413

รวม กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง 2560-2563.pdfก สารบ ญ หน า ส วนท 1 กฎกระทรวง ประกาศ

  • Upload
    others

  • View
    15

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • รวม กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ประกาศ และมติคณะกรรมการการอุดมศึกษา

    ที่เกี่ยวกับ หลักเกณฑ์/แนวทาง และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง

    สิงหาคม 2560 – กุมภาพันธ์ 2563

  • รวม กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ประกาศ และมติคณะกรรมการการอุดมศึกษา ที่เกี่ยวกับหลักเกณฑ์/แนวทาง และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง สงิหาคม 2560 – กุมภาพันธ์ 2563

    รวบรวมข้อมูล และด าเนินการจัดท า ส ำนักงำนปลัดกระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ส ำนักติดตำมและประเมินผลอุดมศึกษำ กลุ่มติดตำมและประเมินผลด้ำนนโยบำยและงบประมำณอุดมศึกษำ

    ๓๒๘ ถนนศรีอยุธยำ แขวงทุ่งพญำไท เขตรำชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ 0 2610 5353 โทรสำร 0 2354 5600 website : http://www.mua.go.th/users/he-commission/index.php

  • ค าน า

    ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำได้จัดพิมพ์ กฎกระทรวง ประกำศกระทรวง ศึกษำธิกำร ประกำศ/ระเบียบ และมติคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ ที่เกี่ยวกับหลักเกณฑ์/แนวทำง และ แนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องมำแล้ว จ ำนวน 4 เล่ม (เล่มที่ 1 : พ.ศ. 2547 - 2551 เล่มที่ 2 : มกรำคม 2552 - มีนำคม 2554 เล่มที่ 3 : เมษำยน 2554 - กรกฎำคม 2556 และ เล่มที่ 4 : สิงหำคม 2556 – กรกฎำคม 2560) ซึ่งได้เผยแพร่เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อกำรสืบค้นและกำรปฏิบัติงำนของสถำบันอุดมศึกษำและหน่วยงำนที่เก่ียวข้องไปแล้วนั้น

    เนื่องจำกปัจจุบันมีกฎกระทรวง ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร ประกำศกระทรวง กำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประกำศคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ แนวทำงและ แนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องเพ่ิมข้ึน รวมทั้งที่มีกำรยกเลิกกำรใช้ ส ำนักงำนปลัดกระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรมจึงได้รวบรวม “รวม กฎกระทรวง ประกำศกระทรวง ประกำศและมติคณะกรรมกำร กำรอุดมศึกษำ ที่เก่ียวกับหลักเกณฑ์/แนวทำง และแนวปฏิบัติที่เก่ียวข้อง ตั้งแต่สิงหำคม 2560 – กุมภำพันธ์ 2563” ที่เป็นข้อมูลปัจจุบัน เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อสถำบันอุดมศึกษำในกำรเพ่ิมประสิทธิภำพและคุณภำพ ในกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ ตลอดจนเป็นคู่มือกำรปฏิบัติงำน/กำรสืบค้นของสถำบันอุดมศึกษำ และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ สำมำรถสืบค้นข้อมูลดังกล่ำวได้ใน http://www.mua.go.th/users/he-commission/ index.php

    ส ำนักงำนปลัดกระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

    ส ำนักติดตำมและประเมินผลอุดมศึกษำ กลุ่มติดตำมและประเมินผลด้ำนนโยบำยและงบประมำณอุดมศึกษำ กุมภำพันธ์ 2563

  • สารบัญ หน้า

    ส่วนที่ 1 กฎกระทรวง ประกาศ ออกตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542

    1. กฎกระทรวงกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ พ.ศ. 2561 1

    ออกตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553

    1. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง กำรจัดกำรศึกษำนอกสถำนที่ตั้งของสถำบันอุดมศึกษำ 4 ของรัฐ พ.ศ. 2560

    2. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง มำตรฐำนกำรอุดมศึกษำ พ.ศ. 2561 10 3. ประกำศคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ เรื่อง แนวทำงกำรปฏิบัติตำมกรอบมำตรฐำนคุณวุฒิ 13

    ระดับอุดมศึกษำแห่งชำติ เกี่ยวกับสมรรถนะดิจิทัล ส ำหรับคุณวุฒิระดับปริญญำตรี 4. ประกำศคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ เรื่อง แนวทำงกำรน ำมำตรฐำนกำรอุดมศึกษำ 15

    สู่กำรปฏิบัติ พ.ศ. 2561

    ออกตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 1. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง มำตรฐำนคุณวุฒิระดับปริญญำตรี สำขำกำรแพทย์แผนไทย 20

    พ.ศ. 2560 2. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง มำตรฐำนคุณวุฒิระดับปริญญำตรี สำขำพยำบำลศำสตร์ 34

    พ.ศ. 2560 3. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง มำตรฐำนคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษำ สำขำพยำบำลศำสตร์ 47

    พ.ศ. 2560 4. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง มำตรฐำนคุณวุฒิระดับปริญญำตรี สำขำวิชำภำษำอังกฤษ 70

    พ.ศ. 2560 5. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง มำตรฐำนคุณวุฒิระดับปริญญำตรี สำขำวิชำแพทยศำสตร์ 89

    พ.ศ. 2561 6. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง มำตรฐำนคุณวุฒิระดับปริญญำตรี สำขำวิชำนิติศำสตร์ 108

    พ.ศ. 2561 7. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง มำตรฐำนคุณวุฒิระดับปริญญำตรี สำขำครุศำสตร์และ 126

    สำขำศึกษำศำสตร์ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 8. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง มำตรฐำนคุณวุฒิระดับปริญญำตรี สำขำครุศำสตร์ 167

    อุตสำหกรรม (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 9. ประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง มำตรฐำนคุณวุฒิระดับปริญญำตรี สำขำวิชำกำรบัญชี 195

    พ.ศ. 2562 10. ประกำศคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ เรื่อง นโยบำยกำรเตรียมบุคลำกรก่อนเข้ำสู่ 209

    กระบวนกำรยุติธรรม

  • ออกตามพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562

    1. ประกำศกระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เรื่อง แนวทำง 210 กำรด ำเนินงำนระบบคลังหน่วยกิตระดับอุดมศึกษำ พ.ศ. 2562

    ส่วนที่ 2 กฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบ ออกตามพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546

    1. กฎกระทรวงกำรขอรับใบอนุญำตและกำรออกใบอนุญำตจัดตั้งสถำบันอุดมศึกษำเอกชน 218 พ.ศ. 2561

    2. กฎกระทรวงกำรขออนุญำตและกำรอนุญำตให้เปลี่ยนชื่อหรือเปลี่ยนประเภทสถำบัน 233 อุดมศึกษำเอกชน พ.ศ. 2561

    3. ประกำศคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ เรื่อง รำยละเอียดในกำรวิเครำะห์ควำมเป็นไปได้ 244 ตำมข้อ 5 (3) (ก) และ (ข) และรำยละเอียดกำรจัดท ำแผนกำรด ำเนินงำนตำมข้อ 6 (6)

    4. ประกำศคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ เรื่อง รำยละเอียดกำรจัดท ำผลกำรด ำเนินงำน 248 ตำมข้อ 10 (6) และแผนกำรด ำเนินงำนตำมข้อ 10 (7)

    ออกตามพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2550 1. ระเบียบคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ ว่ำด้วย มำตรฐำนหลักเกณฑ์และวิธีกำรแต่งตั้ง 252

    คณำจำรย์ในสถำบันอุดมศึกษำเอกชนให้ด ำรงต ำแหน่งทำงวิชำกำร พ.ศ. 2560 2. ระเบียบคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ ว่ำด้วย มำตรฐำนหลักเกณฑ์และวิธีกำรแต่งตั้ง 341

    คณำจำรย์ในสถำบันอุดมศึกษำเอกชนให้ด ำรงต ำแหน่งทำงวิชำกำร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 3. ระเบียบคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ ว่ำด้วย หลักเกณฑ์กำรพิจำรณำวำรสำรทำงวิชำกำร 342

    ส ำหรับกำรเผยแพร่ผลงำนทำงวิชำกำร พ.ศ. 2562 4. ระเบียบคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ ว่ำด้วย กำรก ำหนดชื่อสำขำวิชำส ำหรับกำรเสนอขอ 344

    ก ำหนดต ำแหน่งทำงวิชำกำร และกำรเทียบเคียงสำขำวิชำที่เคยก ำหนดไปแล้ว พ.ศ. 2562

    ประกาศ/แนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง 1. ประกำศคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ เรื่อง ก ำหนดแบบรำยงำนผลกำรจัดกำรศึกษำ 389

    นอกสถำนที่ตั้ง และวิธีกำรและระยะเวลำตรวจสอบและประเมินกำรจัดกำรศึกษำ นอกสถำนที่ตั้งของสถำบันอุดมศึกษำ พ.ศ. 2561

    2. ประกำศคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ เรื่อง แนวทำงกำรส่งเสริมภำระงำนของอำจำรย์ 396 ด้ำนกำรจัดสหกิจศึกษำ

    3. แนวทำงในกำรจัดกำรศึกษำระดับปริญญำเอก 4. แนวปฏิบัติตำมประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง เกณฑ์มำตรฐำนหลักสูตรระดับ 402

    ปริญญำตรี พ.ศ. 2558 และประกำศกระทรวงศึกษำธิกำร เรื่อง เกณฑ์มำตรฐำนหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษำ พ.ศ. 2558 ในกรณีของอำจำรย์พิเศษ

    กฎ/ประกาศ/ระเบียบ ที่ถูกยกเลิก และปรับเพ่ิม/ยกเลิกข้อควำม 403

    ........................................

  • หน้า ๓ เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๑๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑

    กฎกระทรวง

    การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

    อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

    ข้อ ๑ ให้ยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

    ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงนี้ “การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ

    คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อม่ันให้แก่ผู้ มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแล

    “สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

    ข้อ ๓ ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด พร้อมทั้งจัดทําแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดําเนินการตามแผนที่กําหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดําเนินการ เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจําทุกปี

    1

  • หน้า ๔ เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๑๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑

    เพื่อให้การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามวรรคหนึ่งเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษามีหน้าที่ในการให้คําปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนําสถานศึกษา เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

    ข้อ ๔ เม่ือได้ รับรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามข้อ ๓ แล้ว ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษาจัดส่งรายงานดังกล่าวพร้อมกับประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องการให้มีการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องหรือจาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งนั้นให้แก่สํานักงานเพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก

    ให้สํานักงานดําเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินและการติดตามตรวจสอบดังกล่าว พร้อมข้อเสนอแนะให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ กํากับดูแลสถานศึกษานั้น ๆ เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป

    ในการดําเนินการตามวรรคสอง สํานักงานอาจจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานท่ีได้รับการรับรองจากสํานักงานดําเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาได้

    ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษานั้นติดตามผลการดําเนินการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามวรรคสอง เพื่อนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

    ข้อ ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมีอํานาจตีความและวินิจฉัยปัญหาอันเก่ียวกับการปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้

    ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

    ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

    2

  • หน้า ๕ เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๑๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑

    หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับน้ี คือ โดยที่แนวทางในการดําเนินการตามกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ไม่สอดคล้องกับหลักการประกันคุณภาพการศึกษาที่แท้จริง จึงส่งผลให้การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอกไม่สัมพันธ์กัน เกิดความซํ้าซ้อนและคลาดเคลื่อนจากการปฏิบัติ ทําให้ไม่สะท้อนความเป็นจริงและเป็นการสร้างภาระแก่สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีกํากับดูแล และหน่วยงานภายนอกเกินความจําเป็น สมควรปรับปรุงระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือให้มีกลไกการปฏิบัติที่เอ้ือต่อการดําเนินการตามมาตรฐานการศึกษาของแต่ละระดับ และเกิดประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จึงจําเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

    3

  • หน้า ๒๒ เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๔๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐

    ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

    พ.ศ. ๒๕๖๐

    อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการไว้ ดังต่อไปนี้

    ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๒

    ข้อ ๒ ในประกาศกระทรวงน้ี “การจัดการศึกษา” หมายความว่า การดําเนินการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาโดยการสอน

    หรือการวิจัยเพื่อให้ได้อนุปริญญา ปริญญา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิต “นอกสถานที่ตั้ง” หมายความว่า สถานที่จัดการศึกษาอื่นใดของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

    ที่มิใช่เป็นที่ตั้งหลักของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และมิได้จัดตั้งตามที่พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาของรัฐนั้นกําหนด

    ข้อ ๓ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐจะจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งด้วยวิธีการเรียนการสอน ในชั้นเรียน หรือวิธีการเรียนการสอนในระบบการศึกษาทางไกลท้ังหลักสูตรหรือเฉพาะบางส่วนตามที่ สภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐกําหนดก็ได้

    ข้อ ๔ การจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข ดังต่อไปนี้

    (๑) ต้องมิใช่การจัดการศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาเอก (๒) เป็นการจัดการศึกษาในสาขาวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการและทิศทางการพัฒนา

    ประเทศ (๓) เป็นสาขาวิชาที่สถาบันอุดมศึกษาของรัฐมีความเชี่ยวชาญ (๔) เป็นการจัดการศึกษาในหลักสูตรเดียวกับหลักสูตรเดิมที่คณะกรรมการการอุดมศึกษา

    ได้รับทราบและได้เปิดสอนในสถานที่ตั้งแล้ว โดยมีผู้สําเร็จการศึกษาหลักสูตรดังกล่าวนั้นมาแล้วอย่างน้อยหนึ่งรุ่น และยงัมีการจัดการศึกษาหลักสูตรนั้นในสถานที่ตั้งอย่างต่อเนื่อง

    (๕) เป็นหลักสูตรที่ได้เปิดสอนในสถานที่ตั้งที่มีผลการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร ในระดับดีขึ้นไป ซึ่งประเมินโดยคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

    (๖) เป็นหลักสูตรที่ได้เปิดสอนในสถานที่ตั้งที่มีผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับคณะวิชา โดยให้ใช้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสุดท้ายของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) จากสามส่วน ดังต่อไปนี้

    (ก) ผลการประเมินภาพรวม อยู่ในระดับดีมาก

    4

  • หน้า ๒๓ เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๔๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐

    (ข) ด้านคุณภาพบัณฑิต ไม่ต่ํากว่าระดับดี (ค) ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ไม่ต่ํากว่าระดับดี (๗) มีอาจารย์ประจําหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรซึ่งมีคุณวุฒิและคุณสมบัติ

    ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น (๘) จัดสิ่งสนับสนุนทางการศึกษาที่มีมาตรฐานเช่นเดียวกับการจัดการศึกษาในสถานที่ตั้ง (๙) จัดให้มีการให้คําปรึกษาทางวิชาการ การแนะแนวอาชีพ การจัดบริการสวัสดิการนักศึกษา

    และบริการด้านอื่นให้มีมาตรฐานเช่นเดียวกับการจัดการศึกษาในสถานที่ตั้ง (๑๐) มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา มีความปลอดภัย

    และมีสิ่งอํานวยความสะดวกอย่างเพียงพอ (๑๑) มีระบบบริหารงานบุคคล ระบบการเงิน และระบบทะเบียนนักศึกษาที่เป็นระบบเดียวกับ

    การจัดการศึกษาในสถานท่ีตั้ง และสามารถตรวจสอบได้ (๑๒) ดําเนินการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

    และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและหลักเกณฑ์ที่เก่ียวข้องของกระทรวงศึกษาธิการ โดยเน้นให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

    ข้อ ๕ ให้อธิการบดี เสนอขอความเ ห็นชอบการจัดการศึกษานอกสถานที่ ตั้ งต่ อ สภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ พร้อมด้วยเอกสารและหลักฐาน ดังต่อไปนี้

    (๑) โครงการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งที่มีรายละเอียดตามที่กําหนดในข้อ ๔ รวมทั้งรูปแบบ วิธีการ และระยะเวลาจัดการศึกษา

    (๒) เอกสารแสดงการเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ สิทธิการเช่า หรือสิทธิในการใช้ที่ดินและอาคาร ที่จะใช้เป็นที่จัดการเรียนการสอนไม่น้อยกว่าระยะเวลาตามที่กําหนดใน (๑) พร้อมทั้งที่ตั้งและแผนผัง แสดงบริเวณและอาคาร

    (๓) หลักฐานตามที่กําหนดในข้อ ๔ (๔) (๕) (๖) และ (๗) ข้อ ๖ เม่ือสภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐให้ความเห็นชอบให้จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง

    ตามข้อ ๕ แล้ว อธิการบดีสถาบันอุดมศึกษาของรัฐต้องแจ้งให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบภายในสามสิบวัน พร้อมเอกสารหลักฐาน ดังนี้

    (๑) หลักฐานตามที่กําหนดในข้อ ๕ (๑) (๒) และ (๓) (๒) หลักฐานการให้ความเห็นชอบให้จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐต้องเร่ิมจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งภายในระยะเวลาไม่เกินวันเร่ิมต้น

    ปีการศึกษาถัดไปนับแต่วันที่ได้รับความเห็นชอบ และแจ้งให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่เร่ิมจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง

    ในกรณีที่สถาบันอุดมศึกษาของรัฐไม่สามารถดําเนินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งได้ภายในระยะเวลาตามวรรคสอง ให้เสนอสภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐให้ความเห็นชอบขยายระยะเวลาการจัดการศึกษา โดยให้กระทําได้ไม่เกินสองครั้ง คร้ังละหนึ่งภาคการศึกษา แล้วเสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อทราบ

    5

  • หน้า ๒๔ เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๔๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐

    ข้อ ๗ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่ประสงค์จะเปลี่ยนแปลงสถานที่จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง ให้เสนอสภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐให้ความเห็นชอบ แล้วแจ้งคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อทราบภายในสามสิบวัน พร้อมแนบเอกสารและหลักฐานตามที่กําหนดในข้อ ๕ และให้นําหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขตามที่กําหนดในข้อ ๔ และข้อ ๖ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

    ข้อ ๘ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งต้องรายงานผลการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งและรายชื่อนักศึกษาต่อสภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาตามแบบรายงานผลการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดภายในหกสิบวันนับแต่วันที่สิ้นสุดปีการศึกษาและต้องเปิดเผยรายงานผลการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง ต่อสาธารณชน

    เม่ือสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้รับรายงานผลการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง และรายชื่อนักศึกษาตามวรรคหน่ึงแล้ว ให้ดําเนินการตรวจสอบและประเมินการจัดการศึกษาตามวิธีการและระยะเวลาที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด แล้วรายงานผลการตรวจสอบและประเมิน การจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการการอุดมศึกษา หากผลการตรวจสอบและประเมินการจัดการศึกษา ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขตามที่ได้รับอนุญาตตามประกาศกระทรวงนี้ ให้เสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาให้ยุติการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง

    ในกรณีที่คณะกรรมการการอุดมศึกษาให้ยุติจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งในหลักสูตรใด ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐตามวรรคสอง คณะกรรมการการอุดมศึกษาจะกําหนดให้สถาบันอุดมศึกษาของรัฐปฏิบัติตามเง่ือนไขอย่างหน่ึงอย่างใดเท่าที่จําเป็นก็ได้

    ข้อ ๙ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่ประสงค์จะเลิกการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ ง ให้ เสนอสภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐให้ความเห็นชอบแล้วให้ทําเป็นหนังสือย่ืนต่อสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพร้อมทั้งเหตุผลความจําเป็นที่จะต้องเลิกการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งและแผนการจัดการศึกษาของนักศึกษาที่เหลืออยู่ก่อนสิ้นปีการศึกษาไม่น้อยกว่าสามเดือน เม่ือได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแล้วจึงจะเลิกการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งได้

    ในกรณีที่สภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐให้ความเห็นชอบให้เลิกการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งในหลักสูตรใดของสถาบันอุดมศึกษาตามวรรคหน่ึง คณะกรรมการการอุดมศึกษาจะกําหนดให้สถาบันอุดมศึกษาของรัฐปฏิบัติตามเง่ือนไขอย่างหน่ึงอย่างใดเท่าที่จําเป็นก็ได้

    ข้อ ๑๐ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งอยู่ในวันก่อนวันที่ประกาศกระทรวงนี้ใช้บังคับ ให้ดําเนินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งได้ต่อไปสําหรับหลักสูตรที่มีผลการประเมิน ในระดับผ่านจากการตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา โดยให้จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งได้เป็นระยะเวลาห้าปีนับแต่วันที่คณะกรรมการ การอุดมศึกษามีมติรับทราบผลการประเมินในระดับผ่านของหลักสูตรนั้น

    6

  • หน้า ๒๕ เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๔๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐

    ข้อ ๑๑ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งอยู่ในวันก่อนวันที่ประกาศกระทรวงน้ีใช้บังคับ โดยอยู่ระหว่างการปรับปรุงการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งจากการตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ให้จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง ได้ต่อไปพลางก่อน เม่ือได้ปรับปรุงการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งสําหรับหลักสูตรนั้นแล้ว ให้สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษานั้น อีกคร้ังหนึ่ง หากมีผลการประเมินในระดับผ่าน ให้จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งได้เป็นระยะเวลาห้าปี นับแต่วันที่คณะกรรมการการอุดมศึกษามีมติรับทราบผลการประเมินในระดับผ่านของหลักสูตรนั้น

    ในกรณีที่สถาบันอุดมศึกษาของรัฐไม่ปรับปรุงการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งภายในระยะเวลาหนึ่งภาคการศึกษานับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งผลการประเมินจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือไม่ผ่านการประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งตามวรรคหนึ่ง ให้สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาเสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาให้ยุติการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของ สภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐนั้นต่อไป และให้นําความในวรรคสามของข้อ ๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

    ข้อ ๑๒ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งอยู่ในวันก่อนวันที่ประกาศกระทรวงนี้ใช้บังคับ โดยยังไม่ได้รับการตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ให้จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งได้ต่อไปพลางก่อน และให้สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษานั้น หากมีผลการประเมินในระดับผ่าน ให้จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งสําหรับหลักสูตรนั้นได้เป็นระยะเวลาห้าปี นับแต่วันที่คณะกรรมการการอุดมศึกษามีมติรับทราบผลการประเมินในระดับผ่านของหลักสูตรนั้น

    ในกรณีที่มีผลการประเมินในระดับต้องปรับปรุง เม่ือได้ปรับปรุงการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งสําหรับหลักสูตรนั้นแล้ว ให้สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตรวจประเมินการจัดการศึกษา นอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐนั้นอีกคร้ังหนึ่ง หากมีผลการประเมินในระดับผ่าน ให้จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งได้เป็นระยะเวลาห้าปีนับแต่วันที่คณะกรรมการการอุดมศึกษามีมติรับทราบผล การประเมินในระดับผ่านของหลักสูตรนั้น

    ในกรณีที่สถาบันอุดมศึกษาของรัฐไม่ปรับปรุงการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งภายในระยะเวลาหนึ่งภาคการศึกษานับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งผลการประเมินจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือไม่ผ่านการประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง ให้สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาให้ยุติการจัดการศึกษา นอกสถานที่ตั้งของสภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐนั้นต่อไป และให้นําความในวรรคสามของข้อ ๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

    7

  • หน้า ๒๖ เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๔๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐

    ข้อ ๑๓ การตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามข้อ ๑๑ และข้อ ๑๒ ให้ตรวจประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเ ง่ือนไขตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ งของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๒

    ความในข้อ ๘ มิให้นํามาใช้บังคับแก่การจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ที่มีผลการประเมินการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งในระดับผ่านตามข้อ ๑๐ ข้อ ๑๑ และข้อ ๑๒

    ประกาศ ณ วันที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

    ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

    8

  • ค ำขอเปลี่ยนแปลงสถำนที่จัดกำรศึกษำนอกสถำนที่ตั้งของสถำบันอุดมศึกษำของรัฐ

    เขียนที่ ......................................... วันที่...... เดือน................ พ.ศ. ....

    ๑. ข้ำพเจ้ำ..............................................................................................................ต ำแหน่งอธิกำรบดี มหำวิทยำลัย/สถำบัน/วิทยำลัย...................................................................ต้ังอยู่เลขที่..............หมู่ที่.................. ตรอก/ซอย........................................ถนน..............................................ต ำบล/แขวง........................................... อ ำเภอ/เขต..........................................จังหวัด........................................โทรศัพท์................................................ ได้รับควำมเห็นชอบจำกสภำสถำบันอุดมศึกษำของรัฐให้เปลี่ยนแปลงสถำนทีจ่ัดกำรศึกษำนอกสถำนที่ตั้ง จำกสถำนที่เดิม คือ.............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. เปลี่ยนแปลงสถำนที่เป็น...................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ตั้งแต่วันที่...... เดือน................ พ.ศ. .... เป็นต้นไป ในหลักสูตรดังต่อไปน้ี

    (๑) .................................................................................................................................................. (๒) .................................................................................................................................................. (๓) ..................................................................................................................................................

    2. พร้อมกับค ำขอนี้ ข้ำพเจ้ำได้แนบเอกสำรและหลักฐำนต่ำง ๆ มำด้วยแล้ว

    (๑) โครงกำรจัดกำรศึกษำนอกสถำนที่ตั้งที่มีรำยละเอียดตำมที่ก ำหนดในประกำศกระทรวงศึกษำธิกำรฯ ข้อ ๔ รวมทั้งรูปแบบ วิธีกำร และระยะเวลำจัดกำรศึกษำ

    (๒) เอกสำรแสดงกำรเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ สิทธิกำรเช่ำ หรือสิทธิในกำรใช้ที่ดินและอำคำร ที่จะใช้เป็นที่จัดกำรเรียนกำรสอน พร้อมทั้งที่ตั้งและแผนผังแสดงบริเวณและอำคำร

    (๓) หลักฐำนตำมที่ก ำหนดในประกำศกระทรวงศึกษำธิกำรฯ ในข้อ ๔ (๔) (๕) (๖) และ (๗) (๔) หลักฐำนกำรให้ควำมเห็นชอบให้จัดกำรศึกษำนอกสถำนที่ตั้งของสภำสถำบันอุดมศึกษำ

    ของรัฐ (ลำยมือชื่อ)............................................ผู้ยื่นค ำขอ (………………………………………) อธิกำรบดี...............................................................

    เลขที่รับ......................... วันที่............................... (ส ำหรับเจ้ำหน้ำที่)

    9

  • ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา

    พ.ศ. ๒๕๖1

    ด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ และมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 มุ่งเน้นการพัฒนาคนและสังคมไทยให้เป็นรากฐานที่แข็งแกร่งของประเทศ มีความพร้อมทางกาย ใจ สติปัญญา และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ มีคุณธรรมจริยธรรม เคารพกฎหมาย มีภาวะผู้น า รู้รักษ์คุณค่าความเป็นไทยและ รู้บริบทสากล โดยมุ่งหวังให้การจัดการศึกษาเป็นการศึกษาตลอดชีวิต สร้างวิถีการเรียนรู้ของคนไทย ให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้สู่การร่วมกันสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม

    คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงเห็นสมควรปรับปรุงมาตรฐานการอุดมศึกษาให้สอดคล้อง ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ เพื่อใช้เป็นกลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหน่วยงาน ในการส่งเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามหลักการข้างต้น โดยมีการก ากับติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา จะครอบคลุมด้านผลลัพธ์ผู้เรียน การวิจัยและนวัตกรรม การบริการวิชาการแก่สังคม ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย และการบริหารจัดการ ตามศักยภาพและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน โดยเน้นความรับผิดชอบต่อสังคมและสามารถตรวจสอบได้ ทั้งนี้ เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายส าคัญ คือ การจัดการศึกษาเพ่ือให้ผู้ส าเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษามีคุณลักษณะของคนไทยที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และเป็นก าลังส าคัญในการพัฒนาประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน

    อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๘ และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยค าแนะน าของคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2561 เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2561 จึงออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการไว้ ดังต่อไปนี้

    ข้อ 1 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการนี้ เรียกว่า “ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561”

    ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา ลงวันที่

    7 สิงหาคม 2549 ข้อ 4 มาตรฐานการอุดมศึกษา ประกอบด้วย มาตรฐาน ๕ ด้าน ดังนี้ (1) มาตรฐานที่ ๑ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

    ้หนา ๑๙

    ่เลม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๙๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๑

    10

  • (๑.๑) เป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ และความรอบรู้ด้านต่าง ๆ ในการสร้างสัมมาอาชีพความมั่นคงและคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเป็นผู้มีคุณธรรม ความเพียร มุ่งมั่น มานะ บากบั่น และยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพ

    (๑.๒) เป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม มีทักษะศตวรรษที่ ๒๑ มีความสามารถในการ บูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาสังคม มีคุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก สามารถสร้างโอกาสและเพ่ิมมูลค่าให้กับตนเอง ชุมชน สังคม และประเทศ

    (๑.๓) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม ยึดมั่นในความถูกต้อง รู้คุณค่าและรักษ์ความเป็นไทย ร่วมมือรวมพลังเพ่ือสร้างสรรค์การพัฒนาและเสริมสร้างสันติสุข อย่างยั่งยืนทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน สังคม และประชาคมโลก

    (2) มาตรฐานที่ ๒ ด้านการวิจัยและนวัตกรรม สถาบันอุดมศึกษามีผลงานวิจัยที่เป็นการสร้างและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ใหม่ สร้างสรรค์

    นวัตกรรมหรือทรัพย์สินทางปัญญา ที่ เชื่อมโยงกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อม ตามศักยภาพและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน มีเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษา องค์กรภาครัฐและเอกชนทัง้ในและตา่งประเทศ ผลงานวิจัยและนวตักรรมตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ ความต้องการจ าเป็นของสังคม ชุมชน ภาครัฐและเอกชน และประเทศ ผลลัพธ์ของการวิจัยและนวัตกรรมมีผลกระทบสูงต่อการพัฒนาผู้เรียน การสร้างคุณภาพชีวิต หรือการสร้างโอกาส มูลค่าเพ่ิม และขีดความสามารถของประเทศในการแข่งขันระดับนานาชาติ

    (3) มาตรฐานที่ ๓ ด้านการบริการวิชาการ สถาบันอุดมศึกษาให้บริการวิชาการเหมาะสม สอดคล้องกับบริบทและตอบสนองความต้องการ

    ของท้องถิ่น ชุมชน และสังคม ตามระดับความเชี่ยวชาญและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน โดยมี การบริหารจัดการที่ประสานความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษา ภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ และมีความโปร่งใส ชัดเจน และตรวจสอบได้ ผลลัพธ์ของการบริการวิชาการน าไปสู่ การเสริมสร้างความเข้มแข็งและความยั่งยืนของผู้เรียน ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

    (4) มาตรฐานที่ ๔ ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย สถาบันอุดมศึกษามีการจัดการเรียนรู้ การวิจัย หรือการบริการวิชาการซึ่งน าไปสู่การสืบสาน

    การสรางความรู้ ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรม การปรับและประยุกต์ใช้ศิลปวัฒนธรรมทั้งของไทย และต่างประเทศอย่างเหมาะสม ตามศักยภาพและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน ผลลัพธ์ของ การจัดการด้านศิลปวัฒนธรรมท าให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย หรือการสร้างโอกาสและมูลค่าเพ่ิมให้กับผู้เรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

    ้หนา ๒๐

    ่เลม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๙๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๑

    11

  • (5) มาตรฐานที่ ๕ ด้านการบริหารจัดการ (๕.๑) สถาบันอุดมศึกษามีหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ที่ เน้นการพัฒนาผู้ เรียน

    แบบบูรณาการเพ่ือให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติและความต้องการ ที่หลากหลายของประเทศ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน สังคม สถานประกอบการ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน

    (๕.๒) สถาบันอุดมศึกษามีการบริหารงานตามพันธกิจและวิสัยทัศน์ของสถาบันอุดมศึกษาตลอดจนมีการบริหารจัดการบุคลากรและทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ค านึงถึงความหลากหลายและความเป็นอิสระทางวิชาการ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ยืดหยุ่นคล่องตัว โปร่งใสและตรวจสอบได้

    (5.3) สถาบันอุดมศึกษามีระบบประกันคุณภาพ มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และพัฒนาการจัดการศึกษาระดับหลักสูตร คณะ และสถาบันที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการก ากับให้การจัดการศึกษาและการด าเนินงานตามพันธกิจเป็นไปตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่ อง สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานอื่น ๆ ที่กระทรวงศึกษาธิการก าหนด

    ประกาศ ณ วนัที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

    ธีระเกียรติ เจรญิเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

    ้หนา ๒๑

    ่เลม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๙๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๑

    12

  • ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

    เกี่ยวกับสมรรถนะดิจิทัลส าหรับคุณวุฒิระดับปริญญาตร ี------------------------

    ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับ อุดมศึกษาแห่ งชาติ พ .ศ . ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๒ เพ่ือเป็นแนวทาง ให้สถาบันอุดมศึกษาใช้ในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา ให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพตามเจตนารมณ์ของประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒

    เพ่ือให้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ แนวคิดการศึกษาไทย ๔.๐ และ กรอบการผลิตและพัฒนาก าลังคนเพ่ือรองรับดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ของคณะอนุกรรมการวางแผน การผลิตและพัฒนาก าลังคนเพ่ือรองรับดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมการการอุดมศึกษา ในการประชุมครั้งที่ 13/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ จึงก าหนดแนวทางในการจัดท ามาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยให้น าสมรรถนะดิจิทัลส าหรับคุณวุฒิระดับปริญญาตรีมาเป็นแนวทางในการก าหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านที่ ๕ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้

    สมรรถนะดิจิทัลส าหรับคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ด้าน ระดับที่จ าเป็น ระดับสูง

    ๑. การสืบค้นและการใช้งาน

    - สามารถใช้ เครื่องมือต่างๆ เพ่ือสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รู้วิธีใช้ตัวกรองเพ่ือจ ากัด ผลลัพธ์ (เช่น การค้นหารูปภาพ วิดีโอ หรือสื่อรูปแบบอื่นๆ) - รู้วิธีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมลูต่างๆ - รู้วิธีการจัดระบบ และแบ่งปันทรัพยากร (เช่ น เค รื่ อ ง มื อ bookmarking) แ ล ะตระหนักถึงประเด็นต่างๆ เรื่องลิขสิทธิ์และประเด็นการคัดลอกผลงาน

    สามารถใช้เครื่องมือสืบค้นขั้นสูงส าหรับระบบห้องสมุดและแหล่งเก็บข้อมูลออนไลน์ได้อย่างช านาญ และติดตามข้อมูลหรือทรัพยากรเฉพาะด้านได้ เข้าใจข้อจ ากัด ด้านลิขสิทธิ์ ตระหนักถึงสิทธิรูปแบบอ่ืนๆ เช่น ครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons) และสามารถ (หรือรู้วิ ธี ) เผยแพร่ และแบ่งปันสิ่งต่างๆ ทางออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

    ๒. การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม

    - สามารถผลิต (และได้ผลิต) สื่อดิจิทัล เช่น กราฟิก คลิปวิดี โอหรือคลิป เสียง และ การบันทึกภาพหน้าจอ เป็นต้น - สามารถเรียนรู้หลักการพ้ืนฐานได้ตามค าแนะน าและสามารถทดลองท าได้

    - สามารถผลิต (และได้ผลิต) ทรัพยากรดิ จิ ทั ลและมั ลติ มี เดี ยเพ่ื อวัตถุประสงค์ ที่หลากหลาย รวมถึงการน าเสนอในรูปแบบ อินโฟกราฟิก เสียง และวิดีโอ ฯลฯ รวมทั้ง รู้ แ ห ล่ ง ที่ ม า แ ล ะ ป รั บ แ ต่ ง อ า ทิ แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (Open Education Resource (OER)) - มีประสบการณ์การใช้เครื่องมือสร้างสรรค์และแก้ไขสื่อแบบปฏิสัมพันธ์โต้ตอบ

    13

  • สมรรถนะดิจิทัลส าหรับคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ด้าน ระดับที่จ าเป็น ระดับสูง

    ๓. เอกลักษณ์และ คุณภาพชีวิต

    - ตระหนั กถึ งประเด็นความปลอดภั ยออนไลน์ รวมถึงการปกป้องข้อมูลและภาพลักษณ์ส่วนตน - ใช้คุณลักษณะด้านความปลอดภัย เช่น ซ อฟ ต์ แ ว ร์ ต้ า น ไว รั ส แ ล ะก ารตั้ ง ค่ า ความมั่นคงปลอดภัยบนอุปกรณ์ รวมทั้งข้อมูลส่วนตัวบนสื่อสังคมออนไลน์ - รู้จักสิ่งจ าเป็นพ้ืนฐานส าหรับการป้องกันข้อมูล - ระมัดระวังและไตร่ตรองในการแบ่งปันข้อมูลกับผู้อ่ืน และในการมีปฏิสัมพันธ์กับคนอ่ืนๆ ทางออนไลน์

    ๔. การสอน หรือการเรียนรู้

    - สามารถใช้เทคโนโลยีที่หลากหลายอย่างสะดวกสบายในการเรียนรู้ - สามารถติดตั้งและใช้ซอฟต์แวร์ รวมถึงแอพพลิเคชั่นที่เป็นประโยชน์บนอุปกรณ์ส่วนตัวทั้งโทรศัพท์มือถือหรือแท็บเล็ต เพ่ือช่วยในการรวบรวมและจัดระเบียบบันทึก ข้อมูลในการใช้งานส่วนตน

    สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ได้อย่ า งมั่ น ใจ รวมทั้ ง เค รื่ อ งมื อ ส าห รั บ ก า ร อ้ า ง อิ ง ก า ร ผ ลิ ต ง า น น า เส น อ การเชื่อมโยงและการแบ ่งป ันความค ิด และแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ สามารถ ใช้เทคโนโลยีช่วยทดสอบความก้าวหน้า ในการเรียนรู้ และความเข้าใจเรื่องที่ศึกษา

    ๕. เครื่องมือ และเทคโนโลยี

    สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่หลากหลายได้อย่ างคุ้ น เคย และใช้ค าศัพท์ เฉพาะ ได้พอสมควร

    สามารถติ ดตามความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีอุบัติใหม่ อาทิ กรีนเทคโนโลยี (Green technology) เอ น เน อจี เซ ฟ วิ่ ง (Energy saving) และสามารถน ามาใช้ งาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

    ๖. การติดต่อสื่อสาร และการประสานงาน

    สามารถใช้เครื่องมือที่หลาก�