยใช้โปรแกรมอารี

    น่า

    น าเสนอแนวทางการปรับปรุง ตามหลักการจัด

    สมดุลสายการผลิต

    ประเมินผลหลังการปรับปรุง ตามแนวทางการลดความสูญเปล่าด้วยโปรแกรมจ าลอง

    สถานการณ์

    สรุปผลการด าเนินงาน จัดท ารูปเล่มรายงาน และการน าเสนอ

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    เก็บขอ้มูลกระบวนการผลติ

    เบ้ืองต้น ณ ปัจจุบัน

    แผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝ่ังขวา แผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝ่ังซ้าย

    4 สถานีงาน 3 สถานีงาน

    Job Per Hour = 15 JPH หรือ 120 คันต่อวัน

    ชั่วโมงการท างานของพนักงานของโรงงาน

    กรณีศึกษาคือ 8.5 ชั่วโมง

    Takt Time (TT) = 240

    Actual Takt Time (ATT) = 226 วินาที

    ศึกษาขั้นตอน และกระบวนการท างานของสายการผลิตในแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้าย

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    เก็บขอ้มูลกระบวนการผลติ

    เบ้ืองต้น ณ ปัจจุบัน

    สังเกตและจับเวลาขั้นต้น 10 รอบและจับเวลาเพ่ิมเติมตามจ านวนรอบท่ีค านวณได้

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    เก็บขอ้มูลกระบวนการผลติ

    เบ้ืองต้น ณ ปัจจุบัน

    สร้างเวลามาตรฐานในการท างานแต่ละขั้นตอนในแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้าย

    เวลาปกติ = เวลาการท างานจรงิท่ีจบัได้ x ค่าปรบัอตัราความเรว็ (รอ้ยละ 95)เวลามาตรฐาน = เวลาปกติ + เวลาเผ่ือรวม (ร้อยละ 104)

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    วิเคราะห์การท างาน ณ ปัจจุบัน

    สร้างกราฟสมดุลสายการผลิตและกราฟสายธารคุณค่า

    226240

    0.00

    50.00

    100.00

    150.00

    200.00

    250.00

    300.00

    1-CC 1-31UX 1-EXT 2-CC 2-31UX 2-EXT 3-CC 3-31UX 3-EXT 4-CC 4-31UX 4-EXT

    รอบเวลามาตรฐานการท างาน แผนกจัดชิ้นงานฝั่งขวา

    non cyclic 1 2 3 45 6 7 8 910 11 12 13 1415 16 17 18 ATTTT

    226240

    0.00

    50.00

    100.00

    150.00

    200.00

    250.00

    300.00

    1-CC 1-31UX 1-EXT 2-CC 2-31UX 2-EXT 3-CC 3-31UX 3-EXT

    รอบเวลามาตรฐานการท างาน แผนกจัดชิ้นงานฝั่งซ้าย

    non cyclic 1 2 34 5 6 78 9 10 11ATT TT

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    วิเคราะห์การท างาน ณ ปัจจุบัน

    สร้างกราฟสมดุลสายการผลิตและกราฟสายธารคุณค่า

    138.88

    131.64

    137.96157.72

    217.14

    158.98

    94.66 89.63 89.44110.26

    162.96

    113.41

    56.74 54.74 54.7430.00

    34.29

    16.22

    27.70 33.41 29.50

    34.51

    39.04

    36.18

    1313 13 20

    20

    20

    25 25 25

    25

    25

    25

    0.00

    50.00

    100.00

    150.00

    200.00

    250.00

    300.00

    CC 31UX EXT CC 31UX EXT CC 31UX EXT CC 31UX EXT

    สถานีงานท่ี 1 สถานีงานท่ี 2 สถานีงานท่ี 3 สถานีงานท่ี 4

    แผนผังสายธารคุณค่า แผนกจัดชิ้นงานฝั่งขวา

    VA NNVA NVA

    142.53162.88

    127.35156.58 156.92

    141.18 139.47154.31

    116.48

    60.0747.12

    56.36

    45.5830.68

    44.11 36.1830.46

    36.18

    1515

    15

    2626 26

    2525

    25

    0.00

    50.00

    100.00

    150.00

    200.00

    250.00

    CC 31UX EXT CC 31UX EXT CC 31UX EXT

    สถานีงานท่ี 1 สถานีงานท่ี 2 สถานีงานท่ี 3

    แผนผังสายธารคุณค่า แผนกจัดชิ้นงานฝั่งซ้าย

    VA NNVA NVA

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    วิเคราะห์การท างาน ณ ปัจจุบัน

    วิเคราะห์ขั้นตอนในการผลิตเพ่ือหาสาเหตุของปัญหาโดยใช้แผนภูมิกระบวนการ เพ่ือทราบถึงขั้นตอนการท างานท่ีท าให้เกิดความสูญเปล่าในกระบวนการ และใช้แผนผังก้างปลา

    ฝั่งขวาฝั่งซา้ย

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    วิเคราะห์การท างาน ณ ปัจจุบัน

    วิเคราะห์ขั้นตอนในการผลิตเพ่ือหาสาเหตุของปัญหาโดยใช้แผนภูมิกระบวนการ เพ่ือทราบถึงขั้นตอนการท างานท่ีท าให้เกิดความสูญเปล่าในกระบวนการ และใช้แผนผังก้างปลา

    แผนภาพกา้งปลา

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    สร้างแบบจ าลองสถานการณ์โดยใชโ้ปรแกรมอารน่ีา

    การกระจายตัวทางสถิติของข้อมูลในแต่ละกระบวนการ

    โคโมโกรอฟสเมียสน์อฟ (Kolmogorov-Smirnov Test)

    ซ่ึงจะท าการตรวจสอบความถูกต้องของการกระจายตัวที่

    ช่วงความเชื่อม่ันท่ี 95 เปอร์เซ็นต์ หรือค่า P-value

    มากกว่า 0.05 จึงจะสรุปว่าข้อมูลชุดน้ันสามารถน าไปใช้ใน

    แบบจ าลองสถานการณ์

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    สร้างแบบจ าลองสถานการณ์โดยใชโ้ปรแกรมอารน่ีา

    การกระจายตัวทางสถิติของข้อมูลในแต่ละกระบวนการ

    แสดงโมดูลท่ีเก่ียวข้องกับวัตถุดิบน าเข้า

    แสดงโมดูลท่ีใช้ในการแยกกระบวนการผลิตรถ

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    สร้างแบบจ าลองสถานการณ์โดยใชโ้ปรแกรมอารน่ีา

    การกระจายตัวทางสถิติของข้อมูลในแต่ละกระบวนการ

    ผลการจ าลองสถานการณ์โปรแกรมอารน่ีา ในปัจจุบันของแผนกจดัชิน้งานสว่นท้าย

    ภาพ 4.18 รอบเวลาที่ใช้ในแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝั่งขวา ก่อนปรับปรุง

    ภาพ 4.20 ก าลังการผลิตของรถแต่ละรุ่นในแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝั่งขวา ก่อนปรับปรุง

    ภาพ 4.21 รอบเวลาที่ใช้ในแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝั่งซ้าย ก่อนปรับปรุง

    ภาพ 4.23 ก าลังการผลิตของรถแต่ละรุ่นในแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝั่งซ้าย ก่อนปรับปรุง

  • ในการท างานแต่ละสถานีงานที่มีงานย่อยในการประกอบชิ้นงาน จึงได้ท าการตัดงานย่อยออกไป เนื่องจากการประกอบชิ้นงานบางชนิดเป็นการท างานเฉพาะรถบางรุ่นเท่านั้น เพื่อช่วยลดขั้นตอนในการท างานของพนักงานและป้องกันความผิดพลาดในการประกอบชิ้นงาน

    ก าจัดขั้นตอนการท างานท่ีไม่จ าเป็นออกไป (Eliminate)

    ชิ้นงานที่มีการจัดล าดับ เข้าสู่กระบวนการผลิตจะต้องน ามาท าการประกอบชิ้นงานอีกคร้ัง ซึ่งแผนกที่ท าการจัดล าดับชิ้นงานนั้นสามรถกระท าการประกอบชิ้นงานได้ โดยท่ีพนักงานของแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายไม่จ าเป็นจะต้องมีการประกอบชิ้นงานอีกคร้ัง

    การปรับปรุงขัน้ตอนการท างานให้งา่ยขึน้ (Simplify)

    น าเสนอแนวทางการปรบัปรงุ ตามหลักการจดัสมดุลสายการผลติ

    ตัดขั้นตอนในการประกอบชิ้นงานในแต่ละสถานีงาน

    วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    E

    C

    R

    Sท าการเพิ่มเวลาเฉล่ียในการหยิบชิ้นงานแต่ละชิ้นคือ 3.25 วินาที เพิ่มเข้าไปในขั้นตอนการหยิบ

    ซ่ึงสามารถลดขั้นตอนการท างานเหลือเพียง 9 ขั้นตอน ในฝ่ังขวา

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    สร้างแบบจ าลองสถานการณ์โดยใชโ้ปรแกรมอารน่ีา

    ลดการเดินเปล่าของพนักงานในการกลับไปยังจุดเร่ิมต้นแต่ละสถานีงาน

    ปรับเปล่ียนผังโรงงานและหลักการ ECRS เพิ่มเติมคือ การจดัเรยีงใหม่ (Rearrange)

    ฝั่งขวา ฝั่งซ้าย

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    สร้างแบบจ าลองสถานการณ์โดยใชโ้ปรแกรมอารน่ีา

    ลดการเดินเปล่าของพนักงานในการกลับไปยังจุดเร่ิมต้นแต่ละสถานีงาน

    ท าให้รอบเวลาการผลิตรถรุ่น 31UX ลดลงเหลือ 583.63 วินาที ซึ่งเป็นรอบเวลาการที่ผลิตมากที่สุด เมื่อท าการหาจ านวนสถานีงานที่

    น้อยที่สุด โดยเทียบกับ จังหวะความต้องการของการผลิต (Takt Time (TT)) 240 วินาที ท าให้สามารถลดจ านวนสถานีงานจาก 4

    สถานีงาน เหลือพียง 3 สถานีงาน

    1. สถานีงาน 1 มีท้ังหมด 5 ชั้นวาง (F01J02-F01J06)

    2. สถานีงาน 2 มีท้ังหมด 9 ชั้นวาง (F01J07-F01J15)

    3. สถานีงาน 3 มีท้ังหมด 3 ชั้นวาง (F01J16-F01J18) และ

    รถเข็นท่ีท าการจัดล าดับชิ้นงานบางส่วน

    4. สถานีงาน 4 เป็นรถเข็นท่ีท าการจัดล าดับชิ้นงานท้ังหมด

    1. สถานีงาน 1 มีท้ังหมด 8 ชั้นวาง (F01J02-F01J09)

    2. สถานีงาน 2 มีท้ังหมด 9 ชั้นวาง (F01J010-F01J18)

    และรถเข็นท่ีท าการจัดล าดับชิ้นงาน บางส่วน

    3. สถานีงาน 3 ต้ังแต่รถเข็นท่ีท าการจัดล าดับชิ้นงาน

    CONSOLE ตลอดจนรถเข็น ท่ีท าการจัด ล าดับชิ้นงานท่ี

    เหลืออยู่ท้ังหมด

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    สร้างแบบจ าลองสถานการณ์โดยใชโ้ปรแกรมอารน่ีา

    ผลการจ าลองสถานการณ์โปรแกรมอารน่ีา หลังการปรบัปรงุของแผนกจัดชิน้งานสว่นท้าย

    ภาพ 4.34 รอบเวลาที่ใช้ในแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝั่งขวา หลังลดจ านวนสถานีงาน

    ภาพ 4.36 ก าลังการผลิตของรถแต่ละรุ่นในแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝั่งขวา หลังลดจ านวนสถานีงาน

    ภาพ 4.40 รอบเวลาที่ใช้ในแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝั่งซ้าย ลดขั้นตอนการเดินกลับของพนักงาน

    ภาพ 4.42 ก าลังการผลิตของรถแต่ละรุ่นในแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝั่งซ้าย ลดขั้นตอนการเดินกลับของพนักงาน

  • วิธีการด าเนนิโครงงานวจัิย

    สร้างแบบจ าลองสถานการณ์โดยใชโ้ปรแกรมอารน่ีา

    ผลการจ าลองสถานการณ์โปรแกรมอารน่ีา หลังการปรบัปรงุของแผนกจัดชิน้งานสว่นท้าย

    32.00 31.43 25.41 28.89 35.56 20.90 22.78 29.21 25.05

    203.42 205.1 207.64184.93

    191.55201.12 197.83 191.22

    138.12

    226240

    0.00

    50.00

    100.00

    150.00

    200.00

    250.00

    300.00

    1-CC 1-31UX 1-EXT 2-CC 2-31UX 2-EXT 3-CC 3-31UX 3-EXT

    รอบเวลาการท างานของแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝ่ังขวา หลังการปรับปรุง

    non cyclic VA ATT TT

    25.33 12.38 21.62 26.33 11.43 24.86 20.00 14.29 20.00

    175.13 194.85 161.91 158.67163.66

    157.4 155.28 168.75132.63

    226240

    0.00

    50.00

    100.00

    150.00

    200.00

    250.00

    300.00

    1-CC 1-31UX 1-EXT 2-CC 2-31UX 2-EXT 3-CC 3-31UX 3-EXT

    รอบเวลาการท างานของแผนกจัดชิ้นงานส่วนท้ายฝ่ังซ้าย หลังการปรับปรุง

    non cyclic VA ATT TT

  • สรุปผลการด าเนินโครงงานวิจัย

  • สรุปผลการด าเนนิโครงงานวจิยั

    สรปุผลการด าเนินโครงงานวจิยั

    โดยจากการใช้โปรแกรมจ าลองสถานการณ์ อารีน่า โปรแกรม (Arena Program) ท าให้สามารถวิเคราะห์หาประสิทธิภาพการผลิต จาก Number out หารด้วย Number in

    93.94

    95.72

    95.16

    97.3297.04

    97.72

    92.00

    93.00

    94.00

    95.00

    96.00

    97.00

    98.00

    99.00

    CC 31UX EXT

    ร้อยละประสิทธิภาพการผลิต แผนกจัดชิ้นงานฝั่งขวา

    RH ก่อนปรับปรุง RH หลงัปรับปรุง

    89.80

    95.46 95.57

    97.63 97.87 97.71

    84.00

    86.00

    88.00

    90.00

    92.00

    94.00

    96.00

    98.00

    100.00

    CC 31UX EXT

    ร้อยละประสิทธิภาพการผลิต แผนกจัดชิ้นงานฝั่งซ้าย

    LH ก่อนปรับปรุง LH หลงัปรับปรุง

  • สรุปผลการด าเนนิโครงงานวจิยั

    สรปุผลการด าเนินโครงงานวจิยั

    ภาพ 4.45 แผนภูมิกระบวนการท างาน

    แผนกจัดชิ้นงานส่วนท้าย หลังการปรับปรุง

    CC

    31UX

    EXT

    53

    19

    33

    55

    19

    34

    Before After

    RH

    LH

    4

    3

    3

    3

    Before After

  • Q&A