18
บทที3 วิธีดําเนินการสรางเครื่องมือ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสราง Learning Objects สําหรับการพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที1 ผู ศึกษาไดดําเนินการ สรางโดยยึดหลักการออกแบบ e-Learning Courseware ของ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545, หนา 95-118) และการออกแบบการสราง Learning Objects (สติยา ลังการพินธุ, 2548) เปนแนวทางการ ประยุกตและปรับเปนวิธีดําเนินการโดยการรวมหลักการออกแบบ e-Learning Courseware เขากับ แนวการออกแบบการสราง Learning Objects ไดตามขั้นตอนดังนีขั้นตอนที1 ขั้นตอนการเตรียม ผูศึกษาไดทําการศึกษาเพื่อเตรียมการกอนการออกแบบและสราง Learning Objects สําหรับการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที1 เรื่อง ทักษะการจําแนกประเภท (Classifying) โดยดําเนินการตามขั้นตอนดังตอไปนี1.1 รวบรวมขอมูล การรวบรวมขอมูลเพื่อเตรียมความพรอมในการสราง Learning Objects เรื่อง ทักษะการ จําแนกประเภท (Classifying) ผูศึกษาไดทําเนินการรวบรวมขอมูลโดยแบงออกเปน 4 สวนดังนี1. สวนของเนื้อหา โดยศึกษาและรวบรวมเนื้อหาเรื่องทักษะการจําแนกประเภท (Classifying) จากหนังสือ ตําราเรียน เอกสารทางวิชาการตางๆ และผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา 2. สวนของการออกแบบ Learning Objects โดยศึกษาและรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการ ออกแบบ Learning Objects จากหนังสือ อินเตอรเน็ต และการสราง Learning Objects โดยใช โปรแกรม Macromedia Flash 8 3. สวนของสื่อที่ใชในการนําเสนอ Learning Objects โดยศึกษาและรวบรวมคูมือตางๆ ทีเกี่ยวกับการใชงานคอมพิวเตอร และโปรแกรมชวยสราง Learning Objects ซึ่งโปรแกรมที่จะนํามา

บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

บทที่ 3

วิธีดําเนินการสรางเครื่องมือ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสราง Learning Objects สําหรับการพัฒนาทักษะ

กระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐานสาํหรับนักเรยีนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ผูศึกษาไดดําเนินการสรางโดยยึดหลักการออกแบบ e-Learning Courseware ของ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545, หนา 95-118) และการออกแบบการสราง Learning Objects (สติยา ลังการพนิธุ, 2548) เปนแนวทางการประยุกตและปรับเปนวิธีดําเนินการโดยการรวมหลักการออกแบบ e-Learning Courseware เขากับแนวการออกแบบการสราง Learning Objects ไดตามขัน้ตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนการเตรียม

ผูศึกษาไดทําการศึกษาเพื่อเตรียมการกอนการออกแบบและสราง Learning Objects สําหรับการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขัน้พื้นฐานสําหรับนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 1 เร่ือง ทักษะการจําแนกประเภท (Classifying) โดยดําเนินการตามขัน้ตอนดังตอไปนี้

1.1 รวบรวมขอมูล

การรวบรวมขอมูลเพื่อเตรียมความพรอมในการสราง Learning Objects เร่ือง ทักษะการจําแนกประเภท (Classifying) ผูศึกษาไดทําเนินการรวบรวมขอมูลโดยแบงออกเปน 4 สวนดังนี้ 1. สวนของเนื้อหา โดยศึกษาและรวบรวมเนื้อหาเรื่องทักษะการจําแนกประเภท(Classifying) จากหนังสือ ตําราเรียน เอกสารทางวิชาการตางๆ และผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา 2. สวนของการออกแบบ Learning Objects โดยศึกษาและรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการออกแบบ Learning Objects จากหนังสือ อินเตอรเน็ต และการสราง Learning Objects โดยใชโปรแกรม Macromedia Flash 8 3. สวนของสื่อที่ใชในการนําเสนอ Learning Objects โดยศึกษาและรวบรวมคูมือตางๆ ที่เกี่ยวกับการใชงานคอมพิวเตอร และโปรแกรมชวยสราง Learning Objects ซ่ึงโปรแกรมที่จะนาํมา

Page 2: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

35

สราง Learning Objects ในครั้งนี้ จะศึกษาและรวบรวมขอมูลวิธีการใชงานโปรแกรมจากหนังสือ และคูมือการใชโปรแกรม Macromedia Flash 8 4. สวนของการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนเมื่อใช Learning Objects โดยศึกษาและรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) การสรางรูบริคส และการสรางแบบสังเกตพฤติกรรมในการเรียน 1.2 ศึกษาเนื้อหาและการวางแผนการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน

ผูศึกษาไดคนควาหาความรูโดยแบงการศึกษาออกเปน 2 สวนดังนี้ 1. เรียนรู และ ศกึษาเกีย่วกับเนื้อหาของ Learning Objects เร่ือง ทักษะการจําแนกประเภท

(Classifying) และ หลักการออกแบบ โดยการศึกษาจากหนังสือทางวิชาการ เอกสารที่เกี่ยวของ โดยทําการรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ และ ปรึกษาผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา เพื่อขอคําแนะนําเพิ่มเติม

2. เรียนรู และ ศึกษาเกี่ยวกับการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน ในการดําเนินการศึกษาคร้ังนี้ ผูศึกษาไดดําเนินการวางแผนการประเมินผลการเรียนของผูเรียนโดยใชการประเมินสภาพจริง (Authentic Assessment) ซ่ึงเครื่องมือที่ใชในการประเมินสภาพจริงไดแก แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผูเรียน แบบสํารวจความคิดเห็นของผูเรียนในการใช Learning Objects

ขั้นตอนการสรางแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผูเรียน

1. ศึกษาเอกสารและตําราที่เกี่ยวของกับหลักการสรางแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผูเรียนและศึกษาตัวอยางแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนจากงานวิจัยตางๆ

2. กําหนดรายการที่จะสังเกตพฤติกรรมของผูเรียนและดําเนินการสรางแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผูเรียน และกําหนดรูบริคสของแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนใหสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู

3. นําแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผูเรียนที่สรางเสร็จแลวใหอาจารยที่ปรึกษาการคนควาแบบอิสระตรวจสอบความเหมาะสมของรายการที่ประเมิน และนํามามาปรับปรุง แกไขตามขอแนะนําของอาจารยที่ปรึกษา

4. นําแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผูเรียนที่แกไข ปรับปรุงแลวไปใหผูเชี่ยวชาญชวยตรวจสอบความเหมาะสมของรายการที่ประเมินและนํามาปรับปรุงแกไขตามขอแนะนํา

5. นําแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผูเรียนไปใชกับกลุมศึกษา

Page 3: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

36

ขั้นตอนการสรางแบบสํารวจความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอการใช Learning Objects 1. ศึกษาเอกสาร ตํารา และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเปนแนวทางในการสราง แบบสํารวจ

ความคิดเห็นของผูเรียนในการใช Learning Objects 2. กําหนดรายการที่จะสํารวจความคิดเห็นของผูเรียน และดําเนินการสรางแบบสํารวจ

ความคิดเห็นของผูเรียน 3. นําแบบสํารวจความคิดเห็นของผูเรียนในการใช Learning Objects ที่สรางเสร็จแลว

ใหอาจารยที่ปรึกษาการคนควาแบบอิสระตรวจสอบความเหมาะสมของรายการที่สํารวจความคิดเห็น และนํามามาปรับปรุง แกไขตามขอแนะนําของอาจารยที่ปรึกษา

4. นําแบบสํารวจความคิดเห็นของผูเรียนในการใช Learning Objects ไปใหผูเชี่ยวชาญชวยตรวจสอบความเหมาะสมของรายการที่สํารวจความคิดเห็นและนํามาใชกับกลุมศึกษา

1.3 ศึกษาและรวบรวมขอมูลเก่ียวกับการออกแบบ Learning Objects

ในการคนควาแบบอิสระครั้งนี้ ผูศึกษาจะมุงเนนเพื่อทําการศึกษาในดานการออกแบบและ

สรางสื่อ Learning Objects ที่เกี่ยวกับการเรียนรูของผูเรียน ประกอบดวยคุณลักษณะของ Learning Objects ในดานขนาดที่มีความกะทัดรัด (bite-sized/granularity) ความสมบูรณในตนเอง (self-contained) รวมไปถึงการออกแบบที่เอื้อใหเกิดการเรียนรูที่มีความหมาย (conducive to learning) แกผูเรียน ซ่ึงจะครอบคลุมการออกแบบในดานตางๆ ดังนี้คือ การออกแบบดานการเรียนการสอน การออกแบบสวนของการโตตอบ การออกแบบดานขอมูลหรือเนื้อหา และการออกแบบหนาจอ โดยที่ผูศึกษาจะไมมุงเนนที่จะศึกษาในเรื่องเชิงเทคนิคที่เกี่ยวของกับคุณลักษณะเพื่อการจัดเก็บและคนคืนในระบบ ทั้งในเรื่องการนํากลับมาใชใหมความสามารถในการนํากลับมาใชใหม (reusability) ความสามารถในการใชงานรวมกัน (Sharability) และความสามารถในการทํางานรวมกัน (interoperability) ของสื่อ Learning Objects

Page 4: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

37

ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนการออกแบบ Learning Objects 2.1 กําหนดเปาหมายและวัตถุประสงค

ศึกษาเปาหมาย ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน เร่ือง ทักษะการจําแนกประเภท(Classifying) ซ่ึงมีเปาหมายคือ ผูเรียนสามารถแสดงพฤติกรรมที่แสดงการเกิดทักษะการจําแนกประเภทแลว โดยกําหนดเปนวัตถุประสงคได 2 ขอดังนี้

สามารถเรียงลําดับหรือแบงกลุมสิ่งตางๆ โดยใชเกณฑที่ตนเองกําหนดหรือเกณฑที่ผูอ่ืนกําหนดให

สามารถบอกเกณฑที่ผูอ่ืนใชในการเรียงลําดับหรือจําแนกได

2.2 วิเคราะหงานและแนวคิด หลังจากที่ผูศึกษาไดทําการศึกษาเนื้อหาและพิจารณาวัตถุประสงคที่กําหนดไว เพื่อนํามา

กําหนดขั้นตอนเนื้อหาที่ผูเรียนจะตองศึกษา และพิจารณาจัดเรียงลําดับขั้นของเนื้อหา

2.3 กําหนดกิจกรรมและวิธีการนําเสนอ ผูศึกษานําสิ่งที่ไดจากการวิเคราะหงานและแนวคิด มาพิจารณาจัดลําดับขั้นและวิธีการ

นําเสนอ Learning Objects โดยเรียงตามลําดับขั้นของการเกิดพฤติกรรมตามที่ไดวิเคราะหไวแลว พรอมทั้งพิจารณารูปแบบของการนําเสนอกิจกรรม รูปแบบของเกมการทดสอบใหมีปฏิสัมพันธและตอเนื่องกัน โดยไดกําหนดแนวความคิดหลักและกําหนดรูปแบบกิจกรรมการเรียนรูของสื่อ Learning Objects เร่ือง ทักษะการจําแนกประเภท ดังตอไปนี้

2.3.1 กําหนดแนวความคิดหลักของสื่อ Learning Objects Learning Objects สรางความเขาใจในแนวความคิดหลักตอไปนี้ การจําแนกประเภท

(Classifying) หมายถึง การจัดจําพวกหรือปรากฏการณตางๆ ที่ตองการศึกษาออกเปนหมวดหมู โดยจัดสิ่งที่มีสมบัติบางประการรวมกันใหอยูในกลุมเดียวกัน ในการจําแนกประเภทตองมีเกณฑในการจําแนก เกณฑในการจําแนกประเภท ไดแก ลักษณะความเหมือน ความแตกตาง หรือความสัมพันธอยางใดอยางหนึ่งก็ได ถาเปนสิ่งมีชีวิตเกณฑที่ใชมักจะเปนลักษณะของสิ่งมีชีวิต

Page 5: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

38

เชน อาหาร ที่อยูอาศัย การเคลื่อนไหว แตถาเปนสิ่งไมมีชีวิตเกณฑที่ใชมักจะเปนสี รูปราง ขนาด ลักษณะผิว วัตถุที่ใชทําประโยชน

Learning Objects ทักษะการจําแนกประเภทไดเชื่อมโยงแนวความคิดรองตอไปนี้ จําแนกประเภทของสิ่งตางๆ ไดถูกตองตามเกณฑที่ผูอ่ืนกําหนดให เมื่อกําหนดผลการจําแนกมาให สามารถระบเุกณฑที่ใชในการจําแนกประเภทได จําแนกประเภทของสิ่งตางๆ ไดถูกตองตามเกณฑที่ตนเองกําหนดขึ้นมาได แสดงการจําแนกประเภทวัตถุที่กําหนดใหแบบหลายๆ ขั้นพรอมทั้งบอกเกณฑในการจําแนกประเภทในแตละขั้นได

2.3.2 กําหนดรูปแบบกิจกรรมการเรียนรูของสื่อ Learning Objects

รูปแบบกิจกรรมการเรียนรูของสื่อ Learning Objects คือ การใหผูเรียนฝกทักษะการจําแนกประเภทใน 3 สถานการณ และ 4 กิจกรรม ดังนี้

สถานการณที่ 1 ประกอบดวยกิจกรรมจํานวน 2 กิจกรรม คือกิจกรรมที่ 1 ใหผูเรียนเลนเกมการซื้อของในซูเปอรมารเก็ต ที่ไดมีการกําหนดสิ่งของใหสําหรับการเลือกซื้อจัดเปนการกําหนดกลุมในการจําแนกเมื่อเลือกซื้อไดครบตามกําหนดแลวจะเขาสูกิจกรรมที่ 2 โดยผูเรียนจะเลือกตอบเกณฑที่ใชในการจําแนกสิ่งของที่เลือกซื้อที่กําหนดใหในแตละชุด โดยกําหนดใหนักเรียนไดฝกการจําแนกจํานวนทั้งหมด 4 ชุด เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคการจําแนกประเภทของสิ่งตางๆ ไดถูกตองตามเกณฑที่ผูอ่ืนกําหนดใหและเมื่อกําหนดผลการจําแนกมาให สามารถระบุเกณฑที่ใชในการจําแนกประเภทได

สถานการณที่ 2 ประกอบดวยกิจกรรมจํานวน 1 กิจกรรม เปนสถานการณจําลองในหองครัวเพื่อฝกการจําแนกประเภทโดยการเลือกเก็บของในชั้นเก็บของตามเกณฑที่เหมาะสมจํานวนทั้งหมด 3 ชุด เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคคือนักเรียนสามารถจําแนกสิ่งของและบอกเกณฑในการจําแนกได

สถานการณที่ 3 ประกอบดวยกิจกรรมจํานวน 1 กิจกรรม เปนสถานการณจําลองในหองทํางานเพื่อฝกการจําแนกประเภทโดยใหนักเรียนจัดสิ่งของเขาสูตูและชั้นอุปกรณซ่ึงจัดใหมีการแบงแบบกลุมใหญไปสูกลุมยอยไดแก กลุมหนังสือและสมุด แยกออกจากกลุมเครื่องเขียน แลวแยกกลุมหนังสือและสมุดออกเปนชั้นวางหนังสือ และชั้นวางสมุด ในสวนของกลุมเครื่องเขียนก็แยกออกเปนกลุมอุปกรณการเขียนและอุปกรณอ่ืน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคคือ แสดงการจําแนกประเภทวัตถุที่กําหนดใหแบบหลายๆ ขั้นพรอมทั้งบอกเกณฑในการจําแนกประเภทในแตละขั้นได

Page 6: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

39

2.4 ออกแบบรูปแบบโครงสรางของ Learning Objects นําเนื้อหาที่ไดรับการตรวจสอบและแกไขแลว มาเขียนผังงานอธิบายลําดับขั้นตอนการ

ทํางานของ Learning Objects

แผนภูมิ 3 แสดงลําดับกิจกรรมการเรียนรู

บทนํา

การจําแนกตามรูปแบบตางๆ

สรุป/ประเมินผล

การแบงกลุมโดยใชเกณฑของตนเอง

เปลี่ยนกลุมตัวอยางในการจําแนก

การบอกเกณฑในกลุมสิ่งของ ที่ถูกแบงแลว

Feedback

การแบงกลุมโดยใชเกณฑที่กําหนดให

เปลี่ยนกลุมตัวอยางในการจําแนก

Feedback

Page 7: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

40

แผนภูมิ 4 แสดงลําดับกิจกรรมการเรียนรูโดยละเอียด

บทนํา นําเขาสูกิจกรรมโดยคุณแมใหลูกชายใหไปซื้อของที่รานขายของ

สถานการณที่ 1 กิจกรรมที่ 2 การบอกเกณฑในการแบงกลุมจากกลุมสิ่งของที่กําหนดให

ชุดกิจกรรมการเลือกซื้อของแตละชุดตามกลุมที่กําหนดใหตามเวลาและงบประมาณ

Feedback

สถานการณที่ 1 กิจกรรมที่ 1 การจําแนกสิ่งของออกเปน 2 กลุมตามเกณฑกําหนด

จําแนกสิ่งของตามเกณฑที่เหมาะสม

Feedback

สถานการณที่ 2 กิจกรรมที่ 3 การจําแนกสิ่งของออกเปน 2 กลุมตามเกณฑของตนเอง

Feedback

สรุปจบ

สถานการณที่ 3 กิจกรรมที่ 4 จําแนกหลายขั้นตอนพรอมทั้งกําหนดเกณฑการจําแนก

Page 8: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

41

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนการสรางผงัดาํเนินเรื่อง (Storyboard)

สรางผังดําเนินเรื่อง (Storyboard) ตามขั้นตอนการออกแบบ Learning Objects ซ่ึงเปนขั้นตอนการเตรียมการนําเสนอ ทั้งขอความ ภาพ และสื่อมัลติมีเดียตาง ๆ เปนการจําลองสิ่งที่ผูเรียนจะไดเหน็บนหนาจอลงบนกระดาษ ซ่ึงไดแก เนื้อหา ขอมูล คําถาม ผลปอนกลับ คําแนะนํา คําช้ีแจง กอนที่จะนําไปออกแบบจริงบนหนาจอ ซ่ึงจะกําหนดรายละเอยีดทุกอยางใหคลายกับสื่อที่จะสรางจริง เชน ตัวดําเนินเรื่อง ฉากประกอบ หนาจอหลัก หรือการใชสีและตัวอักษร เปนตน โดยสรางผังดําเนินเรื่อง (Storyboard) ตามกลยทุธการเรียนการสอน สวนของการโตตอบ(ดังภาพที่ 1 ) และรูปแบบกจิกรรมการเรียนรูที่ไดออกแบบไวซ่ึงครอบคลุมการออกแบบทั้ง 2 ดานไดแก การออกแบบดานการเรียนการสอน และการออกแบบสวนของการโตตอบ

Storyboard Learning Objects การจําแนกประเภท หนา 1 ลําดับที่ 1 Concept intro หมูบาน ณ บานของ นองเบส

รายละเอียด 1. ภาพ: คุณแมและนองเบสคุยกันที่

หนาบาน การยื่นรายการของที่ตองการซื้อ

2. การสื่อความ: คุณแมขอนองเบสไปซื้อของที่รานขายของ

3. Animation : แสดงการพูดคุย

ภาพประกอบ

เสียงประกอบ

แม : “ นองเบสไปซื้อของที่รานตามรายการนีใ้หแมหนอยนะคะ” ลูกชาย : “ ครับผม”

ภาพที่ 1 แสดงการตัวอยางผังดําเนินเรื่อง (Storyboard) ในขั้นนําเขาสูกิจกรรม

Page 9: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

42

3.1 การออกแบบดานการเรียนการสอน

การออกแบบในดานการเรียนการสอน ผูศึกษาไดทําการสรางผังดําเนินเรื่องตามรูปแบบของกิจกรรมที่ไดออกแบบไว คือ ใหผูเรียนฝกกิจกรรมจํานวน 4 กิจกรรมในสถานการณจํานวน 3 สถานการณ โดยมีรายะเอียดของแตละกิจกรรมดังนี้

กิจกรรมการจําแนกประเภทของสิ่งตางๆ ตามเกณฑท่ีผูอ่ืนกําหนดให และระบุเกณฑท่ีใชในการจําแนกประเภท

ใหผูเรียนฝกทักษะการจําแนกประเภทในสถานการณที่ 1 กิจกรรมที่ 1 เปนกิจกรรมการเลนเกมการซื้อของในรานซูเปอรมารเก็ต ที่ไดมีการกําหนดสิ่งของใหสําหรับการเลือกซื้อภายใตงบประมาณและเวลาที่กําหนด กิจกรรมที่ 2 เมื่อซ้ือของไดตามกําหนดและถูกตองตามเงื่อนไขแลว Learning Objects จะกําหนดใหผูเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับเกณฑที่ใชในการจําแนก โดยใชขอเลือกตอบถานักเรียนตอบถูกก็จะเขาสูกิจกรรมในลําดับขั้นตอไป ถาตอบผิดก็จะใหยอนกลับไปเริ่มเลนเกมใหมในระดับเดิม ในกิจกรรมขั้นตอนนี้มีจํานวน 4 ลําดับขั้นตอนสําหรับการฝกทักษะการจําแนกประเภท และผูเรียนจะสามารถเลือกเลนจนครบ 4 ขั้นตอนกอนเขาสูกิจกรรมตอไป หรือจะขามไปกิจกรรมตอไปโดยการขอทดสอบความเขาใจกอน ถาสามารถผานการทดสอบก็จะเขาสูกิจกรรมตอไป แตถาไมผานก็จะตองทําขั้นการทดสอบจนกระทั่งผาน จึงจะสามารถเขาสูกิจกรรมตอไปได (ดังภาพที่ 2 )

ภาพที่ 2 แสดงการออกแบบหนาจอกิจกรรมเกมการจําแนกดวยเกมการเลือกซื้อของ

ตามเกณฑที่กําหนด

Page 10: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

43

ภาพที่ 3 แสดงการออกแบบหนาจอกิจกรรมการบอกเกณฑที่ใชในการจําแนกของ

กลุมสิ่งของที่แบงไวแลว

กิจกรรมการจําแนกประเภทของสิ่งตางๆ ตามเกณฑท่ีตนเองกําหนดขึ้น ใหผูเรียนฝกทักษะการจําแนกประเภทในสถานการณที่2 เปนกิจกรรมการจําแนกสิ่งของที่

กําหนดใหตามเกณฑที่กําหนดเอง ดวยการจัดของเขาตูเก็บของในหองครัว และในตูเย็นในแตละลําดับขั้นซึ่งในการกําหนดเกณฑจะมีแผนปายเกณฑการจําแนกใหนักเรียนเลือก (ดังภาพที่ 4)

ภาพที่ 4 แสดงการออกแบบหนาจอกิจกรรมการจําแนกสิ่งของที่กําหนดใหตามเกณฑ

ที่กําหนดเอง กิจกรรมการจําแนกประเภทวัตถุท่ีกําหนดใหแบบหลายๆ ขั้นพรอมท้ังบอกเกณฑในการจําแนกประเภทในแตละขั้นได

Page 11: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

44

ใหผูเรียนฝกทักษะการจําแนกประเภทในสถานการณที่3 เปนกิจกรรมการจําแนกสิ่งของที่กําหนดใหในหองทํางานดวยการจัดเก็บในชั้นเก็บอุปกรณการเรียน จากกลุมใหญไปสูกลุมยอยและบอกเกณฑในการแบง (ดังภาพที่ 5)

ภาพที่ 5 แสดงการออกแบบหนาจอกิจกรรมการจําแนกประเภทวัตถุที่กําหนดให

แบบหลายขั้น พรอมทั้งบอกเกณฑในการจําแนกประเภทในแตละขั้น 3.2 การออกแบบสวนของการโตตอบ

ผูศึกษาไดออกแบบสวนของการโตตอบโดยใหผูเรียนไดจัดจําแนกสิ่งของแตละระดับ (Level) ดวยตัวของผูเรียนเอง ทั้งนี้ในระหวางที่ผูเรียนทํากิจกรรม Learning Objects จะใหผลปอนกลับเพื่อแสดงใหเห็นวาผูเรียนจะสามารถไดเลนระดับ (Level) ตอไปหรือไม จนกวาจะทําใหครบตามจํานวนกลุมที่กําหนดใหในแตละกิจกรรม

เมื่อสรางผังดําเนินเรื่อง (Storyboard) เสร็จ ผูศึกษาใหอาจารยที่ปรึกษา ผูเชี่ยวชาญเนื้อหา ตรวจสอบอีกครั้งหนึ่ง หลังจากนั้นจึงทําการปรับปรุงแกไขและตรวจสอบรายละเอียดของผังดําเนินเร่ืองกอนที่จะนําไปสรางสื่อในขั้นตอนตอไป

Page 12: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

45

ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนการสราง / เขียนโปรแกรม

กราฟก ผูศึกษาทําการสรางภาพกราฟก โดยใชโปรแกรม Adobe Illustrator CS2 ในวาดภาพ

เวกเตอรขึ้นมาใหมทั้งหมด ทั้งนี้เพราะภาพกราฟกประเภทดังกลาวมีขอดี คือ มีความละเอียดและคมชัด อีกทั้งไฟลของภาพเวกเตอรที่สรางจากโปรแกรม Adobe Illustrator CS2 ยังสามารถนํามาใชรวมกับโปรแกรม Macromedia Flash 8 เพื่อสรางภาพเคลื่อนไหว (Animation) ไดงาย (ดังภาพ 6 )

ภาพ 6 แสดงการออกแบบโดยใชโปรแกรม Adobe Illustrator CS2

ภาพเคลื่อนไหว

การสรางภาพเคลื่อนไหวของ Learning Objects นั้น ผูศึกษาไดทําการสรางตามผังดําเนินเร่ืองที่ไดออกแบบไว สวนหนึ่งสรางโดยนําภาพเวกเตอรที่ทําการสรางหรือวาดจากโปรแกรม Adobe Illustrator CS2 มาอิมพอรตเขาสูโปรแกรม Macromedia Flash 8 แลวจึงสรางภาพ เคลื่อนไหวโดยกําหนดคียเฟรมและกําหนด Timeline ในโปรแกรม Macromedia Flash 8 และอีกสวนหนึ่งผูศึกษาไดวาดหรือสรางภาพขึ้นมาใหมในโปรแกรม Macromedia Flash 8 และทําการสรางภาพเคลื่อนไหวไปพรอมๆ กับในขณะที่วาดภาพดังกลาวขึ้นมา (ดังภาพ 7)

Page 13: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

46

ภาพ 7 แสดงการสรางภาพเคลื่อนไหวโดยใชโปรแกรม Macromedia Flash 8

การเขียนโปรแกรม

ในสวนของการโตตอบ (Interactive) ของ Learning Objects นั้น ผูศึกษาไดทําการเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมในโปรแกรม Macromedia Flash 8 ในคําสั่ง Action Script (ดังภาพ 7) เพื่อใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธหรือโตตอบกับตัวส่ือใหไดมากที่สุด เชน การคลิกเมาส การลาก หรือ การกําหนดรูปแบบเหตุการณที่จะเกิดขึ้นภายหลังจากที่ผูเรียนไดทํากิจกรรมตางๆ แลว เปนตน ทั้งนี้ จะรวมไปถึงการเขียนโปรแกรมเพื่อใหแตละไฟลที่อยูในรูปแบบไฟล .swf ของสื่อ Learning Objects สามารถทํางานรวมกันได ขึ้นมา (ดังภาพ 8 )

Page 14: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

47

ภาพ 8 แสดงการเขียนโปรแกรมโดยใชคําสั่ง Action Script ของโปรแกรม

Macromedia Flash 8

เสียง

ในการใชเสียงประกอบ Learning Objects ผูศึกษาไดทําการบันทึกเสียงบรรยายและ เสียงดนตรี โดยใชโปรแกรมNero wave Editor แลวตัดตอเสียงออกมาในรูปแบบของไฟล .mp3 เนื่องจากไฟลดังกลาวมีคุณภาพสูงและมีขนาดเล็ก เมื่อนําไปใชรวมกับโปรแกรม Macromedia Flash 8 จะทําใหส่ือ Learning Objects ที่จะนําไปใชงานจริงๆ ในรูปแบบของไฟล .swf มีขนาดไมใหญจนเกินไป (ดังภาพ 9)

ภาพ 9 แสดงการบันทึกและตัดตอเสียงโดยใชโปรแกรม Nero wave Editor

Page 15: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

48

ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนการผลิตเอกสารประกอบการใช Learning Objects ผลิตเอกสารคูมือการใช Learning Objects สําหรับผูเรียน และ ผูสอน แลวนําไปใหอาจารยที่ปรึกษา และ ผู เชี่ยวชาญดานการออกแบบ ตรวจสอบเพื่อนํามาปรับปรุงแกไขดังรายละเอียดในภาคผนวก จ (หนา 91) ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนการประเมินผล Learning Objects

ผูศึกษาทําการสรางแบบสอบถาม Learning Objects เพื่อตรวจสอบคุณภาพเกี่ยวกับดาน

การนําเสนอเนื้อหา ดานการกราฟกและการออกแบบ ดานการใชงานวาเปนอยางไร แลวนําไปปรึกษาอาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบ เพื่อแกไขใหถูกตองกอนนําไปทดสอบ โดยใชวิธีของ Likert Scale ( อางใน ยุทธ ไกยวรรณ , 2545 หนา 141 ) ซ่ึงเปนวิธีแบงมาตราสวน ( scale ) ของการตีความออกเปน 5 ชวง คือ

มากที่สุด ให 5 คะแนน มาก ให 4 คะแนน ปานกลาง ให 3 คะแนน นอย ให 2 คะแนน นอยที่สุด ให 1 คะแนน เกณฑในการแปลความหมายของขอมูล ผูศึกษาใชเกณฑของ Likert Scale ( อางใน ยุทธ

ไกยวรรณ, 2545 หนา 141 ) โดยมีการกําหนดคะแนนดังนี้ คาเฉลี่ย 4.50 – 5.00 อยูในระดับ มากที่สุด คาเฉลี่ย 3.50 – 4.49 อยูในระดับ มาก คาเฉลี่ย 2.50 – 3.49 อยูในระดับ ปานกลาง คาเฉลี่ย 1.50 – 2.49 อยูในระดับ นอย คาเฉลี่ย 1.00 – 1.49 อยูในระดับ นอยที่สุด

ผูศึกษานําสื่อ Learning Objects ที่สรางเสร็จใหอาจารยที่ปรึกษาการคนควาแบบอิสระ ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ ตรวจสอบโดยมีรายละเอียดดังนี้

Page 16: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

49

• ตรวจสอบดานเนื้อหา

นําสื่อ Learning Objects ที่สรางเสร็จใหผูเชี่ยวชาญเนื้อหา จํานวน 3 คน ทดสอบการใชงานดานรูปแบบของกิจกรรมที่นําเสนอ ดานความถูกตองของเนื้อหา วิธีการจัดการเรียนรูของสื่อ การใหผลปอนกลับ วิธีทดสอบความเขาใจของผูเรียนจากการฝกกิจกรรม และดานการใชงานของสื่อ Learning Objects แลวนํามาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนํา (ดูรายละเอียดในภาคผนวก ง ตาราง 6 หนา 82)

• ตรวจสอบดานการออกแบบ

นําสื่อ Learning Objects ที่สรางเสร็จใหอาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบจํานวน 3 คน ทดสอบการใชงานดานการออกแบบหนาจอ การใชขนาดและสีของตัวอักษร การออกแบบสวนของการนําทาง การใหคําชี้แจงวิธีการเลน การใชภาพกราฟก ภาพเคลื่อนไหว เสียง และสีในการออกแบบสื่อ การใหผลปอนกลับ รูปแบบกิจกรรมที่นําเสนอและวิธีทดสอบความเขาใจของผูเรียนจากการฝกกิจกรรรม แลวนํามาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนํา (ดูรายละเอียดในภาคผนวก ง ตาราง 7 หนา 84)

หลังจากนั้นผูศึกษานําผลการวิเคราะหขอมูลที่ไดมานําเสนอขอมูลในรูปแบบของตารางและความเรียง แลวเสนออาจารยที่ปรึกษาพิจารณาและใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุงแกไข

จากนั้นจึงจะนํา Learning Objects ที่ไดแกไขไปตรวจสอบ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ทดสอบแบบหนึ่งตอหนึ่ง ( One to one testing ) นําไปทดสอบใชกับผูเรียนที่ไมใช

กลุมเปาหมาย คร้ังละ 1 คน จํานวน 1 คน เพื่อตรวจสอบในดานการสื่อความหมาย การใชขอความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว ตางๆ วาในการนําเสนอบทเรียนนั้นผูเรียนเขาใจในเนื้อหาบทเรียนตรงกับผูสอนหรือไม รวมทั้งการตั้งคําถามและคําสั่ง ผูเรียนมีความเขาใจหรือไม แลวจึงนําผลที่ไดมาปรับปรุง แกไข

2. ทดสอบแบบกลุมเล็ก ( Small Group testing ) หลังจากที่ทําการปรับปรุง Learning Objects จากการทดสอบแบบหนึ่งตอหนึ่งแลว นํา Learning Objects ไปทดลองกับกลุมเล็ก ซ่ึงไมใชกลุมเปาหมาย จํานวน 10 คน แลวจึงนําผลที่ไดมาปรับปรุงแกไข

นํา Learning Objects ที่ไดปรับปรุงจนสมบูรณแลว ไปใชในการเรียนการสอนจริง คือ ผูเรียนที่เรียนอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนดาราวิทยาลัย

Page 17: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

50

• ตรวจสอบดานคุณภาพ

การตรวจสอบคุณภาพของ Learning Objects เมื่อนําไปใชกับผูเรียนโดยการใชแบบสังเกตพฤติกรรมของผูเรียนและรูบริคส (Rubrics) ของแบบสังเกตพฤติกรรม ตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว (ดูรายละเอียดในภาคผนวก ค หนา 80-81) โดยวิธีการสังเกตของครูผูสอนและผูชวยสังเกต การประเมินตนเองของผูเรียน และการสัมภาษณนักเรียนของครูผูสอนเปนรายบุคคล แลวนําผลการประเมินมาวิเคราะหโดยใชจํานวนของผูเรียนที่ไดแตละระดับคุณภาพ และการหาคาเฉลี่ย

การสอบถามความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอการใช Learning Objects โดยใชแบบสอบถามในดานความงายและสะดวกในการเขาใชงาน การใชภาพกราฟกประกอบ การใชเสียงดนตรีและเสียงบรรยายประกอบ ความยากงายของกิจกรรม ตําแหนงการจัดวางปุม ความชัดเจนในการใหคําอธิบายวิธีทํากิจกรรม หรือเลนเกม ปริมาณเนื้อหาและกิจกรรมใน Learning Objects การควบคุมและมีสวนรวมในการฝกกิจกรรมดวยตัวเอง ความสุขและสนุกสนานในการเรียน และความทาทายตื่นเตน และความคิดเห็นในไดความรูและประสบการณที่ไดจากการปฏิบัติกรรมโดยใช Learning Objects ไดแกการเกิดทักษะการจําแนก การนําความรูที่ไดไปใชใหเกิดประโยชนในการเรียนวิทยาศาสตรขั้นตอไปได และผลการประเมินตนเองดวยแบบสังเกตพฤติกรรมและรูบริคสที่กําหนดไวในดานการเกิดทักษะการจําแนกประเภทเมื่อใช Learning Objects นี้แลว (ดูรายละเอียดในภาคผนวก ค หนา 82 )

ขั้นตอนที่ 7 การวิเคราะหขอมูล และ สรุปผล ผูศึกษาวิเคราะหขอมูลตามวัตถุประสงคของการศึกษาโดยใชโปรแกรม SPSS for windows สถิติการวิเคราะหขอมูลมีดังนี้ 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผูเรียนใชสถิติคือ หาจํานวนและรอยละจํานวนของผูเรียนที่ไดแตละระดับคุณภาพ และการหาคาเฉลี่ย 2. แบบสํารวจความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอการใช Learning Objects โดยใชสถิติคือ การหาคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลความหมายของขอมูลตามเกณฑตอไปนี้

Page 18: บทที่ 3 วิธีดําเนินการสร างเครื่องมือarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2551/edtec0951yt_ch3.pdfส วนของเน

51

เกณฑการประเมินพฤติกรรมการเรียนของผูเรียน คาเฉลี่ย 3.50 – 4.00 ระดับ 4 หมายถึง ผูเรียนแสดงพฤติกรรมในระดับดีมาก คาเฉลี่ย 2.50 – 3.49 ระดับ 3 หมายถึง ผูเรียนแสดงพฤติกรรมในระดับดี คาเฉลี่ย 1.50 – 2.49 ระดับ 2 หมายถึง ผูเรียนแสดงพฤติกรรมในระดับพอใช คาเฉลี่ย 1.00 – 1.49 ระดับ 1 หมายถึง ผูเรียนแสดงพฤติกรรมในระดับควรปรับปรุง

เกณฑการแปลผลระดับความคิดเห็นที่มีตอการใช Learning Objects คาเฉลี่ย 3.50 – 4.00 ระดับ 4 หมายถึง ผูเรียนมีความคิดเห็นในระดับมากที่สุด คาเฉลี่ย 2.50 – 3.49 ระดับ 3 หมายถึง ผูเรียนมีความคิดเห็นในระดับมาก คาเฉลี่ย 1.50 – 2.49 ระดับ 2 หมายถึง ผูเรียนมีความคิดเห็นในระดับนอย คาเฉลี่ย 1.00 – 1.49 ระดับ 1 หมายถึง ผูเรียนมีความคิดเห็นในระดับนอยที่สุด

หลังจากนั้นผูศึกษานําผลการวิเคราะหขอมูลที่ไดมานําเสนอขอมูลในรูปแบบของตารางและความเรียง แลวเสนออาจารยที่ปรึกษาพิจารณาและใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุงแกไข