40
มคอ. 2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน (หลักสูตรปรับปรุง .. 2555) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล และบัณฑิตวิทยาลัย หมวดที1. ขอมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร ภาษาไทย: หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน ภาษาอังกฤษ: Master of Engineering Program in Energy Engineering 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย): วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมพลังงาน) ชื่อยอ (ภาษาไทย): วศ.. (วิศวกรรมพลังงาน) ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ): Master of Engineering (Energy Engineering) ชื่อยอ (ภาษาอังกฤษ): M.Eng. (Energy Engineering) 3. วิชาเอก วิศวกรรมพลังงาน 4. จํานวนหนวยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 36 หนวยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข 5.2 ภาษาที่ใช ภาษาไทย และภาษาอังกฤษบางรายวิชา 5.3 การรับเขาศึกษา รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาชาวตางประเทศที่สามารถใชภาษาไทยไดเปนอยางดี 5.4 ความรวมมือกับสถาบันอื่น - 5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ /เห็นชอบหลักสูตร เปนหลักสูตรปรับปรุง .. 2555 คณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรของมหาวิทยาลัย เห็นชอบในการประชุมครั้งที7/2555 ~ 1 ~

หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลยัขอนแกน

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล และบัณฑติวิทยาลยั

หมวดที่ 1. ขอมูลทั่วไป

1. รหัสและชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย: หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาวิศวกรรมพลังงาน

ภาษาอังกฤษ: Master of Engineering Program in Energy Engineering

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ภาษาไทย): วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมพลังงาน)

ชื่อยอ (ภาษาไทย): วศ.ม. (วิศวกรรมพลังงาน)

ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ): Master of Engineering (Energy Engineering)

ชื่อยอ (ภาษาอังกฤษ): M.Eng. (Energy Engineering)

3. วิชาเอก

วิศวกรรมพลังงาน

4. จํานวนหนวยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

ไมนอยกวา 36 หนวยกิต

5. รูปแบบของหลักสตูร

5.1 รูปแบบ

หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข

5.2 ภาษาที่ใช

ภาษาไทย และภาษาอังกฤษบางรายวิชา

5.3 การรับเขาศึกษา

รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาชาวตางประเทศที่สามารถใชภาษาไทยไดเปนอยางด ี

5.4 ความรวมมือกับสถาบันอ่ืน

-

5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา

ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัต/ิเห็นชอบหลกัสูตร

เปนหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555

คณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรของมหาวิทยาลัย เห็นชอบในการประชุมคร้ังที ่ 7/2555

~ 1 ~

Page 2: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

วันที ่13 กุมภาพันธ 2555

สภามหาวิทยาลัย อนุมตัิหลักสตูรในการประชุมคร้ังที่ 6/2555 วันที่ 6 มิถุนายน 2555

เปดสอน ภาคการศึกษาที ่ 1 ปการศึกษา 2555

7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

หลักสูตรมีความพรอมเผยแพรวาเปนหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ในปการศึกษา 2557

8. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลงัสําเร็จการศึกษา

- วิศวกรพลังงาน โดยสามารถออกแบบ ควบคุม และซอมบํารุงเคร่ืองจักรกล ควบคุมการผลิตและ

กระบวนการตางๆในโรงงานอุตสาหกรรม ออกแบบและควบคุมงานระบบตางๆ เชน ระบบปรับอากาศ ระบบการ

ลําเลียงน้ําในอาคาร รวมทั้งการวิเคราะหและปรับปรุงการใชพลังงานในโรงงาน อาคาร และหนวยงานตางๆ ได

- นักวิชาการหรือนักวิจัยในสาขาวิชาวิศวกรรมพลังงานและสาขาอ่ืนๆที่เก่ียวของ

9. ชื่อ เลขประจําตัวบตัรประชาชน ตําแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

1 นายธนากร วงศวฒันาเสถียร 3-3110-00006-83-4 รองศาสตราจารย Ph.D. (Mechanical

Engineering)

2 นายรัชพล สนัติวรากร 3-4299-00202-63-6 รองศาสตราจารย Ph.D. (Mechanical

Engineering)

3 นายสิริวชิญ เตชะเจษฎารังษ ี 3-3499-00207-81-7 ผูชวยศาสตราจารย Ph.D. (Mechanical

Engineering)

10. สถานที่จัดการเรียนการสอน

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาที่จําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร

11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

ปจจุบันการพัฒนาประเทศไดมีการมุงเนนในการพัฒนาดานอุตสาหกรรมตางๆ ดังแผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ที่กลาวถึงการพัฒนาเศรษฐกิจอยางสรางสรรค ใน

ปจจุบันทุกประเทศตางก็เผชิญตอภัยคุกคามจากวิกฤตพลังงานอยางไมเคยเปนมากอน และกําลังลุกลามไปเปน

วิกฤตอาหารอีกดวย เพราะความเจริญเติบโตอยางรวดเร็วทางเศรษฐกิจของโลกจะเก่ียวเนื่องกับการเจริญเติบโต

ทางดานพลังงานอยางหลีกเลี่ยงไมได ซึ่งการรวมกลุมกันของประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic

Community: AEC) มุงเนนไปที่เร่ืองของความมั่นคงดานพลังงานอาเซียน (ASEAN Petroleum Security

Agreement: APSA) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวมมือกันในการพัฒนาและใชพลังงานภายในภูมิภาคอาเซียน อยางมี

ประสิทธิภาพ ดังนั้นหลักสูตรนี้จึงจัดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับวิกฤตพลังงานโลก โดยมุงเนนใหนักศึกษา ได

เขาใจถึงกระบวนการและแนวคิดในการสรางองคความรูดานพลังงานใหมๆ เพื่อมาทดแทนพลังงานปจจุบัน

ตลอดจนการจัดหาแหลงพลังงานอ่ืนๆ เพื่อนํามาพัฒนาเปนพลังงานไวใชอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต และใหเกิด

ประโยชนสูงสุดตอสังคม ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่จะตองใชวิศวกรที่มีคุณภาพเพื่อใหเกิดการพัฒนาที่มี

ประสิทธิภาพและยั่งยืน วิศวกรรมพลังงานเปนวิศวกรรมศาสตรอีกสาขาหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญอยางยิ่งในการ

~ 2 ~

Page 3: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

พัฒนาอุตสาหกรรม ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จําเปนตองมีการ

ปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมพลังงานข้ึน โดยมีการบริหารจัดการองคความรู

อยางเปนระบบ ทั้งการพัฒนาหรือสรางองคความรู รวมถึงการประยุกตใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาผสมผสาน

รวมกับจุดแข็งในสังคมไทยกับเปาหมายยุทธศาสตร กระทรวงศึกษาธิการ และแผนกลยุทธมหาวิทยาลัยสภาคณบดี

วิศวกรรมศาสตรแหงประเทศไทย ที่เนนการพัฒนาอุตสาหกรรมดานสิ่งแวดลอมซึ่งตองใชบุคลากรทางวิศวกรรม

พลังงานที่มีคุณภาพเปนจํานวนมาก อันสอดคลองกับพันธกิจของคณะวิศวกรรมศาสตร เพื่อใหมหาบัณฑิตที่จะจบ

ออกไปในอนาคตมีความรู ความสามารถที่ทันสมัยสอดรับกับเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาอยางตอเนื่อง

11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม

การผลิตมหาบัณฑิตของหลักสูตรนี้จึงตองการสรางสํานึกทางพลังงาน และความเขาใจถึง

กระบวนการการจัดการดานความตองการพลังงานของสังคม โดยคํานึงถึงปจจัยดานสภาพสิ่งแวดลอมรวมดวยได

อยางเหมาะสมใหแกมหาบัณฑิต โดยใชประสบการณจากการศึกษาและทําการวิจัยจากผูประกอบการดานพลังงาน

ตางๆทั้งภายในและตางประเทศ ที่ซึ่งมีสวนเก่ียวของอยางใกลชิดกับการจัดการทางดานอุตสาหกรรม มาแกปญหา

ใหประชากรไทยที่อยูในภาคเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมบริการ ไดรับความสะดวกจากความเจริญกาวหนาทาง

เศรษฐกิจไปพรอม ๆ กันไดเปนอยางด ี

12. ผลกระทบจากขอ 11 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน

12.1 การพัฒนาหลักสูตร

จากผลกระทบจากสถานการณภายนอก, มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร

และระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร เพื่อใหมีมาตรฐานเทียบเคียงกันได ทั้งระดับชาติและระดับสากล

จึงจําเปนตองพัฒนาหลักสูตรในเชิงรุกที่มีศักยภาพสามารถปรับเปลี่ยนไดตามวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสมัยใหม

ทางวิศวกรรมพลังงานและมาตรฐานคุณวุฒิทางดานสาขาวิศวกรรมศาสตร หลักสูตรนี้จึงจัดการเรียนการสอนที่

สอดคลองกับวิกฤตพลังงานโลก โดยมุงเนนใหนักศึกษาไดเขาใจถึงกระบวนการและแนวคิดในการสรางองคความรู

ดานพลังงานใหมๆ เพื่อมาทดแทนพลังงานปจจุบันตลอดจนการจัดหาแหลงพลังงานอ่ืนๆ เพื่อนํามาพัฒนาเปน

พลังงานไวใชอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต และใหเกิดประโยชนสูงสุดตอสังคม โดยตองเพิ่มความรูความสามารถ

ของบัณฑิตในหลายๆดานทางวิศวกรรมพลังงาน เชน ความรูดานเทคโนโลยีวิศวกรรม ความสามารถในการ

บริหารจัดการ การวางแผนการใชพลังงาน และสรางนโยบายที่เก่ียวเนื่องกับการใชพลังงานในหนวยงานทั้งภาครัฐ

และเอกชน ตลอดจนสามารถเขาไปมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายดานพลังงานของประเทศ และมีความรู

ความสามารถเขาไปมีบทบาทที่สําคัญในกลุมของประชาคมอาเซียนทางดานความมั่นคงดานพลังงานอาเซียน

(APSA) เพื่อมุงหวังใหภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนศูนยกลาง

การจัดการดานพลังงานที่ครบวงจรในระดับสากล

12.2 ความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน

การพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน ไดสอดคลองกับ

วิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยที่เนนการเปนสถาบันการเรียนรูพลวัตรระดับแนวหนาในการผลิตมหาบัณฑิต และพฒันา

บุคลากรที่มีมาตรฐานคุณภาพการอุดมศึกษา และการสรางความเปนเลิศในการประยุกตเทคโนโลยีและพัฒนา

นวัตกรรม อีกทั้งยังเปนภาระหนึ่งของพันธกิจของมหาวิทยาลัยที่มีไวผลิตมหาบัณฑิตและพัฒนาบุคลากร ดังนี้

- ศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาความรูและนวัตกรรม

~ 3 ~

Page 4: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

- บริการวิชาการแกสังคม

- พัฒนาองคการธรรมาภิบาล

- เพิ่มขีดความสามารถของระบบและกลไกการประกันคุณภาพและการจัดการความรู

- ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

มีการสอดแทรกเนื้อหาในแตละรายวิชา รวมถึงรายวิชาเปดใหม ที่ เนื้อหารายวิชาทันตอ

สถานการณปจจุบัน เชน ในดานการลดการใชพลั งงาน เปนตน และใหสอดคลอง กับพันธกิจของ

มหาวิทยาลัยขอนแกน

13. ความสัมพันธ (ถามี) กับหลักสตูรอ่ืน ที่เปดสอนในคณะ/ภาควิชาอ่ืนของสถาบัน

-

หมวดที่ 2. ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสตูร

1.1 ปรัชญา

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)

มุงผลิตมหาบัณฑิตใหมีความรูความเขาใจในเชิงลึกทั้งในดานหลักการและทฤษฎีในสาขาวิชาวิศวกรรมพลังงานซึ่ง

เปนรากฐานสําคัญของหลายสาขาในทางวิศวกรรมศาสตรและมุงเนนการสรางงานวิจัยและองคความรูใหม การนํา

องคความรูมาประยุกตใชใหเกิดประโยชนตอประเทศชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการทําวิจัยหรือปฏิบัติงานใน

สาขาวิชาชีพได โดยการใชความรูทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ นํามาประยุกตใหเกิดการพัฒนาความรูใหมหรือ

วิธีการปฏิบัติงานใหมในสาขาวิชาไดอยางสรางสรรค มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณตามหลักวิชาการและ

วิชาชีพ และมีภาวะผูนําในการสงเสริมใหมีการประพฤติปฏิบัติตนอยางมีคุณธรรมและจริยธรรม และจรรยาบรรณ

ทางวิชาการและวิชาชีพ

1.2 วัตถุประสงค

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)

มีวัตถุประสงคเพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้

(1) มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย รับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว องคกร สังคม และประเทศชาติ

ประกอบวิชาชีพดวยความซื่อสัตยสุจริตและมีจรรยาบรรณ

(2) มีความรูลึกในวิชาการที่ศึกษา และสามารถประยุกตในการประกอบวิชาชีพข้ันสูงหรือการวิจัยเพื่อ

แกปญหาหรือสรางองคความรูใหม

(3) มีความสามารถในการใชความรู ทักษะทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และวิศวกรรมศาสตรในการคิด

วิเคราะห ริเ ร่ิมสรางสรรคงาน และแกไขขอโตแยงหรือปญหาทางวิชาการข้ันสูงไดอยางมี

ประสิทธิภาพและเหมาะสม

(4) มีความสามารถในการใชภาษาไทย และภาษาตางประเทศในการศึกษาเรียนรู และการสื่อสาร

ถายทอดความรูในทางวิชาการได รวมไปถึงการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศไดอยางมี

ประสิทธิภาพ

(5) มีความสนใจใฝรูทางดานพลังงาน และวิกฤตพลังงานของโลก สามารถพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง

~ 4 ~

Page 5: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

ใหทันตอความกาวหนาและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสถานการณ

(6) มีวุฒิภาวะ ความเปนผูนํา มีมนุษยสัมพันธ และทักษะในการทํางานเปนหมูคณะและเครือขาย

สามารถบริหารจัดการงานไดอยางมีประสิทธิภาพ มีจิตสาธารณะ เสียสละ อุทิศตนเพื่อสังคม ถือเอา

ประโยชนของสวนรวมเปนที่ตั้ง ภาคภูมิใจในทองถ่ิน สถาบัน และประเทศชาติ มีทัศนคติที่ดีตอการ

ทํางานและใชชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม

2. แผนพัฒนาปรับปรุง

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงชี้ความสําเร็จ

การพัฒนาการเรียนการสอน สงเสริมการเรียนการสอนที่เนน

ผูเรียนเปนศูนยกลาง

จัดกิจกรรมเสริมนอกหลักสูตรที่

เนนทักษะการเรียนรูทั้ง 5 ดาน

ต า มกรอบมา ต รฐ า น คุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557

ผลการประเมินประสิทธิภาพ

การจัดการเรียนการสอนที่

เนนผูเรียนเปนสําคัญ

ผลการประเมินการมีสวนรวม

ของผูเรียนในการจัดการเรียน

การสอนกิจกรรมทางวิชาการ

และกิจกรรมอ่ืนๆ

การพัฒนานักศึกษา สงเสริม สนับสนุน และเผยแพร

งานวิจัย

สงเสริมใหนักศึกษามีคุณธรรม

และจริยธรรม

จํานวนกิจกรรมที่ ส ง เส ริม

นักศึกษาใหมีความเปนผูนํา

และผู รวมงานที่ดี มีมนุษย

สัมพันธ

จํานวนกิจกรรมที่สงเสริมใหมี

นั ก ศึ ก ษ า คุ ณ ธ ร ร ม

จรรยาบรรณ และจริยธรรม

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงชี้ความสําเร็จ

การพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัย

โ ด ย อ า จ า ร ย แ ล ะ นั ก ศึ ก ษ า

สามารถกาวทันหรือเปนผูนําการ

สรางองคความรูใหมๆทางดาน

วิศวกรรมพลังงาน

ปรับปรุงหลักสูตรใหทันสมัยโดยมี

การพิจารณาหลักสูตรทุกๆ 5 ป

สงเสริมใหอาจารยใฝหาความ

เชี่ยวชาญ และความกาวหนาใน

สาขาวิศวกรรมพลังงาน หรือ

สาขาอ่ืนๆที่เก่ียวของ ทั้งในและ

นอกประเทศ

ปรับปรุงเนื้อหาในรายวิชาใน

สวนสาระใหม หรือเพิ่มเติม

เนื้อหา

ประวัติประสบการณ ผลงาน

ทางวิชาการ การพัฒนาและ

การฝกอบรมของอาจารย

~ 5 ~

Page 6: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

หมวดที่ 3. ระบบการจดัการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา

1.1 ระบบ

ระบบการจัดการศึกษาเปนแบบทวิภาค ซึ่งเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษา

ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 หมวดที่ 2 ขอ 7 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน

มีการจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ทั้งนี้เปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับ

พ.ศ. 2548

1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค

-

2. การดําเนินการหลักสูตร

2.1 วัน-เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน

ภาคการศึกษาตน เดือนมิถุนายน - เดือนกันยายน

ภาคการศึกษาปลาย เดือนตุลาคม - เดือนกุมภาพันธ

ภาคการศึกษาฤดูรอน เดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม (ถามี)

2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา

ใหเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 หมวดที่ 5

ขอ 26.2 หรือเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกนที่ปรับปรุงใหม และ

2.2.1 สําหรับผูสมัคร แผน ก แบบ ก 2 เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

หรือเปนผูที่กําลังศึกษาอยูในภาคการศึกษาสุดทายของหลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

2.2.2 สําหรับผูสมัคร แผน ข เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต คุรุศาสตร

อุตสาหกรรมบัณฑิต อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต หรือวิทยาศาสตรบัณฑิตในสาขาที่เก่ียวของ โดยความเห็นชอบ

ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา

นักศึกษาที่เขาศึกษาอาจมีพื้นฐานที่จําเปนตอการเรียนรูในหลักสูตรไมเพียงพอ รวมทั้งทักษะและ

ความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของนักศึกษา

2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพ่ือแกไขปญหา/ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3

นักศึกษาจําเปนตองปรับพื้นฐานทางวิศวกรรมพลังงาน และภาษาอังกฤษกอน โดยการลงทะเบียนเรียน

วิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมพลังงาน และภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ทั้งนี้ใหข้ึนอยูกับดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหาร

หลักสูตรเปนหลัก

2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป

- สําหรับ แผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข

จํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษาแตละปการศึกษา

~ 6 ~

Page 7: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

2555 2556 2557 2558 2559

ก2 ข ก2 ข ก2 ข ก2 ข ก2 ข

ปที่ 1 5 40 5 40 5 45 5 45 5 45

ปที่ 2 - - 5 40 5 40 5 45 5 45

รวม 5 40 10 80 10 85 10 90 10 90

คาดวาจะสําเร็จการศึกษา - - 5 40 5 40 5 45 5 45

2.6 งบประมาณตามแผน

ประมาณการรายรับ ปงบประมาณ

2555 2556 2557 2558 2559

คาธรรมเนียมการศึกษา 2,250,000 4,500,000 4,750,000 5,000,000 5,000,000

งบประมาณแผนดิน 420,000 441,000 463,000 486,000 510,000

รวมรายรับ 2,670,000 4,941,000 5,213,000 5,486,000 5,510,000

ประมาณการรายจาย ปงบประมาณ

2555 2556 2557 2558 2559

งบใชสอย ตอบแทนและวัสด ุ 891,750 1,584,000 1,670,750 1,758,000 1,770,000

งบครุภัณฑ 535,100 950,400 1,002,500 1,054,800 1,062,000

งบดําเนนิการ (พัฒนาการเรียนการ

สอน พัฒนานักศึกษา ทุนฯลฯ) 1,243,150 2,406,600 2,539,750 2,673,200 2,678,000

รวมรายจาย 2,670,000 4,941,000 5,213,000 5,486,000 5,510,000

ประมาณการคาใชจายตอหัวนักศึกษาตอหลักสูตร = 110,791 บาท

2.7 ระบบการศึกษา

ระบบการศึกษามีรูปแบบการเรียนการสอนแบบชัน้เรียน และผานระบบ e-Learning

2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย

ใหเปนไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 22/2550) เร่ือง การเทียบโอน

รายวิชาและคาคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา จากการศึกษาในระบบ และระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน

วาดวยการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541 หรือเปนไปตามระเบียบ/หรือประกาศฯที่จะปรับปรุงใหม

3 หลักสูตรและอาจารยผูสอน

3.1 หลักสูตร

3.1.1 จํานวนหนวยกิต

แผน ก แบบ ก 2 รวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต

แผน ข รวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต

~ 7 ~

Page 8: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

3.1.2 โครงสรางหลักสูตร

จํานวนหนวยกิต

แผน ก แบบ ก 2 แผน ข

จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 36

1) หมวดวิชาบังคับ 18 18

2) หมวดวิชาเลือก 6 12

3) วิทยานิพนธ 12 -

4) การศึกษาอิสระ - 6

3.1.3 รายวิชา

3.1.3.1 หมวดวิชาบังคับ

3.1.3.1.1 หมวดวิชาบังคับ

นักศึกษาในหลักสูตรแผน ก แบบ ก 2 และแผน ข ตองลงทะเบียนเรียน จํานวน 18

หนวยกิต

**195 800 แหลงพลังงานและการผลติ 3 (3-0-6)

Energy Resources and Production

**195 801 หลักมูลทางวิศวกรรมพลังงาน 3 (3-0-6)

Fundamentals Energy Engineering

**195 802 การบริหารและประเมินโครงการดานพลังงาน 3 (3-0-6)

Energy Project Management and Appraisal

**195 803 ฝกปฏิบัตงิานการตรวจวัดการใชพลงังาน 3 (0-9-6)

Practice in Energy Audits

**195 804 การจัดการพลังงานสําหรับผูจดัการพลังงาน 3 (3-0-6)

Energy Management for Energy Managers

**195 890 ระเบียบวิธีวจิัยทางวศิวกรรมพลังงาน 3 (3-0-6)

Research Methods in Energy Engineering

3.1.3.2 หมวดวิชาเลือก

นักศึกษาในหลักสูตรแผน ก แบบ ก 2 ตองลงทะเบียนไมนอยกวา 6 หนวยกิต นักศึกษา

ในหลักสูตรแผน ข ตองลงทะเบียนไมนอยกวา 12 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ หรือรายวิชาที่ภาควิชาเปด

เพิ่มเติมในภายหลัง โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

**195 850 วิศวกรรมพลังงานแสงอาทิตย 3 (3-0-6)

Solar Energy Engineering

**195 851 หลักการแปลงรูปพลังงาน 3 (3-0-6)

~ 8 ~

Page 9: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

Principles of Energy Conversion

**195 852 เทคโนโลยีการแปลงพลังงานชีวมวล 3 (3-0-6)

Biomass Energy Conversion Technology

**195 853 ประสิทธิภาพพลงังานสําหรับวิศวกรและนักเทคโนโลย ี 3 (3-0-6)

Energy Efficiency for Engineers and Technologists

**195 854 แบบจาํลองทางคณิตศาสตรและการจําลองแบบระบบพลังงาน 3 (3-0-6)

Mathematical Model and Simulation of Energy System

**195 855 แบบจาํลองเศรษฐศาสตรพลังงานและการวิเคราะหนโยบาย 3 (3-0-6)

Energy Policy Analysis and Economic Modeling

**195 856 นโยบายและการจัดการสิ่งแวดลอมของระบบพลงังาน 3 (3-0-6)

Environmental Policy and Management of Energy Systems

**195 857 การวิเคราะหพลงังานความรอน 3 (3-0-6)

Thermal Energy Analysis

**195 858 แหลงพลังงานทดแทน 3 (3-0-6)

Renewable Energy Resources

**195 859 อุณหพลศาสตรข้ันสูง 3 (3-0-6)

Advanced Thermodynamics

**195 860 กระบวนการถายโอนความรอนและมวลในการอบแหง 3 (3-0-6)

Thermal and Mass Transfer Processes in Drying

**195 861 การออกแบบอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน 3 (3-0-6)

Design of Heat Exchangers

**195 862 การพยากรณความตองการพลังงานและสถิติพลงังาน 3 (3-0-6)

Energy Demand Forecasting and Energy Statistics

**195 863 ทฤษฎีราคาพลงังาน 3 (3-0-6)

Theory of Energy Price

**195 864 การผลิตไฟฟาและการใชประโยชน 3 (3-0-6)

Electrical Production and Utilization

**195 865 การวางแผนพลงังาน 3 (3-0-6)

Energy Planning

*195 866 การจัดการพลังงานในอาคาร 3 (3-0-6)

Energy Management in Buildings

*195 867 การอนุรักษพลังงานในอุตสาหกรรม 3 (3-0-6)

Industrial Energy Conservation

3.1.3.3 วิทยานิพนธ

~ 9 ~

Page 10: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

3.1.3.3.1 สําหรับหลักสตูร แผน ก แบบ ก 2

**195 899 วิทยานพินธ 12 หนวยกิต

Thesis

3.1.3.4 การศึกษาอิสระ

3.1.3.4.1 สําหรับหลักสตูร แผน ข

**195 897 การศึกษาอิสระ 6 หนวยกิต

Independent Study

หมายเหตุ * หมายถึง รายวชิาใหม

** หมายถึง รายวิชาเปลี่ยนแปลง

คําอธิบายระบบรหัสวิชา

195 xxx หมายถึง รหัสของภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล

ตัวเลขตัวที่ 4 หมายถึง ระดับของรายวิชาระดบับัณฑิตศึกษา

เลข 7 หมายถึง รายวิชาระดับปริญญาโท สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล

เลข 8 หมายถึง รายวิชาระดับปริญญาโท สาขาวิศวกรรมพลังงาน

เลข 9 หมายถึง รายวิชาระดับปริญญาเอก

ตัวเลขตัวที่ 5 หมายถึง หมวดวิชาหรือกลุมองคความรูของรายวิชา

เลข 0 หมายถึง หมวดวิชาบงัคับ

เลข 1 หมายถึง หมวดวิชาเลือกสาขากลศาสตร

เลข 2 หมายถึง หมวดวิชาเลือกสาขาเทอรโมฟลอิูดและพลังงาน

เลข 3 หมายถึง หมวดวิชาเลือกสาขาการควบคุมอัตโนมัติและวชิาการอุปกรณ

เลข 4 หมายถึง หมวดวิชาเลือกสาขาทั่วไป

เลข 5-6 หมายถึง หมวดวิชาเลือกจากสาขาวศิวกรรมพลังงาน

เลข 9 หมายถึง หมวดวิชาสัมมนา ปญหาพเิศษ วิทยานพินธ การศึกษาอิสระ

ตัวเลขตัวที่ 6 หมายถึง ลําดับที่ของรายวิชา

3.1.4 ตัวอยางแผนการศึกษา

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หนวยกิต

แผน ก แบบ ก 2 แผน ข

195 800 แหลงพลังงานและการผลติ 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)

Energy Resources and Production

195 801 หลักมูลทางวิศวกรรมพลังงาน 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)

Fundamentals Energy Engineering

~ 10 ~

Page 11: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

195 802 การบริหารและประเมินโครงการดานพลงังาน 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)

Energy Project Management and

Appraisal

195 890 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมพลังงาน 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)

Research Methods in Energy Engineering

รวมจํานวนหนวยกิตลงทะเบยีนเรียน 12 12

รวมจํานวนหนวยกิตสะสม 12 12

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หนวยกิต

แผน ก แบบ ก 2 แผน ข

195 804 การจัดการพลังงานสําหรับผูจดัการพลังงาน 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)

Energy Management for Energy Managers

195 xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)

Elective

195 xxx วิชาเลือก - 3 (3-0-6)

Elective

195 899 วิทยานพินธ 3 -

Thesis

195 897 การศึกษาอิสระ - 2

Independent Study

รวมจํานวนหนวยกิตลงทะเบียนเรียน 9 11

รวมจํานวนหนวยกิตสะสม 21 23

ปที่ 1 ภาคฤดูรอน หนวยกิต

แผน ก แบบ ก 2 แผน ข

195 803 ฝกปฏิบัติงานการตรวจวัดการใชพลังงาน 3 (0-9-6) 3 (0-9-6)

Practice in Energy Audits

รวมจํานวนหนวยกิตลงทะเบียนเรียน 3 3

รวมจํานวนหนวยกิตสะสม 24 26

~ 11 ~

Page 12: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หนวยกิต

แผน ก แบบ ก 2 แผน ข

195 xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)

Elective

195 xxx วิชาเลือก - 3 (3-0-6)

Elective

195 899 วิทยานพินธ 6 -

Thesis

195 897 การศึกษาอิสระ - 4

Independent Study

รวมจํานวนหนวยกิตลงทะเบียนเรียน 9 10

รวมจํานวนหนวยกิตสะสม 33 36

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หนวยกิต

แผน ก แบบ ก 2

195 899 วิทยานพินธ 3

Thesis

รวมจํานวนหนวยกิตลงทะเบียนเรียน 3

รวมจํานวนหนวยกิตสะสม 36

3.1.5 คําอธิบายรายวิชา

**195 800 แหลงพลงังานและการผลิต 3 (3-0-6)

Energy Resources and Production

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

แหลงพลังงานที่มีจํา กัด ทรัพยากรพลังงานของโลก ถานหิน

ปโตรเลียม กาซธรรมชาติ พลังงานนิวเคลียร พลังงานแสงอาทิตย

พลังงานลม พลังงานน้ํา พลังงานชีวมวล การผลิตและกระบวนการผลิต

พลังงาน การพิจารณาดาน เศรษฐศาสตร การเมือง และสิ่งแวดลอม

เก่ียวกับการผลิตและการใชพลังงาน การแปรรูปพลังงาน การนําพลังงาน

กลับมาใชใหม การกําจัดของเสียจากกระบวนการผลิตพลังงาน

ผลกระทบดานสิ่งแวดลอมจากการผลิตพลังงาน

Finite energy resources, world energy resources: coal,

petroleum, natural gas, nuclear energy, solar energy, wind

energy hydro-power and biomass energy, energy production

and energy production processes, economic, political and

~ 12 ~

Page 13: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

environmental consideration in energy production and

utilization, energy conversion, energy recovery and disposal

of waste from energy production, environmental impact of

energy production

**195 801 หลักมูลทางวิศวกรรมพลังงาน 3 (3-0-6)

Fundamentals Energy Engineering

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

มโนทัศนของการประยุกตหลักการของอุณหพลศาสตรกับระบบดาน

พลังงาน ทบทวนกฎขอที่ 1 และกฎขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร การใช

กฎขอที่ 1 และกฎขอที่ 2 วิเคราะหระบบดานพลังงาน เชน เคร่ืองยนต

ความรอน เคร่ืองสูบความรอน กระบวนการเผาไหม และการสมดุลดาน

เคมีและสถานะ

Concepts of thermodynamic principles applied to energy

systems, review of the first law and the second law of

thermodynamics, first and second law analysis of energy

system such as heat engines, heat pumps, combustion

process, chemical and phase equilibrium

**195 802 การบริหารและประเมินโครงการดานพลังงาน 3 (3-0-6)

Energy Project Management and Appraisal

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

แนะนําโครงการดานพลังงานตางๆ การเตรียมและพัฒนาโครงการ

การคํานวณดานการคลังของโครงการดานพลังงาน การประเมินดาน

เศรษฐศาสตรของโครงการดานพลังงาน การตรวจประเมินดาน

สิ่งแวดลอมของโครงการดานพลังงาน การคลังและการบริหารโครงการ

ดานพลังงาน

Introduction to energy projects, project preparation and

development, financial calculations of energy projects,

economic evaluation of energy projects, environmental

assessment of energy projects, financing and managing

energy projects

**195 803 ฝกปฏิบัตงิานการตรวจวัดการใชพลังงาน

Practice in Energy Audits

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

3 (0-9-6)

~ 13 ~

Page 14: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

นักศึกษาจะตองปฏิบัติการฝกการตรวจวัดการใชพลังงานทั้งใน

อาคารและโรงงานอุตสาหกรรม และจะตองจัดทํารายงานผลการตรวจ

วิเคราะหการใชพลังงานของอาคารและโรงงานดังกลาวเพื่อเสนอแนะ

มาตรการประหยัดพลังงาน การเลือกโรงงานและอาคารที่จะเขาฝก

ปฏิบัติจะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

Students are required to conduct energy audits in

factories and buildings and prepare energy audit reports

which include analysis of the data and energy conservation

measures. choice of factories and buildings must be

approved by the course committee

**195 804 การจัดการพลังงานสําหรับผูจัดการพลังงาน 3 (3-0-6)

Energy Management for Energy Managers

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

ภาพรวมของอุตสาหกรรมพลังงาน วัตถุประสงคและองคประกอบ

ของโครงงานการจัดการพลังงานที่มีประสิทธิภาพ การจัดโครงสราง

สําหรับโครงงานการจัดการพลังงาน บทบาทของ การ3 0แกไข การปองกัน

และการบํารุงรักษาเชิงสมรรถนะ การวิเคราะหพลังงานของกระบวนการ

หลักการประหยัดทรัพยากรพลังงาน การลดคาใชจาย และการวางแผน

พลังงานสําหรับอนาคต การทําเอกสารคาใชจายปจจุบัน การจัดทํา

นโยบายพลังงาน ยุทธศาสตรสําหรับควบคุมความสิ้นเปลือง ยุทธศาสตร

แบบคาใชจายต่ํ าและไมมีค าใชจายสําหรับการจัดการพลังงาน

ยุทธศาสตรการนําสูการปฏิบัติ กรณี ศึกษาของโครงงานการจัด

การพลังงานที่มีคุณภาพ

Overview of the energy industry, objectives and

components of an effective energy management program,

organizing structure for an energy management program, role

of corrective, preventive and performance maintenance,

energy process analysis, principles for saving energy

resources, reducing costs and energy planning for the future,

documenting present costs, establishing energy policies,

strategies for control of consumption, low-cost and no-cost

strategies for energy management, implementation strategies,

case studies of quality energy management project

**195 850 วิศวกรรมพลังงานแสงอาทิตย 3 (3-0-6)

~ 14 ~

Page 15: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

Solar Energy Engineering

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

รังสีแสงอาทิตยและปริมาณที่ใชได ทฤษฎีของตัวเก็บรังสีแบบแผน

ราบ สมรรถนะของตัวเก็บรังสีแบบแผนราบ ตัวเก็บรังสีแบบรวมรังสี

ระบบทําน้ํารอนดวยแสงอาทิตย การออกแบบระบบทําความรอนดวย

แสงอาทิตย การทําความเย็นดวยแสงอาทิตย เศรษฐศาสตรของ

กระบวนการแสงอาทิตย

Solar radiation and its availability, theory of flat plate

collector, performance of flat-plate collectors, concentrating

collector, solar water heating system, design of solar heating

systems, solar cooling, solar process economics

**195 851 หลักการแปลงรูปพลังงาน 3 (3-0-6)

Principles of Energy Conversion

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

เชื้อเพลิงงานหลักสําหรับการแปลงรูปพลังงาน การผลิตพลังงาน

ความรอน ระบบเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ การผลิตพลังงานกล การผลิต

พลังงานไฟฟา ตัวสะสมพลังงาน ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการ

แปลงรูปพลังงาน

Principal fuels for energy conversion, production of

thermal energy, fossil-fuel systems, production of mechanical

energy, production of electrical energy, energy storage,

environmental impact of energy conversion

**195 852 เทคโนโลยีการแปลงพลังงานชวีมวล 3 (3-0-6)

Biomass Energy Conversion Technology

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

ความสําคัญที่เพิ่มข้ึนของพลังงานชีวมวล การประมาณพลังงาน

ชีวมวล การผลิตชีวมวล ระบบพลังงานชีวมวล การผลิตแกส

การแยกสลายดวยความรอน การผลิตแกสชีวภาพจากชีวมวล เอทานอล

จากชีวมวล การใชพลังงานชีวมวล การเสริมความหนาแนนของชีวมวล

ผลกระทบของการผลิตพลังงานชีวมวล

Increasing importance of biomass energy, estimation of

biomass energy, production of biomass, biomass energy

system, gasification, pyrolysis, biogas production from

~ 15 ~

Page 16: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

biomass, ethanol from biomass, use of biomass energy,

densification of biomass, impact of biomass energy

production

**195 853 ประสิทธิภาพพลังงานสําหรับวิศวกรและนักเทคโนโลยี 3 (3-0-6)

Energy Efficiency for Engineers and Technologists

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

การใชพลังงานของโลก หลักการทั่วไปของการจัดการพลังงาน การ

ตรวจวัดการใชพลังงานในอาคารและในโรงงาน กฎขอที่หนึ่งและกฎขอที่

สองของเทอรโมไดนามิกสสําหรับการวิเคราะหประสิทธิภาพพลังงาน

การจัดการโหลดไฟฟาและแสงสว าง การจัดการพลังงานของ

กระบวนการ พื้นฐานการตรวจวัดและพิสูจนผลการอนุรักษพลังงาน

กฎหมายอนุรักษพลังงาน การวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรของมาตรการ

อนุรักษพลังงาน

World energy utilization, general principles of energy

management, building and factory energy audits, fist and

second law energy efficiency analysis, electrical load and

lighting management, management of process energy,

introduction to measurement and verification, law related to

energy conservation, economic analysis of energy

conservation measures

**195 854 แบบจําลองทางคณิตศาสตรและการจําลองแบบระบบพลังงาน 3 (3-0-6)

Mathematical Modeling and Simulation of Energy

Systems

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

การสรางสมการเพื่อบงบอกลักษณะของอุปกรณทางดานพลังงาน

แบบจําลองทางคณิตศาสตรของอุปกรณระบบพลังงาน เชน อุปกรณ

แลกเปลี่ยนความรอน คอมเพรสเซอร อุปกรณลดความดัน และอุปกรณ

อ่ืนๆ การจําลองสถานการณของระบบพลังงาน เทคนิคการหาคาที่

เหมาะสมของระบบพลังงาน การใชคอมพิวเตอรเพื่อจําลองแบบระบบ

พลังงาน

Equation fitting for characterization of energy equipment,

mathematical modeling of energy system components such

as heat exchangers, compressors, expansion devices,

simulation of energy systems, optimization techniques for

~ 16 ~

Page 17: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

energy systems and use of computers for simulation of

energy systems

**195 855 แบบจําลองเศรษฐศาสตรพลังงานและการวิเคราะหนโยบาย 3 (3-0-6)

Energy-economic Modeling and Policy Analysis

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

แบบจําลองและการสรางแบบจําลอง แนวคิดเศรษฐศาสตรมหาภาค

การวิเคราะหปจจัยเขาออก การคิดรวมพลังงาน การวิเคราะหการ

สลายตัวของปจจัย เทคนิคที่เหมาะสมทางคณิตศาสตรสําหรับการจําลอง

พลังงาน แบบจําลองเครือขาย การจําลองแบบเศรษฐศาสตรพลังงาน

และปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม การประยุกตแบบจําลองในการประเมิน

เทคโนโลยีพลังงาน การประเมินแหลงพลังงานทดแทน การวิเคราะห

นโยบายพลังงานและสิ่งแวดลอม

Models and modeling approaches, macroeconomic

concept, input-output analysis, energy aggregation, factor

decomposition analysis, mathematical optimization

techniques for energy modeling, network models, modeling

energy-economic and environmental interactions, model

applications in energy technology assessment, alternative

energy resource assessment, energy and environmental

policy analysis

**195 856 นโยบายและการจัดการสิ่งแวดลอมของระบบพลังงาน 3 (3-0-6)

Environmental Policy and Management of Energy

Systems

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

ระบบพลังงานและสิ่งแวดลอม วิธีการอธิบายและประเมินดาน

สิ่งแวดลอม ประเด็นคุณภาพสิ่งแวดลอมและระบบพลังงาน ทางเลือก

เทคนิคสําหรับการลดมลพิษ เคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตรสําหรับการ

จัดการสิ่งแวดลอม วิธีการจัดการดานสิ่งแวดลอมและเศรษฐศาสตร

ประเด็นการปฏิบัติและขอบังคับดานสิ่งแวดลอม

Energy systems and the environment, methods in

~ 17 ~

Page 18: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

environmental accounting and auditing, environmental

quality issues and energy systems, technical options for

emission mitigation, economic tools for environmental

management, approaches for integrated environmental

management and their economics, institutional and

regulatory issues

**195 857 การวิเคราะหพลังงานความรอน 3 (3-0-6)

Thermal Energy Analysis

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

กฎขอที่หนึ่งและขอที่สองของอุณหพลศาสตร ประสิทธิภาพของกฎ

ขอที่สอง การประยุกตการวิเคราะหสภาพพรอมใชงานกับกระบวนการ

และวัฏจักรทางอุณหพลศาสตร การวิเคราะหโครงขายความรอน

กรณีศึกษา

First and second laws of thermodynamics, second law

efficiency, application of availability analysis to

thermodynamic processes and cycles, thermal network

analysis, cases studies

**195 858 แหลงพลังงานทดแทน 3 (3-0-6)

Renewable Energy Resources

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

แหลงพลังงานทดแทน พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงาน

ชีวมวล พลังงานน้ํา พลังงานความรอนใตพิภพ พลังน้ําข้ึนลง การ

จัดหาและการกระจายของแหลงพลังงานในภูมิภาค การพัฒนา

เทคโนโลยีสําหรับใชและการเปลี่ยนพลังงานทดแทน ศึกษาถึงความ

เปนไปไดทางเทคนิคและทางเศรษฐศาสตร

Renewable energy resources, solar energy, wind energy,

biomass, hydropower, geothermal energy, tidal power, with

special reference to Thailand, availability and distribution of

regional resources, development of technologies for use and

conversion of renewable energy, technical and economic

feasibility

**195 859 อุณหพลศาสตรขั้นสูง 3 (3-0-6)

Advanced Thermodynamics

~ 18 ~

Page 19: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

ทบทวนกฎขอที่หนึ่งและขอที่สองของอุณหพลศาสตร การวิเคราะห

สภาพพรอมใชงาน สมการของสถานะ ความสัมพันธของสมบัติทาง

อุณหพลศาสตร กฎขอที่สามของอุณหพลศาสตร สมบัติทางอุณหพล

ศาสตรของของผสมเนื้อเดียว และระบบหลายสวนประกอบหลาย

สถานะ

Review of the first and second laws of thermodynamics,

availability analysis, equations of state, thermodynamic

property relations, third law of thermodynamics,

thermodynamics properties of homogeneous mixtures and

multiphase-multi-component systems

**195 860 กระบวนการถายโอนความรอนและมวลในการอบแหง 3 (3-0-6)

Thermal and Mass Transfer Processes in Drying

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

การถายโอนความรอนและมวลพรอมกันในตัวกลางพรุน สมบัติทาง

กายภาพและอุณหฟสิกสเมล็ดธัญพืช ทฤษฎีการอบแหงเมล็ดธัญพืช

การอบแหงชั้นบางและการอบแหงชั้นหนา การวิเคราะหการอบแหง

แบบเบดนิ่งและเบดเคลื่อนที่ ชนิดของเคร่ืองอบแหง การอบแหงดวย

พลังงานแสงอาทิตย การนําพลังงานกลับมาใชใหม แบบจําลองและการ

จําลองแบบระบบการอบแหง

Simultaneous heat and mass transfer in porous media,

thermo physical properties of grains, grain drying theory, thin

layer drying and deep-bed drying, analysis of fixed-bed and

moving bed drying, dryer types, solar drying, energy recovery,

modeling and simulation of drying systems

**195 861 การออกแบบอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน 3 (3-0-6)

Design of Heat Exchangers

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

การจําแนกอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน ทฤษฎีหลักมูลของอุปกรณ

แลกเปลี่ยนความรอน การกระจายของอุณหภูมิในสภาวะคงที่ การ

ออกแบบอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอนแบบครีบแผน การออกแบบ

อุปกรณแลกเปลี่ยนความรอนแบบเกลียวสวานและแบบเปลือกและทอ

ชวงเปลี่ยนแปลงในอุปกรณการแลกเปลี่ยนความรอนแบบขนานและ

แบบขวาง อุปกรณแลกเปลี่ ยนความรอนแบบอุณหภูมิต่ํ ามาก

~ 19 ~

Page 20: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนไมคงที่

Classification, fundamentals, steady-state temperature

profile, design of plate-fin heat exchangers, design of shell –

and – tube heat exchangers, transients in contra flow heat

exchanger and cross – flow heat exchangers, cryogenic heat

exchangers, variable heat transfer coefficients

**195 862 การพยากรณความตองการพลังงานและสถิติพลังงาน 3 (3-0-6)

Energy Demand Forecasting and Energy Statistics

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

การนิยามและวิธีการวัดพลังงานสะสมและการไหลของพลังงาน

โครงสรางและรูปแบบของสมดุลพลังงานชนิดตางๆ การอธิบายการใช

พลังงานจากกลุมผูใชพลังงานเปนหลัก การอธิบายและการวมตัวกันของ

พลังงานดั้งเดิม วิธีการทางสถิติและคณิตศาสตรในการทดสอบทฤษฎีทาง

เศรษฐศาสตรเบื้องตน วิธีการสําหรับการวิเคราะหความตองการพลังงาน

การคาดคะเนความตองการพลังงานดวยวิธีการทางสถิติและคณิตศาสตร

รูปแบบอนุกรมเวลา การบรรลุเปาหมายสําหรับการคาดคะเนความ

ตองการพลังงาน

Definition and measurements of energy stocks and flows,

structure and format of the various types of energy balance,

sect oral accounting of energy consumption by the major

energy consuming sectors, accounting and assembling of

traditional energy, basic econometric method, methodology

for demand analysis, econometric energy demand

forecasting, time series models, end-use approach for

demand forecasting

**195 863 ทฤษฎีราคาพลังงาน 3 (3-0-6)

Theory of Energy Price

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

ทฤษฎีผูบริโภค ทฤษฎีผูผลิต ทฤษฎีการตลาด หลักเศรษฐศาสตร

ของแหลงพลังงานสิ้นเปลือง การกําหนดราคาของแหลงพลังงานทดแทน

นโยบายการกําหนดราคาพลังงาน กฎหมายดานพลังงานและสิ่งแวดลอม

กรณีศึกษาเก่ียวกับการกําหนดราคาพลังงาน

Theory of the consumer, theory of the producer, theory

of the market, the economics of exhaustible energy

~ 20 ~

Page 21: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

resources, pricing of renewable energy resources, energy

pricing policy, energy and environmental laws, case studies

on energy pricing

**195 864 การผลิตไฟฟาและการใชประโยชน 3 (3-0-6)

Electrical Production and Utilization

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

การผลิตกระแสไฟฟา การจายไฟฟาและเคร่ืองมือประกอบ การ

ประยุกตอุณหพลศาสตรในการวิเคราะหวงจรแมเหล็กไฟฟา หมอแปลง

มอเตอร เคร่ืองกําเนิดไฟฟา เตาเผา การคิดพิกัดอัตรากระแสไฟฟา

การจัดการภาระและความตองการไฟฟา ประสิทธิภาพและศักยภาพ

สําหรับการอนุรักษ

Electricity generation, electrical distribution and

equipment, application of thermodynamics to the analysis of

electromagnetic circuits, transformers, motors, generators,

furnaces, electrical tariff, load and demand management,

efficiency and potential for conservation

**195 865 การวางแผนพลังงาน 3 (3-0-6)

Energy Planning

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

เคาโครงการใชพลังงาน ลักษณะระบบและความตองการขอมูล

สําหรับการวางแผน การวางแผนในการจัดหาพลังงาน รูปแบบและ

นโยบายพลังงานของประเทศ การคาดคะเนความตองการพลังงานใน

อนาคต

Energy scenarios, system characteristics and data

requirements for planning, energy supply planning, national

energy policy and model, projection of future energy

demand

*195 866 การจัดการพลังงานในอาคาร 3 (3-0-6)

Energy Management in Buildings

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

ภาพรวมของการใชพลังงานและกระบวนการทางพลังงานที่สําคัญ

ในอาคาร สภาวะแวดลอมภายในที่ตองการและการจัดการ สภาพอากาศ

~ 21 ~

Page 22: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

การแผรังสีของดวงอาทิตยและผลกระทบ การใชพลังงานของผูใช

ปลายทางและความตองการ แสงที่ได รับ ความรอนที่ได รับ และ

สมรรถนะทางความรอนของอาคาร

Overview of the significance of energy use and energy

processes in building, indoor environmental requirement and

management, climate, solar radiation and their influences,

end-use energy utilization and requirements, light gain, heat

gain and thermal performance of building envelope

*195 867 การอนุรักษพลังงานในอุตสาหกรรม 3 (3-0-6)

Industrial Energy Conservation

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

การจําลองระบบอุปกรณทางความรอน ปนชเทคโนโลยี ระบบการ

จายและการใชไอน้ํา การวิเคราะหประสิทธิภาพของระบบไอน้ํา การ

วิเคราะหประสิทธิภาพของระบบสูบน้ํา ระบบการจายและการใชอากาศ

อัด การวิเคราะหประสิทธิภาพของระบบอากาศอัด การทําความเย็นเพื่อ

กระบวนการผลิต

Modeling of thermal equipments, pinch technology,

steam distribution and utilization, steam system efficiency

analysis, pumping system efficiency analysis, compressed air

distribution and utilization, compressed air system analysis,

process cooling

**195 890 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมพลังงาน 3 (3-0-6)

Research Methods in Energy Engineering

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

แนะนํากระบวนการดําเนินการวิจัย การบรรยายและการสัมมนา

เก่ียวกับ ประเด็นการวิจัยที่เปนปจจุบัน เรียนรู การสืบคนขอมูล

ความรูพื้นฐานทางสถิติสําหรับงานวิจัย การเขียนขอเสนอโครงการ การ

เขียนบทความวิจัย การนําเสนอผลงานวิจัย

Introduction to research implementation process,

lectures and seminars on current issues in research, searching

information, basic statistics for research work, writing research

proposal, writing research paper, presenting research paper

~ 22 ~

Page 23: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

**195 897 การศึกษาอิสระ 6 หนวยกิต

Independent Study

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

นักศึกษาจะตองคนควาวิจัยและทําการศึกษาอิสระในหัวขอเร่ือง

ปจจุบันของการวิจัยและพฒันาในสาขาวิศวกรรมพลังงาน โดยหัวขอและ

ขอบ เขตของการ ศึกษาจะต อง ไ ด รับความ เ ห็นชอบจากคณะ

กรรมการบริหารหลักสูตร

Each student is required to carry out an independent

study on current research and development issues in the

field of energy engineering. Topics and scopes of the study

must be approved by the course committee

**195 899 วิทยานิพนธ 12 หนวยกิต

Thesis

เงื่อนไขของรายวิชา : ไมมี

นักศึกษาจะตองทําการศึกษา คนควา และวิจัยที่มีเนื้อหาเนนหนัก

ไปในทิศทางสาขาวิชาที่นักศึกษาเลือกเรียนภายใตการดูแลและ

คําแนะนําของคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

Students are required to conduct individual research on

their topic of interest in the selected area in energy

engineering under the supervision of the thesis committee

3.1 ชื่อ เลขประจําตัวบตัรประชาชน ตําแหนงและคุณวุฒิของอาจารย

3.2.1 อาจารยประจําหลักสตูร

ที่ ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัวบัตร

ประชาชน

ตําแหนงทาง

วิชาการ

คุณวุฒิ

1 นายธนากร วงศวฒันาเสถียร 3-3110-00006-83-4 รองศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

2 นายรัชพล สนัติวรากร 3-4299-00202-63-6 รองศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

~ 23 ~

Page 24: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

3 นายปุริมพัฒน สุจํานงคโตกุล 3-1017-01516-06-7 ผูชวยศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

4 นายสิริวชิญ เตชะเจษฎารังษ ี 3-3499-00207-81-7 ผูชวยศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

5 นางสุภัทรา ปลื้มกมล 3-1005-00427-70-8 ผูชวยศาสตราจารย วศ.ด. (วิศวกรรม

ระบบการผลิต)

หมายเหตุ รายละเอียดเก่ียวกับประวตัิ ผลงานทางวชิาการ และภาระงานสอน ใหดูในภาคผนวก

3.2.2 อาจารยประจํา

ที่ ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัวบัตร

ประชาชน

ตําแหนงทาง

วิชาการ

คุณวุฒิ

1 นางสาวกาญจนา เศรษฐนันท 3-4510-00266-57-6 รองศาสตราจารย Ph.D.

(Industrial

Engineering)

2 นายกิตตชิัย ไตรรัตนศิริชัย 3-4099-00680-30-9 รองศาสตราจารย Ph.D. (Machine

Design)

3 นายชัยศิลป ชินพรเจริญพงศ 3-4099-01154-56-2 รองศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

4 นายธนากร วงศวฒันาเสถียร 3-3110-00006-83-4 รองศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

5 นายบุญสราง ดิเรกสถาพร 3-8499-00145-61-2 รองศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

6 นายรัชพล สนัติวรากร 3-4299-00202-63-6 รองศาสตราจารย Ph.D .

(Mechanical

Engineering)

7 นายสมนึก ธีระกุลพิศุทธิ ์ 3-1016-00372-44-2 รองศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

8 นายสมหมาย ปรีเปรม 3-3499-00301-20-1 รองศาสตราจารย Ph.D.(Combusti

on)

~ 24 ~

Page 25: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

9 นายสจุินต บุรีรัตน 3-4601-01049-93-6 รองศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

10 นางสุภาวดี สวัสดิพรพลัลภ 3-4099-00535-59-7 รองศาสตราจารย M.Eng.

(Instrumentation

Engineering)

11 นายสุรสิทธิ์ ปยะศิลป 3-4099-01099-42-1 รองศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

12 นายอนสุรณ ชินสุวรรณ 3-7206-00324-23-9 รองศาสตราจารย วศ.ด. (วิศวกรรม

พลังงาน)

13 นายกิตติพงษ ตันมิตร 3-4099-00972-31-8 รองศาสตราจารย วศ.บ.

(วิศวกรรมไฟฟา)

ที่ ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัวบัตร

ประชาชน

ตําแหนงทาง

วิชาการ

คุณวุฒิ

14 นายอินทรชิต หอวิจิตร 3-4099-00542-22-4 รองศาสตราจารย M.Eng.

(Mechanical

Engineering)

15 นายเกียรติฟา ตั้งใจจติ 3-6599-00448-71-4 ผูชวยศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

16 นางจฬุาภรณ เบญจปยะพร 3-3407-00771-19-2 ผูชวยศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

17 นายฉัตรชัย เบญจปยะพร 3-4005-00462-59-4 ผูชวยศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

18 นายชนกนนัท สุขกําเนิด 3-1201-01716-66-8 ผูชวยศาสตราจารย Ph.D.

(Bioresources

utilization and

exploration)

~ 25 ~

Page 26: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

19 นายเดนพงษ สุดภักด ี 3-8604-00340-98-1 ผูชวยศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

20 นายปโยรส จิระวัฒนา 3-3101-00731-04-1 ผูชวยศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

21 นายปุริมพัฒน สุจํานงคโตกุล 3-1017-01516-06-7 ผูชวยศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

22 นายสมโภชน สุดาจันทร 3-4099-00352-69-7 ผูชวยศาสตราจารย วศ.ด. (วิศวกรรม

เกษตร)

23 นายสิริวชิญ เตชะเจษฎารังษ ี 3-3499-00207-81-7 ผูชวยศาสตราจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

24 นางสุธาสินี เนรมิตตกพงศ 3-3499-00871-59-8 ผูชวยศาสตราจารย D.Eng. (Chemical

Engineering)

25 นางสุภัทรา ปลื้มกมล 3-1005-00427-70-8 ผูชวยศาสตราจารย วศ.ด. (วิศวกรรม

ระบบการผลิต)

26 นายอาคม แกวระวัง 3-3015-00993-33-8 ผูชวยศาสตราจารย Ph.D. (Science

and

Technology)

ที่ ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัวบัตร

ประชาชน

ตําแหนงทาง

วิชาการ

คุณวุฒิ

27 นางสาวขนษิฐา คําวิลัยศักดิ ์ 3-4099-00970-79-0 อาจารย Ph.D. (Chemical

and Process

Engineering)

28 นายเขมจิต เสนา 3-1021-01268-61-6 อาจารย ปร.ด.

(วิศวกรรมเคร่ือง

กล)

29 นายชัชวาล อัยยาธิต ิ 3-3416-01160-27-7 อาจารย Dr.-Ing

(Environmental

Engineering )

~ 26 ~

Page 27: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

30 นายนําพล มหายศนนัท 3-5006-00235-85-8 อาจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

31 นางสาวปานหทัย บัวศรี 3-4099-00536-93-3 อาจารย Ph.D.

(Electrical

Engineering)

32 นายอนชุา แสงรุง 3-4399-00181-27-2 อาจารย Ph.D. (Electrical

Engineering )

33 นายอัครพล จันทรออน 3-4106-00473-48-2 อาจารย Ph.D.

(Mechanical

Engineering)

34 นางสาวอัญชลี แสงซาย 3-4599-00220-12-0 อาจารย Ph.D. (Material

Science)

3.2.3 อาจารยพิเศษ

-

4 องคประกอบเกี่ยวกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน)

-

5 ขอกําหนดเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ

5.1 คําอธิบายโดยยอ

การทําวิจัยวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ เก่ียวกับวิศวกรรมพลังงาน โดยใหมีการดําเนินการ การเสนอเคาโครง การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เก่ียวของ การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การเรียบเรียงผลการวิจัย การเสนอผลการวิจัยในรูปบทความตีพิมพในวารสารหรือเผยแพรในการประชุมวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู

5.2.1 มีความรูและทักษะดานวิศวกรรมพลังงาน และการวิจัย

5.2.2 มีทักษะการทํางานดานวศิวกรรมพลังงาน

5.2.3 มีการพัฒนาดานทัศนคต ิคุณธรรม จริยธรรม บุคลิกภาพ

5.3 ชวงเวลา

แผน ก แบบ ก 2 เร่ิมทําวิทยานิพนธตัง้แต ภาคการศึกษาปลาย ของปการศึกษาที่ 1

แผน ข เร่ิมทําการศึกษาอิสระตั้งแต ภาคการศึกษาปลาย ของปการศึกษาที่ 1

5.4 จํานวนหนวยกิต

แผน ก แบบ ก 2 วิทยานพินธ จํานวน 12 หนวยกิต

แผน ข การศึกษาอิสระ จํานวน 6 หนวยกิต

5.5 การเตรียมการ

กําหนดใหมีระบบคณะกรรมการและอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ จัดคาบเวลาเขา

~ 27 ~

Page 28: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

พบอาจารยที่ปรึกษา ใหคําแนะนําปรึกษาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระแกนักศึกษา เชน การเลือกหัวขอเร่ือง การแนะนําแหลงขอมูล การจัดตารางเวลาเขาพบ/ใหคําปรึกษา การเตรียมอุปกรณเคร่ืองมือ และกําหนดใหมีการเตรียมความพรอมกอนการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ การศึกษางานวิจัยที่เคยมีมากอน การนําเสนอหัวขอ

5.6 กระบวนการประเมินผล

เปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 หมวดที่ 8

ทุกขอ หรือ ระเบียบที่จะปรับปรุงใหม

หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธหรือกิจกรรมการดําเนินการ

จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีการใหความรูถึงผลกระทบตอสังคม และขอกฎหมาย

ที่เก่ียวของกับการกระทําความผิดเก่ียวกับวิศวกรรม

ดานภาวะผูนํา และความรับผิดชอบ

ตลอดจนมวีินยัในตนเอง

- กําหนดใหมีรายวิชาซึ่งนักศึกษาตองทํางานเปนกลุม

และมีการกําหนดหัวหนากลุมในการทํารายงาน

ตลอดจนกําหนดใหทุกคนมีสวนรวมในการทําสื่อการ

นําเสนอและนําเสนอรายงาน เพื่อเปนการฝกให

นักศึกษาไดสรางภาวะผูนําและการเปนสมาชิกกลุมที่ดี

- มีกิจกรรมนักศึกษาที่มอบหมายใหนักศึกษา

หมุนเวียนกันเปนหัวหนาในการดําเนินกิจกรรม เพื่อฝก

ใหนักศึกษามีความรับผิดชอบ

- มีกติกาที่จะสรางวินัยในตนเอง เชน การเขาเรียนตรง

เวลาเขาเรียนอยางสม่ําเสมอการมีสวนรวมในชั้นเรียน

เสริมความกลาในการแสดงความคิดเห็น

ดานบุคลิกภาพ มีการสอดแทรกเร่ือง การแตงกาย การเขาสังคม

เทคนิคการเจรจาสื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธที่ดี การ

บรรยายตอสาธารณะ และการวางตัวในการทํางานใน

บางรายวิชาที่เก่ียวของ

2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน

2.1 คุณธรรมและจริยธรรม

2.1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรมและจริยธรรม

(1) สามารถจัดการปญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเปนผูนําหรือมี

สวนริเร่ิมใหมีการทบทวนและวินิจฉัยปญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพไดอยาง

เหมาะสมตามสถานการณ

(2) มีภาวะผูนําในการสงเสริมใหมีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของ

~ 28 ~

Page 29: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

บัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดแก การมีวินัย ซื่อสัตย รับผิดชอบตอตนเองและสังคม เขาใจ

ในความแตกตางหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจใน

ทองถ่ิน สถาบันและประเทศชาต ิ

2.1.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรมและจริยธรรม

(1) สอดแทรกในเนื้อหาวิชาเรียน

(2) การเรียนรูจากสถานการณจริง การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนหรือในวิชาเรียน

(3) การสอนในรายวิชาสัมมนา วิชาวิจัย วิทยานิพนธ และการศึกษาอิสระ

2.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรมและจริยธรรม

(1) ประเมินพฤติกรรมโดยเพื่อนักศึกษา อาจารยที่ปรึกษา อาจารยผูสอน

(2) ประเมินคุณลักษณะมหาบัณฑิต โดยผูใชบัณฑิต

2.2 ความรู

2.2.1 ผลการเรียนรูดานความรู

(1) มีความรูความเขาใจอยางลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสําคัญในสาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน

และสามารถนํามาประยุกตในการศึกษาคนควาทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ

(2) สามารถทําการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพไดอยางลึกซึ้ง โดยการพัฒนา

ความรูใหมๆ หรือการประยุกตวิธีปฏิบัติงานใหมๆ ได

(3) มีความรูความเขาใจในพัฒนาการใหมๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบตอการ

พัฒนาความรูใหมหรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปจจุบันและการ

เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดข้ึนในอนาคต

(4) ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ขอบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตาม

สถานการณทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

2.2.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานความรู

(1) การสอนหลายรูปแบบในรายวิชาตามหลักสูตร ไดแก การบรรยาย อภิปราย การจัดกิจกรรม

การเรียนรู การใหศึกษาคนควาดวยตนเอง

(2) การฝกปฏิบัติ การทาํวิจัย วทิยานิพนธ และการศึกษาอิสระ

(3) การศึกษาดูงาน การเขารวมประชุมสัมมนา

2.2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู

(1) ประเมินผลการเรียนรูจากการเรียนรายวชิา โดยการสอบขอเขียน สอบภาคปฏิบัติ การทาํ

แบบฝกหัด การทํารายงาน การนําเสนอรายงานในการประชุมวชิาการ

(2) ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผูใชบัณฑิต

2.3 ทักษะทางปญญา

2.3.1 ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

(1) สามารถสังเคราะหและประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาวิศวกรรม

พลังงาน และพัฒนาความรูหรือแนวความคิดใหมๆโดยบูรณาการเขากับความรูเดิมไดอยาง

สรางสรรค

~ 29 ~

Page 30: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

(2) สามารถดําเนินโครงการศึกษาที่สําคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการไดดวยตนเอง และหา

ขอสรุปที่สมบูรณเพื่อขยายองคความรูหรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพไดอยางมีนัยสําคัญ

2.3.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

(1) การสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ

(2) การใหศึกษาคนควาดวยตนเอง การสัมมนา การทํารายงาน การทําวิจัย วิทยานิพนธ

การศึกษาอิสระ

2.3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

(1) ประเมินผลการเรียนรูจากการเรียนรายวิชา

(2) ประเมินผลงานจากการทําการศึกษาคนควาดวยตนเอง การโครงงาน การทําวิจัย วิทยานิพนธ

การศึกษาอิสระ

(3) ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผูใชบัณฑิต

2.4 ทักษะความสัมพันธระหวางบคุคลและความรับผิดชอบ

2.4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

(1) มีภาวะผูนํา รับผิดชอบในการดําเนินงานของตนเอง และรวมมือกับผูอ่ืนในการจัดการขอ

โตแยงหรือปญหาทางวิชาการไดอยางเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ เพื่อเพิ่มพูน

ประสิทธิภาพการทํางานของกลุม

(2) มีความรับผิดชอบในการเรียนรู รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองใหมีประสิทธิภาพใน

การทํางานระดับสูงได

2.4.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ

รับผิดชอบ

(1) การสอนในรายวชิาตางๆ ตามหลักสูตร โดยเนนการทํางานเปนกลุม

(2) การจัดใหมีรายวิชาสัมมนา การทําวิจัย วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ

2.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

(1) ประเมินผลการเรียนรูจากรายวชิาตางๆ ที่มีการสงเสริมใหทํางานกลุม

(2) ประเมินผลการเรียนรายวิชาสัมมนา การทาํวิจัย วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ

(3) ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผูใชบัณฑิต

2.5 ทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.5.1 ผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) มีความสามารถในการใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตรหรือกระบวนการวิจัย

ในการคิดวิเคราะหหรือแกปญหาการปฏิบัติงานหรือปญหาทางวิชาการที่สลับซับซอนได

(2) มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหา

ความรูดวยตนเอง และการสรางสรรคผลงานทางวิชาการในรูปแบบตางๆเพื่อประโยชนในการ

เรียนรูของผูอ่ืนได

2.5.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร

~ 30 ~

Page 31: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

และเทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) การสอนในรายวชิาวิจยั หรือสถิติ วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ

(2) การเรียนรูดวยตนเองผานระบบ e-Learning

(3) การเรียนรูจากการใชเทคโนโลยสีารสนเทศในการผลิตผลงานวจิยัในรูปแบบตางๆ

2.5.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) ประเมินผลการเรียนรูจากการเรียนรายวชิาวิจัย หรือสถิติ วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ

(2) ประเมินผลการเรียนรูจากผลิตผลงานการวิจัยเพื่อนําเสนอในรูปแบบตางๆ เชน โปสเตอร

บทความ สื่อตางๆ

(3) ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผูใชบัณฑิต

3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum

Mapping)

แสดงตารางแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา ตาม

ตัวอยางในประกาศของมหาวทิยาลัย โดยใหใสเปนเอกสารแนบทายหมายเลข 1

หมวดที่ 5. หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดบัคะแนน

เปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 หมวดที่ 7

หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา

อาจารยผูสอนแตละรายวิชา ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดย

2.1 เทียบเคียงผลการเรียนของนักศึกษาที่เรียนในรายวิชา ซึ่งอาจเปน ตางกลุม ตางชั้นป ตางคณะ แลว

แตกรณี เพื่อนําผลมาใชในการปรับปรุงรายวิชา

2.2 ทบทวนเนื้อหารายวิชาทุกปการศึกษา โดยอาจพิจารณารวมกับอาจารยผูสอนรายวิชาอ่ืนที่มีเนื้อหา

ใกลเคียงกัน เพื่อไมใหเกิดความซ้ําซอน หรือใหเกิดความสัมพันธและตอเนื่อง แลวแตกรณี และทบทวนเนื้อหาโดย

เทียบเคียงกับรายวิชาของสถาบันอ่ืน หรือเทียบเคียงกับตําราหรือบทความทางวิชาการหรือผลการวิจัย เพื่อใหเกิด

การพัฒนาเนื้อหาใหทันสมัยและมีมาตรฐานทางวิชาการ

2.3 ทบทวนและวิเคราะหจากผลงานการทําวทิยานพินธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา

3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

เปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 หมวดที่ 9

ขอ 54.2 หรือระเบียบที่จะที่ปรับปรุงใหม และ

3.1 แผน ก แบบ ก 2 นักศึกษาตองตีพิมพผลงานที่ไดมาจากการทําวิทยานิพนธ หรือเปนสวนหนึ่งของ

~ 31 ~

Page 32: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

วิทยานิพนธอยางนอย 1 บทความ โดย

3.1.1 ตองตีพิมพหรือไดรับการตอบรับใหตีพิมพ โดยมีกรรมการภายนอกกลั่นกรอง (Peer Review)

กอนการตีพิมพ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยูในฐานขอมูลที่ไดรับการยอมรับจากสากล อยางนอย 1

บทความ หรือ

3.1.2 ตองตีพิมพหรือไดรับการตอบรับใหตีพิมพ โดยมีกรรมการภายนอกกลั่นกรอง (Peer Review)

กอนการตีพิมพ ในวารสารวิชาการที่อยูในฐานขอมูล Thai-Journal Citation Index Centre (TCI) อยางนอย 1

บทความ หรือ

3.1.3 นําเสนอผลงานตอการประชุมวิชาการที่มีเอกสารประกอบการประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ

อยางนอย 1 บทความ

3.2 แผน ข นักศึกษาตองตีพิมพหรือไดรับการตอบรับใหตีพิมพเพื่อเผยแพรผลงานที่ไดมาจากการ

ทําการศึกษาอิสระ หรือเปนสวนหนึ่งของการศึกษาอิสระ อยางนอย 1 บทความ

หมวดที่ 6. การพัฒนาคณาจารย

1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม

1.1 การใหเขารับการอบรมตามหลักสูตร “การพัฒนาอาจารยใหม” ของมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนหลักเกณฑให

อาจารยใหมทุกคนตองเขารับการอบรม ใหมีความรูความเขาใจเก่ียวกับหลักสูตรและการบริหารวิชาการของ

มหาวิทยาลัย บทบาทหนาทีข่องอาจารยมหาวิทยาลัยและจรรยาบรรณครู และใหมีทักษะเก่ียวกับการจัดการเรียน

การสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การสอนสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม และการสอนโดยใชสื่อ

1.2 การมอบหมายใหมีอาจารยพี่เลี้ยงทําหนาที่ใหคําแนะนําและเปนที่ปรึกษาในดานการจัดการเรียนการสอน

1.3 การชี้แจงและแนะนําหลักสูตร รายวิชาในหลักสูตร

1.4 การมอบหมายใหอาจารยใหมศึกษาคนควา จัดทําเอกสารที่เก่ียวของกับการสอน ในหัวขอหนึ่งหรือหลาย

หัวขอที่อาจารยใหมมีความรูและถนัด เพื่อทดลองทําการสอนภายใตคําแนะนําของอาจารยพี่เลี้ยง หรือประธาน

บริหารหลักสูตร

1.5 การกําหนดใหอาจารยใหมเขารวมสังเกตการณการสอนของอาจารยในหลักสูตร

1.6 ควรใหอาจารยใหมไดรับคําแนะนําในดานการทําวิจัย และการเปนอาจารยทีป่รึกษาดวย

2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกอาจารย

2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล

(1) กําหนดใหอาจารยตองเขารับการอบรมเพื่อพัฒนาตนเองดานการจัดการเรียนการสอน การวัดและ

การประเมินผล ตามความตองการของอาจารย และเปนไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัย ซึ่งมหาวิทยาลัยมีการเปด

หลักสูตรอบรมเพื่อพัฒนาอาจารยในหัวขอตางๆ ที่เก่ียวของกับการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การผลิตผลงาน

ทางวิชาการ เปนประจําทุกป

(2) การจัดใหมีการสอนแบบเปนทีม ซึ่งจะสงเสริมโอกาสใหอาจารยไดมีประสบการณการสอนรวมกับคน

อ่ืน รวมถึงการมีโอกาสไดเปนผูรับผิดชอบรายวิชา ผูประสานงาน และผูรวมทีมการสอน

(3) การสงเสริมหรือสรางโอกาสใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณดานการจัดการเรียนการสอน

ระหวางอาจารยในหลักสูตร หรือทําวิจัยการเรียนการสอนที่สามารถนําไปเผยแพรในการประชุมวิชาการที่มีการ

~ 32 ~

Page 33: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

จัดการเรียนการสอนในสาขาวชิาเดียวกันของหลายๆ สถาบัน

2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอ่ืนๆ

(1) การสงเสริมใหอาจารยเขารวมการอบรม การประชุมสัมมนาในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพที่จัดทั้ง

ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย อยางนอยปละ 1 คร้ัง

(2) การสงเสริมใหอาจารยผลิตผลงานทางวิชาการในรูปแบบตางๆ และการนําเสนอผลงานในการประชุม

วิชาการในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ อยางนอยใหมีผลงานการเขียนหรือการนําเสนอปละ 1 เร่ือง

หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพหลักสูตร

1. การบริหารหลักสูตร

การจัดการหลักสูตรของมหาวิทยาลัยขอนแกน กําหนดใหทุกหลักสูตรมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ซึ่ง

ตองทําหนาที่ดังนี้

1.1 พัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรและรายวิชาใหมีความทันสมัยอยูเสมอ

1.2 จัดหาและกําหนดอาจารยผูสอนรายวิชาในหลักสูตร ที่มีความรูความสามารถและคุณสมบัติตรงตาม

รายวิชาที่สอน

1.3 จัดตารางการเรียนการสอน ตารางสอบ ตารางการฝกปฏิบัติ ตามที่กําหนดในหลักสูตร

1.4 ควบคุม กํากับ ติดตาม และประเมินผลการจัดการเรียนการสอนของอาจารยใหมีคุณภาพและเปนไปตาม

วัตถุประสงคของหลักสูตรและรายวิชา

1.5 การกําหนดอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระที่มีความรูความสามารถตามหัวขอที่

นักศึกษาสนใจ และกํากับติดตามใหการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเปนไปตามเปาหมาย

1.6 สงเสริมและจัดใหมีการพัฒนาคุณภาพของอาจารยดวยวิธีการตางๆ เชน การจัดประชุมวิชาการ การ

สงเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการ

1.7 สงเสริมและจัดใหมีการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตตามเปาหมายคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคของหลักสูตร

1.8 ติดตามผลหลักสูตร โดยศึกษาจากผูมีสวนไดสวนเสีย เชน ผูใชบัณฑิต ศิษยเกา อาจารยและนักศึกษา

ปจจุบัน

2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน

2.1 การบริหารงบประมาณ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตร จัดทําแผนการใชจายงบประมาณประจําป จากงบประมาณที่ไดรับจัดสรร

จากคณะ/วิทยาลัย/วิทยาเขต โดยมีการจัดแบงคาใชจายดังนี้ คาวัสดุตําราและสื่อการเรียนการสอน คาครุภัณฑ

คาใชจายในการพัฒนาอาจารย คาใชจายในการพัฒนานักศึกษา ฯลฯ

2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยูเดิม

2.2.1 ทรัพยากรการเรียนการสอนในสํานักวิทยบริการ

(1) หนังสือ

- ภาษาอังกฤษ จํานวน 2,124 รายการ

- ภาษาไทย จํานวน 2,006 รายการ

(2) วารสาร

~ 33 ~

Page 34: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

- ภาษาอังกฤษ จํานวน 25 รายการ

- ภาษาไทย จํานวน 35 รายการ

2.2.2 ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส (e-Books, e-Journals, etc.) ประกอบดวย

(1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-books) จํานวน 7 ฐาน

- E-books ภาษาไทย สาขาวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ี

- Matichonelibrary

- E-book on Science Direct

- Knovel

- Net Library Ebooks

- Springkerlink Ebooks

- Grolier Online

(2) วารสารอิเล็กทรอนิกส (E-Journals) จํานวน 14 ฐาน

- Springerlink

- Scopus

- JCR- Journal Citation Report

- ISI Web of Science

- Science Direct

- Academic Search Elites

- CHE Pdf Dissertation Fulltext

- H.W. Wilson On Web

- Oxford Journal Online

- ASME

- Annual Review

- ACM Digital Library

- AIP

- IEEE Explorer

2.3 ทรัพยากรการเรียนการสอนในภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล

สถานที่

ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มีพื้นที่สําหรับการเรียนการสอน และ พื้นที่ใชสอยของนักศึกษาดังนี้

หองสํานักงานภาควชิาวิศวกรรมเคร่ืองกล 1 หอง

หองบรรยาย 7 หอง

~ 34 ~

Page 35: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

- หอง EN 7210 ขนาดไมเกิน 30 ที่นั่ง (8 เมตร x 8 เมตร) = 64 ตารางเมตร

- หอง EN 7211 ขนาดไมเกิน 30 ที่นั่ง (8 เมตร x 8 เมตร) = 64 ตารางเมตร

- หอง EN 7212 ขนาดไมเกิน 30 ที่นั่ง (8 เมตร x 8 เมตร) = 64 ตารางเมตร

- หอง EN 7213 ขนาดไมเกิน 50 ที่นั่ง (8 เมตร x 10 เมตร) = 80 ตารางเมตร

- หอง EN 7108 ขนาดไมเกิน 80 ที่นั่ง (12 เมตร x 8 เมตร) = 96 ตารางเมตร

- หอง EN 10201 ขนาดไมเกิน 100 ที่นั่ง (9 เมตร x 18 เมตร) = 162 ตารางเมตร

- หอง EN 10203 ขนาดไมเกิน 50 ที่นั่ง (9 เมตร x 9 เมตร) = 81 ตารางเมตร

หองประชุม-สัมมนา 3 หอง

หองพักนักศึกษา 8 หอง

หองปฏิบัติการทางกลศาสตรของไหล 1 หอง

หองปฏิบัติการวิศวกรรมยานยนต 4 หอง

หองปฏิบัติการทางอุณหพลศาสตร และการถายโอนความรอน 3 หอง

หองปฏิบัติการทางพลศาสตร 4 หอง

หองปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรม 3 หอง

หองปฏิบัติการทางดานอ่ืนๆ 4 หอง

อุปกรณการสอน

1. Fluid Mechanics Lab

Centrifugal Pump Test Set 1 เคร่ือง

Friction Loss in Pipe 1 เคร่ือง

2. Automotive Lab

2.1 Engine Test Bed

Gasoline Engine Test Bed 1 เคร่ือง

Diesel Engine Test Bed 1 เคร่ือง

2.2 Exhaust Gas Analyzer & Smoke Detector 1 เคร่ือง

2.3 Air Compressor Test Set 1 เคร่ือง

2.4 Sectioned Engine

Sectioned Working Ignition 1 เคร่ือง

Sectioned Turbo Charger 1 เคร่ือง

Sectioned Disc Brake 1 เคร่ือง

Sectioned Drum Brake 1 เคร่ือง

Sectioned Overdrive 1 เคร่ือง

Sectioned Automatic Gearbox

Sectioned Manual Gearbox

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

Sectioned Working Ignition 1 เคร่ือง

~ 35 ~

Page 36: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

Sectioned steering Mechanism 1 เคร่ือง

Working Hydraulic Disc/Drum Brake 1 เคร่ือง

Sectioned Voltage Regulator 1 เคร่ือง

Sectioned Hybrid Engine 1 เคร่ือง

3. Thermodynamics & Heat Transfer Lab

3.1 Heat Conduction Set 1 เคร่ือง

3.2 Heat Radiation Set 1 เคร่ือง

3.3 Refrigeration Unit 1 เคร่ือง

3.4 Air Condition Unit

Window Type 1 เคร่ือง

Chiller Air Condition Test Set

Air & Heat Pump Test Set

Bomb calorimeter

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

4. Dynamics Lab

4.1 Balancing Machine 1 เคร่ือง

4.2 Vibration Test Set 1 เคร่ือง

5. Materials Testing Lab

5.1 Tensile Test Set 1 เคร่ือง

5.2 Hardness Tester

Rock Well Hardness Tester

Brinell Hardness Tester

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

Vickers Hardness Tester 1 เคร่ือง

5.3 Torsion Test Set 1 เคร่ือง

5.4 Fatigue Test Set

Fatigue Test Set(by weight) 1 เคร่ือง

Fatigue Test Set(by spring) 1 เคร่ือง

6. Lab อ่ืนๆ

6.1 Material Test Set

Spectrometer Test Set 1 เคร่ือง

Polishing Machine Set

Structure Test Set

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

Hardening Oven Unit 1 เคร่ือง

Impact Test Set 1 เคร่ือง

Cam Analysis Test Set 1 เคร่ือง

~ 36 ~

Page 37: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

Warm Gear Test Set 1 เคร่ือง

Viscometer Test Set 1 เคร่ือง

6.2 Thermal Test Set

Two Phase Heat Transfer Test Set

Heat Transfer Test Set

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

Vortex Tube Test Set

Solar Hot Water Heater

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

6.3 Process Control Test Set

Flow Control by Pneumatic System 1 เคร่ือง

Pressure Control Test Set 1 เคร่ือง

Temperature Control Test Set

Pendulum Control System

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

Level control& servo control test set 1 เคร่ือง

Pressure& forcing sensor test set

Hydraulic Test Set

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

Manufacturing Process Demonstration Set 1 เคร่ือง

6.4 Manufacturing Process Set

Lathe & Milling CNC Machine 1 เคร่ือง

Manual Lathe

Rapid Prototype Set

KUKA Robot

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

6.5 Calibration Test Set

Gas Dead Weight Tester 1 เคร่ือง

Hydraulic Dead Weight Tester 1 เคร่ือง

Temperature ,Humidity &Dew Point Recorder 1 เคร่ือง

Relative Humidity Generator

Temperature Calibration Bath

Dry-Well Calibrator

Dry Block Calibrator

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

1 เคร่ือง

2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่ิมเติม

คณะกรรมการบริหารหลักสูตร สํารวจความตองการของผูสอน และ วางแผนงบประมาณ เพื่อจัดหา

ทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม ตามปงบประมาณ

2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร

คณะกรรมการบริหารหลักสูตร สํารวจความตองการของผูสอน และ ผูเรียน เพื่อดําเนินการจัดหา ตาม

~ 37 ~

Page 38: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

ปงบประมาณ

3. การบริหารคณาจารย

3.1 การรับอาจารยใหม

การคัดเลือกและรับอาจารยใหม เปนไปตามขอบังคับและระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน ที่เก่ียวของกับ

การบริหารงานบุคคล

3.2 การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร

คณาจารยทุกคนในหลักสูตร มีสวนรวมในการกําหนดแผนการจัดการเรียนการสอนในแตละภาค

การศึกษา การทบทวนเนื้อหารายวิชา การแลกเปลี่ยนขอมูลเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน คุณภาพและ

พฤติกรรมของนักศึกษา การวัดและประเมินผลฯลฯ โดยการจัดใหมี การประชุมกอน การเปดภาคการศึกษา และ

กอนการ ปดภาคการศึกษา

3.3 การแตงตั้งคณาจารยพิเศษ

หลักสูตรมีการเชิญอาจารยพิเศษที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เชน สถาบันการศึกษาอ่ืน ภาคเอกชน

หนวยงานของรัฐ ฯลฯ มาสอน เปนอาจารยที่ปรึกษารวม กรรมการสอบวิทยานิพนธ และ การศึกษาอิสระของ

นักศึกษา เพื่อใหนักศึกษาไดมี ความรูเฉพาะทางเก่ียวกับวิศวกรรมพลังงาน เรียนรูจากผูมีประสบการณตรง ฯลฯ

4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน

4.1 การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสาํหรับตําแหนง

การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะตําแหนง เปนไปตามขอบังคับและระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน ที่เก่ียวของ

กับการบริหารงานบุคคล

4.2 การเพ่ิมทักษะความรูเพ่ือการปฏิบัติงาน

การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนของหลักสูตรนี้ ดําเนินการโดย การใหเขารับการฝกอบรม การทัศน

ศึกษา ทําวิจัยรวมกับอาจารย การผลิตผลงานทางวิชาการ

5. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา

5.1 การใหคําปรึกษาดานวิชาการและอ่ืนๆ แกนักศึกษา

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีการแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการใหแกนักศึกษาทุกคน เพื่อทํา

หนาที่ใหคําปรึกษาแนะนําดานการเรียน โดยอาจารยหนึ่งคนตอนักศึกษา 5-10 คน และอาจารยตองกําหนดชั่วโมง

ใหคําปรึกษาแกนักศึกษา อยางนอยสัปดาหละ 3 ชั่วโมง และ การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหรือ

การศึกษาอิสระ ตามเกณฑมาตรฐานและระเบียบของมหาวิทยาลัย

5.2 การอุทธรณของนักศึกษา

การอุทธรณของนักศึกษา เปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยที่เก่ียวของกับการอุทธรณโทษสําหรับ

นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (เอกสารแนบทายหมายเลข 7)

6. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต

การศึกษาความตองการของตลาดงาน สังคม และความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ดําเนนิการดังนี้

6.1 การสํารวจความตองการของตลาดงานและผูใชบณัฑิต กอนการปรับปรุงหลักสูตรทุกรอบ 5 ป

6.2 การสํารวจความพงึพอใจของผูใชบัณฑติ ทุกรอบการผลิตบัณฑติตามหลักสูตร

7. ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators)

~ 38 ~

Page 39: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

ตัวบงชี้ผลการดําเนินงานของหลักสูตร เปนไปตามตัวบงชี้ผลการดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน และเกณฑการประเมินประจําป และเปนไปตามระบบ

ประเมินผลการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่ งดํา เนินการทุกสิ้นปการศึกษา ผานระบบ

ออนไลน http://pe.kku.ac.th ซึ่งมีเกณฑการประเมินประกอบดวย 8 องคประกอบ 27 ตัวชี้วัด หรือองคประกอบ

วิชาชีพ (ถามี) และเปนไปตามระเบียบ/ประกาศที่จะปรับปรุงใหม (เอกสารแนบทายหมายเลข 8)

หมวดที่ 8. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร

1. การประเมินประสทิธิผลของการสอน

1.1 การประเมินกลยุทธการสอน

(1) การประชุมรวมของอาจารยในภาควิชา/สาขาวิชาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ขอคําแนะนํา

ขอเสนอแนะจากอาจารยที่มีความรูและประสบการณ หรือเพื่อนรวมงาน

(2) การแลกเปลี่ยนโดยสนทนากับนักศึกษา เพื่อสะทอนผลการจัดการเรียนการสอนในชวงของการเรียน

แตละรายวิชา

(3) การประเมินจากผลสัมฤทธิท์างการเรียนของนักศึกษา เปรียบเทียบพัฒนาการหรือความเปลี่ยนแปลง

ที่เกิดข้ึนจากการใชกลยุทธการสอนที่แตกตางกัน

(4) การทําวิจัยในชั้นเรียน เพื่อประเมินภาพรวมของการจัดการเรียนการสอนในแตละรายวิชาหรือกลุม

รายวิชา

1.2 การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน

(1) การประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา ทุกสิ้นภาคการศึกษา ตามระบบของ

มหาวิทยาลัย

(2) การประเมินการสอนของอาจารยโดยหัวหนาภาควิชา หรือประธานบริหารหลักสูตร หรือเพื่อน

รวมงาน ตามระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปของอาจารย/พนักงานสายผูสอน

2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม

2.1 การประเมินหลักสูตร โดยนักศึกษาปจจุบันและอาจารย เพื่อนําขอมูลมาทบทวนและปรับปรุงการจัดการ

แผนการเรียน การจัดการเรียนการสอน และเนื้อหารายวิชาที่อาจซ้ําซอน ไมทันสมัย ยาก/งาย เปนตน

2.2 การประเมินหลักสูตรโดยศิษยเกา เพื่อติดตามผลการนําความรูและประสบการณที่ไดรับจากการศึกษาใน

หลักสูตรไปใชในการทํางาน

2.3 การประเมินผลโดยผูใชบัณฑิต เพื่อสํารวจความพึงพอใจและความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากผูใช

บัณฑิต เก่ียวกับคุณภาพของบัณฑิตที่จบจากหลักสูตรนี้

3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร

การประเมินผลการจัดการหลักสูตรเปนไปตามตัวบงชี้ผลการดําเนินงานของหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิ เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน และเกณฑการประเมินประจําป และเปนไปตาม

ระบบประเมินผลการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ซ่ึงดําเนินการทุกสิ้นปการศึกษา ผานระบบ

ออนไลน http://pe.kku.ac.th ซึ่งมีเกณฑการประเมินประกอบดวย 8 องคประกอบ 27 ตัวชี้วัด หรือองคกร

~ 39 ~

Page 40: หลักสูตร ... 2 ป.โท...มคอ. 2 ว นท 13 ก มภาพ นธ 2555 สภามหาว ทยาล ย อน ม ต หล กส ตรในการประช

มคอ. 2

วิชาชีพ (ถามี) และเปนไปตามระเบียบ/ประกาศที่จะปรับปรุงใหม (ตามที่กําหนดไวในหลักสูตรนี้ หมวดที่ 7 ขอ 7)

4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง

4.1 อาจารยประจําวิชา อาจารยผูสอน นําผลการประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา

ผูบังคับบัญชา และหรือเพื่อนรวมงาน แลวแตกรณี มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาที่ตน

รับผิดชอบ

4.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรนําผลประเมินตามระบบการจัดการหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ซึ่ง

ดําเนินการทุกสิ้นปการศึกษามาทบทวนและวิเคราะห พรอมนําเสนอแนวทางปรับปรุงแกไขในจุดที่มีขอบกพรอง

สําหรับปการศึกษาถัดไป

4.3 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นําผลการประเมินภาพรวมของหลักสูตรโดยนักศึกษาปจจุบันและอาจารย

โดยศิษยเกา และโดยผูใชบัณฑิต เพื่อทบทวนและพิจารณาในการนําไปแกไขปรับปรุงหลักสูตร ตามรอบระยะเวลา

ที่กําหนดในระบบประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย

~ 40 ~