2
ชำระค่าฝากส่งเป็น รายเดือน ใบอนุญาตเลขที26/2529 ไปรษณีย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น http://ednet.kku.ac.th Email: [email protected] ศึกษาศาสตร์ มข. ร่วมจัดกิจกรรม ภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วันเสาร์ที่ 27 พฤศจิกายน 2553 ผศ.ดร.ไพศาล สุวรรณน้อย คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ พร้อมด้วย ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ และคณะกรรมการโครงการเทคโน โลยีสารสนเทศตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมดำเนินงาน โครงการพัฒนาความสามารถของ ครูในการจัดการเรียนการสอนด้วย กระบวนการการวิจัยในชั้นเรียน เพอสนับสนุนให้คณะครูทำวิจัยใจ ชั้นเรียนในหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ eDLTV และเทคโนโลยี web 2.0 เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเพิ่มทักษะต่างๆ ให้กับนักเรียน โดยมีครูทั่วภาคอีสานเข้าร่วมกิจกรรม กว่า 500 คน อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ รับเชิญเป็น Guest Speaker ณ 5 สถาบันการศึกษาชั้นนำที่อินโดนีเซีย รศ.ดร.สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผอ. สทศ. คนใหม่ มรภ. กาญจนบุรี หารือแนวทางพัฒนา หลักสูตร ป.โท สาขาหลักสูตรและ การเรียนรูวันอังคารที่ 9 พฤศจิกายน 2553 เวลา 09.00- 12.00 น. รศ.ลัดดา ศิลาน้อย รองคณบดีฝ่ายบริหาร พร้อมด้วย รศ.ดร. วัลลภา อารีรัตน์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และผศ.ดร. เสาวนี ตรีพุทธรัตน์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหาร ร่วมต้อนรับผู้บริหารและคณาจารย์จากสำนักงานบัณฑิต ศึกษา และโครงการพัฒนาหลักสูตรปริญญาโท สาขา หลักสูตรการจัดการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี จำนวน 5 คน ในโอกาสเดินทางมาศึกษาดูงานด้านการ บริหารจัดการหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน คณะศึกษาศาสตร์ โดยมี ผศ.ดร. สุมนชาติ เจริญครบุรี รองประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ระดับปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะ ศึกษาศาสตร์ บรรยายสรุปโครงสร้างหลักสูตร การบริหาร จัดการหลักสูตร และแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรในอนาคต พร้อมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานด้วย บรรยากาศที่อบอุ่นเป็นกันเอง ผู้บริหาร Mie University ประเทศญี่ปุ่น เยือนศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษา มข. เมอวันที่ 9 พฤศจิกายน 2553 รศ.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิยาลัยขอนแก่น ได้นำ Professor Asumasa Uchida อธิการบดีมหาวิทยาลัย มิเอะ (Mie University) ประเทศญี่ปุ่น พร้อมทีมผู้บริหาร เข้าเยี่ยมชมศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ โดยมี ดร.ชาญณรงค์ เฮียงราช รองคณบดีฝ่ายแผนและ สารสนเทศ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยฯ ให้การต้อนรับ พร้อมหารือ เกี่ยวกับการดำเนินงานของศูนย์วิจัยฯ โดยในวันเดียวกันนีรศ.ดร.วัลลภา อารีรัตน์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และ รศ.ดร.เพ็ญณี แนรอท ที่ปรึกษาคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ ร่วมต้อนรับ Professor Dr. Mamoru Matsuoka รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมิเอะ และ Professor Dr. Takashi Nitta ศาสตราจารย์ประจำภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ ในโอกาสเข้าเยี่ยมชมศูนย์วิจัยคณิตศาสตร- ศึกษา และแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับประสบการณ์ในการทำงานวิจัย ด้านคณิตศาสตร์และคณิตศาสตรศึกษา รวมทั้งแนวทางในการร่วมมือกันทำวิจัย การแลกเปลี่ยนนักศึกษา และบุคลากรของทั้งสองสถาบันที่มีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเมอเร็วๆ นี้มีนักศึกษาระดับปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยมิเอะ ได้มาฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาการสอนภาษาญี่ปุ่น ที่คณะศึกษาศาสตร์ และ เพิ่งเดินทางกลับไปเมอเดือนกันยายนที่ผ่านมา โดยในอนาคตอันใกล้นี้จะมีการสนับสนุนให้มีนักศึกษาจาก ทั้งสองสถาบันได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ร่วมกันมากขึ้น รศ.ดร. เพ็ญณี แนรอท ที่ปรึกษาคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ คณะศึกษาศาสตร์ ได้รับเชิญจาก มหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาในประเทศอินโดนีเซีย 5 แห่ง เพอบรรยายพิเศษในหัวข้อ “การศึกษาพิเศษ” หรือ Inclusive Education ระหว่างวันที่ 28 ตุลาคม-4 พฤศจิกายน 2553 และเป็นตัวแทนคณบดีเข้าร่วมพิธีลงนาม ในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ทางวิชาการกับ Faculty of Education, State University of Surabaya โดยวันที่ 28-30 ตุลาคม บรรยายให้ความรู้นักศึกษาระดับปริญญาตรี บัณฑิตศึกษา และครู ณ State University of Surabaya และ University of Surabaya เมือง Surabaya วันที่ 1-3 พฤศจิกายน บรรยายให้ความรู้นักศึกษาและอาจารย์ ณ Lambung Mangkurat University เมือง Bajarmasin รัฐกลันตัน และสมาคมครูและผู้ปกครอง เมือง Samarinda รัฐกาลิมันตัน นอกจากนี้ยังได้ร่วมทีมวิทยากรในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “Inclusive Education and Lesson Study: Mathematics Education and Adapted Physical Education” กับ Indonesia University of Education จากเมือง Bandung และศูนย์ CRICED (Center for Research on International Cooperation in Educational Development) จากประเทศญี่ปุ่น ซึ่งแต่ละแห่งมีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมกว่า 600 คน และในวันที่ 4 พฤศจิกายน 2553 ได้ร่วมประชุมหารือถึงรายละเอียดของการร่วมมือและแลกเปลี่ยนทางวิชาการกับผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคคลากร คณะศึกษาศาสตร์ State University of Surabaya และเป็นตัวแทนคณบดีในพิธีลงนาม MOU ระหว่างทั้งสองสถาบัน เมอวันที่ 26 ตุลาคม 2553 ที่สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) ได้มีการประชุมคณะกรรมการบริหาร สทศ. เพอพิจารณาผู้ที่เหมาะสมดำรงตำแหน่ง ผอ. สทศ. แทน ศ.ดร. อุทุมพร จามรมาน ที่หมดวาระไป เมอวันที่ 1 ตุลาคม ที่ผ่านมา โดย ดร. สงบ ลักษณะ ประธานคณะกรรมการบริหาร สทศ. ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการสรรหาฯ ให้สัมภาษณ์ภายหลังการ ประชุมว่าคณะอนุกรรมการสรรหา ผอ. สทศ. ได้เสนอรายชอผู้เหมาะสมให้คณะกรรมการบริหาร สทศ. พิจารณาตัดสินจำนวน 2 คน คือ 1) รศ.ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ 2) รศ.ดร.สมสรร วงษ์อยู่น้อย อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ซึ่งที่ประชุมได้มีมติเอกฉันท์เลือก ดร.สัมพันธ์ ให้ดำรงตำแหน่ง ผอ.สทศ. คนใหม่ ด้วยเหตุผลว่า มีความรู้และประสบการณ์ด้านการวัดประเมินผลและการวิจัย อีกทั้งสามารถทำงานได้ทันที ในวันที่ 1 ธันวาคมนี้ ปัจจุบัน รศ.ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ยังดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับปริญญาโท-เอก สาขาวิชาการวัดและประเมิน ผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นายกสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสถาบันต่างๆ เช่น คณะกรรมการ พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สมศ.) อุปนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ เป็นต้น นายณัฐวุฒิ วิเศษหวาน นักศึกษาสาขาศิลปศึกษาชั้นปีท่ 4 คณะศึกษาศาสตร์ คว้ารางวัลชนะเลิศการประกวดหมอลำ กลอนซิ่ง ในงานแข่งขันเรือยาวประเพณี ครั้งที่ 1 ชิงถ้วย พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม- ราชกุมารี เมอวันที่ 7-10 ตุลาคม 2553 ณ เขอนริมโขง อบต.พานพร้าว อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย ในการนี้กระทรวง วัฒนธรรม จึงได้มอบรางวัลในฐานะผู้ทำคุณประโยชน์ ต่อ กระทรวงวัฒนธรรมระดับจังหวัด ด้านศิลปะ ประจำปี พุทธศักราช 2553 ณ ห้องประชุมทองใหญ่ ศาลากลาง จังหวัดอุดรธานี โดยได้รับเกียรติจาก นายคมสันต์ เอกชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี เป็นผู้มอบเกียรติบัตร ถือเป็น การยกย่องเชิดชูเกียรติ นายณัฐวุฒิ วิเศษหวาน หรือ “วณัฐน้อย ดาวเหนือ” ที่มีผลงานโดดเด่นด้านการสืบสานอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมโดยเฉพาะการแสดงหมอลำ ซึ่งสร้างชื่อเสียง ให้คณะศึกษาศาสตร์และมหาวิทยาลัยขอนแก่นมาโดยตลอด นักศึกษาศิลปศึกษา คว้ารางวัลชนะเลิศประกวดหมอลำกลอนซิ่ง ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และรับรางวัลผู้ทำคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม

มรภ. กาญจนบุรี หารือแนวทาง ... nvb edit04.pdf · 2010-12-15 · กระบวนการการวิจัยในชั้นเรียน

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: มรภ. กาญจนบุรี หารือแนวทาง ... nvb edit04.pdf · 2010-12-15 · กระบวนการการวิจัยในชั้นเรียน

ชำระค่าฝากส่งเป็น

รายเดือน ใบอนุญาตเลขที่

26/2529 ไปรษณีย์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

http://ednet.kku.ac.th Email: [email protected]

ศึกษาศาสตร์ มข. ร่วมจัดกิจกรรม

ภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตามพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี

วันเสาร์ที่ 27 พฤศจิกายน

2553 ผศ.ดร.ไพศาล สุวรรณน้อย

คณบดคีณะศกึษาศาสตร ์พรอ้มดว้ย

ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร

และนักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

และคณะกรรมการโครงการเทคโน

โลยีสารสนเทศตามพระราชดำริ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกมุาร ีรว่มดำเนนิงาน

โครงการพัฒนาความสามารถของ

ครูในการจัดการเรียนการสอนด้วย

กระบวนการการวิจัยในชั้นเรียน

เพื่อสนับสนุนให้คณะครูทำวิจัยใจ

ชั้นเรียนในหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่

eDLTV และเทคโนโลยี web 2.0

เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

และเพิ่มทักษะต่างๆ ให้กับนักเรียน

โดยมคีรทูัว่ภาคอสีานเขา้รว่มกจิกรรม

กว่า 500 คน

อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ รับเชิญเป็น Guest Speaker

ณ 5 สถาบันการศึกษาชั้นนำที่อินโดนีเซีย

รศ.ดร.สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผอ. สทศ. คนใหม่

มรภ. กาญจนบุรี หารือแนวทางพฒันา

หลักสูตร ป.โท สาขาหลักสูตรและ

การเรียนรู้

วันอังคารที่ 9 พฤศจิกายน 2553 เวลา 09.00-

12.00 น. รศ.ลัดดา ศิลาน้อย รองคณบดีฝ่ายบริหาร

พรอ้มดว้ย รศ.ดร. วลัลภา อารรีตัน ์รองคณบดฝีา่ยวชิาการ

และผศ.ดร. เสาวนี ตรีพุทธรัตน์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหาร

ร่วมต้อนรับผู้บริหารและคณาจารย์จากสำนักงานบัณฑิต

ศึกษา และโครงการพัฒนาหลักสูตรปริญญาโท สาขา

หลักสูตรการจัดการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

จำนวน 5 คน ในโอกาสเดินทางมาศึกษาดูงานด้านการ

บริหารจัดการหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตร

และการสอน คณะศึกษาศาสตร์ โดยมี ผศ.ดร. สุมนชาติ

เจริญครบุรี รองประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

ระดับปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะ

ศึกษาศาสตร์ บรรยายสรุปโครงสร้างหลักสูตร การบริหาร

จัดการหลักสูตร และแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรในอนาคต พร้อมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานด้วย

บรรยากาศที่อบอุ่นเป็นกันเอง

ผู้บริหาร Mie University ประเทศญี่ปุ่น

เยือนศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษา มข.

เมื่อวนัที ่9 พฤศจกิายน 2553 รศ.ดร.กติตชิยั ไตรรตันศริชิยั

รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิยาลัยขอนแก่น

ได้นำ Professor Asumasa Uchida อธิการบดีมหาวิทยาลัย

มิเอะ (Mie University) ประเทศญี่ปุ่น พร้อมทีมผู้บริหาร

เข้าเยี่ยมชมศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

โดยมี ดร.ชาญณรงค์ เฮียงราช รองคณบดีฝ่ายแผนและ

สารสนเทศ รวมทัง้เจา้หนา้ทีศ่นูยว์จิยัฯ ใหก้ารตอ้นรบั พรอ้มหารอื

เกี่ยวกับการดำเนินงานของศูนย์วิจัยฯ โดยในวันเดียวกันนี้

รศ.ดร.วัลลภา อารีรัตน์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และ

รศ.ดร.เพญ็ณ ีแนรอท ทีป่รกึษาคณบดฝีา่ยวจิยัและวเิทศสมัพนัธ ์

ร่วมต้อนรับ Professor Dr . Mamoru Matsuoka

รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมิ เอะ และ Professor

Dr. Takashi Nitta ศาสตราจารย์ประจำภาควิชาคณิตศาสตร์

คณะศึกษาศาสตร์ ในโอกาสเข้าเยี่ยมชมศูนย์วิจัยคณิตศาสตร-

ศึกษา และแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับประสบการณ์ในการทำงานวิจัย

ด้านคณิตศาสตร์และคณิตศาสตรศึกษา รวมทั้งแนวทางในการร่วมมือกันทำวิจัย การแลกเปลี่ยนนักศึกษา

และบุคลากรของทั้งสองสถาบันที่มีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเมื่อเร็วๆ นี้มีนักศึกษาระดับปริญญาเอก

จากมหาวิทยาลัยมิเอะ ได้มาฝึกปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาการสอนภาษาญี่ปุ่น ที่คณะศึกษาศาสตร์ และ

เพิ่งเดินทางกลับไปเมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมา โดยในอนาคตอันใกล้นี้จะมีการสนับสนุนให้มีนักศึกษาจาก

ทั้งสองสถาบันได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ร่วมกันมากขึ้น

รศ.ดร. เพ็ญณี แนรอท ที่ปรึกษาคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ คณะศึกษาศาสตร์ ได้รับเชิญจาก

มหาวทิยาลยั และสถาบนัการศกึษาในประเทศอนิโดนเีซยี 5 แหง่ เพื่อบรรยายพเิศษในหวัขอ้ “การศกึษาพเิศษ” หรอื Inclusive

Education ระหว่างวันที่ 28 ตุลาคม-4 พฤศจิกายน 2553 และเป็นตัวแทนคณบดีเข้าร่วมพิธีลงนาม

ในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ทางวิชาการกับ Faculty of Education, State University

of Surabaya โดยวันที่ 28-30 ตุลาคม บรรยายให้ความรู้นักศึกษาระดับปริญญาตรี บัณฑิตศึกษา

และครู ณ State University of Surabaya และ University of Surabaya เมือง Surabaya

วนัที ่1-3 พฤศจกิายน บรรยายใหค้วามรูน้กัศกึษาและอาจารย ์ณ Lambung Mangkurat University

เมือง Bajarmasin รัฐกลันตัน และสมาคมครูและผู้ปกครอง เมือง Samarinda รัฐกาลิมันตัน

นอกจากนีย้งัไดร้ว่มทมีวทิยากรในการอบรมเชงิปฏบิตักิาร “Inclusive Education and Lesson Study:

Mathematics Education and Adapted Physical Education” กับ Indonesia University of Education จากเมือง Bandung และศูนย์ CRICED

(Center for Research on International Cooperation in Educational Development) จากประเทศญี่ปุ่น ซึ่งแต่ละแห่งมีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมกว่า 600 คน

และในวนัที ่4 พฤศจกิายน 2553 ไดร้ว่มประชมุหารอืถงึรายละเอยีดของการรว่มมอืและแลกเปลีย่นทางวชิาการกบัผูบ้รหิาร คณาจารย ์และบคุคลากร คณะศกึษาศาสตร ์

State University of Surabaya และเป็นตัวแทนคณบดีในพิธีลงนาม MOU ระหว่างทั้งสองสถาบัน

เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2553 ที่สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) ได้มีการประชุมคณะกรรมการบริหาร สทศ.

เพื่อพิจารณาผู้ที่เหมาะสมดำรงตำแหน่ง ผอ. สทศ. แทน ศ.ดร. อุทุมพร จามรมาน ที่หมดวาระไป เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ที่ผ่านมา

โดย ดร. สงบ ลกัษณะ ประธานคณะกรรมการบรหิาร สทศ. ในฐานะประธานคณะอนกุรรมการสรรหาฯ ใหส้มัภาษณ์ภายหลงัการ

ประชุมว่าคณะอนุกรรมการสรรหา ผอ. สทศ. ได้เสนอรายชื่อผู้เหมาะสมให้คณะกรรมการบริหาร สทศ. พิจารณาตัดสินจำนวน

2 คน คือ 1) รศ.ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ 2) รศ.ดร.สมสรร วงษ์อยู่น้อย

อาจารยค์ณะศกึษาศาสตร ์มหาวทิยาลยัศรนีครนิทรวโิรฒ (มศว) ซึง่ทีป่ระชมุไดม้มีตเิอกฉนัทเ์ลอืก ดร.สมัพนัธ ์ใหด้ำรงตำแหนง่

ผอ.สทศ. คนใหม่ ด้วยเหตุผลว่า มีความรู้และประสบการณ์ด้านการวัดประเมินผลและการวิจัย อีกทั้งสามารถทำงานได้ทันที

ในวันที่ 1 ธันวาคมนี้ ปัจจุบัน รศ.ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ยังดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับปริญญาโท-เอก สาขาวิชาการวัดและประเมิน

ผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นายกสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสถาบันต่างๆ เช่น คณะกรรมการ

พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สมศ.) อุปนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ เป็นต้น

นายณฐัวฒุ ิวเิศษหวาน นกัศกึษาสาขาศลิปศกึษาชัน้ปทีี ่4

คณะศกึษาศาสตร ์ควา้รางวลัชนะเลศิการประกวดหมอลำ

กลอนซิ่ง ในงานแข่งขันเรือยาวประเพณี ครั้งที่ 1 ชิงถ้วย

พระราชทานจากสมเดจ็พระเทพรตันราชสดุาฯ สยามบรม-

ราชกุมารี เมื่อวันที่ 7-10 ตุลาคม 2553 ณ เขื่อนริมโขง

อบต.พานพรา้ว อ.ศรเีชยีงใหม ่จ.หนองคาย ในการนีก้ระทรวง

วัฒนธรรม จึงได้มอบรางวัลในฐานะผู้ทำคุณประโยชน์ต่อ

กระทรวงวัฒนธรรมระดับจังหวัด ด้านศิลปะ ประจำปี

พุทธศักราช 2553 ณ ห้องประชุมทองใหญ่ ศาลากลาง

จังหวัดอุดรธานี โดยได้รับเกียรติจาก นายคมสันต์ เอกชัย

ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี เป็นผู้มอบเกียรติบัตร ถือเป็น

การยกย่องเชิดชูเกียรติ นายณัฐวุฒิ วิเศษหวาน หรือ

“วณฐันอ้ย ดาวเหนอื” ทีม่ผีลงานโดดเดน่ดา้นการสบืสานอนรุกัษ ์

ศิลปวัฒนธรรมโดยเฉพาะการแสดงหมอลำ ซึ่งสร้างชื่อเสียง

ให้คณะศึกษาศาสตร์และมหาวิทยาลัยขอนแก่นมาโดยตลอด

นักศึกษาศิลปศึกษา คว้ารางวัลชนะเลิศประกวดหมอลำกลอนซิ่ง

ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

และรับรางวัลผู้ทำคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม

Page 2: มรภ. กาญจนบุรี หารือแนวทาง ... nvb edit04.pdf · 2010-12-15 · กระบวนการการวิจัยในชั้นเรียน

กอล์ฟการกุศล 53

ในวันอาทิตย์ที่ 14 พฤศจิกายน 2553 ที่ผ่านมา คณาจารย์ และบุคลากร

คณะศึกษาศาสตร์ ได้ร่วมจัดการแข่งขันกอล์ฟการกุศล ชิงถ้วยรางวัลจาก

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สุมนต์ สกลไชย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

พร้อมถ้วยรางวัลจากรองอธิการบดี และผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายต่างๆ เพื่อนำเงินเข้า

สมทบกองทนุมลูนธิริองศาสตราจารยร์ะจติ

ตรพีทุธรตัน ์อดตีคณบดคีณะศกึษาศาสตร ์

ณ สนามกอลฟ์เขื่อนอบุลรตัน ์ซึง่ไดร้บัการ

สนับสนุนระดมทุนจากมหาวิทยาลยัขอนแกน่

และจากสว่นราชการ รา้นค้า ทหาร ตำรวจ

และลกูศษิย ์ฯลฯ รวมทัง้สิน้ 965,000.- บาท

หักค่าใช้จ่ายในการจัดงาน 263,360.-บาท

• นักศึกษาศิลปศึกษา คว้ารางวัลชนะเลิศ

ประกวดหมอลำกลอนซิ่ง ชิงถ้วย

พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกมุาร ีและรบัรางวลัผูท้ำคณุ

ประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม

• รศ.ดร.สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์

นั่ง ผอ. สทศ. คนใหม่

• กอล์ฟการกุศล 53

• ป.โท บริหารฯ ร่วมงานบริหารการศึกษา

สัมพันธ์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 33

• โครงงานวิทยาศาสตร์ สมด.ประถม-มัธยม

คว้ารางวัลชนะเลิศระดับประเทศ

• นร.ออทิสติกขี่ม้าโชว์ผู้ว่าฯ ขอนแก่น

• English Camp 2010

• นกัเรยีนโรงเรยีนสาธติฯ มอบเงนิและสิง่ของ

ปันน้ำใจสู่ผู้ประสบอุทกภัย

• สมด.ประถมฯ ชนะเลิศการแข่งขัน

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ครั้งที่ 16

ระดับจังหวัด

• ศึกษาศาสตร์ มข. ร่วมจัดกิจกรรมภายใต้

โครงการเทคโนโลยสีารสนเทศตามพระราช

ดำริฯ สมเด็จพระเทพฯ

• มรภ. กาญจนบุรี หารือแนวทางพัฒนา

หลักสูตร ป.โท สาขาหลักสูตรและการ

เรียนรู้

• ผู้บริหาร Mie University ประเทศญี่ปุ่น

เยือนศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษา มข.

คณะที่ปรึกษาคณบดีคณะศึกษาศาสตร์รองคณบดีฝ่ายบริหารรองคณบดีฝ่ายวิชาการรองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์รองคณบดีฝ่ายแผนและสารสนเทศรองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษารองคณบดีฝ่ายโรงเรียนสาธิต

บรรณาธิการผศ.ดร.เสาวนี ตรีพุทธรัตน์รศ.จุมพล ราชวิจิตร

ผู้ช่วยบรรณาธิการอ.ดร.ศิริพงษ์ เพียศิริอ.สกาวเดือน ซาธรรมนายจักรพงษ์ ทองผาย

กองจัดการนายคมกริช ทองนาคนายสมเจตน์ แก้ววงษ์น.ส.สุวารีย์ ตื้อตันน.ส.พูนศรี ประเสริฐแท่น

วิสัยทัศน์คณะศกึษาศาสตร ์มหาวทิยาลยัขอนแกน่ เป็นสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำทางด้าน วชิาการ และดา้นการวจิยัทางการศกึษา มุ่งเน้นความเป็นมืออาชีพ มีความ สามารถในการแขง่ขนัและความเปน็ผูน้ำ ดา้นบรกิารทางวชิาชพี เพือ่เปน็ขมุปญัญา ของประเทศไทยและประเทศในกลุ่มอาเซียน

พันธกิจการผลิตบัณฑิตทางการศึกษาที่กอปร ด้วยวิทยา จริยา และปัญญา การวิจัย บรกิารวชิาการแกส่งัคม และทำนบุำรงุ ศิลปวัฒนธรรม ให้เป็นที่ยอมรับตาม มาตรฐานสากลและพฒันาสงัคมอยา่ง ยั่งยืน

โครงงานวิทยาศาสตร์ สมด.ประถมฯ-มัธยมฯ

คว้ารางวัลชนะเลิศระดับประเทศ

สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย

ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดประกวดโครงงาน

วิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยม

ศกึษาทัว่ประเทศชงิถว้ยพระราชทานสมเดจ็

พระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี

โดยคัดกรองผลงานเด่นจากรอบภูมิภาค

กว่า 300 โครงงาน ผลการตัดสินโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (มอดินแดง)

คว้า 2 รางวัล ประกอบด้วย รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ โครงงานวิทยาศาสตร ์

สาขาชวีภาพ ระดบัมธัยมศกึษาตอนปลาย โลร่างวลัพระราชทานจากสมเดจ็พระเทพ

รัตนสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คือ เรื่อง ผลของสารสกัดจากพืชบางชนิดที่มีต่อการ

ติดผลและป้องกันแมลงศัตรูสบู่ดำ ผลงานของ นางสาวกุศลิน บรรดาศักดิ์ไพศาล

นายจิรเมธ นารคร นางสาวอธิขวัญ บุญณะโชติ และ รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ

โครงงานวิทยาศาสตร์สาขาชีวภาพ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โล่รางวัลพระราชทาน

จากสมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง ประสิทธิภาพของสารสกัด

จากพชืบางชนดิทีม่ตีอ่การลอ่และลดจำนวนไขข่องแมลงวนัทอง ผลงานของเดก็หญงิ

ณัฏฐณิชา ศรภิรมย์ เด็กหญิงธมลวรรณ ชูคันหอม และเด็กหญิงพิมพิกา อุไรวรรณ

นร.ออทิสติกขี่ม้าโชว์ผู้ว่าฯ ขอนแก่น

เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน

2553 อ.ดร.อาคม อึ่งพวง

ผู้ อ ำนวยการศูนย์ วิ จั ย

ออทิสติก โรงเรียนสาธิต

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

และว่าที่ ร .ต.ศักดาเดช

สิงคิบุตร อาจารย์ประจำ

ศูนย์วิจัยฯ ได้นำนักเรียนของศูนย์วิจัยออทิสติก

เขา้รว่มงานการบำบดัดว้ยมา้สำหรบับคุคลออทสิตกิ

และสง่ตวัแทนนกัเรยีนของศนูยว์จิยัฯ คอื เดก็ชาย

ธนวัฒน์ เฉลิมมิตร เข้าร่วมโชว์ความสามารถขี่ม้า

ในการทำกิจกรรมอาชาบำบัด ต่อหน้าผู้ว่าราชการ

จงัหวดัขอนแกน่ นายสมบตั ิตรวีฒันส์วุรรณ ในงาน

ตรวจเยี่ยมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 2

ณ โรงเรียนบ้านไผ่ประถมศึกษา อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น

English Camp 2010

เมื่อวนัที ่28 - 29 ตลุาคม 2553

ทีผ่า่นมา โรงเรยีนสาธติมหาวทิยาลยั

ขอนแกน่ (ศกึษาศาสตร)์ ระดบัประถม

ไดจ้ดักจิกรรม English Camp สำหรบั

นักเรียนในโครงการหลักสูตรคู่ขนาน

(Intensive English Course) ขึน้โดย

มวีทิยากรเปน็คณาจารยจ์ากกลุม่สาระ

ภาษาต่างประเทศและอาจารย์ชาวต่างชาติ ได้แก่ ผศ.ศิรีวรรณ ร่มเย็น วูลเทอร์,

อ.นวลพรรณ เพียงเกษ, อ.ศิริจิตร ปิตาฝ้าย, อ.สมชาย พุ่มลำเจียก, อ.อัมราภรณ์

หนูยอด, อ.พีระ เปรมธีรวัฒน์ชัย, Mr. Berhnard, Mr.Edward, Mr.Nicholas,

Mr. Norman ซึ่งในการจัด English Camp ได้แบ่งออกเป็น 2 โครงการ ดังนี้

โครงการที่ 1 วันพฤหัสบดีที่ 28 ตุลาคม 2553 English Camp For Unit A1, A2,

B1 และ D1 จัดกิจกรรม ณ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์)

ระดับประถม เวลา 8.00-16.00 น. โครงการที่ 2 วันศุกร์ที่ 29 ตุลาคม 2553

English Camp For Unit E1 และ F1 จัดกิจกรรม ณ สวนสุขภาพบึงทุ่งสร้าง

อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่นเวลา 8.00-16.00 น. จากผลการจัดกิจกรรม พบว่า

นกัเรยีนมคีวามพงึพอใจและไดเ้รยีนรูภ้าษาองักฤษผา่นกจิกรรมหลากหลาย และไดร้บั

ความสนุกสนานไปพร้อมๆ กัน

นักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ มอบเงินและสิ่งของ

ปันน้ำใจสู่ผู้ประสบอุทกภัย

วันที่ 16 พฤศจิกายน

2553 ที่อาคารสิริคุณากร

ส ำ นั ก ง า น อ ธิ ก า ร บ ดี

มหาวิ ทยาลั ยขอนแก่ น

ได้มีพิธีมอบเงินและสิ่งของ

ในโครงการ “ปนันำ้ใจสูส่งัคม”

ของนักเรียน ผู้ปกครอง

และคณาจารย์ บุคลากร

โรงเรยีนสาธติมหาวทิยาลยัขอนแกน่

ใหก้บัมหาวิทยาลัยขอนแกน่เพื่อนำ

ไปช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย

พิธีมอบเงินและสิ่งของ ใน

โครงการ “ปันน้ำใจสู่สังคม” ครั้งนี้

มผีูแ้ทนจากโรงเรยีนสาธติฯ นำโดย

ผศ. พวงทอง ออ่นจำรสั ผูอ้ำนวยการ

โรงเรยีนสาธติมหาวทิยาลยัขอนแกน่

คณะอาจารย์ นักเรียนระดับอนุบาล และระดับประถมศึกษาจำนวน 26 คน

ในส่วนของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ศ. เกียรติคุณ ดร. สุมนต์ สกลไชย อธิการบด ี

มหาวิทยาลัยขอนแก่น พร้อมด้วย ผศ. ลิขิต อมาตยคง รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนา

นักศึกษา เป็นผู้แทนรับมอบและให้การต้อนรับ และกล่าวขอบคุณ โครงการ

“ปันน้ำใจสู่สังคม”เป็นการระดมน้ำใจจากนักเรียน ผู้ปกครอง และคณาจารย์

บุคลากร โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่นโดยมีเป้าหมายเพื่อรวบรวมสิ่งของ

เครื่องใช้ เครื่องนุ่งห่ม และเงินบริจาค เพื่อส่งมอบผ่านมหาวิทยาลัยขอนแก่น

นำไปเยียวยาผู้ประสบอุทกภัย ทั้งที่ยังมีสภาพความเดือดร้อน และผู้ที่สูญเสีย

หลังน้ำลด ซึ่งการดำเนินโครงการในครั้งนี้ยังเป็นการส่งเสริม ปลูกฝัง คุณธรรม

จริยธรรม และความเสียสละให้กับนักเรียนในการทำความดีเพื่อสังคม โดยได้เงิน

บรจิาคจากนกัเรยีนสาธติระดบัอนบุาล 61,785 บาท ระดบัประถมศกึษา (ศกึษาศาสตร)์

110,730 บาท รวมเป็นเงิน 172,515 บาท ซึ่งได้นำเงินเข้าบัญชีรวมน้ำใจ มข.

ช่วยอุทกภัย 53 ไปแล้ว ในส่วนของสิ่งของจึงได้มามอบในครั้งนี้ และในวันที่ 29

ตุลาคม 2553 ที่ห้องรับรองอธิการบดี อาคารสิริคุณากร คณาจารย์และนักเรียน

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณะศึกษาศาสตร์) ระดับมัธยมศึกษา

นำโดย ผศ. เทยีนชยั ภาณสุทิธกิร รองผูอ้ำนวยการโรงเรยีนฯ เขา้พบ ศ.เกยีรตคิณุ

ดร. สุมนต์ สกลไชย อธิการบดี เพื่อมอบเงินบริจาคของนักเรียนสมทบช่วยเหลือ

ผู้ประสบภัยน้ำท่วม ตามที่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกำลังดำเนินงานอยู่ในขณะนี้

โดยเงินที่นำมาสมทบ มีจำนวน 8,043 บาท

สมด.ประถมฯ ชนะเลิศการแข่งขันสารานุกรมไทย

สำหรับเยาวชนฯ ครั้งที่ 16 ระดับจังหวัด

ในวันเสาร์ที่ 28 สิงหาคม 2553 สโมสรไลออนส์สากลประเทศไทย

ร่วมกับโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาท

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสำนักงานคณะกรรการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดการแข่งขันสารานุกรมไทยฯ สำหรับนักเรียน

ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย(ป.4-ป.6) และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

(ม.1-ม.3) เป็นกิจกรรมประจำปี โดยในปีนี้

เป็นการแข่งขันครั้งที 16 ในระดับจังหวัดเพื่อ

คัดเลือกตัวแทนเข้าไปแข่งขันในระดับภาค

และประเทศตอ่ไป ซึง่นกัเรยีนจากโรงเรยีนสาธติ

มหาวิทยาลัยขอนแกน (มอดินแดง) ระดับ

ประถมศึกษา ประกอบด้วย ด.ญ.ญัชมุก

ไพบูลย์ ด.ญ.แก้วขวัญฟ้า โปร่งเจริญ และ

ด .ญ .สิ ริ ก ร บุ พสิ ริ

คว้ารางวัลชนะเลิศมาได้

โดยทั้ง 3 คนนี้จะได้เป็น

ตัวแทนเข้าไปแข่งขันใน

ระดับภาคต่อไป

คณิตศาสตรศึกษายกทีมร่วมประชุมวิชาการ

“APEC-Chiangmai International Symposium 2010”

ผศ.ดร. ไพศาล สวุรรณนอ้ย คณบดี

คณะศึกษาศาสตร์ และ ผศ.ดร. ไมตรี

อินทร์ประสิทธิ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัย

คณิตศาสตรศึกษา พร้อมด้วยผู้บริหาร

คณาจารย์ และนักศึกษาจากสาขาวิชา

คณิตศาสตรศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี

และระดับบัณฑิตศึกษากว่า 100 คน เข้า

ร่วมการประชุมวิชาการนานาชาติทางด้าน

คณติศาสตรศกึษา ณ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม ่

ระหว่างวันที่ 2-5 พฤศจิกายน 2553

คงเหลอื 700,640.- บาท ซึง่ทนุนีจ้ะไดน้ำไปจดัสรรใหก้บันกัศกึษาคณะศกึษาศาสตร ์

และนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่นต่อไป

ป.โท บริหารฯ ร่วมงานบริหารการศึกษาสัมพันธ์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 33

เมื่อวันที่ 24 – 26 พฤศจิกายน 2553 ที่ผ่านมา คณาจารย์และนักศึกษา

สาขาวิชาการบริหารการศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน 45 คน นำทีมโดย รศ.ดร.

ชัญญา อภิปาลกุล รศ.ดร.วัลลภา อารีรัตน์, รศ.ดร.ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข

ผศ.ดร.เสาวน ีตรพีทุธรตัน ์และดร.อาคม อึง่พวง ไดเ้ขา้รว่มงานบรหิารการศกึษาสมัพนัธ ์

แหง่ประเทศไทยครัง้ที ่33 ณ โรงแรมรเีจนท ์ชะอำ จงัหวดัเพชรบรุ ีโดยวตัถปุระสงค ์

ของงานคือเพื่อให้สถาบันอุดมศึกษา

ที่จัดการเรียนการสอนในศาสตร์ทาง

การบริหารการศึกษาได้แลกเปลี่ยน

องค์ความรู้ สร้างสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

รวมทัง้เปน็เครอืขา่ยทางการศกึษา และ

ในปีนี้ได้กำหนดหัวข้อการจัดประชุม

คือ “New Era of Educational Administration” ลักษณะของงานเป็นทั้ง

การเสวนาทางวชิาการเรื่อง “การบรหิารการศกึษายคุใหม:่ ทศิทางทีพ่งึประสงค”์

การบรรยายพเิศษ เรื่อง “Organizational Re – design to Enhance Education

Effectiveness in Thailand” โดย Assist. Prof. Brian Hunt การนำเสนอ

งานวิจัยและกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์จากทุกมหาวิทยาลัยที่ร่วมงาน ซึ่งการ

จัดงานครั้งนี้ถือว่าประสบ

ความสำเร็จเป็นอย่างยิ่ง

เนื่องจากคณาจารย์และ

นั กศึ กษาจากสถาบั น

อุดมศึกษาที่เปิดการเรียน

การสอนด้านบริหารการ

ศกึษากวา่หนึง่พนัคน

ได้ร่วมแลกเปลี่ยน

ป ร ะ ส บ ก า รณ์ ทั้ ง

ดา้นวชิาการและทาง

สังคมอันจะส่งผลให้

ศาสตรท์างการบรหิาร

การศึกษาเกิดการ

พัฒนาและความ

ก้าวหน้าต่อไป