30
คูมือ การพิจารณา การเปนหนังสือสัญญา ตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ

คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

คูมือ การพิจารณา

การเปนหนังสือสัญญา ตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ

Page 2: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

2

สารบัญ สวนที่ 1 มาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ และเจตนารมณ สวนที่ 2 เกณฑพิจารณาการเปนหนังสือสัญญาตามมาตรา 190

ของรัฐธรรมนูญฯ สวนที่ 3 ขั้นตอนในการจัดทําหนังสือสัญญาตามรัฐธรรมนูญฯ สวนที่ 4 แบบตรวจสอบการเปนหนังสือสัญญาตามมาตรา 190

ของรัฐธรรมนูญฯ (Checklist)

Page 3: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

3

บทนํา

คูมือน้ีจัดทําขึ้นเพ่ือใชเปนแนวทางในการพิจารณาดํ า เ นิ น ก า รต า มม าต ร า 190 ขอ ง รั ฐ ธ ร รม นูญแห งราชอาณาจักรไทย โดยอธิบายองคประกอบของการเปนหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคหน่ึง และความหมายของหนังสือสัญญาที่ตองเสนอขอความเห็นชอบตอรัฐสภา ตามมาตรา 190 วรรคสอง รวมทั้งขั้นตอนการจัดทําหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคสาม และวรรคสี่ และ มาตรา 303 (3) ของรัฐธรรมนูญฯ เน้ือหาของคูมือน้ีแบงออกเปน 4 สวน สวนที่ 1 ความเปนมาและเจตนารมณของ มาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ สวนที่ 2 เกณฑในการพิจารณาตรวจสอบการเปนหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคหน่ึง ของรัฐธรรมนูญฯ และความหมายของหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญฯ สวนที่ 3 ขั้นตอนในการจัดทําหนังสือสัญญา ตามมาตรา 190 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ และ มาตรา 303 (3) ของรัฐธรรมนูญฯ สวนที่ 4 แบบตรวจสอบการเปนหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ (checklist)

Page 4: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

4

สวนที่ 1 มาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ

มาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย แกไขเพ่ิมเติมโดย

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2555

..... วรรคหนึ่ง

..... วรรคสอง

พระมหากษัตริยทรงไวซ่ึงพระราชอํานาจในการทําหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และสัญญาอ่ืน กับนานาประเทศหรือกับองคการระหวางประเทศ

หนังสือสัญญาใดมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพ้ืนที่นอกอาณาเขตซ่ึงประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอํานาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมาย ระหว า งป ระ เทศ หรื อ จะต อ งออกพระราชบัญญัติเพ่ือใหการเปนไปตามหนังสือสัญญา หรือมีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง หรือมีผลผูกพันดานการคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอยางมีนัยสําคัญ ตองไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา ในการน้ี รัฐสภาจะตองพิจารณาใหแลวเสร็จภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับเรื่องดังกลาว

Page 5: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

5

..... วรรคสาม

..... วรรคสี่

กอนการดํ า เ นินการเ พ่ือทํ าหนังสือสัญญา กับนานาประเทศหรือองคการระหวางประเทศตามวรรคสอง คณะรัฐมนตรีตองใหขอมูลและจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และตองชี้แจง ตอรั ฐสภาเ ก่ียวกับหนังสือสัญญา น้ัน ในการ น้ี ใหคณะรัฐมนตรี เสนอกรอบการเจรจาตอรัฐสภา เพ่ือขอความเห็นชอบดวย

เมื่อลงนามในหนังสือสัญญาตามวรรคสองแลว กอนที่จะแสดงเจตนาใหมีผลผูกพัน คณะรัฐมนตรีตองใหประชาชนสามารถเขาถึงรายละเอียดของหนังสือสัญญาน้ัน และในกรณีที่การปฏบิัติตามหนังสือสัญญาดังกลาวกอให เ กิดผลกระทบตอประชาชนหรือผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ข น า ด ก ล า ง แ ล ะ ข น า ด ย อ ม คณะรัฐมนตรีตองดําเนินการแกไขหรือเยียวยาผูไดรับผลกระทบน้ันอยางรวดเร็ว เหมาะสม และเปนธรรม

Page 6: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

6

..... วรรคหา

..... วรรคหก

ใหมีกฎหมายวาดวยการกําหนดประเภท กรอบการเจรจา ขั้นตอนและวิธีการจัดทําหนังสือสัญญา ที่มีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง หรือมีผลผูกพันดานการคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศ อยางมีนัยสําคัญ รวมทั้งการแกไขหรือเยียวยาผูไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญาดังกลาว โดยคํานึงถึงความเปนธรรมระหวางผูที่ไดประโยชนกับผูที่ไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญาน้ันและประชาชนทั่วไป

ในกรณีที่มีปญหาตามวรรคสอง ใหเปนอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญที่จะวิ นิจฉัยชี้ขาด โดยใหนําบทบัญญัติตามมาตรา 154 (1) มาใชบั ง คับ กับ การเสนอเรื่องตอศาลรัฐธรรมนูญโดยอนุโลม

Page 7: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

7

ความเปนมาและเจตนารมณ บทบัญญัติมาตรา 190 ของ รัฐธรรมนูญฯ มีความ เปนมาจาก สถานการณของประเทศไทยในชวงป พ .ศ . 2547 ถึง พ .ศ . 2549 ท่ี รัฐบาล มีนโยบายชัดเจนในการเปด เจรจาความตกลงการค า เสรีในระดับทวีภา คี กับประเทศตางๆ ซึ่งมีท้ังผลในแงบวกและแงลบ กลาวคือ แมวาการคาเสรีอาจนําผลประโยชนโดยรวมมาสูประเทศ แตก็อาจทําใหเกิดการกระจายรายไดท่ีไมเปนธรรม ผูไดรับผลกระทบจากการคาเสรี ไดแก ผูประกอบการ เกษตรกร และประชาชน ไมได รับทราบขอมูลท่ีเก่ียวของ กระบวนการในการจัดทําความตกลงดังกลาว ไมมีการเปดเผยขอมูลและไมมีกลไกในการตรวจสอบท่ีเพียงพอโดยเฉพาะจากรัฐสภา อีกท้ังภาครัฐไมมีการเตรียมความพรอมท่ีเหมาะสมแกผูไดรับผลกระทบ และไมมี การเตรียมการเพื่อเยียวยาแกไขความเสียหายแกบุคคลเหลานั้น จึงจําเปนตองบัญญัติมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ ข้ึน โดยมีเจตนารมณเพื่อใหการจัดทําหนังสือสัญญามีความโปรงใส มีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย คํานึงถึงประโยชนท่ีจะไดรับและผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนแกประชาชนและผูมีสวน ไดเสียในภาคสวนตางๆ รวมท้ังการเยียวยาผูไดรับผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากการปฏิบัติตามหนั ง สือ สัญญา โดยมีการตรวจสอบถวงดุลระหว างฝ ายบ ริหารและ ฝายนิติบัญญัติ และกําหนดข้ันตอนในการจัดทําหนังสือสัญญาใหมีความชัดเจนและ เปนระบบ

Page 8: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

8

สวนที่ 2 เกณฑพิจารณาการเปนหนังสือสัญญา ตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ

ความตกลงระหวาง ประเทศ

หนังสือสัญญามาตรา 190 วรรคหน่ึง

หนังสือสัญญามาตรา 190วรรคสอง

Page 9: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

9

2.1 หนังสือสัญญาตามมาตรา 190 คืออะไร มาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ มิไดกําหนดความหมายของคําวา “หนังสือสัญญา” จึงไดพิจารณาจากแนวคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ และความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา ซึ่งไดวางแนวทางในการพิจารณาการเปนหนังสือสัญญา โดยนําความหมายของสนธิสัญญา (Treaty) ในขอ 2 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาวาดวยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969 (Vienna Convention on the Law of Treaties 1969) มาประกอบการพิจารณา สรุปองคประกอบไดดังนี้ 1. ความตกลงทุกประเภทท่ีประเทศไทยทําข้ึนกับนานาประเทศหรือองคการระหวางประเทศ 2. ทําข้ึนเปนลายลักษณอักษร 3. ไมวาจะถูกบันทึกไวในเอกสารฉบับเดียวกันหรือหลายฉบับ และไมวาจะมีช่ือเรียกอยางไร 4. มีความมุงหมายเพื่อใหเกิดผลผูกพันทางกฎหมายระหวางกัน ตามกฎหมายระหวางประเทศ

Page 10: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

10

ความตกลงระหวางประเทศไทยกับ นานาประเทศหรือองคการระหวางประเทศ

บันทึกเปนเอกสารฉบับเดียว หรือหลายฉบับ

และไมวาจะเรียกช่ืออยางไร

เปนลายลักษณอักษร

มุงหมายใหเกิดผลผูกพันระหวางกัน ตามกฎหมายระหวางประเทศ

องคประกอบของ หนังสือสัญญาตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ

Page 11: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

11

ขอพิจารณา ความตกลงท่ีจะเปนหนังสือสัญญาตามกฎหมายระหวางประเทศจะตองมี คู ภา คี เปนประเทศหรือองคการระหว างประเทศ ซึ่ งประ เทศ หมายถึง หนวยปกครอง (entity) ท่ีมีองคประกอบของความเปนรัฐ ไดแก อาณาเขต ประชากร และอํานาจอธิปไตย สวนองคการระหวางประเทศ หมายถึง องคการท่ีเปนนิติบุคคลมหาชนระหวางประเทศ ซึ่งพิจารณาไดจากตราสารจัดตั้งองคการนั้นๆ เชน องคการสหประชาชาติและทบวงการชํานัญพิเศษตางๆ ถอยคําท่ีใชในความตกลงจะระบุวา เปนความตกลงท่ีกระทําในนามรัฐบาลของประ เทศ /ร าชอ าณา จั กร /สห รั ฐ /สหพั นธ รัฐ /สมาพัน ธ รั ฐ /สหราชอาณาจักร/สาธารณรัฐ/เครือรัฐ (...ช่ือประเทศ...) ผูลงนามจะตองเปนผูมีอํานาจลงนามตามกฎหมายระหวางประเทศ ไดแก ประมุขแหงรัฐ หัวหนารัฐบาล หรือรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ หรือบุคคลอื่นท่ีไดรับมอบอํานาจเต็ม (full power) จากบุคคลดังกลาว ขอควรระวัง ในกรณีท่ีเปนความตกลงในระดับหนวยงานตองพิจารณาวา หนวยงานนั้นทําความตกลงในฐานะใด หากเปนการทําในนามประเทศ/รัฐบาลของประเทศ ก็ถือเปนความตกลงระหวางประเทศ สวนจะเปนหนังสือสัญญาหรือไมตองพิจารณาองคประกอบประการอื่นตอไป แตถาทําความตกลงในนามของหนวยงานนั้นเองภายใตอํานาจหนาท่ีของตน จะไมเขาองคประกอบการเปนหนังสือสัญญาโดยไมตองพิจารณาองคประกอบอื่น

ความตกลงระหวางประเทศไทยกับ นานาประเทศหรือองคการระหวางประเทศ

Page 12: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

12

ขอพิจารณา หนังสือสัญญาตองจัดทําเปนลายลักษณอักษร หมายถึง ความตกลง ท่ีบันทึกความตกลงเปนตัวอักษรท่ีอานออกได และบันทึกข้ึนในลักษณะท่ีแกไข ไมไดแลว (Permanent and readable) โดยไมจําเปนตองทําข้ึนในรูปของเอกสารท่ีเปนกระดาษเสมอไป จึงอาจเปนเอกสารทางอิเล็กทรอนิกสก็ได และการลงนาม โดยลายมือช่ือก็มิใชสวนประกอบสําคัญของหนังสือสัญญา เนื่องจากมีวิธีการอื่น ท่ีสามารถนํามาใชทดแทนการลงนามดวยมือได เชน การลงนามในรูปดิจิตอล ภายใตเ ง่ือนไขว า การลงนามดวยวิธีการอื่นนั้ นต องสามารถระบุตั วผู ลงนามได อยางเฉพาะเจาะจง และทําข้ึนภายใตการควบคุมของผูลงนามแตเพียงผูเดียว โดยการลงนามนั้นเปนอันหนึ่งอันเดียวกันกับความตกลงในลักษณะท่ีผูอื่นจะแกไขหรือเปล่ียนแปลงเนื้อหาสาระของความตกลงนั้นไมได1 ขอพิจารณา หนังสือสัญญาอาจเรียกช่ืออยางไรก็ได ไมวาจะเปนสนธิสัญญา ความตกลง พิธีสาร บันทึกความเขาใจ คําแถลงการณ บันทึกการประชุม ฯลฯ ความแตกตางในช่ือเรียกดังกลาวมิไดมีผลใหสถานะทางกฎหมายของความตกลงนั้นแตกตางกัน และอาจบันทึกอยูในตราสารฉบับเดียวกันหรือหลายฉบับก็ได

1 Anthony Aust, Modern Treaty Law and Practice, Cambridge University Press; 2 edition

(November 12, 2007), p. 16.

เปนลายลักษณอักษร

บันทึกเปนเอกสารฉบับเดยีว หรือหลายฉบับ และไมวาจะเรียกชื่ออยางไร

Page 13: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

13

แมวารูปแบบของหนังสือสัญญาท่ีเปนตราสารฉบับเดียวจะเปนรูปแบบ ท่ีเปนทางการและมีการปฏิบัติมานาน แตในทางปฏิบัติ การทําหนังสือสัญญา ในลักษณะอื่นก็เปนท่ีนิยมมากข้ึนเชนกัน เชน การแลกเปล่ียนสัตยาบันสาร หรือ การมจีดหมายโตตอบระหวางกัน ความแตกตางหลากหลายดังกลาวข้ึนอยูกับปจจัยหลายประการ เชน ระดับความสําคัญของขอตกลง ผูทําหนังสือสัญญา เนื้อหาสาระท่ีมีการตกลงกัน ภาคีของหนังสือสัญญา จํานวนคูสัญญา และเจตนาของคูภาคี ท่ีประสงคใหความตกลงระหวางประเทศท่ีทําข้ึนนั้นมีช่ือเรียกอยางไร ขอพิจารณา การกอใหเกิดความผูกพันตามกฎหมายระหวางประเทศ มีองคประกอบ 2 สวน คือ

1. หนังสือสัญญาตองกอใหเกิดความผูกพันระหวางกันตามกฎหมาย - พิจารณาจากเจตนาของคูภาคีท้ังสองฝาย ณ เวลาที ่ลงนาม

เปนสําคัญ และตรวจสอบไดจากอารัมภบทในความตกลงฯ เนื้อหาในความตกลงฯ เอกสารประกอบการจัดทําความตกลง เชน เอกสารการประชุม เปนตน

การแสดงเจตนาฝายเดียวโดยไมมีการเจตนาสนองรับไมอาจถือวาคูภาคีมีเจตนาใหเกิดความผูกพันระหวางกัน เชน (ก) หนังสือขอรับความชวยเหลือทางการเงินลวงหนา (Stand-by arrangement) ซึ่งรัฐสมาชิกยื่นตอกองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) เปนเจตนาฝายเดียวท่ีรัฐสมาชิกผูยื่นประสงคท่ีจะขอรับความชวยเหลือทางการเงินและทางวิชาการจาก IMF โดย IMF มิไดเขาทําสัญญาดวย การพิจารณาอนุมัติยังคงเปนอํานาจของ IMF ท่ีจะอนุมัติหรือไมก็ได โดยการอนุมัติของ IMF มิใชการแสดงเจตนาสนองคําเสนอ แตเปนเพียงการอนุมัติการชวยเหลือทางการเงินแกประเทศสมาชิก

มุงหมายใหเกิดผลผูกพันระหวางกัน ตามกฎหมายระหวางประเทศ

Page 14: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

14

ของ IMF ท่ีประสบปญหาการขาดดุลชําระเงิน (Balance of Payment) หรือประสบปญหาวิกฤตเศรษฐกิจเทานั้น (ข) หนังสือแสดงเจตจํานง (Letter of Intent) ท่ีประเทศไทย ยื่นตอ IMF ศาลรัฐธรรมนูญไดมีคําวินิจฉัย ท่ี 11/2542 วา มิใชหนังสือสัญญาท่ีตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภา เพราะเปนการกระทําฝายเดียว (unilateral act) ในการแสดงเจตนาดีทางการเมือง (political good intention) ของประเทศไทยเพื่อแสดงให IMF เห็นถึงนโยบายในการปรับดุลยภาพทางเศรษฐกิจของไทย รวมท้ังการใชมาตรการทางกฎหมายตางๆ ในการแกไขปญหาเศรษฐกิจ โดยท่ี IMF ไมได ทําขอตกลงดวยและไมมีการลงนามจากฝาย IMF ในหนังสือแสดงเจตจํานงนี้ - พิจารณาเนื ้อหาวา กอใหเกิดสิทธิและหนาท่ีในทางกฎหมาย ตอกัน กลาวคือ คูภาคีสามารถเรียกใหอีกฝายกระทําการหรืองดเวนกระทําการใด และคูภาคีอีกฝายตองกระทําการหรืองดเวนกระทําการนั้น หากฝายใดไมปฏิบัติตามยอมทําใหเกิดความรับผิดชอบระหวางกันในลักษณะของหนี้ท่ีจะตองหรือนําไปสูการชดใชคาเสียหายซึ่งอาจเปนตัวเงินหรือมิใชตัวเงิน แลวแตกรณี หรือกําหนดใหมีมาตรการระงับขอพิพาทโดยตุลาการระหวางประเทศรูปแบบตาง ๆ ขอตกลงรวมกันระหวางประเทศสมาชิกในเวทีเอเปค ซึ่งการปฏิบัติตามขอตกลงหรือไมนั้นข้ึนอยูกับความสมัครใจ จึงไมถือเปนหนังสือสัญญา เนื่องจากไมมีผลผูกพันทางกฎหมายใหประเทศสมาชิกตองปฏิบัติตาม โดยประเทศสมาชิกสามารถเลือกท่ีจะดําเนินการหรือไมดําเนินการก็ได หรือการจัดทําบันทึกการประชุมเพื่อกําหนดแนวนโยบายรวมกันระหวางประเทศ ซึ่งกําหนดเพียงกรอบการดําเนินการอยางกวาง โดยมิไดกําหนดรายละเอียดของสิ่งที่จะดําเนินการหรือระยะเวลาในการดําเนินการไว บันทึกการประชุมดังกลาวจึงยังไมมีรายละเอียด เพียงพอท่ีจะกอใหเกิดสิทธิและหนาท่ีในทางกฎหมายตอกันได และแมจะกอใหเกิดความผูกพันทางการเมืองระหวางประเทศแตยังไมอาจถือไดวาเปนการกอใหเกิดความผูกพันตามกฎหมาย - พิจารณาจากถอยคําท่ีอาจอนุมานถึงเจตนาของคูกรณีใหเกิดผลผูกพันทางกฎหมาย ซึ่งจากแนวคําวินิจฉัยของตุลาการระหวางประเทศ ลักษณะถอยคําและเนื ้อหาของความตกลงฯ ที่แสดงถึงเจตนา ไดแก ‘shall’ ‘agree’ ‘undertake’ ‘rights’ ‘obligations’ และ ‘enter into force’

Page 15: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

15

2. ความผูกพันท่ีเกิดข้ึนนั้นอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวางประเทศ โดยท่ัวไป ความผูกพันในทางกฎหมายระหวางรัฐจะอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวางประเทศซึ่งเปนกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง (กฎหมายมหาชนระหวางประเทศ) ซึ่งรัฐสามารถอางเอกสิทธิ์และความคุมกันได และการระงับขอพิพาทจะอาศัยกลไกตุลาการระหวางประเทศ สําหรับความตกลงท่ีทําข้ึนระหวางรัฐตอรัฐมิใชวาจะผูกพันกันตามกฎหมายระหวางประเทศทุกกรณี หากความตกลงดังกลาวกําหนดใหใชกฎหมายภายในของคูภาคีบังคับ ความตกลงนั้นจะไมอยูภายใตบังคับกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง หรือหากเปนความตกลงท่ีมี วัตถุประสงคเพื่อการคา ในลักษณะท่ีรัฐเขาผูกพันเสมือนเปนเอกชนท่ีผูกพันกันบนพื้นฐานแหงความเทาเทียมกันตามสัญญาและมีผลเปนการสละเอกสิทธิ์และความคุมกันในฐานะท่ีเปนรัฐ ความตกลงนี้จะไมอยูภายใตบังคับของกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมืองเชนกัน แตจะเปนไปตามกฎหมายภายในของรัฐหรือกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล (กฎหมายเอกชนระหวางประเทศ) และใชกลไกการระงับขอพิพาททางศาลหรืออนุญาโตตุลาการตามกฎหมายเอกชน2

2 Anthony Aust, Modern Treaty Law and Practice, Cambridge University Press; 2 edition (November 12, 2007)

Page 16: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

16

2.2 หนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคสอง คืออะไร

และ

องคประกอบของหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคสอง

มีลักษณะดังตอไปน้ี 1. หนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย 2. หนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงเขตพ้ืนที ่นอกอาณาเขตซ่ึงประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย หรือมีเขตอํานาจตามหนังสือสัญญา หรือตามกฎหมายระหวางประเทศ 3. หนังสือสัญญาที่จะตองออกพระราชบัญญัติเพ่ือใหการเปนไปตามหนังสือสัญญาน้ัน 4. หนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความมั่นคง ทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง 5. หนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันการคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอยางมีนัยสําคัญ

เปนหนังสือสัญญาตามวรรคหนึ่ง

Page 17: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

17

มาตรา 190 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญฯ มิไดกําหนดความหมายของหนังสือสัญญาหาประเภทท่ีตองเสนอขอความเห็นชอบของรัฐสภาไว ในการพิจารณาหาความหมายของหนังสือสัญญาจึงไดประมวลจากตํารา บทความ แนวคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ แนวความเห็นของสํานักงานฯ รายงานการศึกษาวิจัย รวมท้ังความเห็นของนักวิชาการ เพื่อกําหนดขอบเขตความหมายของหนังสือสัญญา แตละประเภท ดังตอไปนี้

หนังสือสัญญาท่ีมีบทเปล่ียนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตพื้น ท่ี นอกอาณาเขตซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอํานาจตามหนังสือสัญญาหรือ ตามกฎหมายระหวางประเทศ มีความหมาย ดังนี้ 1. หนังสือสัญญาท่ีมีบทเปล่ียนแปลงอาณาเขตไทย หมายถึง หนังสือสัญญาท่ีมีบทเปล่ียนแปลงอาณาเขตแหงราชอาณาจักรไทย ซึ่งเปนบริเวณท่ีประเทศไทยสามารถใชอํานาจอธิปไตย (sovereignty) ไดตามกฎหมายระหวางประเทศอันไดแก บริเวณอาณาเขตพื้นดิน (land territory) นานน้ําภายใน (internal waters) ทะเลอาณาเขต (territorial sea) หวงอากาศ (air space) เหนือทะเลอาณาเขต พื้นดินทองทะเล (sea-bed) และดินใตผิวดิน (subsoil) ของทะเลอาณาเขตซึ่งมีความกวาง 12 ไมลทะเล โดยวัดจากเสนฐานท่ีใชวัดความกวางของทะเลอาณาเขตตามท่ีกําหนดไวในประกาศกําหนดความกวางของทะเลอาณาเขตของประเทศไทย เชน หนังสือสัญญาเก่ียวกับการปกปนเขตแดน การตกลงแบงเขตแดนทางบกหรือทางทะเลกับประเทศเพื่อนบาน เปนตน 2. หนัง สือ สัญญา ท่ีมีบทเปล่ียนแปลงเขตพื้น ท่ีนอกอาณาเขต ซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอํานาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมาย

1. หนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพ้ืนที่นอกอาณาเขตซ่ึงประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย

หรือมีเขตอํานาจตามหนังสือสัญญาหรือ ตามกฎหมายระหวางประเทศ

Page 18: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

18

ระหวางประเทศ ไดแก หนังสือสัญญาท่ีมีบทเปล่ียนแปลงเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (exclusive economic zone) และไหลทวีป (continental shelf) เทานั้น อนึ่ง ศาลรัฐธรรมนูญไดมีคําวินิจฉัย ท่ี 6-7/2551 ไดวางแนวทาง ในการพิจารณาหนังสือสัญญาประเภทนี้วา แมถอยคําท่ีใชกับหนังสือสัญญาท้ังสองประเภทจะกําหนดในลักษณะท่ีตองปรากฏชัดในขอบทของหนังสือสัญญาวา มีบทเปล่ียนแปลงอาณาเขตไทยหรือพื้นท่ีนอกอาณาเขตซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอํานาจ จึงตองขอความเห็นชอบจากรัฐสภา แตหากแปลความเชนนั้น ก็จะไม เกิดผลตามความมุงหมายของรัฐธรรมนูญท่ีมุงจะตรวจสอบควบคุม การทําหนังสือสัญญากอนท่ีฝายบริหารจะไปลงนามใหมีผลผูกพันประเทศ ซึ่งจะเกิดปญหาตามมาภายหลังได จึงตองแปลความวา หากหนังสือสัญญาใดท่ีคณะรัฐมนตรีจะไปดําเนินการทํากับประเทศอื่นหรือองคการระหวางประเทศ และมีลักษณะ ของหนังสือสัญญาท่ีอาจมีผลเปล่ียนแปลงอาณาเขตไทย หรืออาจมีผลเปล่ียนแปลงเขตพื้นท่ีนอกอาณาเขตซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอํานาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหวางประเทศ ก็ตองนําหนังสือสัญญานั้นขอความเห็นชอบของรัฐสภากอน หนังสือสัญญาท่ีจะตองออกพระราชบัญญัติเพื่อใหการเปนไปตามหนังสือสัญญามีความชัดเจนของถอยคําอยูแลววาหมายถึง หนังสือสัญญาท่ีมีผล ทําใหตองมีการตรากฎหมาย ไดแก พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด ฉบับใหม หรือตรากฎหมายยกเลิก ปรับปรุง หรือแกไขเพิ่มเติมกฎหมายเดิมท่ีมีผลใชบังคับอยู เพื่ออนุวัติการตามหนังสือสัญญานั้น แตไมรวมถึงหนังสือสัญญาท่ีมีผลทําใหตองมีการออกกฎหมายลําดับรอง เชน พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ เนื่องจากเปนเร่ืองท่ีอยูในอํานาจของฝายบริหาร

2. หนังสือสัญญาที่จะตองออกพระราชบัญญัติเพ่ือใหการเปนไปตามหนังสือสัญญาน้ัน

Page 19: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

19

อยางไรก็ดี หากหนังสือสัญญานั้นเปนกรณีท่ีตองออกพระราชบัญญัติเพื่อใหการเปนไปตามหนังสือสัญญา โดยท่ัวไปคณะรัฐมนตรีควรจะไดเสนอ รางพระราชบัญญัติไปพรอมกับการขอความเห็นชอบหนังสือสัญญานั้นตอรัฐสภา และกอนแสดงเจตนาใหมีผลผูกพันตามหนังสือสัญญานั้น ควรจะไดประกาศใชพระราชบัญญัติดังกลาวเสียกอน ท้ังนี้ เวนแต เปนกรณี ท่ีหนังสือสัญญานั้น มีขอกําหนดยอมรับใหมีการออกกฎหมายอนุวัติการภายหลังการแสดงเจตนาใหมีผลผูกพันได หนังสือสัญญาท่ีมีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคม ของประเทศอยางกวางขวาง เปนหลักการใหมและมีความไมชัดเจนกอใหเกิดปญหาในการพิจารณา ในการหาความหมายของหนังสือสัญญานี้ จึงแยกพิจารณาองคประกอบของถอยคํา ไดแก “กระทบตอความมั่นคง” “เศรษฐกิจหรือสังคม” “อยางกวางขวาง” ซึ่งคําวา “เศรษฐกิจหรือสังคม” มีความเก่ียวของกับส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยสินทางปญญา แรงงาน สิทธิมนุษยชน สาธารณสุข การศึกษา เปนตน สวนคําวา “กระทบตอความมั่นคง” “อยางกวางขวาง” เปนคําท่ีมีความหมายกวางท้ังในดานขอบเขตซึ่งเปนแนวราบและระดับของผลท่ีเกิดข้ึนในแนวดิ่ง เพื่อคํานึงถึงความสําคัญจําเปนของเร่ืองท่ีสมควรจะเสนอใหรัฐสภาพิจารณา จึงเห็นวา หนังสือสัญญาประเภทนี้ หมายความวา หนังสือสัญญาท่ีมีผลเปนการกําหนดหรือเปล่ียนโครงสราง กฎเกณฑ หรือมาตรฐานในดานส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยสินทางปญญา แรงงาน สิทธิมนุษยชน สาธารณสุข การศึกษา หรือดานอื่นใดท่ีเก่ียวของกับเศรษฐกิจหรือสังคมซึ่งมีผลกระทบตอประชาชน ดังนี้

3. หนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความมั่นคง ทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศ

อยางกวางขวาง

Page 20: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

20

(1) หนังสือสัญญาท่ีมีวัตถุประสงคหลักเก่ียวกับการกําหนดกฎเกณฑหรือมาตรฐานดานทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีมิใชเร่ืองทางเทคนิคหรือความรวมมือ ทางวิชาการ (2) หนังสือสัญญาท่ีมีวัตถุประสงคหลักเก่ียวกับการกําหนดกฎเกณฑหรือมาตรฐานดานพลังงาน ท่ีมิใชเร่ืองทางเทคนิคหรือความรวมมือทางวิชาการ (3) หนังสือสัญญาท่ีมีวัตถุประสงคหลักเก่ียวกับการกําหนดกฎเกณฑหรือมาตรฐานดานการคุมครองทรัพยสินทางปญญาหรือทรัพยสินทางอุตสาหกรรม ท่ีมิใชเร่ืองทางเทคนิคหรือความรวมมือทางวิชาการ (4) หนังสือสัญญาท่ีมีวัตถุประสงคหลักเก่ียวกับการกําหนดกฎเกณฑหรือมาตรฐานดานสิทธิแรงงานข้ันพื้นฐาน ท่ีมิใชเร่ืองทางเทคนิคหรือความรวมมือทางวิชาการ (5) หนังสือสัญญาท่ีมีวัตถุประสงคหลักเก่ียวกับการกําหนดกฎเกณฑหรือมาตรฐานดานสิทธิมนุษยชน ท่ีมิ ใช เ ร่ืองทางเทคนิคหรือความรวมมือ ทางวิชาการ (6) หนังสือสัญญาท่ีมีวัตถุประสงคหลักเก่ียวกับการกําหนดกฎเกณฑหรือมาตรฐานดานส่ิงแวดลอม ท่ีมิใชเร่ืองทางเทคนิคหรือความรวมมือทางวิชาการ หนังสือสัญญาท่ีมีผลผูกพันดานการคาหรือการลงทุนของประเทศ อยางมีนัยสําคัญ เปนหลักการใหมซึ่งมีท่ีมาจากการท่ีรัฐบาลไดทําขอตกลงการคาเสรี (Free Trade Area) ระหวางประเทศไทยกับประเทศตางๆ คือ จีน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ซึ่งสงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนอยางมาก และสงผลกระทบตอผูประกอบการหลายรายในภาคเกษตรกรรม ท้ังผูเล้ียงโคนม และผูปลูกพืชผักผลไม และเปนผลกระทบในวงกวางเมื่อเทียบกับประโยชนท่ีประเทศไทยไดรับ

4. หนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันการคา การลงทุนอยางมีนัยสําคัญ

Page 21: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

21

จากขอตกลงดังกลาว โดยไมมีการขอความเห็นชอบจากรัฐสภา อีกท้ัง ประชาชนไมมีโอกาสรับรูขอมูลเก่ียวกับความตกลง จึงไดมีการเพิ่มประเภทของหนังสือสัญญา ท่ีตองขอความเห็นชอบของรัฐสภาเพื่อตรวจสอบการใชอํานาจของฝายบริหาร ในการหาความหมายของหนังสือสัญญานี้ คําวา “การคาการลงทุน” เปนคําท่ีมีความหมายท่ัวไปและเปนท่ีเขาใจไดวา เปนเร่ืองท่ีความเก่ียวของกับการคาสินคา บริการ การลงทุน ฯลฯ สวนคําวา “อยางมีนัยสําคัญ” เปนคํา ท่ีมีความหมายกวาง เมื่อไดคํานึงถึงท่ีมาของการกําหนดหนังสือสัญญาประเภทนี้แลว จึงเห็นวา หนังสือท่ีมีผลผูกพันดานการคาหรือการลงทุนของประเทศอยางมีนัยสําคัญ หมายถึง หนังสือสัญญาท่ีมีผลผูกพันดานการคาสินคา การคาบริการ การลงทุน อัตราศุลกากร การขจัดอุปสรรคอื่นท่ีมิใชภาษี หรือดานอื่นใดท่ีมีวัตถุประสงคหลักเพื่อการเปดเสรีทางการคาหรือการลงทุน ดังนี้ (1) หนังสือสัญญาท่ีมีวัตถุประสงคหลักเก่ียวกับการเปดเสรีทางการคาหรือการลงทุนในระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี (2) หนังสือสัญญาท่ีมีวัตถุประสงคหลักเก่ียวกับการเปนหุนสวน ทางเศรษฐกิจในระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี (3) หนังสือสัญญาท่ีมีวัตถุประสงคหลักเก่ียวกับการคุมครองการลงทุนในระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี หนังสือสัญญาท่ีมีผลผูกพันงบประมาณของประเทศอยางมีนัยสําคัญ เปนหลักการใหม จึงไดนําเกณฑท่ีสํานักงบประมาณไดกําหนดไวมาใชในการกําหนดความหมายของหนังสือสัญญานี้หมายถึง หนังสือสัญญาท่ีกอใหเกิดภาระผูกพันงบประมาณแผนดินในลักษณะอยางหนึ่งอยางใด ดังนี้ (1) หนังสือสัญญาท่ีกอใหเกิดภาระผูกพันงบประมาณแผนดิน เกินกวาหาปงบประมาณไมวาจะติดตอกันหรือไม และไมวาจะเปนจํานวนเงินเทาใด

5. หนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันงบประมาณ ของประเทศอยางมีนัยสําคัญ

Page 22: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

22

ก็ตาม แตไมรวมถึงรายจายประจําในงบเงินอุดหนุนหรืองบรายจายอื่น เปนจํานวนเงินไมเกินหนึ่งรอยลานบาท (2) หนังสือสัญญาท่ีกอใหเกิดภาระผูกพันงบประมาณแผนดิน เปนจํานวนเงินตั้งแตหนึ่งพันลานบาทข้ึนไป (3) หนังสือสัญญาท่ีกอใหเกิดภาระผูกพันงบประมาณแผนดินทําใหตองใชจายเงินงบกลางหรือรายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน ในระหวางปงบประมาณเปนจํานวนเงินตั้งแตหนึ่งรอยลานบาทข้ึนไป (4) หนังสือสัญญาท่ีเปนเหตุใหตองมีการใชจายเงินงบประมาณแผนดินโดยมิไดมีการตั้งงบประมาณรายจายไวในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป

Page 23: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

23

สวนที่ 3 ข้ันตอนในการจัดทําหนังสือสัญญา

ตามรัฐธรรมนูญฯ

การริเร่ิม

การเจรจา

หนวยงานตองใหขอมูลและจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน รวมท้ังการศึกษาวิเคราะหผลกระทบจากการทํา

หนังสือสัญญา

ครม. เสนอขอความเห็นชอบกรอบการเจรจาตอรัฐสภา

พรอมดวยผลกระทบ และความคิดเห็นของ ปชช.

การยืนยันความถูกตองและการรับตัวบท

ครม. เสนอขอความเห็นชอบตอรัฐสภา

การใหความยินยอมเขาผูกพันหนังสือสัญญา

หนังสือสัญญามีผลใชบังคับกับประเทศไทย

การเยียวยาผูไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญา

การลงนามท่ีมิใชการแสดงเจตนาใหมีผลผูกพัน

หนวยงานเสนอขอความเห็นชอบ ครม. ครม. เสนอขอความ

เห็นชอบตอรัฐสภา

หนวยงานของรัฐดําเนินการให ปชช. สามารถเขาถึง

รายละเอียดของหนังสือสัญญา

Page 24: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

24

สวนที่ 4 แบบตรวจสอบการเปนหนังสือสัญญา ตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ

(Checklist)

จากหลักเกณฑขอพิจารณาการเปนหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ และข้ันตอนการจัดทําหนังสือสัญญาตามรัฐธรรมนูญฯ ดังไดอธิบายในสวนท่ี 1 ถึง สวนท่ี 3 ไดนําสาระสําคัญมาจัดทําเปนแบบตรวจสอบการเปนหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ หรือ Checklist เพื่อใหเจาหนาท่ีของหนวยงานตางๆ ท่ีเก่ียวของกับการทําความตกลงระหวางประเทศไดนําไปใชเปนเคร่ืองมือในการตรวจพิจารณาความตกลงระหวางประเทศเปนรายฉบับวาจะเขาขายเปนหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ หรือไม และไดดําเนินการตามข้ันตอนตางๆ ท่ีกําหนดไวในบทบัญญัติดังกลาวครบถวนแลวหรือไม ดังปรากฏตามแบบตรวจสอบแนบทายคูมือนี้

Page 25: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

25

แบบตรวจสอบการเปนหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ

1. ความตกลงระหวางประเทศกับนานาประเทศหรือองคการระหวางประเทศ 1.1 ระบุคูภาคี ระหวาง กับ 1.2 สถานะของคูภาคี ¨ ประเทศ/ราชอาณาจักร/สหราชอาณาจักร/สหพันธรัฐ/สหรัฐ/

สมาพันธรัฐ/สาธารณรัฐ/เครือรัฐ ¨ รัฐบาล ¨ องคการระหวางประเทศ ¨ หนวยงานของรัฐ 1.3 ในนามประเทศ/รัฐบาลของประเทศ ¨ ใช ¨ ไมใช (ไมเปนหนังสือสัญญา) 1.4 ผูลงนาม ¨ ประมุขแหงรัฐ ¨ หัวหนารัฐบาล ¨ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศหรือ เอกอัครราชทูต ¨ บุคคลอ่ืนที่ไดรับมอบอํานาจเต็ม (full power) ¨ บุคคลอ่ืนทีไ่มไดรับมอบอํานาจเต็ม (ไมเปนหนังสือสัญญา) 2. บันทึกเปนลายลักษณอักษร ¨ ใช ¨ ไมใช (ไมเปนหนังสือสัญญา)

Page 26: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

26

3. ชื่อเรียกหนังสือสัญญา ระบุ อยูในเอกสารฉบับเดียวหรือหลายฉบับ ¨ ฉบับเดียว ¨ หลายฉบับ ไดแก 4. มุงหมายใหเกิดผลผูกพันระหวางกันตามกฎหมายระหวางประเทศ 4.1 กอใหเกิดผลผูกพันตามกฎหมายระหวางกัน ¨ 1) กอใหเกิดผลผูกพันตามกฎหมาย (เปนหนังสือสัญญา) ¨ ระบุเจตนาชัดเจนใหมีผลตามกฎหมาย ¨ กําหนดสิทธิและหนาที่ตอกันในลักษณะบังคับใหตองปฏิบัติตาม ¨ ใชถอยคําที่ตองการกอใหเกิดผลบังคับทางกฎหมาย เชน

shall, agree, rights, undertake, enter into force ¨ มีขอกําหนดวาดวยการระงับขอพิพาท ¨ มีขอกําหนดวาดวยการรับฝากหรือเก็บรักษาความตกลงฯ ¨ อ่ืนๆ ระบุ ¨ 2) ไมกอใหเกิดผลผูกพันตามกฎหมาย (ไมเปนหนังสือสัญญา) ¨ ระบุเจตนาชัดเจนวาไมมีผลผูกพันตามกฎหมาย ¨ ระบุเจตนาชัดเจนใหมีผลทางการเมือง/สังคม/ศีลธรรม/นโยบาย ¨ ไมไดกําหนดสิทธิและหนาที่ตอกันในลักษณะบังคับใหตองปฏิบัติตาม ¨ ใชถอยคําที่ไมตองการกอใหเกิดผลบังคับทางกฎหมาย เชน

will, support, encourage, come into effect ¨ ไมมีขอกําหนดวาดวยการระงับขอพิพาท ¨ ไมมีขอกําหนดวาดวยการรับฝากหรือเก็บรักษาความตกลงฯ ¨ อ่ืนๆ ระบุ

Page 27: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

27

4.2 ความผูกพันภายใตบังคับกฎหมายระหวางประเทศ ¨ 1) อยูภายใตบังคับกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง (เปนหนังสือสัญญา) ¨ กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมืองเปนกฎหมายที่ใชบังคับกับ

ความตกลงฯ ¨ ไมมีขอกําหนดสละเอกสิทธิแ์ละความคุมกันของรัฐ ¨ อ่ืนๆ ระบุ ¨ 2) ไมอยูภายใตบังคับกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง (ไมเปนหนังสือสัญญา) ¨ มีวัตถุประสงคทางการคาและพาณิชย ¨ กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคลหรือกฎหมายเอกชน

ภายในประเทศเปนกฎหมายที่ใชบังคับกับความตกลงฯ ¨ มีขอกําหนดสละเอกสิทธิ์และความคุมกันของรัฐ ¨ อ่ืนๆ ระบุ 5. ประเภทของหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ ¨ 5.1 หนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพ้ืนที่นอกอาณาเขต

ซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย หรือมีเขตอํานาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหวางประเทศ

ระบุ ¨ 5.2 หนังสือสัญญาที่ตองออกพระราชบัญญัติเพ่ือใหการเปนไปตามหนังสือสัญญา ระบุ

Page 28: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

28

¨ 5.3 หนังสือสัญญาที่มีผลกระทบตอความม่ันคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของ

ประเทศอยางกวางขวาง ¨ หนังสือสัญญาที่มีวัตถุประสงคหลักเกี่ยวกับการกําหนดกฎเกณฑหรือ

มาตรฐานดานทรัพยากรธรรมชาติ ที่มิใชเรื่องทางเทคนิคหรือความรวมมือทางวิชาการ

¨ หนังสือสัญญาที่มีวัตถุประสงคหลักเกี่ยวกับการกําหนดกฎเกณฑหรือมาตรฐานดานพลังงาน ที่มิใชเรื่องทางเทคนิคหรือความรวมมือทางวิชาการ

¨ หนังสือสัญญาที่มีวัตถุประสงคหลักเกี่ยวกับการกําหนดกฎเกณฑหรือมาตรฐานดานการคุมครองทรัพยสินทางปญญาหรือทรัพยสินทางอุตสาหกรรม ที่มิใชเรื่องทางเทคนิคหรือความรวมมือทางวิชาการ

¨ หนังสือสัญญาที่มีวัตถุประสงคหลักเกี่ยวกับการกําหนดกฎเกณฑหรือมาตรฐานดานสิทธิมนุษยชน ที่มิใชเรื่องทางเทคนิคหรือความรวมมือทางวิชาการ

¨ หนังสือสัญญาที่มีวัตถุประสงคหลักเกี่ยวกับการกําหนดกฎเกณฑหรือมาตรฐานดานสิทธิแรงงานข้ันพื้นฐาน ที่มิใชเรื่องทางเทคนิคหรือความรวมมือทางวิชาการ

¨ หนังสือสัญญาที่มีวัตถุประสงคหลักเกี่ยวกับการกําหนดกฎเกณฑหรือมาตรฐานดานส่ิงแวดลอม ที่มิใชเรื่องทางเทคนิคหรือความรวมมือทางวิชาการ

¨ หนังสือสัญญาอ่ืนที่มีผลเปนการกําหนดหรือเปลี่ยนโครงสราง กฎเกณฑหรือมาตรฐานในดานที่เกี่ยวของกับเศรษฐกิจหรือสังคมซึ่งมีผลกระทบตอประชาชน

ระบุ ¨ 5.4 หนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันการคาหรือการลงทุนอยางมีนัยสําคัญ ¨ หนังสือสัญญาที่มีวัตถุประสงคหลักเกี่ยวกับการเปดเสรีทางการคาหรือ การลงทุนในระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี

Page 29: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

29

¨ หนั งสื อสัญญาที่ มี วั ต ถุประสงคหลั ก เกี่ ยวกั บการ เป น หุ นส วน

ทางเศรษฐกิจ ในระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี ¨ หนังสือสัญญาที่มีวัตถุประสงคหลักเกี่ยวกับการคุมครองการลงทุน ในระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี ¨ หนังสือสัญญาอ่ืนที่ มีผลผูกพันดานการคาสินคา การคาบริการ

การลงทุน การขจัดอุปสรรคทางการคาหรือการลงทุน หรือดานอ่ืนใดเพ่ือการเปดเสรีทางการคาหรือการลงทุน

ระบุ ¨ 5.5 หนังสือสัญญาที่มีผลผูกพันงบประมาณของประเทศอยางมีนัยสําคัญ ¨ หนังสือสัญญาที่กอใหเกิดภาระผูกพันงบประมาณแผนดินเกินกวา

5 ปงบประมาณ ไมวาจะติดตอกันหรือไม และไมวาจําเปนจํานวนเงินเทาใด แตไมรวมถึงรายจายประจําในงบเงินอุดหนุนหรืองบรายจายอ่ืนเปนจํานวนเงินไมเกินหนึ่งรอยลานบาท

¨ หนังสือสัญญาที่กอใหเกิดภาระผูกพันงบประมาณแผนดินเปนจํานวนเงินต้ังแตหนึ่งพันลานบาทข้ึนไป

¨ หนังสือสัญญาที่กอใหเกิดภาระผูกพันงบประมาณแผนดินทําใหตอง ใชจายเงินงบกลางหรือรายการสํารองจายเพ่ือกรณีฉุกเฉินหรือจําเปนในระหวางปงบประมาณเปนจํานวนเงินต้ังแตหนึ่งรอยลานบาทข้ึนไป

¨ การใชจายเงินตามหนังสือสัญญาไมไดต้ังงบประมาณรายจายไวแลวในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป

6. กระบวนการทําหนังสือสัญญาตามมาตรา 190 ของรัฐธรรมนูญฯ 6.1 กรณีเขาตามขอ 1. ถึง ขอ 4. (หนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคหนึ่ง) ¨ การรเิริ่ม ¨ การเจรจา ¨ การยืนยันความถูกตองและการรับตัวบท

Page 30: คู มือ การพิจารณา การเป น ...web.krisdika.go.th/data/outsitedata/outsite21/file/...7 ความเป นมาและเจตนารมณ

30

¨ เสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือใหความเห็นชอบการทําความตกลงฯ มอบหมาย ผูลงนาม และมอบหมายทําหนังสือมอบอํานาจเต็ม (ถามี)

¨ ลงนามหนังสือสัญญากอนแสดงเจตนาใหมีผลผูกพัน (ถามี) ¨ การแสดงเจตนาใหมีผลผูกพันตามหนังสือสัญญา ¨ หนังสือสัญญามีผลใชบังคับกับประเทศไทย 6.2 กรณีเขาตามขอ 1. ถึง ขอ 5. (หนังสือสัญญาตามมาตรา 190 วรรคสอง) ¨ การริ่เริ่ม ¨ หนวยงานใหขอมูลและจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน

รวมทั้งการศึกษาวิเคราะหผลกระทบจากการทําหนังสือสัญญา ¨ เสนอคณะรัฐมนตรีขอความเห็นชอบกรอบการเจรจาตอรัฐสภาพรอม

ดวยผลกระทบและความคิดเห็นชอบประชาชน ¨ คณะรัฐมนตรีเสนอรัฐสภาใหความเห็นชอบกรอบการเจรจา ¨ การเจรจา ¨ การยืนยันความถูกตองและการรับตัวบท ¨ เสนอคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบรางหนังสือสัญญา อนุมัติการลงนาม

หนังสือสัญญากอนแสดงเจตนาใหมีผลผูกพัน (ถามี) มอบหมายผูลงนาม และมอบหมายทําหนังสือมอบอํานาจเต็ม (ถามี) และใหเสนอรัฐสภาเพ่ือใหความเห็นชอบ

¨ ลงนามหนังสือสัญญากอนแสดงเจตนาใหมีผลผูกพัน (ถามี) ¨ คณะรัฐมนตรีเสนอรัฐสภาใหความเห็นชอบหนังสือสัญญา/เสนอราง

พระราชบัญญัติเพ่ือใหการเปนไปตามหนังสือสัญญา (ถามี) ¨ ประกาศใชพระราชบัญญัติเพ่ือใหการเปนไปตามหนังสือสัญญา (ถามี) ¨ การแสดงเจตนาใหมีผลผูกพันตามหนังสือสัญญา ¨ หนังสือสัญญามีผลใชบังคับกับประเทศไทย ¨ หนวยงานดําเนินการใหประชาชนเขาถึงรายละเอียดของหนังสือสัญญา

และเยียวยาผูไดรับผลกระทบ