481

รายงาน - t Uqasp.tu.ac.th/old_web/qa/paper_qa/sar/SAR-TU 55.pdf · 2016-06-13 · ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานเก ี่ยวกบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ั

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • รายงาน

    การประเมนิตนเอง

    มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2555

    ฉบับปรับปรุงแก้ไขหลงัการประเมนิคุณภาพ

    ของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2555

  • คาํนาํ

    มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ไดด้าํเนินการประกนัคุณภาพการศึกษามาอย่างต่อเน่ือง ทั้งในระดบัมหาวิทยาลยั

    ระดบัคณะ/สาํนกั/สถาบนั และสาํนกังานอธิการบดี โดยในระดบัมหาวทิยาลยัไดแ้ต่งตั้งคณะกรรมการประกนัคุณภาพ

    การศึกษาระดบัมหาวทิยาลยัท่ีมีอธิการบดีเป็นประธาน มีการกาํหนดตวับ่งช้ีคุณภาพภายในระดบัมหาวทิยาลยั และการ

    มอบหมายผู ้บริหารฝ่ายต่างๆ รับผิดชอบกํากับดูแลตัวบ่งช้ีคุณภาพระดับมหาวิทยาลัย รวมทั้ งมีการจัดทํา

    แผนปรับปรุงคุณภาพจากผลการประเมินคุณภาพระดบัมหาวิทยาลยั ปีการศึกษา 2554 ในการดาํเนินงานระดบัคณะ/

    สาํนกั/สถาบนั มหาวทิยาลยัมีการกาํหนดตวับ่งช้ีคุณภาพท่ีสะทอ้นภารกิจหลกัของหน่วยงาน การมีส่วนร่วมจากคณะ/

    สาํนกั/สถาบนั และกาํหนดใหค้ณะ/สาํนกั/สถาบนัเสนอตวับ่งช้ีท่ีสะทอ้นเอกลกัษณ์ของหน่วยงานอยา่งนอ้ย 3 ตวับ่งช้ี

    และใหจ้ดัทาํแผนปรับปรุงคุณภาพจากขอ้สงัเกตจากผลการประเมินคุณภาพระดบัคณะ/สาํนกั/สถาบนั ปีการศึกษา 2554

    การจดัทาํรายงานการประเมินตนเองของมหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ประจาํปีการศึกษา 2555 ฉบับน้ีเป็น

    การสรุปผลการประเมินคุณภาพของมหาวิทยาลัยตามตวับ่งช้ีคุณภาพระดับมหาวิทยาลัย จํานวน 50 ตวั บ่งช้ี

    ประกอบด้วยตวับ่งช้ีของสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา 23 ตวับ่งช้ี ตวับ่งช้ีของสํานักรับรองมาตรฐานและ

    ประเมินคุณภาพการศึกษา 20 ตวับ่งช้ี และตวับ่งช้ีของมหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ 7 ตวับ่งช้ี โดยใชข้อ้มูลจากผลการ

    ประเมินคุณภาพของคณะ/สาํนกั/สถาบนั ประจาํปีการศึกษา 2555 ประกอบกบัผลการดาํเนินงานของฝ่ายต่างๆ ของ

    มหาวิทยาลยัท่ีไดรั้บมอบหมายให้รับผิดชอบตวับ่งช้ีต่างๆ รวมทั้งผลการดาํเนินงานตามขอ้สังเกตและขอ้เสนอแนะ

    จากผลการประเมินคุณภาพระดบัมหาวทิยาลยั ปีการศึกษา 2554

    เน่ืองจาก สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กาํหนดให้มีการประเมินคุณภาพภายในระดับ

    มหาวิทยาลยั และให้นําผลการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลยัมาวางแผนปรับปรุงการดาํเนินงานใน

    ปีการศึกษาต่อไป มหาวิทยาลัย จึงได้แต่งตั้ งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    ปีการศึกษา 2555 และไดป้ระเมินคุณภาพภายในมหาวิทยาลยั เม่ือวนัองัคารท่ี 21 – วนัพฤหัสบดีที่ 23 พฤษภาคม

    2556 ซ่ึงฝ่ายประกนัคุณภาพการศึกษาไดด้าํเนินการปรับรายงานการประเมินตนเองฉบบัน้ี ให้เป็นไปตามผลการ

    ประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในมหาวทิยาลยัแลว้

    ฝ่ายประกนัคุณภาพการศึกษา ขอขอบคุณ ผูบ้ริหารระดบัมหาวิทยาลยั คณะ/สาํนกั/สถาบนั และเจา้หนา้ท่ี

    ผูเ้ก่ียวขอ้งทุกท่านท่ีใหค้วามร่วมมือในการจดัทาํรายงานการประเมินตนเองระดบัมหาวิทยาลยั และจดัทาํรายงานการ

    ประเมินตนเองของคณะ/สํานัก/สถาบัน รวมทั้ ง คณะกรรมการประเมินคุณภาพคณะ/สํานัก/สถาบัน ซ่ึงทาํให ้

    ผลการดาํเนินงานของมหาวทิยาลยัท่ีรายงานในรายงานการประเมินตนเองระดบัมหาวทิยาลยัฉบบัน้ี มีความครบถว้น

    สมบูรณ์ และที่สําคัญ คือ คณะกรรมการประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2555 ซ่ึงมี

    รองศาสตราจารย ์ทนัตแพทย ์นายแพทย ์ดร.สิทธิชยั ทดัศรี เป็นประธาน ท่ีไดป้ระเมินคุณภาพภายในมหาวิทยาลยั

    ธรรมศาสตร์ตามองค์ประกอบและตวับ่งช้ีคุณภาพ 50 ตวับ่งช้ี รวมทั้ งให้ขอ้สังเกตและขอ้เสนอแนะเพือ่พฒันา

    มหาวทิยาลยัในปีต่อไป

    ฝ่ายประกนัคุณภาพการศึกษา มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

    กนัยายน 2556

  • (1)

    สารบญั

    หน้า

    บทสรุปผู้บริหาร ก

    บทที่ 1 ส่วนนํา

    ส่วนที่ 1 ขอ้มูลพ้ืนฐานเก่ียวกบัมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ 1

    1. ประวติัความเป็นมาของมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

    1

    2. ปรัชญาการศึกษา ปณิธาน วสิยัทศัน ์ พนัธกิจ ประเดน็ยทุธศาสตร์

    เป้าประสงค ์และกลยทุธ์

    2

    3. โครงสร้างการบริหารมหาวทิยาลยั

    6

    4. ขอ้มูลเก่ียวกบัหลกัสูตร

    10

    5. ขอ้มูลเก่ียวกบัคณาจารยแ์ละบุคลากร 10

    6. ขอ้มูลเก่ียวกบันกัศึกษา

    11

    7. ขอ้มูลเก่ียวกบังบประมาณ

    12

    8. ขอ้มูลเก่ียวกบัอาคารและสถานท่ี 13

    9. เอกลกัษณ์หรือวฒันธรรมของมหาวทิยาลยั 15

    บทที่ 2 ผลการดาํเนินงานและผลการประเมนิคณุภาพ 17

    องคป์ระกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วตัถุประสงค ์และแผนการดาํเนินการ

    สกอ. 1.1 กระบวนการพฒันาแผน 18

    องคป์ระกอบท่ี 2 การผลิตบณัฑิต

    สกอ. 2.1 ระบบและกลไกการพฒันาและบริหารหลกัสูตร 28

    สกอ. 2.2 อาจารยป์ระจาํท่ีมีคุณวฒิุปริญญาเอก 36

    สกอ. 2.3 อาจารยป์ระจาํท่ีดาํรงตาํแหน่งทางวชิาการ 39

    สกอ. 2.4 ระบบการพฒันาคณาจารยแ์ละบุคลากรสายสนบัสนุน 42

    สกอ. 2.5 หอ้งสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดลอ้มการเรียนรู้ 58

    สกอ. 2.6 ระบบและกลไกการจดัการเรียนการสอน 69

    สกอ. 2.7 ระบบและกลไกการพฒันาสมัฤทธิผลการเรียนรู้ตามคุณลกัษณะของ

    บณัฑิต

    77

  • (2)

    หน้า

    สกอ. 2.8 ระดบัความสําเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมท่ีจดัให้กบั

    นกัศึกษา

    83

    สมศ. 1 บณัฑิตปริญญาตรีท่ีไดง้านทาํหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 87

    สมศ. 2 คุณภาพของบณัฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒิุ

    ระดบัอุดมศึกษาแห่งชาติ

    89

    สมศ. 3 ผลงานของผูส้าํเร็จการศึกษาระดบัปริญญาโทท่ีไดรั้บการตีพิมพห์รือ

    เผยแพร่

    91

    สมศ. 4 ผลงานของผูส้าํเร็จการศึกษาระดบัปริญญาเอกท่ีไดรั้บการตีพิมพห์รือ

    เผยแพร่

    94

    สมศ. 14 การพฒันาคณาจารย ์ 96

    มธ. 1 ร้อยละของนกัศึกษาต่างชาติต่อจาํนวนนกัศึกษาทั้งหมด 98

    มธ. 2 ร้อยละของนกัศึกษาแลกเปล่ียนท่ีส่งออกและรับเขา้ต่อนกัศึกษาทั้งหมด 101

    มธ. 3 ร้อยละของอาจารยต่์างชาติต่อจาํนวนอาจารยท์ั้งหมด 104

    มธ. 4 ร้อยละของอาจารยแ์ลกเปล่ียนท่ีส่งออกและรับเขา้ต่อจาํนวนอาจารย์

    ทั้งหมด

    106

    มธ. 5 จาํนวนขอ้ตกลงความร่วมมือทางวชิาการกบัสถาบนัในต่างประเทศ 108

    องคป์ระกอบท่ี 3 กิจกรรมการพฒันานกัศึกษา

    สกอ. 3.1 ระบบและกลไกการใหค้าํปรึกษาและบริการดา้นขอ้มูลขา่วสาร 110

    สกอ. 3.2 ระบบและไกการส่งเสริมกิจกรรมนกัศึกษา 116

    มธ. 6 ร้อยละของกิจกรรมจิตอาสาต่อจาํนวนกิจกรรมนกัศึกษาทั้งหมด 123

    องคป์ระกอบท่ี 4 การวจิยั

    สกอ. 4.1 ระบบและกลไกการพฒันางานวจิยัหรืองานสร้างสรรค ์ 125

    สกอ. 4.2 ระบบและกลไกการจดัการความรู้จากงานวจิยัหรืองานสร้างสรรค ์ 139

    สกอ. 4.3 เงินสนบัสนุนงานวจิยัและงานสร้างสรรคต์่อจาํนวนอาจารยป์ระจาํ

    และนกัวจิยัประจาํ

    145

    สมศ. 5 งานวจิยัหรืองานสร้างสรรคท่ี์ไดรั้บการตีพิมพห์รือเผยแพร่ 149

    สมศ. 6 งานวจิยัหรืองานสร้างสรรคท่ี์นาํไปใชป้ระโยชน ์ 152

    สมศ. 7 ผลงานวชิาการท่ีไดรั้บการรับรองคุณภาพ 155

    มธ. 7 ร้อยละของบทความวจิยัท่ีไดรั้บการอา้งอิง (Citation) ในฐานขอ้มูล

    Scopus และ/หรือ Web of Science ต่อจาํนวนอาจารยป์ระจาํและนกัวจิยัประจาํ

    157

  • (3)

    หน้า

    องคป์ระกอบท่ี 5 การบริการทางวชิาการแก่สงัคม

    สกอ. 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวชิาการแก่สงัคม 159

    สกอ. 5.2 กระบวนการบริการทางวชิาการใหเ้กิดประโยชนต์่อสงัคม 167

    สมศ. 8 ผลการนาํความรู้และประสบการณ์จากการใหบ้ริการวชิาการมาใชใ้น

    การพฒันาการเรียนการสอนและการวจิยั

    178

    สมศ. 9 ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเขม้แขง็ของชุมชนหรือองคก์ร

    ภายนอก

    180

    องคป์ระกอบท่ี 6 การทาํนุบาํรุงศิลปะและวฒันธรรม

    สกอ. 6.1 ระบบและกลไกการทาํนุบาํรุงศิลปะและวฒันธรรม 191

    สมศ. 10 การส่งเสริมและสนบัสนุนดา้นศิลปะและวฒันธรรม 206

    สมศ. 11 การพฒันาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวฒันธรรม 213

    องคป์ระกอบท่ี 7 การบริหารและการจดัการ

    สกอ. 7.1 ภาวะผูน้าํของสภาสถาบนัและผูบ้ริหารทุกระดบัของสถาบนั 222

    สกอ. 7.2 การพฒันาสถาบนัสู่สถาบนัเรียนรู้ 243

    สกอ. 7.3 ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตดัสินใจ 251

    สกอ. 7.4 ระบบบริหารความเส่ียง 259

    สมศ. 12 การปฏิบติัตามบทบาทหนา้ท่ีของสภาสถาบนั 265

    สมศ. 13 การปฏิบติัตามบทบาทหนา้ท่ีของผูบ้ริหารสถาบนั 267

    องคป์ระกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ

    สกอ. 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ 268

    องคป์ระกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกนัคุณภาพ

    สกอ. 9.1 ระบบและกลไกการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน 274

    สมศ. 15 ผลการประเมินการประกนัคุณภาพภายในรับรองโดยตน้สงักดั 286

    องคป์ระกอบท่ี 97 องคป์ระกอบตามอตัลกัษณ์

    สมศ. 16.1 ผลการบริหารสถาบนัใหเ้กิดอตัลกัษณ์ 288

    สมศ. 16.2 ผลการพฒันาบณัฑิตตามอตัลกัษณ์ 292

    สมศ. 17 ผลการพฒันาตามจุดเนน้และจุดเด่นท่ีส่งผลสะทอ้นเป็นเอกลกัษณ์ของ

    สถาบนั

    294

    สมศ. 18.1 ผลการช้ีนาํ ป้องกนั หรือแกปั้ญหาของสงัคมในประเดน็ท่ี 1 ภายใน

    สถาบนั

    298

  • (4)

    หน้า

    สมศ. 18.2 ผลการช้ีนาํ ป้องกนั หรือแกปั้ญหาของสงัคมในประเดน็ท่ี 2

    ภายนอกสถาบนั

    317

    บทที่ 3 การดาํเนินงานตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะจากผลการประเมนิคุณภาพภายใน

    ปีการศึกษา 2554

    321

    บทที่ 4 สรุปผลการประเมนิคุณภาพและแนวทางการพฒันา 345

    4.1 สรุปผลการประเมินคุณภาพ 345

    4.2 จุดแขง็ ขอ้สงัเกตและแนวทางการพฒันา 359

    ภาคผนวก

    ภาคผนวก ก - รายช่ือคณะกรรมการสภามหาวทิยาลยั ก-1

    - รายช่ือคณะผูบ้ริหารมหาวทิยาลยั ก-3

    - รายช่ือคณะกรรมการบริหารมหาวทิยาลยั ก-6

    ภาคผนวก ข - คาํสัง่แต่งตั้งคณะกรรมการประกนัคุณภาพการศึกษาระดบัมหาวทิยาลยั ข-1

    - ผูรั้บผดิชอบตวับ่งช้ีคุณภาพระดบัมหาวทิยาลยั

    ปีการศึกษา 2555

    ข-3

    - คาํสัง่แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาคณะ/

    สาํนกั/สถาบนั ปีการศึกษา 2555

    ข-7

    ภาคผนวก ค ขอ้มูลพ้ืนฐานระดบัมหาวทิยาลยั (Common Data Set) ค-1

    ภาคผนวก ง ตารางขอ้มูลตวับ่งช้ีคุณภาพระดบัมหาวทิยาลยั

    ปีการศึกษา 2555

    ง-1

  • บทสรุปผู้บริหาร

    ในปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ได้มุ่งพฒันาไปสู่การเป็นมหาวิทยาลยัชั้นนําในระดับ

    นานาชาติท่ีมีความโดดเด่นเป็นท่ียอมรับในฐานะมหาวทิยาลยัวิจยัท่ีมีความเป็นเลิศในดา้นการสร้างองคค์วามรู้ท่ีเป็น

    ประโยชน์ต่อการพฒันาประเทศ รวมทั้ง การเป็นมหาวิทยาลยัท่ีมีความเป็นเลิศในดา้นการผลิตบณัฑิต และการเป็น

    มหาวทิยาลยัเพ่ือประชาชนท่ีเป็นท่ีพ่ึงให้กบัสังคม ดงัท่ีไดก้าํหนดไวเ้ป็นวิสัยทศัน์ของมหาวิทยาลยั ซ่ึงไดถ้่ายทอดสู่

    การปฏิบติัดว้ยการกาํหนดเป็นยทุธศาสตร์และแผนงานรองรับไวอ้ยา่งครบถว้นและสอดคลอ้งกนั

    การดาํเนินงานของมหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ในปีการศึกษา 2555 นั้น มหาวิทยาลยัดาํเนินงานไปตาม

    นโยบายและแผนงานที่กาํหนดไว ้ซ่ึงสอดคลอ้งกบัแนวทางการประกนัคุณภาพที่มุ่งเน้นการสร้างผลลพัธ์จากการ

    ดาํเนินงานใหไ้ดม้าตรฐานในระดบัดีมาก รวมทั้งมุ่งเนน้การสร้างระบบการบริหารงานตามกระบวนการ PDCA อนัจะ

    นาํไปสู่การพฒันางานท่ีย ัง่ยนื โดยผลการดาํเนินงานท่ีสาํคญัของมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ในปีการศึกษา 2555 ดงัน้ี

    องค์ประกอบที ่1 ปรัชญา ปณิธาน วตัถุประสงค์และแผนดาํเนินการ

    มหาวิทยาลยัให้ความสําคญักบัการวางแผน โดยสภามหาวิทยาลยักาํหนดให้มีการประชุมเป็นวาระพิเศษ

    และในท่ีประชุม ผูท้รงคุณวฒิุไดเ้สนอความคิดเห็นท่ีหลากหลาย และมีคุณค่าต่อการกาํหนดทิศทางการพฒันาของ

    มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ และมีการกาํหนดให้มีวาระเก่ียวกบัการวางแผนในการประชุมสภามหาวิทยาลยัทุกคร้ัง

    และมหาวิทยาลัยได้แต่งตั้ งคณะอนุกรรมการสภามหาวิทยาลัยด้านการวางแผน ในการกําหนดทิศทางของ

    มหาวิทยาลยัและถ่ายทอดไปสู่การปฏิบติัอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งมีการติดตามการดาํเนินงานและรายงานผลการ

    ดาํเนินงานต่อคณะกรรมการบริหารมหาวทิยาลยัและคณะอนุกรรมการสภามหาวทิยาลยัดา้นการวางแผน โดยมีการนาํ

    ความเห็นของท่ีประชุมเสนอสภามหาวทิยาลยั และส่ือสารใหห้น่วยงานทราบและดาํเนินการ

    มหาวิทยาลยัใช้งบประมาณเป็นตัวขับเคลื่อนแผนกลยุทธ์โดยการกําหนดกรอบยุทธศาสตร์การจัดทํา

    งบประมาณ ท่ีมุ่งเป้าหมายสาํคญัตามนโยบาย 3 เป้าหมาย คือ มหาวทิยาลยัวิจยั ความเป็นนานาชาติ และมหาวิทยาลยั

    เพ่ือประชาชน และมีระบบการใหร้างวลักบัหน่วยงานท่ีมีผลการปฏิบติัราชการตามตวัช้ีวดั สกอ. สมศ. มธ. ท่ีมีผลการ

    ดาํเนินงานบรรลุเป้าหมายสาํคญัตามนโยบายท่ีตกลงกบัมหาวทิยาลยั ระบบการใหร้างวลัน้ีริเร่ิมข้ึนตั้งแต่ปี 2554 โดย

    ใหโ้อกาสหน่วยงานจดัทาํผลงานในปี 2555 มาเป็นรางวลัในปี 2556 และ ดาํเนินการต่อเน่ืองในปีต่อ ๆ ไป

    องค์ประกอบที ่2 การเรียนการสอน

    มหาวิทยาลัยส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนให้มีความเป็นนานาชาติโดยมีการเปิดหลักสูตรภาค

    ภาษาองักฤษและหลกัสูตรนานาชาติเพ่ิมข้ึน 11 หลกัสูตร รวมทั้งมีการกาํหนดใหห้ลกัสูตรภาษาไทยของทุกคณะตอ้ง

    มีอยา่งนอ้ย 2 วิชาต่อหลกัสูตรท่ีจดัการเรียนการสอนเป็นภาษาองักฤษในทุกภาคการศึกษา และให้แต่ละคณะเชิญ

  • อาจารยช์าวต่างชาติมาช่วยสอนอยา่งนอ้ย 2 คนต่อปีการศึกษา และมีนโยบายให้รับนกัศึกษาต่างชาติเขา้มาเรียนมาก

    ข้ึนเพ่ือเพ่ิมบรรยากาศความเป็นสากล นอกจากน้ีมหาวทิยาลยัยงัไดจ้ดัทาํแบบเรียนภาษาองักฤษออนไลน์เพื่อส่งเสริม

    ทกัษะดา้นภาษาองักฤษให้กบันกัศึกษาจากทุกคณะ และยงัไดผ้ลกัดนัเชิงนโยบายให้คณะศิลปศาสตร์และสถาบนั

    ภาษาจัดทาํหลกัสูตรวิชาโทภาษาองักฤษสําหรับนักศึกษาระดบัปริญญาตรี ซ่ึงจะเป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษา

    สามารถจดทะเบียนเรียนวชิาภาษาองักฤษไดป้ระมาณ 2,400 คนต่อภาคการศึกษา

    ในปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลยัไดด้าํเนินการเพื่อเตรียมการไปสู่ประชาคมอาเซียน โดยมีการจดัตั้งคณะ/

    หน่วยงานเพ่ิมข้ึน เพื่อยกระดบัการศึกษาของชาติให้เป็นศูนยก์ลางการศึกษาขั้นสูงในภูมิภาค ASEAN เม่ือกา้วเขา้สู่

    ประชาคมอาเซียน และมีการเปิดสอนรายวชิาภาษาของประเทศในอาเซียนรวมทั้งส้ิน 15 วชิา เพ่ือใหน้กัศึกษาทุกคณะ

    สามารถเลือกศึกษาได ้และมีการจดัโครงการเสริมวชิาการเตรียมตวัเพ่ือรับมืออาเซียน รวมทั้ง การสร้างเครือข่ายดา้น

    วิชาการกบัมหาวิทยาลยัชั้นนาํของประเทศอาเซียนและมีนโยบายเปิดรับนักศึกษาต่างชาติและนกัศึกษาในประเทศ

    อาเซียนมาเรียนในประเทศไทยโดยมีการจดัสรรทุนให ้

    ในดา้นการปลูกฝังความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยและความรับผิดชอบต่อสังคมให้กบันกัศึกษา

    มหาวิทยาลยักาํหนดให้วิชา มธ. 100 พลเมืองกบัความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นวิชาบงัคบัในหลกัสูตรวิชาศึกษา

    ทัว่ไประดบัปริญญาตรีที่นักศึกษาทุกคนตอ้งศึกษา เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษาสามารถพ่ึงตนเองได ้เคารพสิทธิผูอื้่น

    เคารพความแตกต่าง เคารพความเสมอภาค เคารพกติกา และรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งมหาวิทยาลยัส่งเสริมให้มี

    การจัดการเรียนการสอนแบบบริการสังคม (Service learning) สอดแทรกอยู่ในรายวิชาด้าน จรรยาบรรณ

    วชิาชีพ หรือรายวชิาส่งเสริมจริยธรรมในการประกอบอาชีพของคณะต่างๆ ดว้ย

    การดาํเนินด้านการพฒันาอาจารยน์ั้น มหาวิทยาลยัได้จดัปฐมนิเทศดา้นวิชาการให้กบัอาจารยใ์หม่ ซ่ึงมี

    เน้ือหาครอบคลุมด้านเทคนิคการสอน จิตวิทยาการสอน การออกขอ้สอบ และการวดัผล เพื่อให้อาจารยใ์หม่ได้มี

    ความรู้และทกัษะดา้นการสอนท่ีถูกตอ้ง ทาํใหส้ามารถถ่ายทอดความรู้ไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ สามารถวดัผลสัมฤทธ์ิ

    ทางการศึกษาไดอ้ยา่งเหมาะสมและถูกตอ้ง ส่วนคณาอาจารยท่ี์ปฏิบติังานอยูเ่ดิม มหาวทิยาลยัไดจ้ดัอบรมสมัมนาเพ่ือ

    พฒันาศกัยภาพอาจารยอ์ยา่งต่อเน่ืองทั้งในดา้นวิชาการ ดา้นเทคนิคการสอนและการวดัผล รวมทั้งดา้นสุนทรียะและ

    ศิลปวฒันธรรม

    องค์ประกอบที ่3 กจิกรรมการพฒันานักศึกษา

    มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์มีระบบบริหารจัดการด้านการพฒันานักศึกษาที่ต่อเน่ือง มุ่งเน้นการ

    พฒันานกัศึกษาให้เป็นพลเมืองท่ีมีความรับผิดชอบต่อสังคมในรูปแบบต่าง ๆ อาทิเช่น การจดัการเรียนการสอนวิชา

    พลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคม (TU 100) รายวิชาการเรียนการสอนท่ีเนน้การบริการสังคม (Service learning)

    ภายในคณะต่างๆ อีกทั้งการกระตุน้ให้เห็นความสําคญัและเร่งผลกัดนัเพื่อให้เกิดการปลูกฝังความมีจิตอาสา การ

    ทาํงานเพ่ือส่วนรวม ฝึกตนใหมี้ความเป็นพลเมืองตามอตัลกัษณ์ของมหาวทิยาลยั “จิตสาธารณะและความรับผิดชอบ

    ต่อสงัคม” มีการจดัการเรียนรู้นอกห้องเรียนอยา่งสมํ่าเสมอ เช่น ผ่านโครงการธรรมศาสตร์ทาํนา โครงการนกัศึกษา

  • จิตอาสาท่ีรับนกัศึกษาเขา้มาศึกษาอยา่งต่อเน่ืองเป็นปีท่ี 2 จดัตั้งศูนยอ์าสาสมคัรเพื่อส่งเสริมให้นกัศึกษามีจิตอาสา มี

    การจดัสรรงบประมาณเพ่ือการพฒันากิจกรรมนกัศึกษาอยา่งต่อเน่ือง มีการจดัตั้งกองทุนค่าธรรมเนียมเพ่ือการพฒันา

    กิจกรรมนักศึกษา เพื่อใชใ้นกิจกรรมต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์สาํหรับนกัศึกษา รวมถึงการให้ทุนการศึกษาในรูปแบบ

    ต่างๆ โดยศิษยเ์ก่าของมหาวทิยาลยัพร้อมท่ีจะสนบัสนุนกิจกรรมนกัศึกษาปัจจุบนัอยา่งต่อเน่ือง

    มหาวิทยาลยัยงัเปิดโอกาสให้คนพิการมีโอกาสเขา้มาเรียนได้ในทุกคณะที่สามารถรับนักศึกษาพิการได ้

    พร้อมกับการพฒันาด้านกายภาพภายในมหาวิทยาลยั อาทิเช่น การปรับโครงสร้างอาคาร ปรับปรุงลิฟต์สําหรับ

    นักศึกษาพิการ ในทุกอาคาร รวมถึงการให้ทุนสนับสนุนในดา้นต่างๆ การมีเจา้หน้าที่ และนักศึกษาพี่เล้ียง มีการ

    ส่งเสริมการขี่จกัรยานผ่านโครงการต่างๆ เช่น โครงการยืมจกัรยานรายวนัสาํหรับนักศึกษาและบุคลากรที่มีจุดการ

    ให้บริการกระจายอยูท่ัว่มหาวิทยาลยั มีการพฒันาปรับปรุงทางจกัรยานเพื่อให้สามารถเดินทางโดยจกัรยานไดอ้ยา่ง

    ทัว่ถึงในทุกจุดทัว่มหาวทิยาลยั พร้อมทั้งมีกิจกรรมการรณรงคใ์ห้ขบัขี่จกัรยานในรูปแบบต่างๆ อยา่งต่อเน่ือง มีการ

    พฒันาด้านกายภาพให้นักศึกษามีสถานที่สีเขียวเพื่อพกัผ่อนหย่อนใจและให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์

    ส่ิงแวดลอ้มท่ีมุ่งให้มหาวิทยาลยัพฒันาสู่ “Green Campus” เพื่อให้การใชชี้วิตของนกัศึกษาและนกัศึกษาพิการในร้ัว

    มหาวทิยาลยัไดอ้ยา่งสมบูรณ์ท่ีสุด

    องค์ประกอบที ่4 การวจิยั

    มหาวิทยาลยัให้ความสําคญักบัภารกิจดา้นการวิจยัเป็นอย่างมาก โดยมีผูบ้ริหารที่ดูแลดา้นการวิจยัและ

    คณะกรรมการบริหารการวจิยัซ่ึงมีอธิการบดีเป็นประธาน เพ่ือรับผดิชอบนโยบายและแผนงานดา้นการวจิยัโดยเฉพาะ

    โดยในปีการศึกษา 2555 นั้น มหาวทิยาลยัไดด้าํเนินการดา้นการส่งเสริมการวิจยัในทุกรูปแบบ อนัไดแ้ก่ การจดัสรร

    ทุนวจิยั การส่งเสริมและเผยแพร่งานวิจยัจากรายไดข้องมหาวิทยาลยัในจาํนวนท่ีเพ่ิมข้ึน การจดัตั้งหน่วยวิจยัเฉพาะ

    ทาง การเชิดชูเกียรติแก่นกัวิจยัท่ีสร้างช่ือเสียงให้แก่มหาวิทยาลยั การสร้างบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการวิจยั การเขา้ร่วม

    โครงการมหาวทิยาลยัวจิยัแห่งชาติ การพฒันาเวบ็ไซด์ของฝ่ายวิจยัเพื่อให้ผูว้ิจยัไดท้ราบสถานะของโครงการท่ีไดรั้บ

    ทุนและเผยแพร่ผลงานวิจยัออกสู่สาธารณชนและเป็นแหล่งการเรียนรู้ของสังคม การพฒันาฐานขอ้มูลการบริหาร

    งานวิจัยของมหาวิทยาลยัท่ีเชื่อมโยงกบัหน่วยงานอื่นๆภายในมหาวิทยาลยัที่มีฐานขอ้มูลร่วมกัน การจดัให้มีเวที

    แลกเปล่ียนเรียนรู้การดาํเนินงานดา้นการวิจยั การจดัตั้งศูนยค์วามเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อกระตุน้ให้กลุ่มอาจารยท่ี์มี

    ผลงานโดดเด่นในแต่ละสาขาวิชามุ่งผลิตงานวิจยัคุณภาพสูงเพื่อตีพิมพเ์ผยแพร่ในวารสารระดบันานาชาติ การเพ่ิม

    วงเงินงบประมาณและประเภทของทุนใหก้บับุคลากรท่ีสร้างสรรคผ์ลงานทางวชิาการและวจิยั การจดัสรรงบประมาณ

    สนับสนุนการจดัทาํวารสารวิชาการของมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์เพือ่เป็นแหล่งเผยแพร่ผลงานคุณภาพสูงทั้งจาก

    นกัวจิยัภายในและภายนอกมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ การจดัสรรงบประมาณสาํหรับทุนร่วมกบัแหล่งทุนจากภายนอก

    การสร้างความร่วมมือกบัองคก์รดา้นการวิจยัอ่ืนอยา่งใกลชิ้ด การกาํหนดหัวขอ้งานวิจยัและสนบัสนุนทุนการวิจยัท่ี

    สามารถนาํไปแกปั้ญหาและเสริมสร้างความเขม้แขง็ทางเศรษฐกิจ สงัคม เทคโนโลย ีและส่ิงแวดลอ้มดา้นสุขภาพ เพ่ือ

    การพฒันาท่ีย ัง่ยืนของประเทศ และการส่งเสริมการวิจยัดา้นบณัฑิตศึกษา โดยจดัให้มีทุนสนบัสนุนการทาํวจิยัดา้น

  • บณัฑิตศึกษา ทุนผูช่้วยวจิยัโครงการปริญญาเอก ทุนสนบัสนุนบทความวิทยานิพนธ์ตีพิมพใ์นวารสารระดบัชาติและ

    นานาชาติ รวมทั้งทุนสนบัสนุนการจดัทาํวทิยานิพนธ์ของนกัศึกษาระดบับณัฑิตศึกษา นอกจากน้ียงัไดจ้ดังานประชุม

    วชิาการเพ่ือใหน้กัศึกษาระดบับณัฑิตศึกษาเผยแพร่ผลงานวจิยัดว้ย

    องค์ประกอบที ่5 การบริการวชิาการแก่สังคม

    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีแผนงานและแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับปรัชญา วิสัยทัศน์ พนัธกิจท่ีได้

    กาํหนดให้การบริการวิชาการแก่สังคมเป็นยทุธศาสตร์หน่ึงของมหาวิทยาลยั โดยในทางปฏิบติัไดม้อบหมายให้ฝ่าย

    บริหาร ศูนยรั์งสิต รับผดิชอบเก่ียวกบัการบริการวชิาการแก่สงัคมซ่ึงไดมี้การแต่งตั้งคณะกรรมการบริการวิชาการแก่

    สงัคมท่ีมีหนา้ท่ีในการกาํหนดนโยบาย แนวทาง และแผนงานบริการวิชาการในระดบัมหาวิทยาลยัและคณะ/สาํนกั/

    สถาบัน รวมทั้ ง กาํหนดทิศทางและแนวปฏิบัติในการนําความรู้และประสบการณ์จากมหาวิทยาลยัมาใช้ในการ

    เสริมสร้างความเขม้แข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก และบูรณาการเขา้กบัการจดัการเรียนการสอนและการวิจยั

    อย่างเป็นรูปธรรม โดยในปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลยัจดัประชุมคณะกรรมการบริการวิชาการแก่สังคมอย่าง

    ต่อเน่ือง เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้แนวปฏิบติัท่ีดีและเผยแพร่ใหค้ณะ/สาํนกั/สถาบนั ท่ีเก่ียวขอ้งไดท้ราบแนวทางในการ

    ปฏิบติัให้ถูกตอ้ง และเพ่ือเป็นการสร้างให้เกิดความชดัเจนในการให้บริการวิชาการแก่สังคมให้เป็นไปในทิศทาง

    เดียวกนัในการกาํหนดกลุ่มเป้าหมายและลกัษณะโครงการท่ีเป็นไปทิศทางเดียวกนั

    องค์ประกอบที ่6 การทาํนุบํารุงศิลปวฒันธรรม

    มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ไดก้าํหนดยุทธศาสตร์ดา้นการทาํนุบาํรุงศิลปวฒันธรรมไวใ้นแผนกลยุทธ์ของ

    มหาวิทยาลยั โดยมีคณะกรรมการส่งเสริมและทาํนุบาํรุงศิลปวฒันธรรมระดับมหาวิทยาลยักาํหนดนโยบายและ

    แผนงานดา้นการทาํนุบาํรุงศิลปวฒันธรรม รวมทั้งไดมี้การจดัประชุมร่วมกบัคณะกรรมการกิจกรรมนักศึกษาและ

    คณะกรรมการผงัแม่บทมหาวทิยาลยั เพื่อบูรณาการดา้นศิลปะและวฒันธรรมให้เขา้กบัการจดัการเรียนการสอน และ

    กิจกรรมนักศึกษา นอกจากน้ีมหาวิทยาลยัยงัได้ส่งเสริมให้นักศึกษาทาํกิจกรรมดา้นศิลปวฒันธรรมอย่างต่อเน่ือง

    โดยเฉพาะด้านการสร้างจิตสํานึกด้านคุณธรรม จริยธรรม วฒันธรรมอนัดีงามของไทย ด้วยการสนับสนุนด้าน

    งบประมาณและกาํลงัคนเพื่อใชใ้นการติดตามแผนงานและการจดักิจกรรม รวมทั้งดา้นกายภาพ เพื่อส่งเสริมให้เกิด

    พ้ืนท่ีทางวฒันธรรม ไดแ้ก่ การปรับปรุงเรือนไทย และการสร้างหอศิลป์ธรรมศาสตร์

    ในการดาํเนินงานดา้นการทาํนุบาํรุงศิลปวฒันธรรมนั้น มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์มีคณะและหน่วยงานท่ี

    ทาํงานดา้นการทาํนุบาํรุงศิลปะและวฒันธรรมโดยตรงหลายหน่วยงาน ไดแ้ก่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ และสถาบนัไทย

    คดีศึกษา และยงัมีคณะและหน่วยงานอีกเป็นจาํนวนมากที่มีกิจกรรมทาํนุบาํรุงศิลปะและวฒันธรรม ไดแ้ก่ คณะ

    สถาปัตยกรรมศาสตร์และการผงัเมือง คณะวารสารศาสตร์และส่ือสารมวลชน คณะสงัคมวทิยาและมานุษยวทิยา และ

    หอจดหมายเหตุ เป็นตน้

    องค์ประกอบที ่7 การบริหารและการจดัการ

  • มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์มีสภามหาวิทยาลยัซ่ึงประกอบดว้ยผูท้รงคุณวุฒิผูมี้ความรู้ความสามารถและ

    ประสบการณ์คอยกาํกับดูแลการดาํเนินงานของมหาวิทยาลยัให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ประกอบการ

    มหาวิทยาลยัมีนโยบายและทิศทางการบริหารมหาวิทยาลยัที่ชดัเจน มีระบบและกลไกการประเมินผูบ้ริหารระดบั

    มหาวิทยาลยั และระดับคณะ/สํานัก/สถาบัน และมีการนาํผลการประเมินมาปรับปรุงการบริหารงาน นอกจากน้ี

    มหาวทิยาลยัไดมี้การนาํระบบเทคโนโลยสีารสนเทศมาใชใ้นการบริหารงาน รวมทั้งให้ความสาํคญัในการดาํเนินการ

    เร่ืองการบริหารความเส่ียงและควบคุมภายใน โดยมีการจดัทาํแผนบริหารความเส่ียงท่ีจะทาํให้มหาวิทยาลยัสามารถ

    บรรลุเป้าหมายตามแผนกลยทุธ์ท่ีกาํหนดไว ้

    องค์ประกอบที ่8 การเงนิและงบประมาณ

    การบริหารดา้นการเงินและงบประมาณของมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์มีการกระจายอาํนาจให้หน่วยงานไป

    พร้อมกบัการกาํหนดระเบียบ หลกัเกณฑท์างการเงินท่ีชดัเจน มีการบริหารการลงทุนเพือ่ให้ไดผ้ลตอบแทนมากข้ึน

    โดยการมอบหมายให้บริษทัหลกัทรัพยจ์ดัการกองทุนภายนอกบริหารจดัการเงินลงทุนของมหาวิทยาลยับางส่วน

    นอกจากการบริหารการเงินและงบประมาณโดยการกระจายอาํนาจให้หน่วยงานแลว้ การให้ความสําคญักับการ

    รายงานทางการเงินต่อท่ีประชุมสภามหาวทิยาลยัและท่ีประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลยั มหาวิทยาลยักาํลงั

    พยายามพฒันาระบบฐานขอ้มูลทางดา้นงบประมาณ การเงินบญัชีและพสัดุให้หน่วยงานสามารถใชไ้ดทุ้กแหล่ง

    งบประมาณ และพยายามพฒันาระบบการจดัทาํรายงานทางการเงินให้มีความทนัสมยั โดยกาํหนดนโยบายบญัชีของ

    มหาวิทยาลยัและประกาศใชทุ้กหน่วยงาน กาํหนดผงับญัชีของมหาวิทยาลยัและหน่วยงานให้มีความหมายเดียวกนั

    แกไ้ขหรือออกระเบียบให้สอดคลอ้งกบัระบบบญัชีใหม่ รวมทั้งจดัทาํคู่มือทางบญัชี และฝึกอบรมการใชร้ะบบบญัชี

    ตามหลกัเกณฑบ์ญัชีคงคา้ง ใหผู้จ้ดัทาํบญัชีของมหาวทิยาลยัและหน่วยงาน

    องค์ประกอบที ่9 ระบบและกลไกการประกนัคุณภาพ

    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ให้ความสําคัญกับการประกันคุณภาพโดยอธิการบดีดํารงตาํแหน่งประธาน

    คณะกรรมการประกนัคุณภาพการศึกษาระดบัมหาวิทยาลยัเอง ส่วนในทางปฏิบติัมหาวิทยาลยัไดจ้ดัทาํคู่มือการ

    ประกนัคุณภาพการศึกษาเพื่อใชเ้ป็นแนวทางในการดาํเนินงานดา้นการประกนัคุณภาพ และมีระบบและกลไกการ

    ประกนัคุณภาพการศึกษาอยา่งต่อเน่ืองทั้งในระดบัมหาวทิยาลยัและระดบัคณะ/สาํนกั/สถาบนัและระดบัภาควิชา โดย

    มีการนาํผลการประเมินไปปรับปรุงการดาํเนินงานของหน่วยงานอยา่งครบวงจร

    ในปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลยัไดจ้ดัโครงการรางวลัคุณภาพ เพื่อแสวงหา Good Practice ในดา้นต่างๆ

    เพื่อนาํมาเผยแพร่เป็นตวัอยา่งการดาํเนินการกบัหน่วยงานอ่ืนในมหาวิทยาลยั และในขณะน้ีไดพ้ยายามพฒันาระบบ

    สารสนเทศที่เอ้ือต่อการจัดเก็บขอ้มูลการประกันคุณภาพ เพื่อลดขั้นตอนในการทาํงานและลดความซํ้ าซ้อนการ

    รายงานขอ้มูล รวมทั้งการสร้างเครือข่ายการแลกเปล่ียนเรียนรู้ดา้นการประกนัคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลยั

  • เพือ่หาแนวปฏิบัติที่ดีในการดําเนินงานด้านต่างๆ และการวิจัยสร้างนวตักรรมด้านการประกันคุณภาพข้ึนใน

    มหาวทิยาลยั

    องค์ประกอบที ่97 อตัลกัษณ์

    มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์มุ่งเนน้การส่งเสริมและการใหก้ารศึกษาเพ่ือสร้างพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย

    โดยยดึแนวทางท่ีสาํคญัคือการเร่ิมตน้แกปั้ญหาในสงัคมดว้ยตวัเรา การเคารพหลกัประชาธิปไตย ดว้ยการเคารพกติกา

    เคารพหลกัความเสมอภาค และรับผดิชอบต่อสงัคม ซ่ึงสะทอ้นค่านิยมของความเป็นธรรมศาสตร์ ท่ีหมายถึงการมีจิต

    สาธารณะและความรับผิดชอบต่อสังคม การอุทิตตนเพื่อประชาชน การดําเนินงานในปีการศึกษา 2555 นั้ น

    มหาวทิยาลยัมีระบบและกลไกในการสร้างกิจกรรมเพ่ือชุมชนและสงัคม โดยอาศยัการเรียนท่ีมุ่งเนน้การบริการสังคม

    เป็นตวัขบัเคลื่อน ประกอบกบัการมีนโยบายที่สําคญัในการกาํหนดให้แต่ละคณะเป็นผูป้ระสานงานชุมชน แต่ละ

    ชุมชนรอบมหาวิทยาลยั และมีวิชาอย่างน้อย 1 วิชาที่มีการดาํเนินงานเพื่อการพฒันา แกปั้ญหาให้แก่ชุมชนรอบๆ

    มหาวิทยาลยั นอกจากน้ีมหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ยงัตระหนักถึงความสาํคญัดา้นส่ิงแวดลอ้ม โดยมีโครงการระดบั

    มหาวิทยาลยัจาํนวนหลายโครงการ ไดแ้ก่ โครงการแยกขยะ การใชจ้กัรยาน การปลูกตน้ไม ้การประหยดัพลงังาน

    และการผลิตพลงังานไฟฟ้าจากแหล่งหมุนเวยีน เป็นตน้

    เมื่อพิจารณาผลการประเมินคุณภาพของมหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2555 ตามองค์ประกอบ

    คุณภาพและตวับ่งช้ี ประกอบดว้ย ตวับ่งช้ีของสาํนกังานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จาํนวน 23 ตวับ่งช้ี ตวั

    บ่งช้ีของสาํนกังานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) จาํนวน 20 ตวับ่งช้ี และตวับ่งช้ีเฉพาะของ

    มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ (มธ.) จาํนวน 7 ตวับ่งช้ี รวมทั้งส้ิน 50 ตวับ่งช้ี

    สรุปปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์มีผลการประเมินตนเองรวม 4.68 คะแนน (คะแนนเต็ม 5

    คะแนน) อยูใ่นระดบัดีมาก หากพิจารณาเฉพาะตวับ่งช้ีคุณภาพ สกอ. มีผลการประเมินท่ี 4.70 คะแนน อยูใ่นระดบัดี

    มาก และเฉพาะตวับ่งช้ีคุณภาพ สมศ. มีผลการประเมินท่ี 4.78 คะแนน อยูใ่นระดบัดีมาก โดยสามารถนาํเสนอผลการ

    ประเมินตามองคป์ระกอบคุณภาพ ดงัน้ี

    สรุปผลการประเมนิตนเองของมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2555

    องค์ประกอบคุณภาพ

    ผลการประเมนิ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน)

    ตวับ่งช้ี สกอ. ตวับ่งช้ี สมศ. ตวับ่งช้ีทั้งหมด

    (23 ตวับ่งช้ี) (20 ตวับ่งช้ี) (50 ตวับ่งช้ี)

    1. ปรัชญา ปณิธาน วตัถุประสงค ์และแผนดาํเนินการ 5 ดีมาก - - 5 ดีมาก

    2. การผลิตบณัฑิต 4.21 ดี 4.56 ดีมาก 4.27 ดี

    3. กิจกรรมการพฒันานิสิตนกัศึกษา 5 ดีมาก - - 5 ดีมาก

  • องค์ประกอบคุณภาพ

    ผลการประเมนิ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน)

    ตวับ่งช้ี สกอ. ตวับ่งช้ี สมศ. ตวับ่งช้ีทั้งหมด

    (23 ตวับ่งช้ี) (20 ตวับ่งช้ี) (50 ตวับ่งช้ี)

    4. การวจิยั 4.84 ดีมาก 4.56 ดีมาก 4.74 ดีมาก

    5. การบริการทางวชิาการแก่สงัคม 5 ดีมาก 5 ดีมาก 5 ดีมาก

    6. การทาํนุบาํรุงศิลปะและวฒันธรรม 5 ดีมาก 5 ดีมาก 5 ดีมาก

    7. การบริหารและการจดัการ 5 ดีมาก 5 ดีมาก 5 ดีมาก

    8. การเงินและงบประมาณ 5 ดีมาก - - 5 ดีมาก

    9. ระบบและกลไกการประกนัคุณภาพ 5 ดีมาก 4.70 ดีมาก 5 ดีมาก

    97. องคป์ระกอบตามอตัลกัษณ์ - - 4.87 ดีมาก 4.87 ดีมาก

    คะแนนประเมินทุกองคป์ระกอบ 4.70 ดีมาก 4.78 ดีมาก 4.68 ดีมาก

    เม่ือพิจารณาเฉพาะตวับ่งช้ี สกอ. มีผลการประเมินอยู่ในระดบัดีมาก (4.70 คะแนน) โดยมีผลการประเมิน

    ระดบัดีมาก จาํนวน 8 องคป์ระกอบ ไดแ้ก่ องคป์ระกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วตัถุประสงค์ และแผนดาํเนินการ (5

    คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 3 กิจกรรมการพฒันานิสิตนกัศึกษา (5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 4 การวิจยั (4.84 คะแนน)

    องค์ประกอบท่ี 5 การบริการวิชาการแก่สังคม (5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 6 การทาํนุบาํรุงศิลปะและวฒันธรรม (5

    คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 7 การบริหารและการจดัการ (5 คะแนน) และองคป์ระกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ (5

    คะแนน) และองค์ประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกนัคุณภาพ (5 คะแนน) มีผลการประเมินระดบัดี จาํนวน 1

    องคป์ระกอบ ไดแ้ก่ องคป์ระกอบท่ี 2 การผลิตบณัฑิต (คะแนน 4.21)

    หากพิจารณาเฉพาะตวับ่งช้ี สมศ. มีผลการประเมินอยูใ่นระดบัดีมาก (4.78 คะแนน) โดยมีผลการประเมิน

    ของทุกองคป์ระกอบในระดบัดีมาก ไดแ้ก่ องคป์ระกอบท่ี 2 การผลิตบณัฑิต (4.56 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 4 การวจิยั

    (4.56 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม (5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 6 การทาํนุบาํรุงศิลปะ

    และวฒันธรรม (5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 7 การบริหารและการจดัการ (5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 9 ระบบและ

    กลไกการประกนัคุณภาพ (4.70 คะแนน) และองคป์ระกอบท่ี 97 องคป์ระกอบตามอตัลกัษณ์ (4.87 คะแนน)

    แม้ว่าผลการประเมินในปีการศึกษา 2555 จะได้คะแนนการประเมินในระดับดีมาก แต่ก็ยงัคงมีบาง

    ตวับ่งช้ีท่ียงัตอ้งพฒันาการดาํเนินงานอย่างต่อเน่ือง เช่น ระบบและกลไกการพฒันาและบริหารหลกัสูตร จากการ

    พิจารณาผลการดาํเนินงานพบว่า หลกัสูตรที่เปิดสอนส่วนใหญ่มีการดาํเนินงานให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

    หลกัสูตรและกรอบมาตรฐานคุณวฒิุระดบัอุดมศึกษาแห่งชาติ รวมทั้งมีการประกนัคุณภาพหลกัสูตรและการจดัการ

    เรียนการสอนตลอดระยะเวลาท่ีจดัการเรียนการสอน แต่การบริหารหลกัสูตรตามเกณฑม์าตรฐานและการติดตามและ

    ประเมินผลการดาํเนินงานของหลกัสูตรตามตวับ่งช้ีและเกณฑท่ี์กาํหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวฒิุระดบัอุดมศึกษา

  • แห่งชาติ ยงัดาํเนินการไม่ครบถว้นทุกหลกัสูตรท่ีเปิดสอน ซ่ึงมหาวิทยาลยัจะตอ้งกาํหนดกลไกส่งเสริมและช่วยให้

    คณะ/หน่วยงานจัดการเรียนการสอนดาํเนินการให้เป็นไปตามเกณฑ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน รวมทั้ งการ

    ส่งเสริมให้คณะ/หน่วยงานจดัการเรียนการสอนจดัทาํ มคอ.3 - มคอ.4 ไดค้รบถว้นทุกรายวิชาของทุกหลกัสูตรก่อน

    การเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ตามที่กาํหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบัอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยการจดั

    งบประมาณสนบัสนุนคณะ/หน่วยงานในการทาํ มคอ.3 - มคอ.4

    นอกจากน้ีร้อยละของอาจารยท่ี์ดาํรงตาํแหน่งทางวชิาการ ยงัไม่บรรลุเป้าหมายท่ีกาํหนด ซ่ึงมหาวิทยาลยัจะ

    ไดผ้ลกัดนัให้คณะ/หน่วยจดัการเรียนการสอนเขา้ถึงอาจารยที์่มีคุณสมบติัครบที่จะขอตาํแหน่งทางวิชาการ ให้ทาํ

    ผลงานทางวิชาการเพื่อขอรับตาํแหน่งทางวิชาการ โดยมหาวิทยาลยัไดมี้การสนบัสนุนส่งเสริมทางดา้นการวิจยัเพื่อ

    ช่วยใหอ้าจารยส์ามารถทาํผลงานเพ่ือขอตาํแหน่งทางวชิาการไดม้ากข้ึน

    มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ได้แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลยั ซ่ึงมีรอง

    ศาสตราจารย ์ทนัตแพทย ์นายแพทย ์ดร.สิทธิชยั ทดัศรี เป็นประธานกรรมการไดป้ระเมินคุณภาพมหาวทิยาลยั เม่ือวนั

    องัคารท่ี 21 – วนัพฤหัสบดีที่ 23 พฤษภาคม 2556 สรุปมีผลการประเมินตนเองรวม 4.61 คะแนน (คะแนนเต็ม 5

    คะแนน) อยูใ่นระดบัดีมาก หากพิจารณาเฉพาะตวับ่งช้ีคุณภาพ สกอ. มีผลการประเมินท่ี 4.53 คะแนน อยูใ่นระดบัดี

    มาก และเฉพาะตวับ่งช้ีคุณภาพ สมศ. มีผลการประเมินท่ี 4.80 คะแนน อยูใ่นระดบัดีมาก โดยสามารถนาํเสนอผลการ

    ประเมินตามองคป์ระกอบคุณภาพ ดงัน้ี

    สรุปผลการประเมนิคุณภาพของมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

    โดยคณะกรรมการประเมนิคุณภาพการศึกษาระดบัมหาวทิยาลยั ปีการศึกษา 2555

    องค์ประกอบคุณภาพ

    ผลการประเมนิ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน)

    ตวับ่งช้ี สกอ. ตวับ่งช้ี สมศ. ตวับ่งช้ีทั้งหมด

    (23 ตวับ่งช้ี) (20 ตวับ่งช้ี) (50 ตวับ่งช้ี)

    1. ปรัชญา ปณิธาน วตัถุประสงค ์และแผนดาํเนินการ 5 ดีมาก - - 5 ดีมาก

    2. การผลิตบณัฑิต 3.97 ดี 4.63 ดีมาก 4.18 ดี

    3. กิจกรรมการพฒันานิสิตนกัศึกษา 5 ดีมาก - - 5 ดีมาก

    4. การวจิยั 4.84 ดีมาก 4.61 ดีมาก 4.76 ดีมาก

    5. การบริการทางวชิาการแก่สงัคม 5 ดีมาก 5 ดีมาก 5 ดีมาก

    6. การทาํนุบาํรุงศิลปะและวฒันธรรม 5 ดีมาก 5 ดีมาก 5 ดีมาก

    7. การบริหารและการจดัการ 4.75 ดีมาก 5 ดีมาก 4.83 ดีมาก

    8. การเงินและงบประมาณ 5 ดีมาก - - 5 ดีมาก

    9. ระบบและกลไกการประกนัคุณภาพ 4 ดี 4.53 ดีมาก 4 ดี

  • องค์ประกอบคุณภาพ

    ผลการประเมนิ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน)

    ตวับ่งช้ี สกอ. ตวับ่งช้ี สมศ. ตวับ่งช้ีทั้งหมด

    (23 ตวับ่งช้ี) (20 ตวับ่งช้ี) (50 ตวับ่งช้ี)

    97. องคป์ระกอบตามอตัลกัษณ์ - - 4.89 ดีมาก 4.89 ดีมาก

    คะแนนประเมินทุกองคป์ระกอบ 4.53 ดีมาก 4.80 ดีมาก 4.61 ดีมาก

    เม่ือพิจารณาเฉพาะตวับ่งช้ี สกอ. มีผลการประเมินอยู่ในระดบัดีมาก (4.53 คะแนน) โดยมีผลการประเมิน

    ระดบัดีมาก จาํนวน 7 องค์ประกอบ ไดแ้ก่ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วตัถุประสงค์ และแผนดาํเนินการ

    (5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 3 กิจกรรมการพฒันานิสิตนกัศึกษา (5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 4 การวิจยั (4.84 คะแนน)

    องค์ประกอบท่ี 5 การบริการวิชาการแก่สังคม (5 คะแนน) องค์ประกอบท่ี 6 การทาํนุบาํรุงศิลปะและวฒันธรรม

    (5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 7 การบริหารและการจดัการ (4.75 คะแนน) และองคป์ระกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ

    (5 คะแนน) มีผลการประเมินระดบัดี จาํนวน 2 องคป์ระกอบ ไดแ้ก่ องคป์ระกอบท่ี 2 การผลิตบณัฑิต (คะแนน 3.97)

    และองคป์ระกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกนัคุณภาพ (4 คะแนน)

    หากพิจารณาเฉพาะตวับ่งช้ี สมศ. มีผลการประเมินอยูใ่นระดบัดีมาก (4.80 คะแนน) โดยมีผลการประเมิน

    ของทุกองคป์ระกอบในระดบัดีมาก ไดแ้ก่ องคป์ระกอบท่ี 2 การผลิตบณัฑิต (4.63 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 4 การวจิยั

    (4.61 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม (5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 6 การทาํนุบาํรุงศิลปะ

    และวฒันธรรม (5 คะแนน) องค์ประกอบท่ี 7 การบริหารและการจดัการ (5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 9 ระบบและ

    กลไกการประกนัคุณภาพ (4.53 คะแนน) และองคป์ระกอบท่ี 97 องคป์ระกอบตามอตัลกัษณ์ (4.89 คะแนน)

    หากพิจารณาเฉพาะตวับ่งช้ีทั้งหมด มีผลการประเมินอยูใ่นระดบัดีมาก (4.61 คะแนน) โดยมีผลการประเมิน

    ระดบัดีมาก จาํนวน 8 องค์ประกอบ ไดแ้ก่ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วตัถุประสงค์ และแผนดาํเนินการ

    5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 3 กิจกรรมการพฒันานิสิตนกัศึกษา (5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 4 การวิจยั (4.76 คะแนน)

    องค์ประกอบท่ี 5 การบริการวิชาการแก่สังคม (5 คะแนน) องค์ประกอบท่ี 6 การทาํนุบาํรุงศิลปะและวฒันธรรม

    (5 คะแนน) องคป์ระกอบท่ี 7 การบริหารและการจดัการ (4.83 คะแนน) และองคป์ระกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ

    (5 คะแนน) และองคป์ระกอบท่ี 97 องคป์ระกอบตามอตัลกัษณ์ (4.89 คะแนน) มีผลการประเมินระดบัดี จาํนวน 2

    องค์ประกอบ ไดแ้ก่ องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบณัฑิต (คะแนน 4.18) และองค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการ

    ประกนัคุณภาพ (4 คะแนน)

    อยา่งไรก็ตาม มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์มีความมุ่งมัน่ท่ีจะดาํเนินการในดา้นต่างๆ เพ่ือใหบ้รรลุเป้าประสงค์

    ที่ไดก้าํหนดไว ้และตระหนักดีว่า มหาวิทยาลยัยงัคงตอ้งมีการใช้กระบวนการคุณภาพ เช่น PDCA ในการพฒันา

    คุณภาพการดาํเนินการในดา้นต่างๆ เพ่ือใหม้หาวทิยาลยัเป็นมหาวทิยาลยัชั้นนาํของประเทศตามวสิยัทศันท่ี์กาํหนดไว ้

  • รายงานการประเมินตนเอง

    มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2555

    1

    บทที่ 1

    ส่วนนํา

    ส่วนที่ 1 ข้อมูลเบือ้งต้นของมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

    ช่ือหน่วยงาน มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

    ที่ตั้ง ท่าพระจนัทร์ 2 ถนนพระจนัทร์ แขวงพระบรมมหาราชวงั เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

    ศูนยรั์งสิต 99 หมู่ 18 ตาํบลคลองหน่ึง อาํเภอคลองหลวง จงัหวดัปทุมธานี

    ศูนยล์าํปาง 248 หมู่ 2 ถนนลาํปาง-เชียงใหม่ ตาํบลปงยางคก อาํเภอหา้งฉตัร จงัหวดัลาํปาง

    ศูนยพ์ทัยา 39/4 หมู่ 5 ตาํบลโป่ง อาํเภอบางละมุง จงัหวดัชลบุรี

    1. ประวตัคิวามเป็นมาของมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จัดตั้ งข้ึนเมื่อวนัที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ในนามของ “มหาวิทยาลัยวิชา

    ธรรมศาสตร์และการเมือง” เป็นมหาวิทยาลัยประเภทตลาดวิชาแห่งแรกในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติ

    มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์และการเมือง พ.ศ. 2476 เปิดทาํการสอนนกัศึกษาในระดบัปริญญาตรี ผูส้าํเร็จการศึกษา จะ

    ไดรั้บปริญญาธรรมศาสตรบณัฑิต ในปี พ.ศ. 2492 ไดมี้การพฒันาและปรับปรุงหลกัสูตรโดยเพิ่มหลกัสูตรเน้ือหาวชิา

    ที่ชดัเจนและแยกเป็น 4 คณะ ไดแ้ก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะ

    เศรษฐศาสตร์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2495 ไดมี้การเปลี่ยนช่ือมหาวิทยาลยัเป็น “มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์” รวมทั้งยกเลิก

    การใหป้ริญญาธรรมศาสตรบ