12
1 วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) ความเป็นมา ด้วยคณะวิเทศศึกษามีการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เพื่อสนองความต้องการของประเทศในด้านทรัพยากรบุคคล ด้านการค้าการลงทุน และการท่องเที่ยวระหว่าง ประเทศไทยกับประเทศเกาหลี หลักสูตรนี้ผลิตบัณฑิตมาแล้วหนึ่งรุ่น ขณะนี้มีนักศึกษาชั้นปีท่ 1-3 กาลังศึกษาอยู่ 69 คน นักศึกษาใหม่ที่แจ้งความจานงเข้าศึกษาในปีการศึกษา 2559 อีก 7 คน (นับถึงวันที่ 10 มิถุนายน 2559) สาขาวิชาวิเทศศึกษาได้ทาการศึกษาวิจัยสารวจความคิดเห็นที่นักศึกษาและศิษย์เก่าทั้งที่สาเร็จการศึกษาและไมสาเร็จการศึกษา (ตามเอกสารแนบ) เพื่อหาสาเหตุและปัจจัยที่มีผลต่อการลดลงของจานวนนักศึกษาในสาขาวิชาดังกล่าว พบว่า 1. ปัจจัยแรกคือ ค่าลงทะเบียนเรียนซึ่งผู้เรียนต้องจ่ายภาคการศึกษาละ 60,000 บาท รวม 10 ภาคการศึกษา โดยที่ในขณะนี้ สภาพทางเศรษฐกิจของประเทศอยู่ในระดับที่ทาให้เกิดปัญหาในการชาระค่าธรรมเนียมการศึกษาของ นักศึกษาจานวนมากขึ้น การจัดการหลักสูตรวิเทศศึกษาแบบเดิม นักศึกษาต้องใช้เงินจานวนมากในการไปศึกษาใน ประเทศเกาหลี เพราะต้องจ่ายทั้งค่าลงทะเบียนภาคฤดูร้อน และค่าใช้จ่ายส่วนตัวรวมทั้งค่าอาหารตลอดเวลาสองเดือนทีอยู่ในประเทศเกาหลีซึ่งผู้ปกครองไม่สามารถรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการศึกษาของบุตรได้ 2. ปัจจัยที่สองคือ ปัญหาความรู้พื้นฐานในสาขาวิชาที่เรียนของนักศึกษา ทาให้หลายคนสอบตกหรือผลการเรียน ต่า ปัญหาข้อนี้ทางคณะได้ดาเนินการปรับปรุงไปแล้ว โดยมีการปรับปรุงหลักสูตรในปีการศึกษา 2558 ให้มีวิชาพื้นฐาน ทางภาษาและวัฒนธรรมมากขึ้น เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว คณะวิเทศศึกษาเห็นว่า 1. เพื่อช่วยลดภาระในเรื่องค่าใช้จ่ายในการเรียน สมควรปรับแผนการศึกษา โดยยกเลิกการไปศึกษาณ ประเทศ เกาหลี และนาวิชาที่ต้องไปศึกษาในต่างประเทศ มาเปิดสอนในคณะ โดยกาหนดแผนการศึกษาเป็น 8 ภาคการศึกษา ไม่มี ภาคฤดูร้อน แต่จะใช้การให้ความช่วยเหลือในการไปทัศนศึกษาด้วยทุนส่วนตัว การเข้าร่วมกิจกรรมกับชาวเกาหลีที่อาศัย อยู่ในประเทศไทย ซึ่งคณะได้ดาเนินการอยู่แล้วบางส่วน ทั้งนี้อาจสามารถลดค่าใช้จ่ายลงได้มาก ทาให้ค่าธรรมเนียมถูกลง ประมาณหนึ่งในสาม 2. จากแผนการศึกษาที่จัดทามาใหม่ สามารถใช้กับหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา ปี 2558 ได้โดยสะดวก เพราะไม่ต้องลดหรือเพิ่มวิชาที่เรียนแต่อย่างใด (ดังในตารางเปรียบเทียบ) อีกทั้งการมีเวลาว่างในช่วงภาค ฤดูร้อน สามารถเปิดโอกาสให้คณะจัดให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์ร่วมกับเจ้าของภาษาในประเทศไทยหรือภาคใต้ได้มาก ขึ้น ปัจจุบันกลุ่มชาวเกาหลีในภูเก็ตและจังหวัดใกล้เคียง มหาวิทยาลัยคู่สัญญา และ KOICA ก็ให้ความช่วยเหลือในเรื่อง กิจกรรมเป็นอย่างดี แต่นักศึกษาไม่มีเวลาเข้าร่วมมากนัก เพราะหลักสูตรต้องเรียนตลอดเวลาเป็นเวลา 3 ปีครึ่ง

วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

1

วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสตูรปรับปรุง พ.ศ. 2558) ความเป็นมา

ด้วยคณะวิเทศศึกษามีการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เพื่อสนองความต้องการของประเทศในด้านทรัพยากรบุคคล ด้านการค้าการลงทุน และการท่องเที่ยวระหว่างประเทศไทยกับประเทศเกาหลี หลักสูตรนี้ผลิตบัณฑิตมาแล้วหนึ่งรุ่น ขณะนี้มีนักศึกษาชั้นปีที่ 1-3 ก าลังศึกษาอยู่ 69 คน นักศึกษาใหม่ที่แจ้งความจ านงเข้าศึกษาในปีการศึกษา 2559 อีก 7 คน (นับถึงวันที่ 10 มิถุนายน 2559) สาขาวิชาวิเทศศึกษาได้ท าการศึกษาวิจัยส ารวจความคิดเห็นที่นักศึกษาและศิษย์เก่าทั้งที่ส าเร็จการศึกษาและไม่ส าเร็จการศึกษา (ตามเอกสารแนบ) เพื่อหาสาเหตุและปัจจัยที่มีผลต่อการลดลงของจ านวนนักศึกษาในสาขาวิชาดังกล่าว พบว่า 1. ปัจจัยแรกคือ ค่าลงทะเบียนเรียนซึ่งผู้เรียนต้องจ่ายภาคการศึกษาละ 60,000 บาท รวม 10 ภาคการศึกษา โดยที่ในขณะนี้ สภาพทางเศรษฐกิจของประเทศอยู่ในระดับที่ท าให้เกิดปัญหาในการช าระค่าธรรมเนียมการศึกษาของนักศึกษาจ านวนมากขึ้น การจัดการหลักสูตรวิเทศศึกษาแบบเดิม นักศึกษาต้องใช้เงินจ านวนมากในการไปศึกษาในประเทศเกาหลี เพราะต้องจ่ายทั้งค่าลงทะเบียนภาคฤดูร้อน และค่าใช้จ่ายส่วนตัวรวมทั้งค่าอาหารตลอดเวลาสองเดือนที่อยู่ในประเทศเกาหลีซึ่งผู้ปกครองไม่สามารถรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการศึกษาของบุตรได้ 2. ปัจจัยที่สองคือ ปัญหาความรู้พื้นฐานในสาขาวิชาที่เรียนของนักศึกษา ท าให้หลายคนสอบตกหรือผลการเรียนต่ า ปัญหาข้อนี้ทางคณะได้ด าเนินการปรับปรุงไปแล้ว โดยมีการปรับปรุงหลักสูตรในปีการศึกษา 2558 ให้มีวิชาพื้นฐานทางภาษาและวัฒนธรรมมากข้ึน

เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว คณะวิเทศศึกษาเห็นว่า 1. เพื่อช่วยลดภาระในเร่ืองค่าใช้จ่ายในการเรียน สมควรปรับแผนการศึกษา โดยยกเลิกการไปศึกษาณ ประเทศเกาหลี และน าวิชาที่ต้องไปศึกษาในต่างประเทศ มาเปิดสอนในคณะ โดยก าหนดแผนการศึกษาเป็น 8 ภาคการศึกษา ไม่มีภาคฤดูร้อน แต่จะใช้การให้ความช่วยเหลือในการไปทัศนศึกษาด้วยทุนส่วนตัว การเข้าร่วมกิจกรรมกับชาวเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย ซึ่งคณะได้ด าเนินการอยู่แล้วบางส่วน ทั้งนี้อาจสามารถลดค่าใช้จ่ายลงได้มาก ท าให้ค่าธรรมเนียมถูกลงประมาณหนึ่งในสาม 2. จากแผนการศึกษาที่จัดท ามาใหม่ สามารถใช้กับหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา ปี 2558 ได้โดยสะดวก เพราะไม่ต้องลดหรือเพิ่มวิชาที่เรียนแต่อย่างใด (ดังในตารางเปรียบเทียบ) อีกทั้งการมีเวลาว่างในช่วงภาคฤดูร้อน สามารถเปิดโอกาสให้คณะจัดให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์ร่วมกับเจ้าของภาษาในประเทศไทยหรือภาคใต้ได้มากขึ้น ปัจจุบันกลุ่มชาวเกาหลีในภูเก็ตและจังหวัดใกล้เคียง มหาวิทยาลัยคู่สัญญา และ KOICA ก็ให้ความช่วยเหลือในเรื่องกิจกรรมเป็นอย่างดี แต่นักศึกษาไม่มีเวลาเข้าร่วมมากนัก เพราะหลักสูตรต้องเรียนตลอดเวลาเป็นเวลา 3 ปีครึ่ง

Page 2: วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

2

ขั้นตอนที่ได้ด าเนินการไปแล้ว 1. คณะวิเทศศึกษาชะลอการรับนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา ประจ าปีการศึกษา 2560 2. คณะกรรมการวิชาการประจ าคณะวิเทศศึกษามีมติเห็นชอบ การปรับปรุงแผนการเรียนการสอน และการ

จัดการหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2559

3. คณะกรรมการวิชาการวิทยาเขตภูเก็ต มีมติเห็นชอบ การปรับปรุงแผนการเรียนการสอน และการจัดการหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) โดยมติเวียน เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2559

ข้อมูลประกอบการพิจารณา 1. แบบส ารวจความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) 2. เอกสารเปรียบเทียบหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) และ แผนการศึกษาใหม่

ประเด็นเพื่อทราบ เพื่อทราบและให้ความเห็นในการปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) เพื่อเปิดสอนกับนักศึกษาในปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป

Page 3: วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

สรุปผลส ำรวจควำมคดิเห็นที่มต่ีอหลกัสูตรสำขำวเิทศศึกษำ (เกำหล)ี

ด้วยทางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต คณะวิเทศศึกษา มีนโยบายพัฒนา

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา วิชาเอกเกาหลีศึกษาและวิชาเอกวิเทศธุรกิจ: เกาหลี (หลักสูตรนานาชาติ) เพ่ือมุ่งตอบสนองต่อความต้องการของประเทศในการรองรับความเติบโตในด้านการค้าการลงทุน ตลาดแรงงาน และการท่องเที่ยว ซึ่งหลักสูตรเริ่มเปิดสอนในปีการศึกษา 2554 และมีบัณฑิตที่ส าเร็จการศึกษาในสองวิชาเอกในปีการศึกษา 2557 ในปัจจุบัน ปี 2558 จ านวนนักศึกษาทั้งสองสาขา มีดังต่อไปนี้

-นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีจ านวนนักศึกษาที่ศึกษาทั้งหมด 22 คน (จ านวนนักศึกษาแรกเข้า

ทั้งหมด 32 คน) จ านวนที่หายไป 10 คน -นักศึกษาชั้นปีที่ 2 มีจ านวนนักศึกษาที่ศึกษาทั้งหมด 28 คน (จ านวนนักศึกษาแรกเข้า

ทั้งหมด 43 คน) จ านวนที่หายไป 15 คน -นักศึกษาชั้นปีที่ 3 มีจ านวนนักศึกษาที่ศึกษาทั้งหมด 19 คน (จ านวนนักศึกษาแรกเข้า

ทั้งหมด 23 คน) จ านวนที่หายไป 4 คน -ในปีการศึกษา 2559 นักศึกษาที่แจ้งความจ านงเข้าศึกษา มีจ านวน 7 คน (ยังคงเหลือรอบเปิดรับสมัคร ในวันที่ 15 มิถุนายน 2559)

จากสภาวะทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อจ านวนนักศึกษาเข้าศึกษาในสาขาวิเทศศึกษา (เกาหลี) แตม่หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ตยังคงให้ความส าคัญกับการเรียนการสอนภาษาเกาหลีในมหาวิทยาลัย เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ที่เปิดสอนสาขาเกาหลี และจากสถิติ Admission ในปี 2559 ที่ผ่านมานั้น พบว่า 10 สาขาของแต่ละมหาวิทยาลัยที่ได้รับความนิยมในการเลือกศึกษาต่อประกอบด้วย สาขาเกาหลีของมหาวิทยาลัยบูรพา(อันดับที่ 3) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (อันดับที่ 4)และมหาวิทยาลัยนเรศวร(อันดับที่ 8)จากผลสถิติดังกล่าว ท าให้ทราบว่าสาขาวิชาภาษาเกาหลียังเป็นที่ต้องการของผู้เรียนที่ส าเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา นอกจากนั้นความสนใจด้านภาษาเกาหลียังได้ขยายขอบเขตจากระดับอุดมศึกษาไปสู่โรงเรียนมัธยมศึกษา และมีการบรรจุรายวิชาภาษาเกาหลีไว้ในหลักสูตรการศึกษา จากผลส ารวจจ านวนโรงเรียนที่เปิดการเรียนการสอนภาษาเกาหลีเป็นภาษาต่างประเทศในระดับมัธยม มีจ านวน 70 โรงเรียน (นักเรียน 20,745คน) ส่งผลให้คณะอนุกรรมการคัดเลือกฯเข้ามหาวิทยาลัย เสนอให้เพ่ิมการสอบแบบทดสอบความถนัดทาง

Page 4: วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

วิชาการ/วิชาชีพ หรือ แพตภาษาเกาหลี จากข้อมูลดังกล่าวทางสาขาให้ความส าคัญในการเร่งปรับปรุงหลักสูตรเพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและผู้ตอบแบบสอบถาม รวมไปถึงความต้องการของตลาดแรงงานในจังหวัดภูเก็ต ซึ่งขาดแคลนผู้มีความรู้ความสามารถทางภาษาเกาหลีในด้านการท่องเที่ยวรวมถึงอุตสาหกรรมอ่ืนๆที่ก าลังขยายตัวในอนาคต

จากข้อมูลข้างต้นนักศึกษามีจ านวนลดลงในแต่ละปี ท าให้สาขาวิเทศศึกษาต้องการศึกษา

สาเหตุและปัจจัยที่มีผลต่อการลดลงของจ านวนนักศึกษา โดยใช้วิธีส ารวจความคิดเห็นของผู้เรียนและนักศึกษาตกออก เพ่ือทราบถึงปัญหานั้นๆ

ผลการส ารวจพบว่าปัจจัยที่มีผลท าให้นักศึกษาตกออก อันดับแรกคือ ค่าลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา กล่าวคือ โครงสร้างหลักสูตรปัจจุบันผู้เรียนจะต้องเดินทางไปศึกษา ณ สาธารณรัฐเกาหลี ในช่วงภาคการศึกษาฤดูร้อน ซึ่งผู้เรียนต้องช าระค่าลงทะเบียน 60,000 บาทต่อภาคการศึกษา (ท้ังหมด 10 ภาคการศึกษา) รวมไปถึงค่าใช้จ่ายในขณะที่ศึกษาในต่างประเทศ จากสาเหตุดังกล่าว ท าให้ผู้ปกครองของผู้ตกออกไม่สามารถรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการศึกษาของบุตรได้ เนื่องจากหลายสาเหตุ เช่น ผู้ปกครองมีรายได้ไม่แน่นอน ภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน รวมถึงภาระอ่ืนๆ ของผู้ปกครอง อันดับที่สอง คือ ปัญหาด้านการเรียนของนักศึกษา ซึ่งมีสาเหตุมาจากนักศึกษามีความรู้พ้ืนฐานในสาขาวิชาที่เรียนน้อย สอบตกบางรายวิชาและผลการเรียนต่ า ขาดการวางแผนการเรียนที่ดีและเบื่อหน่ายการเรียน ส่งผลท าให้มีนักศึกษามีหลายราย พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา และในบางรายได้แก้ปัญหาโดยการย้ายสาขาวิชา และอันดับที่สาม คือ ปัจจัยด้านทัศนคติในการเลือกสถาบันของนักศึกษา กล่าวคือ ในระหว่างเข้ารับการศึกษาอยู่นั้น ผู้ตกออกบางรายได้สมัครเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยอ่ืนทีต่นเองประสงค์เข้ารับการศึกษา

เพ่ือเป็นการแก้ไขปัญหาทีก่ล่าวมาข้างตน้ ทางสาขาวิเทศศึกษาเล็งเห็นควรมีการเร่งปรับปรุงหลักสูตรและเสนอแผนการปรุงปรับหลักสูตร โดยการสอบถามความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของนักศึกษาที่ก าลังศึกษาอยู่ ในแบบสอบถามมีการน าแผนการศึกษาที่ใช้ในปัจจุบันและแผนการปรับปรุงที่สาขาจะเสนอเพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการส ารวจ

จากผลการส ารวจ พบว่า แผนการปรับปรุงควรมีเนื้อหา ดังต่อไปนี้ 1. ยกเลิกการศึกษาภาคฤดูร้อน ในประเทศเกาหลี ซึ่ งจะสามารถลดใช้ค่าจ่ายในการ

ลงทะเบียนเรียนของนักศึกษารวมถึงค่าใช้จ่ายในต่างประเทศ 2. ทางสาขายังคงให้ความส าคัญในการทัศนศึกษา ณ ประเทศเกาหลี จึงมีแผนจัดโปรแกรม

ทัศนศึกษาทางด้านภาษาและวัฒนธรรม ส าหรับผู้ประสงค์เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว (โดยไม่บังคับ)

Page 5: วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

3. ปรับปรุงแผนการศึกษาในบางรายวิชา เ พ่ือให้เหมาะสมกับความต้องการของตลาดแรงงานในอนาคต

Page 6: วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

โครงสร้างหลักสูตรวิเทศศึกษา หลักสูตรปรับปรุง 2558 (หลกัสูตรปัจจบุัน) วิชาเอกเกาหลีศึกษา และวิเทศธุรกิจเกาหลี (134 หน่วยกิต)

IBK KRS 134 General Education หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

Gen.Ed. and English Subjects 32

หมวดวิชาเฉพาะ (90)

Foundation กลุ่มพื้นฐานวิชาชีพ

815-121 อารยธรรมตะวันออก 3(3-0-6) 815-122 ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเกาหลี 3(3-0-6) 815-221 หลักเศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6) 815-321 ระเบียบวิธีวิจัยเบื้องต้น 3(3-0-6) 815-123 การเมืองและการปกครองของประเทศเกาหลีใต ้ 3(3-0-6)

15

Korean Language กลุ่มวิชาภาษาเกาหล ี

815-111 ภาษาเกาหลี 1 3(2-2-5) 815-112 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 1 3(2-2-5) 815-113 ภาษาเกาหลี 2 3(2-2-5) 815-114 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 2 3(2-2-5) 815-115 ภาษาเกาหลี 3 3(2-2-5) 815-212 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 3 3(2-2-5) 815-211 ภาษาเกาหลี 4 3(2-2-5) 815-214 การอ่านภาษาเกาหล ี 3(2-2-5) 815-213 ภาษาเกาหลี 5 3(2-2-5) 815-216 การเขียนภาษาเกาหล ี 3(2-2-5) 815-215 ภาษาเกาหลี 6 3(2-2-5) 815-311 ภาษาเกาหลี 7 3(2-2-5) 815-312 ภาษาเกาหลี 8 3(2-2-5) 815-313 ภาษาเกาหลีเพื่อวิชาการ 3(2-2-5) 815-314 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 3(2-2-5)

45

กลุ่มวิชาชีพ กลุ่มวิชาชีพ (บังคับ) บริหารธรุกิจระหว่างประเทศ 815-131 ธุรกิจระหว่างประเทศเบื้องต้น 815-231 การจัดการการตลาด 815-232 การเงินธุรกิจ 815-331 การจัดการทรัพยากรมนุษย ์ 815-332 การจัดการกลยุทธท์างธุรกิจ 815-333 ภาษาเกาหลีธุรกิจ 815-434 การสัมมนาธุรกิจระหว่างประเทศ Elective วิชาเลือก (Choose 9 credits) 815-334 กฎหมายการค้าระหวา่งประเทศ 815-335 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ 815-336 การจัดการสายโซ่อุปทาน 815-337 การเงินธุรกิจระหว่างประเทศ

กลุ่มวิชาชีพ (บังคับ) เกาหลีศกึษา 815-241 วิถีชีวิตและสังคมเกาหลี 815-341 ความสัมพนัธไ์ทยกับเกาหลี 815-342 ประวัติศาสตร์เกาหลสีมัยใหม่ 815-343 ยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกิจสังคมเกาหลีใต้ 815-344 คาบสมุทรเกาหลีกับกจิการนานาชาติ 815-242 ภูมิศาสตร์เกาหล ี 815-441 สัมมนาเกาหลีศึกษา Elective วิชาเลือก (Choose 9 credits) 815-347 ภาษาเกาหลีส าหรับการท่องเที่ยว 815-243 วรรณกรรมกับสังคมเกาหลี 815-346 สังคมวฒันธรรมเกาหลีจากภาพยนตร ์815-347 เพศสภาพในสังคมเกาหลี

30

Page 7: วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

Free Elective 1. Free Elective I 2. Free Elective II

6

Internship + Independent Studies

815-351 การศึกษาอิสระ 3(1-4-4) 815-451 การฝึกงาน 3(300 ชั่วโมง)

6

หมายเหตุ วิชาที่ไม่ระบุหน่วยกติ คือวิชาที่มีหน่วยกิตเปน็ 3(3-0-6)

Page 8: วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

เปรียบเทียบแผนการศึกษา ระหว่างหลักสูตรปจัจุบัน และแผนการศึกษาใหม่ (สาขาวิเทศธุรกิจเกาหล)ี

หลักสูตรปัจจุบัน แผนใหม่ที่เสนอ ปี 1 เทอม 1 805-13x พลศึกษา

805-141 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 805-141 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 805-161 อารยธรรมเอเซียตะวันออกเฉียงใต้

ตารางเปรียบเทียบความแตกตา่งระหว่างหลักสตูรปัจจบุัน และ แผนการศึกษาใหม่ หัวข้อปรับเปลี่ยน หลักสูตรปรับปรุงใหม่ (เริ่มใชป้ีการศึกษา

2558) แผนใหม่

ชื่อหลักสูตรและปริญญา

ภาษาไทย: ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิาวิเทศศึกษา (หลักสูตรนานาชาต)ิ ภาษาอังกฤษ: Bachelor of Arts Program in International Studies (International Program)

คงเดิม

ชื่อปริญญา ชื่อเต็ม (ไทย): ศิลปศาสตรบัณฑิต (วิเทศศึกษา) ชื่อย่อ (ไทย): ศศ.บ. (วิเทศศึกษา) ชื่อเต็ม (อังกฤษ): Bachelor of Arts (International Studies) ชื่อย่อ (อังกฤษ): B.A. (International Studies)

คงเดิม

วิชาเอกในหลักสูตร

สองวิชาเอก 1. เกาหลีศึกษา (Korean Studies) 2. วิเทศธุรกิจ: เกาหลี (International Business: Korea)

คงเดิม

จ านวนภาคการศึกษา

10 ภาคการศึกษา (ระบบสามเทอม มีภาคฤดูร้อน)

8 ภาคการศึกษา (ระบบสองเทอม)

จ านวนคร้ัง และระยะเวลาไปศึกษาต่างประเทศ

ไปศึกษา 2 คร้ัง (ชั้นปีที่ 2 และ 3) คร้ังที่ 1 จ านวนประมาณ 7 หน่วยกิต ระยะเวลา 60 วัน คร้ังที่ 2 จ านวนประมาณ 7 หน่วยกิต ระยะเวลา 60 วัน

ไม่มีการเดินทางไปศึกษาตา่งประเทศ

ค่าธรรมเนียมการศึกษา

เทอมละ 60,000 บาท (รวม10ภาคการศึกษา 600,000บาท)

เทอมละ 40,000 – 45,000 บาท

จ านวนหน่วยกิตรวม

134 หน่วยกิต คงเดิม

แผนการฝึกงาน และการศึกษาอิสระ

815-351 การศึกษาอิสระ 3 หน่วยกิต 3(1-4-4) 815-451 การฝึกงาน 3 หน่วยกิต (300 ชั่วโมง)

คงเดิม

Page 9: วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

805-161 อารยธรรมเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 805-171 ภาษาอังกฤษส าหรับหลักสูตรนานาชาติ 1 805-181 คณิตศาสตร์ในชวีิตประจ าวนั 805-182 คอมพิวเตอร์: อินเทอร์เน็ตและสังคม 815-111 ภาษาเกาหล ี1 815-112 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 1

805-171 ภาษาอังกฤษส าหรับหลักสูตรนานาชาติ 1 805-181 คณิตศาสตร์ในชวีิตประจ าวนั 805-182 คอมพิวเตอร์: อินเทอร์เน็ตและสังคม 815-111 ภาษาเกาหล ี1 815-112 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 1

20 หน่วยกิต 19 หน่วยกิต ปี 1 เทอม 2 805-162 จิตวิทยาสังคม

805-172 ภาษาอังกฤษส าหรับหลักสูตรนานาชาติ 2 805-183 สถิติและการหาค่าที่เหมาะสมเบื้องต้น 815-113 ภาษาเกาหลี 2 815-114 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 2 815-121 อารยธรรมตะวันออก

805-13x พลศึกษา 805-162 จิตวิทยาสังคม 805-172 ภาษาอังกฤษส าหรับหลักสูตรนานาชาติ 2 805-183 สถิติและการหาค่าที่เหมาะสมเบื้องต้น 815-113 ภาษาเกาหลี 2 815-114 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 2 815-121 อารยธรรมตะวันออก

18 หน่วยกิต 19 หน่วยกิต ปี 1 เทอม 3 815-115 ภาษาเกาหลี 3

815-122 ประวัติศาสตร์และวฒันธรรมเกาหลี 815-123 การเมืองและการปกครองของเกาหลีใต้

-

9 หน่วยกิต ปี 2 เทอม 1 805-263 การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม

805-271 ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาการ 815-211 ภาษาเกาหลี 4 815-212 การฟังและการพดูภาษาเกาหลี 3 815-221 หลักเศรษฐศาสตร์ 815-231 ธุรกิจระหว่างประเทศเบื้องต้น

805-271 ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาการ 815-221 หลักเศรษฐศาสตร์ 815-115 ภาษาเกาหลี 3 815-212 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 3 815-122 ประวัติศาสตร์และวฒันธรรมเกาหลี 815-231 ธุรกิจระหว่างประเทศเบื้องต้น

18 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต ปี 2 เทอม 2 805-272 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอย่างมี

ประสิทธิภาพ 815-213 ภาษาเกาหลี 5 815-214 การอ่านภาษาเกาหล ี 815-232 การจัดการทรัพยากรมนุษย ์ 815-233 การเงินธุรกิจ xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 1

805-272 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 815-211 ภาษาเกาหลี 4 815-214 การอ่านภาษาเกาหล ี 815-123 การเมืองและการปกครองของเกาหลีใต้ 815-232 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 1

18 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต ปี 2 เทอม 3 815-215 ภาษาเกาหลี 6

815-216 การเขียนภาษาเกาหล ี -

6 หน่วยกิต ปี 3 เทอม 1 815-311 ภาษาเกาหล ี7

815-321 ระเบียบวธิีวิจัยเบื้องต้น 815-331 การจัดการการตลาด

815-233 การเงินธุรกิจ 805-263 การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม 815-213 ภาษาเกาหลี 5

Page 10: วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

815-332 การจัดการกลยุทธ์ทางธุรกิจ 815-33x วิชาเลือก1 (กลุ่มวิชาชีพ)

815-216 การเขียนภาษาเกาหลี 815-313 ภาษาเกาหลีเพื่อวิชาการ xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 2

15 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต ปี 3 เทอม 2 815-312 ภาษาเกาหลี 8

815-333 การจัดการสายโซ่อุปทาน 815-33x วิชาเลือก 2 (กลุ่มวิชาชีพ) 815-33x วิชาเลือก 3 (กลุ่มวิชาชีพ) 815-351 การศึกษาอิสระ xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 2

815-331 การจัดการการตลาด 815-321 ระเบียบวธิีวิจัยเบื้องต้น 815-215 ภาษาเกาหลี 6 815-314 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 815-332 การจัดการกลยุทธ์ทางธุรกิจ 815-33x วิชาเลือก1 (กลุ่มวิชาชีพ)

18 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต ปี 3 เทอม 3 815-313 ภาษาเกาหลีเพื่อวิชาการ

815-314 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ

-

6 หน่วยกิต ปี 4 เทอม 1 815-434 สัมมนาธุรกิจระหว่างประเทศ

815-451 การฝึกงาน (300 ชั่วโมง)

815-333 การจัดการสายโซ่อุปทาน 815-311 ภาษาเกาหล ี7 815-33x วิชาเลือก 2 (กลุ่มวิชาชีพ) 815-33x วิชาเลือก 3 (กลุ่มวิชาชีพ) 815-351 การศึกษาอิสระ 815-434 สัมมนาธุรกิจระหว่างประเทศ

6 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต ปี 4 เทอม 2 - 815-312 ภาษาเกาหลี 8

815-451 การฝึกงาน (300 ชั่วโมง) 6 หน่วยกิต

เปรียบเทียบแผนการศึกษา ระหว่างหลักสูตรปจัจุบัน และแผนการศึกษาใหม่ (สาขาเกาหลีศึกษา)

หลักสูตรปัจจุบัน แผนใหม่ที่เสนอ ปี 1 เทอม 1 805-13x พลศึกษา

805-141 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 805-161 อารยธรรมเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 805-171 ภาษาอังกฤษส าหรับหลักสูตรนานาชาติ1 805-181 คณิตศาสตร์ในชวีิตประจ าวนั 805-182 คอมพิวเตอร์: อินเทอร์เน็ตและสังคม 815-111 ภาษาเกาหล ี1 815-112 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 1

805-141 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 805-161 อารยธรรมเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 805-171 ภาษาอังกฤษส าหรับหลักสูตรนานาชาติ1 805-181 คณิตศาสตร์ในชวีิตประจ าวนั 805-182 คอมพิวเตอร์: อินเทอร์เน็ตและสังคม 815-111 ภาษาเกาหล ี1 815-112 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 1

20 หน่วยกิต 19 หน่วยกิต ปี 1 เทอม 2 805-162 จิตวิทยาสังคม

805-172 ภาษาอังกฤษส าหรับหลักสูตรนานาชาติ 2

805-13x พลศึกษา 805-162 จิตวิทยาสังคม 805-172 ภาษาอังกฤษส าหรับหลักสูตรนานาชาติ 2

Page 11: วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

805-183 สถิติและการหาค่าที่เหมาะสมเบื้องต้น 815-113 ภาษาเกาหลี 2 815-114 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 2 815-121 อารยธรรมตะวันออก

805-183 สถิติและการหาค่าที่เหมาะสมเบื้องต้น 815-113 ภาษาเกาหลี 2 815-114 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 2 815-121 อารยธรรมตะวันออก

18 หน่วยกิต 19 หน่วยกิต ปี 1 เทอม 3 815-115 ภาษาเกาหลี 3

815-122 ประวัติศาสตร์และวฒันธรรมเกาหลี 815-123 การเมืองและการปกครองของเกาหลีใต้

-

9 หน่วยกิต ปี 2 เทอม 1 805-263 การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม

805-271 ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาการ 815-211 ภาษาเกาหลี 4 815-212 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 3 815-221 หลักเศรษฐศาสตร์ xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 1

805-271 ภาษาอังกฤษเพื่อวิชาการ 815-221 หลักเศรษฐศาสตร์ 815-115 ภาษาเกาหลี 3 815-212 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 3 815-122 ประวัติศาสตร์และวฒันธรรมเกาหลี 815-123 การเมืองและการปกครองของเกาหลีใต้

18 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต ปี 2 เทอม 2 805-272 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอย่างมี

ประสิทธิภาพ 815-213 ภาษาเกาหลี 5 815-214 การอ่านภาษาเกาหล ี 815-241 วิถีชีวิตและสังคมเกาหล ี 815-33x วิชาเลือก1 (กลุ่มวิชาชีพ) xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 2

805-272 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 815-211 ภาษาเกาหลี 4 815-214 การอ่านภาษาเกาหล ี 815-341 ความสัมพันธ์ไทยกบัเกาหลี 815-241 วิถีชีวิตและสังคมเกาหล ี xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 1

18 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต ปี 2 เทอม 3 815-215 ภาษาเกาหลี 6

815-216 การเขียนภาษาเกาหล ี -

6 หน่วยกิต ปี 3 เทอม 1 815-311 ภาษาเกาหล ี7

815-321 ระเบียบวธิีวิจัยเบื้องต้น 815-341 ความสัมพันธ์ไทยกบัเกาหลี 815-342 ประวัติศาสตร์เกาหลีสมัยใหม่ 815-34x วิชาเลือก 2 (กลุ่มวิชาชีพ)

805-263 การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม 815-342 ประวัติศาสตร์เกาหลีสมัยใหม่ 815-213 ภาษาเกาหลี 5 815-216 การเขียนภาษาเกาหลี 815-313 ภาษาเกาหลีเพื่อวิชาการ xxx-xxx วิชาเลือกเสรี 2

15 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต ปี 3 เทอม 2 815-312 ภาษาเกาหลี 8

815-343 ยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกิจสังคมเกาหลีใต ้815-344 คาบสมุทรเกาหลีกับกิจการนานาชาติ 815-345 ภูมิศาสตร์เกาหลี 815-33x วิชาเลือก 3 (กลุ่มวิชาชีพ)

815-343 ยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกิจสังคมเกาหลีใต้ 815-321 ระเบียบวธิีวิจัยเบื้องต้น 815-215 ภาษาเกาหลี 6 815-314 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 12: วาระที่ 5.1 การปรับปรุงแผนการเรียนการสอนและการจัดการ ...web1.phuket.psu.ac.th/emeeting_policy/images/files/10/5.1.pdf ·

815-351 การศึกษาอิสระ 815-344 คาบสมุทรเกาหลีกับกิจการนานาชาติ 815-33x วิชาเลือก1 (กลุ่มวิชาชีพ)

18 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต ปี 3 เทอม 3 815-313 ภาษาเกาหลีเพื่อวิชาการ

815-314 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ

-

6 หน่วยกิต ปี 4 เทอม 1 815-441 สัมมนาเกาหลีศึกษา

815-451 การฝึกงาน (300 ชั่วโมง) 815-345 ภูมิศาสตร์เกาหลี 815-311 ภาษาเกาหล ี7 815-33x วิชาเลือก 2 (กลุ่มวิชาชีพ) 815-33x วิชาเลือก 3 (กลุ่มวิชาชีพ) 815-351 การศึกษาอิสระ 815-441 สัมมนาเกาหลีศึกษา

6 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต ปี 4 เทอม 2 - 815-312 ภาษาเกาหลี 8

815-451 การฝึกงาน (300 ชั่วโมง) 6 หน่วยกิต