169
ชุดกาน้ําชา โดย นายกฤตยชญ คํามิ่ง วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2551 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

ชุดกาน้าํชา

โดย นายกฤตยชญ คํามิ่ง

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคร่ืองเคลือบดินเผา ภาควิชาเคร่ืองเคลือบดินเผา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2551

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

ชุดกาน้าํชา

โดย นายกฤตยชญ คํามิ่ง

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคร่ืองเคลือบดินเผา ภาควิชาเคร่ืองเคลือบดินเผา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2551

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 3: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

TEAPOT SET

By Kridtayot Comeming

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF FINE ARTS Department of Ceramics

Graduate School SILPAKORN UNIVERSITY

2008

Page 4: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรอนุมัติใหวิทยานิพนธเร่ือง“ชุดกาน้ําชา”เสนอโดย นายกฤตยชญ คําม่ิง เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคร่ืองเคลือบดินเผา

……........................................................... (รองศาสตราจารย ดร.ศิริชัย ชินะตังกูร)

คณบดีบัณฑติวิทยาลัย วันท่ี..........เดอืน.................... พ.ศ...........

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ 1. ผูชวยศาสตราจารยศุภกา ปาลเปรม 2. ผูชวยศาสตราจารยสาธร ชลชาติภิญโญ คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยสืบพงศ เผาไทย) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยสาธร ชลชาติภิญโญ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยศุภกา ปาลเปรม) (ผูชวยศาสตราจารยวรรณณา ธิธรรมมา) ............/......................../.............. ............/......................../..............

Page 5: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

49153309 : สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา คําสําคัญ : การออกแบบกานํ้าชาเซรามิก กฤตยชญ คําม่ิง : ชุดกาน้ําชา อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ : ผศ.ศุภกา ปาลเปรม และ ผศ. สาธร ชลชาติภิญโญ 153 หนา .

การศึกษาในครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบผลิตภัณฑชุดกาน้ําชาท่ีแสดงออกถึงความงาม

ของการเคลื่อนไหว โดยนําลักษณะรูปราง รูปทรง เสนสาย และพ้ืนผิว ของความเปนธรรมชาติท่ีเกิดจากเทคนิค และวิธีการขูดตกแตงดวยแปนหมุนมาประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ ใหมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑเพื่อทําการผลิตชุดกานํ้าชา ตามแนวความคิด และกรรมวิธีการผลิตทางเครื่องเคลือบดินเผาเปนทางเลือกแกผูบริโภค

ผลการศึกษาพบวา 1. สามารถออกแบบและผลิต ผลิตภัณฑชุดกานํ้าชาใหมีหนาท่ีใชสอยและแสดงออกถึง

ความรูสึกในเรื่องการเคลื่อนไหวไดจํานวน 30 ชุด สอดคลองตามวัตถุประสงค 2. เนื้อดินท่ีใชข้ึนรูปดวยแปนหมุนเตรียมจากเน้ือดินบานมอญ ท่ีมีอัตราสวนผสมของดินบาน

มอญ รอยละ 65 ดินขาว รอยละ 15 และซิลิกา รอยละ 20 เนื้อดินมีความเหนียวท่ีเหมาะสมกับการข้ึนรูปดวยแปนหมุน (Wheel Throwing) เผาท่ีอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส เนื้อดินมีการหดตัว รอยละ 12 การดูดซึมน้ํา รอยละ 2.6 และสีภายหลังการเผาของเน้ือดินเปนสีน้ําตาลอมแดง ผิวมัน มีเหล็กหลอมออกมาจากเนื้อดิน เนื้อดินไมมีการพองตัว

3. เคลือบท่ีใชเปนเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังท่ีไดจากหาอัตราสวนผสมในตารางสามเหลี่ยมดานเทา พบวาสูตรท่ีเหมาะสมกับผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา คือ สูตรท่ี 5 ท่ีมีลักษณะผิวเคลือบกึ่งดานก่ึงมัน ซึ่งสูตรเคลือบดังกลาวมีสวนผสม ข้ีเถามันสําปะหลัง รอยละ 60 ดินขาว รอยละ 20 และหินฟนมา รอยละ 20 สีน้ําตาลอมแดงโดย เพิ่มเฟอรริกออกไซด รอยละ 10 สีขาวขุนอมเหลือง เพิ่มไทเทเนียมไดออกไซด รอยละ 10 และสีเขียว เพิ่มโครมิกออกไซด รอยละ 2.5

ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2551 ลายมือช่ือนักศึกษา……………………………………………………… ลายมือช่ืออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ 1………………………………… 2………………………………

Page 6: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

49153309 : MAJOR : CERAMICS KEYWORD : CERAMICS TEAPOT DESIGN

KRIDTAYOT COMEMING : TEAPOT SET. THESIS ADVISORS : ASST. PROF. SUPPHAKA PALPRAME AND ASST. PROF. SATHORN CHONLACHATPINYO. 153 pp.

The objective of study is designing of aesthetics of movement of the teapot sets. By using shape, line and texture of naturally technique. This functional of teapot set is newly and optional for consumers.

The results of this study show as list. 1. The 30 sets of expressive movement and functional teapots are made. 2. The earthenware of teapot is composed of Ban Morn’s clay (65%), Silica (20%)

and Kaolin (15%). This proportion is easily to mold by wheel throwing technique. The teapots are fired in 1,200 ºC. The shrinkage rate and water absorption are 12% and 6%, respectively. They show smooth glistening surface and non-blistering after fire.

3. The Cassava ash is used for glazing in this study. The adequate proportion is calculated by triangular table. The proper formula is 5th which has both gloss and mat surfaces. This formula’s proportion is composed of Cassava ash (60%), Kaolin (20%) and Feldspar (20%). Adding the Ferric oxide (10%) are changed color into brown ,Titanium oxide (10%) are changed color into cream and Chromic oxide (25%) are changed color into green.

Department of Ceramics Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2008 Student, s signature……………………………………………………….. Thesis Advisors, signature 1………………………….… 2…………………………………..…

Page 7: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้ สําเร็จไดดวยความกรุณาจากผูชวยศาสตราจารยศุภกา ปาลเปรม ประธานกรรมการท่ีปรึกษา และผูชวยศาสตราจารยสาธร ชลชาติภิญโญ กรรมการท่ีปรึกษา ไดชวยเหลือใหคําแนะนําอยางดียิ่ง และตรวจสอบแกไขขอบกพรองตาง ๆ จนวิทยานิพนธฉบับนี้เสร็จสมบูรณ

ขอขอบพระคุณคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ ท่ีใหคําช้ีแนะและตรวจสอบความสมบูรณของวิทยานิพนธ

ขอขอบพระคุณคณาจารยภาควิชาเคร่ืองเคลือบดินเผาทุกทาน ท่ีไดใหคําแนะนําส่ังสอน และเปนกําลังใจในการทําวิทยานิพนธ

ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอ คุณแม และพ่ีนอง ใหการสนับสนุนในการศึกษามาโดยตลอด สุดทายนี้ขอขอบพระคุณ ผูท่ีมีอุปการะท่ีใหความชวยเหลือ ใหกําลังใจในการดําเนิน

วิทยานิพนธนี้จนเปนผลสําเร็จอยางสมบูรณ

Page 8: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

สารบัญ

หนา บทคัดยอภาษาไทย……………………………………………………………………….… ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ………………………………………………………………..…..... จ กิตติกรรมประกาศ……………………………………………………………………….… ฉ สารบัญตาราง…………………………………………………………………………....… ฌ สารบัญภาพ…………………………………………………………………………….….. ญ บทท่ี 1 บทนํา………………………………………………………………….………..… 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา……………………...……….….…. 1 ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา…………………………….... 2 สมมุติฐานของการศึกษา…………………………………..………………... 2 ขอบเขตของการศึกษา……………………………….….………………..…. 2 ข้ันตอนของการศึกษา……………………………….……………….…..….. 3 ผลท่ีคาดวาจะไดรับจากการศึกษา…………………………..……………..… 4 คําจํากัดความที่ใชในการศึกษา…………………………………………….... 4

บทท่ี 2 เอกสารและผลงานที่เกี่ยวของ…………………………………………………..… 5

ขอมูลท่ีเกี่ยวของกับผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา………………………………..… 5 วัฒนธรรมการดื่มชา……………….….………………………..……. 5 การจําแนกชนดิของชาและประโยชนของการดื่มชา……….………… 10 อิทธิพลจากวฒันธรรมการดื่มชาสูศิลปะเคร่ืองปนดินเผา…..…..……. 14 วัฒนธรรมการดื่มชาในประเทศไทย………………………….………. 18 ขอมูลทางพฤกษศาสตรและสรรพคุณทางสมุนไพร…………….……. 19 รูปแบบของกาน้ําชาแบบตาง ๆ…………………………………….…. 20 การออกแบบกาน้ําชา……………………….….…….………………. 23

Page 9: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

บทท่ี หนา การออกแบบถวยชา…………………………….…….………………. 23 การออกแบบหูกาน้ําชา…………………………………..…...….…… 23

แนวความคิดในการออกแบบชุดกาน้ําชา…………….……….…….……..… 24 ขอมูลท่ีเกี่ยวของวัตถุดิบ และกรรมวิธีการผลิต……………….……………... 32

วัตถุดิบท่ีใชในการผลิต……………………………………………..… 32 กรรมวิธีท่ีใชในการผลิต………………………………..………....….. 36

3 วิธีการดําเนนิการวิจยั……………………………………….……….………….…. 43 การออกแบบและพัฒนารูปแบบ……………..…………………….……..…. 43 ทดลองเน้ือดิน…………………...………………………………………...… 44 ทดลองเคลือบ………………………………………………………..……… 52 การทดลองผลิต…………………………………………………..………..… 62 วิเคราะหผลการศึกษาและการทดลอง...……………………………..……… 64 สถานท่ีและระยะเวลาท่ีทําการศึกษาวิจยั………………………………...…. 64 4 ผลการวิเคราะหขอมูล…………………………………………..…………….….. 65

การวิเคราะหผลการออกแบบ……………………………………..….……... 65 การออกแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1…………………………..……….….. 67 การออกแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2……………………………………….. 70 การออกแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3……………………………………….. 75 การออกแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4……………………………………….. 80 การออกแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5……………………………………….. 85 การออกแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 6…………………………………..……. 91

การวิเคราะหผลการทดลองเคลือบ…………………………………….…….... 93 การวิเคราะหผลการผลิต……………………………………………….…..… 100

ผลงานสําเร็จ……………………………………………………….….. 111

Page 10: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

บทท่ี หนา 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ……………………………..………………... 140 การอภิปรายผล………………………………………………………………….... 141 ขอเสนอแนะ………………………………………………………….………..…. 142 ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช…………………………………… 142

ขอเสนอแนะในการศึกษาเพ่ิมเติม…….…………………………………… 142 บรรณานุกรม………………………………………………………….…………………… 144 ภาคผนวก……………………………………………………………………….…………. 145 ประวัติผูวจิัย…………………………………………………………………….…………. 153

Page 11: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา 1 ผลการวิเคราะหทางเคมีของดินขาวลําปาง………………………………………. 34 2 แสดงอัตราสวนผสมของวัตถุดิบเนื้อดินจากตารางสามเหล่ียม………………….. 45 3 อัตราสวนผสมของวัตถุดิบเคลือบจากตารางสามเหล่ียม……………………….... 53 4 แสดงอัตราสวนผสมของออกไซดใหสี…………………..…………….……….. 62 5 แสดงแบบบันทึกผลการวิเคราะหคุณสมบัติของเคลือบ

เผาท่ี 1, 200 oC (RF.)………………………………………….…….……. 93 6 แสดงผลการวเิคราะหเคลือบพื้นฐาน โดยเพ่ิม

แมงกานีสออกไซด รอยละ 3 – 6………………………..…………….…. 95 7 แสดงผลการวเิคราะหเคลือบพื้นฐาน โดยเพ่ิม

เฟอรริกออกไซด รอยละ 8 – 14…………………..……………………... 96 8 แสดงผลการวเิคราะหเคลือบพื้นฐาน โดยเพ่ิม

ไทเทเนยีมไดออกไซด รอยละ 8 – 12……………..……………...……... 97 9 แสดงผลการวเิคราะหเคลือบพื้นฐาน โดยเพ่ิม

โครมิกออกไซด รอยละ 2 - 2.5…………………...………………..……. 98

Page 12: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา 1 แสดงภาพเขียนการตมน้ําชาของจีนในสมัยกอน……………………………...… 8 2 แสดงลักษณะของใบชา…………………………………………………………. 10 3 แสดงเคร่ืองบดชาในสมัยราชวงศถัง……………………………………………. 15 4 แสดงกาน้ําชาที่กงชุนปน ถือเปนใบแรกของโลก………………………………. 16 5 แสดงลักษณะใบชารูปแบบตาง ๆ………………………………………………. 19 6 แสดงรูปแบบกาน้ําชารูปทรงเหล่ียมมุม และรูปทรงรีไข……………………….. 21 7 แสดงลักษณะพวยกาท่ีดึงจากกาน้ําชาท่ีข้ึนรูปดวยแปนหมุน………..…………. 21 8 แสดงลักษณะพวยกาท่ีออกแบบเช่ือมตอกับพวยกา………………..………...… 22 9 แสดงลักษณะพวยกาท่ีอัด หรือหลอไดจากแมพิมพแลวนาํมาตอกับกา..………. 22 10 แสดงลักษณะของเสนแบบตาง ๆ………………………………………………. 25 11 แสดงความงามจากรูปทรง……………………………………………………… 28 12 แสดงแหลงของดินบานมอญ……..……………………………………………. 33 13 แสดงลักษณะเตาแกส และเตาไฟฟา…………………………………………… 39 14 แสดงลักษณะการเปล่ียนแปลงของอุณหภมิูในระหวางการเผา………………… 40 15 แสดงตารางสามเหล่ียมดานเทาของอัตราสวนผสมของเน้ือดิน………………... 44 16 แสดงถึงลักษณะของเนื้อดนิ เผาท่ีอุณหภมิู 1,200 oC (OF.)…………………….. 47 17 แสดงถึงลักษณะของเนื้อดนิ เผาท่ีอุณหภมิู 1,200 oC (RF.)………………….…. 48 18 แสดงถึงลักษณะของเนื้อดนิ เผาท่ีอุณหภมิู 1,220 oC (OF.)……………………. 49 19 แสดงถึงลักษณะของเนื้อดนิ เผาท่ีอุณหภมิู 1,220 oC (RF.)………………….…. 50 20 แสดงถึงลักษณะการวิเคราะหเนื้อดนิ………………………………………...… 51 21 แสดงอัตราสวนผสมของเคลือบข้ีเถามันสําปะหลัง/ข้ีเถาฟางขาว…………….... 52 22 แสดงถึงลักษณะของเคลือบข้ีเถาฟางขาว เผาท่ีอุณหภูมิ 1,220 oC (RF.)……….. 55 23 แสดงถึงลักษณะของเคลือบข้ีเถามันสําปะหลัง เผาท่ีอุณหภูมิ 1,220 oC (RF.)..... 56 24 แสดงถึงลักษณะของเคลือบข้ีเถาฟางขาว เผาท่ีอุณหภูมิ 1,250 oC (RF.)……….. 57 25 แสดงถึงลักษณะของเคลือบข้ีเถามันสําปะหลัง เผาท่ีอุณหภูมิ 1,250 oC (RF.)..... 58

Page 13: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

ภาพท่ี หนา 26 แสดงถึงลักษณะของเคลือบข้ีเถาฟางขาว เผาท่ีอุณหภูมิ 1,250 oC (OF.)…….…. 59 27 แสดงถึงลักษณะของเคลือบข้ีเถามันสําปะหลัง เผาท่ีอุณหภูมิ 1,250 oC (OF.)…. 60 28 แสดงการทดลองการทับซอนของเคลือบ……………………………………..... 61 29 แสดงการทดลองการไหลตัวของเคลือบ………………………………………… 61 30 แสดงลักษณะแบบราง 2 มิติ ชุดท่ี 1…………………………………………….. 66 31 แสดงลักษณะแบบราง 2 มิติ ชุดท่ี 2…………………………………………….. 66 32 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ชุดท่ี 1………………………...…….……. 67 33 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ชุดท่ี 2………………………...…….….... 68 34 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ชุดท่ี 3………………...…………………. 68 35 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ชุดท่ี 4………………...…………………. 69 36 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ชุดท่ี 5………………...…………………. 69 37 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 1………………...…………………. 70 38 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 2………………...…………………. 71 39 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 3………………...…………………. 71 40 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 4………………...…………………. 72 41 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 5………………...…………………. 72 42 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 6………………...…………………. 73 43 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 7………………...…………………. 73 44 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 8………………...…………………. 74 45 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 9………………...…………………. 74 46 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ชุดท่ี 1………………...…………………. 75 47 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ชุดท่ี 2………………...…………………. 76 48 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ชุดท่ี 3………………...…………………. 76 49 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ชุดท่ี 4………………...…………………. 77 50 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ชุดท่ี 5………………...…………………. 77 51 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ชุดท่ี 6………………...…………………. 78 52 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ชุดท่ี 7………………...…………………. 78 53 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ชุดท่ี 8………………...…………………. 79

Page 14: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

ภาพท่ี หนา 54 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ชุดท่ี 9………………...…………………. 79 55 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ชุดท่ี 1………………...…………………. 80 56 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ชุดท่ี 2………………...…………………. 81 57 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ชุดท่ี 3………………...…………………. 81 58 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ชุดท่ี 4………………...…………………. 82 59 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ชุดท่ี 5………………...…………………. 82 60 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ชุดท่ี 6………………...…………………. 83 61 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ชุดท่ี 7………………...…………………. 83 62 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ชุดท่ี 8………………...…………………. 84 63 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ชุดท่ี 9………………...…………………. 84 64 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ชุดท่ี 1………………...…………………. 85 65 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ชุดท่ี 2………………...…………………. 86 66 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ชุดท่ี 3………………...…………………. 86 67 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ชุดท่ี 4………………...…………………. 87 68 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ชุดท่ี 5………………...…………………. 87 69 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ชุดท่ี 6………………...…………………. 88 70 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ชุดท่ี 7………………...…………………. 88 71 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ชุดท่ี 8………………...…………………. 89 72 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ชุดท่ี 9………………...…………………. 89 73 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ชุดท่ี 10………………...…………….…. 90 74 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 6 ชุดท่ี 1…………….…...……………..…. 91 75 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 6 ชุดท่ี 2…………….…...……………..…. 92 76 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 6 ชุดท่ี 3…………….…...…………….….. 92 77 แสดงผลการวเิคราะหเคลือบพื้นฐานโดยเพิม่แมงกานีสออกไซด รอยละ 3 – 6.. 96 78 แสดงผลการวเิคราะหเคลือบพื้นฐานโดยเพิม่เฟอรริกออกไซด รอยละ 8 – 14…. 97 79 แสดงผลการวเิคราะหเคลือบพื้นฐานโดยเพิม่ไทเทเนยีมไดออกไซด

รอยละ 8 – 12……………………………………………………………. 98

Page 15: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

ภาพท่ี หนา 80 แสดงผลการวเิคราะหเคลือบพื้นฐาน โดยเพ่ิมโครมิกออกไซด รอยละ 2 – 2.5... 99 81 แสดงลักษณะการข้ึนรูปตัวกาน้ําชา…………………………………………..... 100 82 แสดงลักษณะการขูดแตงกนตัวกาน้ําชา……...………………………………... 101 83 แสดงลักษณะการข้ึนรูปพวยกาน้ําชา………………………………………….. 102 84 แสดงลักษณะการดัดตกแตงรูปทรงพวยกา……………………………………. 102 85 แสดงลักษณะข้ันตอนในการข้ึนรูปฝากา………………………………………. 103 86 แสดงลักษณะการแตงมือจับของฝากา………………………………………….. 104 87 แสดงลักษณะการข้ึนรูปรังผ้ึงสําหรับกรองใบชา………..……………………... 105 88 แสดงลักษณะการข้ึนรูปถวยชา…..…………………………………………….. 106 89 แสดงลักษณะการข้ึนรูปหูกาน้ําชา……………………………………..…….…. 107 90 แสดงลักษณะการข้ึนรูปหูกาน้ําชาโดยการคลึงดิน……………….………….…. 108 91 แสดงลักษณะเตาและการเผาเคลือบ………………………………………….… 110 92 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 1…………………………………………………...…. 111 93 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 2…………………………………………………..…. 112 94 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 3…………………………………………………..…. 113 95 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 4…………………………………………………..…. 114 96 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 5…………………………………………………..…. 115 97 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 6…………………………………………………..…. 116 98 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 7…………………………………………………..…. 117 99 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 8…………………………………………………..…. 118 100 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 9…………………………………………………..…. 119 101 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 10………………………………………………....…. 120 102 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 11…………………………………………………..... 121 103 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 12……………………………………………………. 122 104 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 13……………………………………………………. 123 105 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 14……………………………………………………. 123 106 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 15……………………………………………………. 124 107 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 16…………………………………………………..... 125

Page 16: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

ภาพท่ี หนา 108 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 17…………………………………………………..… 126 109 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 18…………………………………………………..… 127 110 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 19…………………………………………………..… 128 111 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 20…………………………………………………..… 129 112 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 21…………………………………………………..… 130 113 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 22…………………………………………………..… 131 114 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 23…………………………………………………..… 132 115 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 24…………………………………………………..… 133 116 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 25…………………………………………………..… 134 117 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 26…………………………………………………..… 135 118 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 27…………………………………………………..… 136 119 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 28…………………………………………………..… 137 120 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 29…………………………………………………..… 138 121 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 30…………………………………………………..… 138 122 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 1……………………………………………….. 146 123 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 2……………………………………………….. 146 124 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 3……………………………………………….. 147 125 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 4……………………………………………….. 147 126 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 5……………………………………………….. 148 127 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 6……………………………………………….. 148 128 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 7……………………………………………….. 149 129 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 8……………………………………………….. 149 130 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 9……………………………………………….. 150 131 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 10…………………………………………….... 150 132 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 11………………………………………………. 151 133 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 12…………………………………………..….. 151 134 แสดงการนาํเสนอวิทยานพินธ 13……………………………………..……….. 152 135 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 14…………………………………………..….. 152

Page 17: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

1

บทท่ี 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ปจจุบัน มีผูนิยมดื่มชากันมากข้ึนเพราะเช่ือกันวาจะเปนผลดี และมีประโยชนตอสุขภาพรางกาย ทําใหมีผลิตภัณฑท่ีเกี่ยวของกับชาเกิดข้ึนมากมายหลายชนิด ท้ังท่ีเปนเคร่ืองดื่ม หรือการนําชามาเปนสวนผสมในอาหารประเภทตาง ๆ เชน เคก ไอศกรีม นมชาเขียว และขนมปงชาเขียว เปนตน อีกท้ังยังมีการนํามาผสมในเคร่ืองสําอางตาง ๆ เชน สบู ครีมบํารุงผิว แชมพู เปนตน การดื่มชาของชนชาติตาง ๆ มิไดเพิ่งเกิดข้ึนในโลกปจจุบันหากแตมีการสืบเนื่องตกทอด ตั้งแตคร้ังโบราณกาลนับพันป ภาชนะท่ีใชในการบรรจุชารูปแบบตาง ๆ จึงกลายเปนส่ิงท่ีตองใหความสําคัญตามมาเพราะถือกันวาเปนส่ิงท่ีบงบอกถึงรสนิยมของผูดื่มชา มีหลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีปรากฏวาการดื่มชาดวยการลวกใบชา และการดื่มชาในถวยใบเล็กท่ีนิยมมากในสมัยราชวงศหมิงของประเทศจีน กระท่ังแพรหลายไปยังประเทศใกลเคียง และตนกําเนิดของการปนกาน้ําชาท่ีดีท่ีสุดอยูในแถบอําเภออ๋ี ชิง ของประเทศจีน ดังคํากลาวท่ีวาหากแผนดินจีนเปนดินแดนกําเนิดแหงชาหอม อ๋ี ชิง ก็คือ ถ่ินกําเนิดของกานํ้าชา ท่ีมีลักษณะเดนของเนื้อดินสีแดง กาน้ําชาสีแดงนี้จะชวยในการสรางความกลมกลืนท่ีผสมผสานระหวางรสชาติอันละมุนของใบชา และโครงสรางของเนื้อดินท่ีเผาหลอหลอมเขากันไดเปนอยางดี (นพพร ภาสะพงศ 2548 : 25)

คุณคาความงามของเคร่ืองปนดินเผานั้นอยูท่ีการมองเคร่ืองปนดินเผา หรือไดสัมผัสผลงาน แลวเกิดความสุข ช่ืนชอบ เม่ือมีความรูสึกดังกลาวแสดงใหเห็นวาส่ิงเหลานั้นมีคุณคาตอความรูสึก เพราะคุณคาความงามในตัวเองของส่ิงนั้นทําใหเกิดความพึงพอใจ ช่ืนชอบ นั้นยอมหมายถึงความซาบซ้ึงในคุณคาความงามของเครื่องปนดินเผาไดเกิดข้ึนกับตัวทาน (สาธร ชลชาติภิญโญ 2547 : 146)

จากเหตุผลขางตน ทําใหผูวิจัยมีความสนใจท่ีจะสรางสรรคผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา (Teapot set) โดยนําเอาความรูสึกในเร่ืองการเคล่ือนไหว ในลักษณะรูปราง รูปทรง เสนสาย และพื้นผิว ของความเปนธรรมชาติท่ีเกิดจากเทคนิคการปนดวยแปนหมุน นํามาประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ ใหมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา

Page 18: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

2

1. เพื่อออกแบบและผลิตผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา ท่ีแสดงออกถึงความงามของการเคล่ือนไหวโดยนําลักษณะรูปราง รูปทรง เสนสาย และพ้ืนผิว ของความเปนธรรมชาติท่ีเกิดจากเทคนิค และวิธีการขูดตกแตงดวยแปนหมุนมาประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ ใหมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา

2. ศึกษาเทคนิคการท้ิงรองรอยของการข้ึนรูปดวยแปนหมุน เพื่อผลิตชุดกานํ้าชาตามแนวความคิด และทดลองกรรมวิธีการผลิตทางเคร่ืองเคลือบดินเผา และเปนทางเลือกแกผูบริโภค สมมุติฐานของการศึกษา

ไดผลิตภัณฑชุดกาน้ําชาที่มีรูปแบบของความเปนธรรมชาติของแปนหมุน ท่ีสามารถนํามาใชงานไดอยางเหมาะสม และเปนทางเลือกใหมแกผูบริโภคตอไป ขอบเขตของการศึกษา

แนวความคิดในการศึกษา ออกแบบผลิตภัณฑชุดกาน้ําชาที่แสดงออกถึงความงามของการเคล่ือนไหว โดยนํา

ลักษณะรูปราง รูปทรง เสนสาย และพ้ืนผิว ของความเปนธรรมชาติท่ีเกิดจากเทคนิคการปนดวยแปนหมุน และวิธีการขูดตกแตง มาประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ ใหมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา ซ่ึงจะมีเทคนิคตาง ๆ ท่ีจะนํามาใช ไดแก

1. การขูดขีดผิวของผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา 2. การบีบ การปนแปะ การตัดตอ และการกดประทับลงบนภาชนะ 3. การใชน้ําดินสีขาวทา

ขอบเขตการออกแบบ การออกแบบผลิตภัณฑชุดกาน้ําชาท่ีแสดงออกถึงความงามของการเคล่ือนไหว ความ

เปนธรรมชาติท่ีเกิดจากเทคนิคการปนดวยแปนหมุน และวิธีการขูดตกแตง มาประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ ใหมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา จํานวน 30 ชุด ซ่ึงในแตละชุดจะประกอบดวย กาน้ําชา จํานวน 1 ใบ ถวยชา จํานวน 4 ใบถาดใส จํานวน 1 ใบ

ขอบเขตของวัตถุดิบท่ีใช 1. เนื้อดินท่ีใชในการผลิตชุดกาน้ําชาใชเนื้อดินเอิรทเทนแวรอยูท่ีหมูบานมอญ ตําบล

บานแกง อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค ซ่ึงผูวิจัยไดเคยศึกษาทดลองมาแลวในรายวิชา Advance Clay and Body โดยการใชทฤษฏีตารางสามเหล่ียมดานเทา (Triaxial Diagram) จํานวน 36 จุด ใน

Page 19: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

3

ท่ีนี้ผูวิจัยไดนําเนื้อดินสูตรท่ี 8 สวนผสมประกอบดวยดินบานมอญ รอยละ 65 ดินขาว รอยละ 15 และ ซิลิกา รอยละ 20 มาใชในการทํางาน เนื่องจากเนื้อดินมีการหดตัวประมาณ รอยละ 12 และมีสีน้ําตาลอมแดง เนื้อดินมีความสม่ําเสมอ เผาท่ีอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส ในบรรยากาศการเผาแบบสันดาปไมสมบูรณ (Reduction Firing)

2. น้ําเคลือบท่ีใชในการทดลอง คือ เคลือบท่ีมีสวนผสมของข้ีเถามันสําปะหลัง และข้ีเถาฟางขาว ท่ีนํามาหาอัตราสวนโดยการใชทฤษฏีตารางสามเหล่ียมดานเทา จํานวน 36 จุด เพื่อใหไดเคลือบตามลักษณะพื้นผิวท่ีตองการ เชน ผิวดาน ผิวกึ่งดานกึ่งมัน ผิวมัน หรือพื้นผิวท่ีแตกรานในบางสีเพื่อชวยเพิ่มเสนหใหกับงาน วัตถุดิบท่ีนํามาใชในการทดลองเคลือบ มีดังนี้

2.1 ข้ีเถามันสําปะหลัง กับข้ีเถาฟางขาว 2.2 โปแตสเฟลดสปาร (Potash Feldspar) 2.3 ดินขาว (Kaolin)

3. การข้ึนรูปผลิตภัณฑ ใชการข้ึนรูปดวยแปนหมุน และใชเทคนิคท่ีเกิดจากความเปนธรรมชาติในการปนดวยแปนหมุน มาประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ ใหมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑชุดกาน้ําชาเพ่ือสรางใหเกิดความรูสึกเคล่ือนไหวในงาน

4. การเผา ใชเตาแกส เผาที่อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส บรรยากาศการเผาแบบรีดักชัน ขั้นตอนของการศึกษา

1. ข้ันตอนการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสาร และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ เพื่อเปนพื้นฐานในการออกแบบ

1.1 ขอมูลดานเอกสาร ไดแก - เอกสารขอมูลเกี่ยวกับชุดกาน้ําชา - เอกสารท่ีเกี่ยวกับทฤษฏีทางเคร่ืองเคลือบดินเผา - เอกสารท่ีเกี่ยวกับงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ - เอกสารและขอมูลท่ีเกี่ยวของกับชุดกาน้ําชา

1.2 ขอมูลภาคสนาม ไดแก ขอมูลของลักษณะชุดกาน้ําชาท่ีวางจําหนายตามทองตลอด เพื่อนํามาเปนขอมูลในการพัฒนารูปแบบ และคนหาเทคนิคการตกแตงของชุดกาน้ําชา

2. การวิเคราะหขอมูล เพื่อกําหนดแนวความคิด การออกแบบผลิตภัณฑชุดกาน้ําชาผลที่เกิดจากการทดลองสีของเนื้อดินหลังเผา รวมท้ังการออกแบบ และพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑชุดกาน้ํา

Page 20: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

4

ชา เปนการนําขอมูลท่ีเกิดจากการวิเคราะหไดนํามารางรูปแบบ และพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ โดยใชหลักการออกแบบ ซ่ึงมี 2 ข้ันตอน คือ

2.1 ข้ันตอนการออกแบบ 2 มิติ เพื่อออกแบบรูปราง และรูปทรง 2.2 ข้ันตอนการออกแบบ 3 มิติ เพื่อพัฒนาสัดสวน ความเหมาะสมลงตัว

3. ทดลองลักษณะสีของเนื้อดินใหมีความสัมพันธกับเคลือบตลอดจนกรรมวิธีการผลิต 4. ข้ึนรูปดวยแปนหมุน พรอมการตกแตงดวยเคลือบตามกระบวนการทางเคร่ืองเคลือบ

ดินเผา 5. สรุปผลการศึกษา และการอภิปรายผล โดยประมวลขอมูลท่ีศึกษาไดตามข้ันตอน

ท้ังหมด เพื่อรวบรวมขอมูล เปนเอกสารสําหรับนําเสนอ และเผยแพร 6. นําเสนอผลงาน โดยการจัดนิทรรศการ

ผลท่ีคาดวาจะไดรับจากการศึกษา

1. สามารถออกแบบ และผลิตชุดกาน้ําชาท่ีแสดงออกถึงความงามของการเคล่ือนไหว ลักษณะของรูปราง รูปทรง เสนสาย และพ้ืนผิว ความเปนธรรมชาติของการปนดวยแปนหมุน โดยนํามาประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ และเปนแนวทางในการจําหนายแกผูบริโภคทั้งในและตางประเทศ

2. สามารถออกแบบและผลิตชุดกาน้ําชาตามแนวความคิดโดยการใชดินเอิรทเทนแวรได

3. เปนแนวทางในการศึกษาใหกับผูท่ีสนใจในดานการออกแบบ เทคนิค และวิธีการดานพัฒนาการผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา ดวยแปนหมุน คําจํากัดความท่ีใชในการศึกษา

1. ดินบานมอญ คือเนื้อดินอยูท่ี หมู 1 ตําบลบานแกง อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค เปนดินเอิรทเทนแวรท่ีเผาได ไมเกิน 1,000 องศาเซลเซียส

2. ชุดกาน้ําชา คือ ผลิตภัณฑท่ีใชบรรจุน้ําชา ประกอบดวยกาน้ําชา 1 ใบ ถวย 4 ใบ และ ถาดรอง 1 ใบ ใชสําหรับชาจีน

Page 21: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

5

บทท่ี 2

เอกสารและผลงานท่ีเก่ียวของ

โครงการออกแบบ “ชุดกานํ้าชา” มีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบและผลิตชุดกานํ้าชาท่ีแสดงออกถึงความงามท่ีเกิดจากรูปราง รูปทรง ของเสนท่ีมีการเคล่ือนไหว มาประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ โดยมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑ ผูศึกษาไดรวบรวมขอมูลตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของจากเอกสาร ตํารา บทความ และงานวิทยานิพนธ ซ่ึงเปนประโยชน และจะทําใหการศึกษาคนควาคร้ังนี้บรรลุจุดมุงหมายท่ีตั้งไว โดยเรียบเรียงไว เปนหัวขอ ดังตอไปนี้

1. ขอมูลที่เกี่ยวของกับผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา 2. แนวความคิดในการออกแบบ 3. ขอมูลที่เกี่ยวของวัตถุดิบ และกรรมวิธีการผลิต

1. ขอมูลท่ีเก่ียวของกับผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา

ขอมูลท่ีเกี่ยวของกับผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา ไดแบงเปนหัวขอตาง ๆ ดังนี้ 1.1 วัฒนธรรมการดื่มชา 1.2 การจําแนกชนิดของชา และประโยชนของการดื่มชา 1.3 อิทธิพลจากวัฒนธรรมการดื่มชาสูศิลปะเคร่ืองปนดินเผา 1.4 แนวคิดในการออกแบบกาน้ําชาแบบตาง ๆ

1.1 วัฒนธรรมการดื่มชา กําเนิดชาถวยแรก มีการกลาวถึงการนําใบชามาชงน้ําคร้ังแรก ในสมัยของกษัตริย เสิน

หนง (Shen Nung) กษัตริยผูครองแผนดินจีนเม่ือประมาณ 4,000 ป ท่ีผานมา บันทึกในตํานานเลาวา พระองคทรงสนพระทัยเปนอยางมากเม่ือทราบวา น้ําดื่มท่ีขาราชบริพารนํามาถวายน้ัน มีสีน้ําตาลสวยและสงกล่ินหอม เพราะมีใบไมแหงชนิดหนึ่งปลิวตกลงไปในหมอตมน้ําดื่มของพระองคดวยความบังเอิญ แมวาน้ําดื่มในวันนั้นดูแตกตางจากท่ีเคยเปน พระองคก็ไมทรงกร้ิวหรือไมเกรงกลัวอันตรายวาจะเปนใบไมท่ีมีพิษ แตกลับต่ืนเตนกับส่ิงแปลกใหม โดยทรงทดลองจิบน้ําในถวยเพื่อคนพบวาใบไมแหงนั้นคือ แหลงท่ีมาของเคร่ืองดื่มชนิดใหม ซ่ึงมีกล่ินหอม รสกลมกลอมและใหความรูสึกสดช่ืน แมไมมีช่ือเรียกเฉพาะ แตน้ําชาก็เปนท่ีรูจักในฐานะ น้ําตมใบไมกล่ินหอม สีสวย และมีคุณคาเปนยาสมุนไพร (อุษณีย ประวัง 2548 : 11)

Page 22: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

6

กษัตริยเสินหนง พระองคทรงไดรับการยกยองในฐานะกษัตริยนักวิทยาศาสตรและนักทดลองคนควาเพ่ือแสวงหาคําตอบ เปรียบเสมือนเทพแหงการเพาะปลูกและปรุงยา (ช่ือเสินหนง แปลไดตรง ๆ วากสิเทพ) มีพฤติการณคลาย ๆ หมอชีวกโกมารภัจในศาสนาพุทธเรา คือเท่ียวทดลองสรรพคุณของพืชตาง ๆ จนรูแตกฉานถึงคุณและโทษของพืชทุกชนิด ถึงข้ันท่ีวา ในสายตาของพระองคแลว ไมมีพืชใดใชทํายาไมได เร่ืองเลาวา กษัตริยเสินหนงทรงพบวา ใบชา เม่ือนํามาชงกับน้ําดื่มแลวทําใหสดช่ืน อีกท้ังยังชวยขับพิษ รักษาโรค และอายุวัฒนะดวย นับแตนั้นน้ําชา ก็เปนทีรูจักในฐานะยาสมุนไพรสืบ จากใบไมแหงธรรมดา กลับกลายมาเปนส่ิงลํ้าคาท่ีผูกพันอยูเปนสวนหนึ่งในวิถีชีวิตของคนสวนใหญในโลกน้ัน ท่ีรับเอาวัฒนธรรมการดื่มน้ําชาเขาไปเปนสวนหนึ่งของชีวิตนับต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน มา (นพพร ภาสะพงศ 2548 : 56)

ชา คือเคร่ืองดื่มท่ีปรุงจากใบ กิ่งหนอ และดอกของพุมไมชนิด Camellia sinensis ซ่ึงดูจะมีวิวัฒนาการในปาแถบเทือกเขาหิมาลัยตะวันออก ซ่ึงปจจุบันคือพรมแดนระหวางจีนกับอินเดีย ผูคนตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตรรูวาการเค้ียวใบชา จะชวยใหเกิดความกระตือรือรนและรูจักนําใบชามาถูเพื่อรักษาแผลมาหลายพันปแลว ชายังเปนสวนผสมในซุปยาขนของทางตะวันตกเฉียงใตของประเทศจีนท่ีไดจากการสับใบชา ผสมกับหอมแดง ขิง และสวนผสมอ่ืน ๆ ชาวเขาทางเหนือของประเทศไทยในทุกวันนี้ยังเอาใบชามาอบหรือตม แลวปนเปนลูกกลมเพื่อกินกับเกลือ น้ํามัน กระเทียม ไขมันสัตวและปลาแหง ชาจึงเปนท้ังยาและอาหารมากอนท่ีจะกลายเปนเครื่องดื่มเสียอีก (อุษณีย ประวัง 2548 : 16 -18)ไมปรากฏแนชัดวาชาแพรไปท่ัวจีนอยางไรและเม่ือใด แตดูเหมือนวาพระในพระพุทธศาสนาซ่ึงปรากฏข้ึนในศตวรรษท่ี 6 กอนคริสตศักราชจะมีบทบาทในเร่ืองนี้ ท้ังพระในพุทธศาสนาและลัทธิเตา ตางพบวาการดื่มชาดีตอการทําสมาธิ เนื่องจากมันชวยในการรวบรวมสติและขจัดความเหนื่อยลาซ่ึงวันนี้เปนท่ีทราบกันอยูแลววาเปนเพราะชามีสารกาแฟอีผสมอยู เลาจื้อ ผูกอต้ังลัทธิเตา ซ่ึงมีชีวิตอยูในศตวรรษท่ี 6 กอนคริสตศักราชยังเช่ือวาชาเปนสวนผสมของยาอายุวัฒนะดวย

หลักฐานการกลาวถึงชาท่ีเกาแกท่ีสุดของจีนนั้นปรากฏข้ึนในศตวรรษท่ี 1 กอนคริสตศักราช หรือหลังจากยุคท่ีเช่ือวาจักรพรรดิเสินหนงคนพบชา ราว 26 ศตวรรษ แมจะมีการดื่มชาเพื่อหวังสรรพคุณทางการแพทยและในพิธีทางศาสนามากอน แตดูเหมือนวาชาจะเร่ิมกลายเปนเคร่ืองดื่มประจําบานของจีนในชวงนี้เอง ความนิยมของการด่ืมชาเพิ่มสูงข้ึนในคริสตศตวรรษท่ี 4 จนใบชาในปาเร่ิมไมพอแกความตองการ และชาวจีนตองเร่ิมหันมาเพาะปลูกชากันทีเดียว ชาแพรไปท่ัวจีนและกลายเปนเคร่ืองดื่มประจําชาติในสมัยราชวงศถัง (ค.ศ. 618 - 907) อันเปนยุคแหงความเฟองฟูทางวัฒนธรรมในประวัติศาสตรจีนในสมัยถัง จีนกลายเปนจักรวรรดิท่ีใหญโต ม่ังค่ังและมีประชากรมากที่สุดในโลก ประชากรจีนเพิ่มเปนสามเทาในระหวางป ค.ศ.630 – 755 จนทะลุ

Page 23: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

7

ระดับ 50 ลานคน นครหลวงฉางอาน (เมืองซีอานในปจจุบัน) เปนมหานครท่ียิ่งใหญท่ีสุดในโลก นครแหงนี้คือศูนยกลางทางวัฒนธรรมในสมัยท่ีจีนเปดรับอิทธิพลภายนอกอยางเต็มท่ี การคาเจริญข้ึนตามเสนทางสายไหมและเสนทางเดินเรือท่ีเชื่อมจีนเขากับอินเดีย ญ่ีปุน และเกาหลี ชาวจีนรับเอารูปแบบเส้ือผา ทรงผม และการเลนโปโลมาจากตุรกีและเปอรเซีย รับอาหารแปลกใหมจากอินเดีย เคร่ืองดนตรี การรายรํา รวมท้ังไวนในถุงหนังสัตวมาจากเอเชียกลาง โดยสงออกผาไหม ชา กระดาษ และเคร่ืองกระเบ้ืองเคลือบเปนของแลกเปล่ียน ศิลปะ ประติมากรรม จิตรกรรม และบทกวีของจีน ตางเบงบานข้ึนทามกลางบรรยากาศของความหลากหลาย และความเปนสากลที่ไมเคยปรากฏมากอนนี้

ความนิยมดื่มชากันจนเปนธรรมเนียมคือปจจัยหนึ่งท่ีสรางความม่ังค่ังและทําใหประชากรเพิ่มมากข้ึนในยุคราชวงศถัง ถึงแมพวกเขาจะไมไดใชน้ําตมเดือดมาปรุงชา แตสารฆาเช้ือก็ทําใหชากลายเปนเคร่ืองดื่มท่ีปลอดภัยกวาดื่มเบียรซ่ึงไดจากการหมักขาวเจาหรือขาวฟาง การวิจัยในสมัยพบวา สารฟโนลิกส (Phenolics หรือ กรดแทนนิก) ในชาสามารถฆาแบคทีเรียท่ีทําใหเกิดโรคทองรวง ไทฟอยด และโรคบิดได ชาเปนเคร่ืองดื่มท่ีปรุงงาย เพียงใสใบชาแหงซ่ึงไมมีการเนาเสียอยางในกรณีของเบียรเทานั้น

นอกจากสรรพคุณการฆาเช้ือ ชายังมีผลทางเศรษฐกิจท่ีเห็นไดชัดเจนยิ่งกวา เม่ือปริมาณและมูลคาการคาขายชาในจีนขยายตัวข้ึนในศตวรรษท่ี 7 พอคาชาในมณฑลฝูเจี้ยนซ่ึงตองพกเงินจํานวนมากติดตัว จึงมีการคิดทําธนบัตรข้ึนมา ชาท่ีอัดเปนแทงเปนส่ิงท่ีสามารถใชเปนส่ือกลางการแลกเปลี่ยนไดเชนกัน ใบชาแหงอัดแทงเปนส่ิงเก็บรักษามูลคาท่ีเบาและมีขนาดเล็ก ท้ังยังสามารถหยิบมากินในยามยากได ขณะท่ียิ่งหางจากเมืองหลวงมากเทาใด มูลคาของธนบัตรก็จะยิ่งลดนอยลงไปเทานั้น แตในทางตรงกันขาม ชากลับยิ่งมีราคาแพงมากข้ึนในสถานท่ีท่ีหางไกล ชาอัดแทงยังถูกใชเปนส่ือกลางการแลกเปล่ียนในบางสวนของเอเชียกลางสืบมาจนถึงสมัยใหม

ความแพรหลายของชาในสมัยราชวงศถัง สะทอนออกมาในการเรียกเก็บภาษีชาคร้ังแรกในป 780 และความสําเร็จของหนังสือท่ีช่ือ ตําราชา (The Classic of Tea) ของ ลูอวี่ (Lu YU) กวีแหงลัทธิเตาท่ีมีช่ือเสียงโดงดัง หนังสือเลมนี้ไดตีพิมพในปท่ีมีการเก็บภาษีเชนกัน หนังสือนี้เขียนข้ึนตามคําส่ังของพอคาชาเนื้อหาไดเลาถึงการปลูก การเตรียมใบชา และการเสิรฟชาอยางละเอียด ลูอวี่ยังแตงหนังสือท่ีกลาวถึงชาอีกหลายเลมท่ีกลาวถึงชาในทุกแงมุม เขาอธิบายประโยชนของใบชาสารพัดชนิด แนะนําน้ําท่ีเหมาะจะนํามาปรุงชาท่ีสุด (ท่ีดีท่ีสุด คือ จากธารน้ําไหลชาบนภูเขา ) อธิบายกรรมวิธีตมน้ําทีละข้ันตอนวา “น้ําตองเดือดปุด จนดูเหมือนกับลูกตาล และสงสียงดังพอควร เม่ือน้ําท่ีขอบภาชนะพลุงพลานเหมือนกับบอน้ํารอนและเกิดพรายฟองราวไขมุกเรียงเปนแนวแลว ก็ถือวาเราผานสูข้ันท่ีสอง เม่ือฟองน้ํากระโจนราวกับนักกายกรรมและเกิดเสียงดั่งคล่ืนไมหยุด

Page 24: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

8

หยอน ก็ถือเปนน้ําท่ีเดือดถึงจุดสูงสุด หากน้ําเดือดมากกวาหรือนานกวานั้นก็ไมเหมาะจะนํามาใชปรุงชาอีก“ ประสาทรับรสของลูอวี่นั้นละเอียดออนมาก วากันวาเพียงไดชิมเขาก็สามารถบอกท่ีมาไดอยางละเอียดวาน้ํานี้ตักมาจากสวนไหนของแมน้ําทีเดียว ลูอวี่มีสวนสําคัญในการเปลี่ยนเคร่ืองดื่มดับกระหายน้ีใหเปนสัญลักษณของวัฒนธรรมและรสนิยมอันซับซอน การชิมและช่ืนชมชา โดยเฉพาะความสามารถในการระบุชนิดของชากลายเปนท่ีนายกยองอยางกวางขวาง การปรุงชากลายเปนภาระอันทรงเกียรติท่ีจํากัดอยูกับหัวหนาครัวเรือนเทานั้น ผูท่ีไมสามารถปรุงชารสดีดวยลีลาอันงามสงา นั้นถือเปนเร่ืองนาอับอาย งานชุมนุมและเล้ียงรับรองดวยชากลายเปนกระแสนิยมในราชสํานัก ซ่ึงจักรพรรดิจะดื่มชาคัดเฉพาะท่ีปรุงดวยน้ํารอนพิเศษ จนสุดทายจะพัฒนาไปสูจารีตการถวาย “ชาบรรณาการ” ประจําปแดองคจักรพรรดิ

ภาพท่ี 1 แสดงภาพเขียนการตมน้ําชาของจนีในสมัยกอน ท่ีมา : เกียรติชัย พงษพาณิชย, ตํานานชาในตําราจีน (กรุงเทพฯ : มติชน, 2546), 19.

ชายังเปนเคร่ืองดื่มท่ีแพรหลายในสมัยราชวงศซองอันรุงโรจน (960 - 1279) แตพอถึง

เม่ือคร้ังท่ีจีนตกอยูใตอํานาจการปกครองของมองโกลในศตวรรษที่ 13 ราชสํานักใหมกลับไมสนใจดื่มชากันเหมือนกอน ชาวมองโกลเปนพวกชนเรรอน เปนนักเล้ียงสัตวท่ีคอยตอนฝูงมา อูฐ และแกะตามทุงหญาสเตปปอันเวิ้งวาง จอมจักรพรรดิเจงกิสขานและเหลาพระโอรสไดสรางจักรวรรดิซ่ึงมีพื้นท่ีเช่ือมถึงกันใหญโตท่ีสุดในประวัติศาสตร ครอบคลุมดินแดนสวนใหญของยูเรเชีย นับจาก ฮังการีทางตะวันตกจนถึงเกาหลีทางตะวันออก สวนทางใตก็แผจรดเวียดนาม จักรวรรดิของบรรดานักข่ีมาผูชํ่าชองนี้เหมาะกับเคร่ืองดื่มท่ีเรียกวา คูมิส (Koumiss) ท่ีทําจากน้ํานมของมานํามาหมักบรรจุในถุงหนังสัตว เพื่อใหน้ําตาลแล็กโตสในนมกลายเปนแอลกอฮอล ความนิยมคูมิสแทนท่ีชา มี

Page 25: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

9

การบันทึกไววา คูมิสนั้นคลายกับไวนขาวและดีตอสุขภาพมาก ดังนั้นพวกชนเรรอนชาวมองโกลที่เขาปกครองจีนไมสนใจเคร่ืองดื่มประจําถ่ิน

ภายหลังจากการขับไลพวกมองโกลออกไปไดสําเร็จ การดื่มชาก็กลับมาแพรหลายอีกคร้ังและการสถาปนาราชวงศมิง (ค.ศ.1368 – 1644) คือหนึ่งหนทางที่จะเปาประกาศความยิ่งใหญของวัฒนธรรมจีน การตระเตรียมและบริโภคชาเร่ิมพัฒนาจนกลายเปนพิธีกรรมอันสลับซับซอน ชาวจีนกลับมาใสใจในรายละเอียดตามคําสอนของลูอวี่ทุกข้ันทุกตอน จากตนกําเนิดท่ีเกี่ยวพันกับศาสนา ชากลับถูกมองวาเปนเคร่ืองดื่มท่ีชวยสรางความสดช่ืนแกรางกายและความบริสุทธ์ิสะอาดทางจิตวิญญาณไปพรอมกันกระนั้นพิธีชงชาท่ีซับซอนท่ีสุดกลับพัฒนาข้ึนบนหมูเกาะญ่ีปุน ชาวอาทิตยอุทัยเร่ิมนิยมดื่มชามาต้ังแตศตวรรษที่ 6 แตความรูเกี่ยวกับการปลูกชา การเก็บเกี่ยว การเตรียม และการดื่มชา ถูกนําเขามาในประเทศเม่ือป ค.ศ. 1191โดยหลังจากท่ีพระสงฆนิกายเซนช่ือ อิซาอิ (Eisai) ไดนําเมล็ดชาติดตัวกลับญ่ีปุนไปดวย การดื่มชาดวยเหตุผลเพ่ือการทําสมาธิไดนาน ๆ อิซาอิ ไดรับการยกยองใหเปนบิดาแหงชาญ่ีปุน หนังสือเกี่ยวกับชาเลมแรกของญี่ปุนเกิดจากปลายพูกันของเขา ยกยองชาวาทรงคุณประโยชนแกรางกาย และหนังสือเลมนี้ มีอิทธิพลอยางยิ่งตอการพัฒนารูปแบบพิธีชงชาอันศักดิ์สิทธ์ิของญ่ีปุน จนกลายเปนแบบแผนและประเพณีอันดีงาม นายกยอง

เม่ือคร้ังโชกุนหรือผูปกครองฝายทหารของญ่ีปุนท่ีช่ือวา มินาโมโต ซาเนโตะโมะ ลมปวย พระไซซาอิก็ใหการรักษาดวยโอสถท่ีปรุงจากชาในทองถ่ิน พอหายปวย โชกุนมินาโมโตก็คล่ังไคลเคร่ืองดื่มชนิดใหมนี้มาก สงผลใหชากลายเปนท่ีนิยมกันท่ัวราชสํานักและแพรหลายไปท่ัวประเทศ เม่ือยางเขาศตวรรษราท่ี 14 ชาก็แทรกซึมเขาไปทุกชนช้ันในสังคมญ่ีปุน สภาพอากาศท่ีเหมาะสมแกการปลูกชา ทําใหแทบทุกบานสามารถรักษาตนชาสักสองสามพุมไวสําหรับเด็ดมาปรุงชาในยามท่ีตองการ พิธีชงชาเต็มรูปแบบของญ่ีปุนนั้นเปนเร่ืองซับซอนอยางเหลือเช่ือ พิธีกรรมท่ีดูราวกับการทํามนตราเรนลับนี้ อาจดําเนินตอเนื่องนานนับช่ัวโมงนอกจากนั้นข้ันตอนการบดใบชา ตมน้ํา ผสมและคนชาแลว ยังมีเร่ืองของเคร่ืองมือรวมถึงลําดับ และวิธีการท่ีเขามาเกี่ยวของดวย ผูชงชาตองใชกระบวยอันเปราะบางคอย ๆ เติมน้ําจากเหยือกพิเศษลงในกา ใชชอนรูปรางเฉพาะมาตวงผงชา จากน้ันจึงคนชาดวยเคร่ืองมือรูปรางพิเศษท่ีคลายกับเคร่ืองตีไข กอนจะใชผาไหมรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัสเช็ดเหยือก ชอน ฝากานํ้าชา และอ่ืน ๆ ท้ังนี้ เจาบานตองเปนฝายนําอุปกรณตาง ๆ ออกมาตามลําดับ กอนจะวางลงบนเส่ืออยางถูกตอง ถาจะใหดีท่ีสุดเจาบานควรจะลงแรงออกไปเก็บไมมาเปนฟนดวยตัวเอง และพิธีชงชาควรดําเนินไปในโรงน้ําชาท่ีตั้งอยูภายในสวนซ่ึงมีลักษณะการจัดวางองคประกอบตาง ๆ อยางเหมาะสม (Koa Joseph S.G. 2546 : 101)

Page 26: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

10

ปราชญดานชาผูยิ่งใหญท่ีสุดในญี่ปุน ช่ือ ริเคียว ซ่ึงมีชีวิตอยูในศตวรรษท่ี 17 เคยกลาวไววา “หากอุปกรณสําหรับชงชาและกินอาหารนั้นไรรสนิยม หากตําแหนงตนไมและหินในสวนบริเวณท่ีดื่มชาไมถูกจัดแตงอยางเหมาะสมชวนอภิรมยแลว ก็ควรจะกลับบานเสียดีกวา” แมกฎหลายอยางท่ีริเคียวเขียนข้ึนจะดูเปนทางการเสียมาก ธรรมเนียมบางขอ อาทิเชน ไมควรสนทนาเรือ่งเงิน ๆ ทอง ๆ ในวงนํ้าชานั้นก็ไมแตกตางจากธรรมเนียมปฏิบัติในงานเล้ียงอาหารคํ่าอยางเปนทางการในสังคมยุโรป แตพิธีชงชาก็นับเปนจุดสูงสุดของวัฒนธรรมการดื่มชา เปนผลจากการนําเคร่ืองดื่มจากแถบเอเชียใตไปผสมผสานกับอิทธิพลทางศาสนา และวัฒนธรรมจากหลายแหลง กอนจะกล่ันกรองดวยธรรมเนียม และพิธีกรรมตลอดเวลาหลายรอยป

การศึกษาขอมูลท่ีเกี่ยวของกับกาน้ําชาในคร้ังนี้เปนการศึกษาเพ่ือใหทราบถึงประวัติความเปนมาเกี่ยวกับการดื่มชาในอดีต การคนพบชาจีน ตนกําเนิดของการผลิตกาน้ําชา และวัฒนธรรมของการดื่มชาในรูปแบบท่ีจะนํามาเปนขอมูลในการสรางสรรคผลงาน

1.2 การจําแนกชนิดของชา และประโยชนของการดื่มชา “ชา” เปนผลผลิตท่ีมาจากพืชชนิดเดียวกัน ไมวาจะเปนชาจีน ชาอินเดีย ชาศรีลังกา ชา

ญ่ีปุน ชาอังกฤษ แตกลับปรากฏวาการชงชาท่ีแตกตางกันในหลายวัฒนธรรม ทําใหเกิดชารูปแบบตาง ๆ กวา 3,000 ชนิด แตกตางกันท้ังกรรมวิธีการผลิตใบชา การชงชาไปจนถึงการปรุงแตงรสชาติของชา

ภาพท่ี 2 แสดงลักษณะของใบชา ท่ีมา : Koa Joseph S.G., ชา..เลือกชาดื่ม ซ้ือชาเปน (เชียงใหม : The Knowledge Center, 2546), 75. ชาจีน ในนามของแหลงกําเนิดชา ชาของจีนมีสวนแบงในตลาดสงออกถึง 18

เปอรเซ็นตของปริมาณชาท่ัวโลก แมวาการผลิตชาสวนใหญของจีนมุงเนนรสชาติเพื่อคนจีนและ

Page 27: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

11

ตลาดในประเทศก็ตาม แตการท่ีประชากรจีนกระจายอยูท่ัวทุกมุมโลก ชาจากจีนจึงยังคงไดรับความนิยมอยางตอเนื่อง (อุษณีย ประวัง 2548 : 61- 85)

ชาดํา ชาดํารมควัน (Lap sang souchong) หนึ่งในชาท่ีดังท่ีสุดของจีน สุดยอดแหงชาดํารมควัน มาจากที่ราบสูงของมณฑลฟูเจี้ยน ลักษณะท่ีเดนคือ มีใบชาขนาดใหญ มีกล่ินหอม ของน้ํามันสน ซ่ึงเกิดจากกระบวนการรมควันดวยควันไมสนนั้นเอง กรรมวิธีรมควันใหใบชา นี้ถูกคนพบโดยทหารจีนดวยความบังเอิญ เม่ือเหลาทหารไดเขาไปตั้งคายพักในโรงงานชาแหงหนึ่งท่ีเต็มไปดวยเศษใบชาแหง พวกเขาจึงตองปดกวาดหาพื้นท่ีสําหรับการพักแรม เม่ือทหารยายกองไปแลว คนงานของโรงงานไดเผากองใบสนท่ีทหารเก็บกวาดไว ทําใหเกิดควันไฟฟุงกระจายไปทั่วโรงงาน ใบชาท่ีคนงานตากทิ้งไวถูกรมควันไปดวย ผลท่ีไดคือใบชาหอมกล่ินน้ํามันสน ท่ีไดรับความนิยมอยางแพรหลายจากนักดื่มชาชาวจีนต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน

ชาคีมัม (Keemum) เปนชาดําจากมณฑลอันฮุย ชาคีมัมไมคอยเปนท่ีรูจักกันมากนัก หาซ้ือตามตลาดท่ัวไปไดคอนขางยาก ชาวอันฮุยเรียกชาชนิดนี้วา กองฟู (Gonfu) แปลวา การผลิตอันประณีต พิถีพิถัน คือ ตองทําการมวนใบชาใหแนนจนไดเปนรูปยาวรี โดยใบชาตองไมขาด น้ําชาท่ีไดตองมีสีน้ําตาลเขม กล่ินหอมนุมนวลออนบางเปนอยางมาก

ชาเขียว ชากันพาวเดอร(ผงดินปน) ผลิตกันมากในเมืองปงซุย มณฑลเสยเจี้ยน ใบชาท่ีผ่ึงจนแหงแลว จะถูกนําไปนึ่ง และมวนเปนกอนเล็ก ๆ จากนั้นจึงนําไปอบแหงอีกคร้ัง ชากันพาวเดอรท่ีไดจะมีลักษณะคลายกระสุนหรือดินปน อันเปนท่ีมาของช่ือกันพาวเดอร เม่ือนํามาชง น้ําชามีสีทองแดงใส ๆ คลายน้ําผึงใหรสชาติที่นุมละมุน ชุมคอ

ชาชุนมี (Chun Mee) มีความหมายตามคําศัพทแลว ชุนมีแปลวา ค้ิวอันสวยงาม ซ่ึงเปนท่ีมาของชาประเภทนี้ การผลิตใบชาใหออกมามีรูปรางคลาย ค้ิวอันสวยงามนั้นจําเปนตองใชทักษะช้ันสูง เพราะตองทําการมวนใบชาดวยมือใหไดรูปรางท่ีถูกตอง ในสถานที่ท่ีมีอุณหภูมิเหมาะสม และตองทําภายในเวลาท่ีไดกําหนดไวอยางแนนอนเทานั้น สีเขียวมรกตของชารูปรางยาวรีนี้จะใหน้ําชาท่ีมีสีเหลืองออน พรอมรสชาตินุมล้ิน

อูหลง ทิกวนอิน (Ti Kwan Yin) ชาชนิดพิเศษน้ีมาจากมณฑลฟูเจี้ยน ช่ือมีความหมายวา ชาของเทพธิดาแหงความเมตตา ซ่ึงมีตํานานเลาวา เทพธิดาองคนี้ไดเขาไปปรากฏในความฝนของชาวนาผูหนึ่ง และบอกใหเขาเขาไปในถํ้าหลังวัดของพระองค ท่ีนั่นเขาไดพบกับตนออนของชาตนหนึ่ง เขาจึงนํามาปลูก ใบชาทิวควานยินจะมวนยน เม่ือนํามาชงจะไดน้ําชาสีเขม แตรสชาติเบาบาง กล่ินหอมเยายวน และกลมกลอมท่ีสุดหากไมเติมสวนผสมอ่ืน อยางน้ําตาลหรือนมสดลงไป

Page 28: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

12

ชาพูโชง (Pouchong) เปนชาที่ปลูกในฟูเจี้ยน ช่ือพูโชงบงบอกถึงข้ันตอนการผลิต คือ ในระหวางกระบวนการหมักนั้น ตองนําใบชาสดมวนลงในกระดาษ ใบชาท่ีไดจะมีสีดํา ยาวรี น้ําชามีสีเหลืองอําพัน มีรสหวานออน ๆ ซอนอยูดวย

ชาขาว ไปมูทานอิมพิเรียล (Pai Mu Tan Imperial) ชาขาวหายากชนิดนี้ ทํามาจากดอกตูมของชา ซ่ึงมีขนาดเล็กมาก โดยจะเก็บเกี่ยวเฉพาะในชวงตนฤดูใบไมผลิเทานั้น เม่ือนํามาผานกาอบไอน้ําและทําใหแหงแลวจะไดชารูปรางคลายกับดอกไมสีขาวดอกเล็ก ๆ ท่ีมีใบสีเขียวติดอยูเล็กนอย เปนท่ีมาของช่ือ ซ่ึงมีความหมายวา ดอกโบต๋ันสีขาว

ยินเซน(Yin Zhen) เปนชามาจากมณฑลฟูเจี้ยนยินเซนซ่ึงแปลวา เข็มสีเงินนั้นส่ือความหมายถึงการเก็บยอกดอกออน ๆ ของชา ท่ียังมีขนสีขาวปกคลุมอยูเทานั้น

ชาสมุนไพร ชามะลิ (Jasmine Tea) เปนการนําชาจีนบมไปพรอมกับดอกมะลิ ซ่ึงวางซอนค่ันไวระหวางชาแตละช้ัน ชาท่ีออกมาจึงมีรสชาติและกล่ินหอมออน ๆ ของดอกมะลิซอนอยูดวย

โรส คองกู (Rose Congou) เปนชาดําใบใหญท่ีบมไวพรอม ๆ กับกลีบกุหลาบ ในการผลิตตองอาศัยความเช่ียวชาญเปนอยางมาก เพื่อใหทุกอยางสมดุลกันท้ังทางดานการวางใบชา อุณหภูมิ รวมท้ังระยะเวลาที่บมดวย

เอิรลเกรย (Earl Grey) เอิรลเกรยแบบดั้งเดิมนั้น เปนการผสมผสานระหวางของจีนกับน้ํามันธรรมชาติจากผลมะกรูดซ่ึงเปนท่ีมาของกล่ินและรสของชาประเภทนี้ ตนกําเนิดของชาเอิรลเกรย เลากันวา เปนชาท่ีขุนนางชาวจีนไดผสมใหกับเอิรลเกรยท่ีสองดื่มเพื่อฉลองความสําเร็จในการเช่ือมสัมพันธไมตรีระหวางจีนกับอังกฤษ

ชาญ่ีปุน เปนท่ีรูจักมานานแลววาชาวญ่ีปุน คือ ชนชาติท่ีผลิตชาเขียวคุณภาพเยี่ยม ไดรับความนิยมและมีช่ือเสียงไปท่ัวโลก แตในดานการสงออกของชาญ่ีปุนในชวงหลังๆ กลับลดนอยลงอยางมาก สาเหตุอาจเนื่องมาจากชาญ่ีปุนมีราคาแพงกวาชาจากประเทศอ่ืนๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งจากจีน ซ่ึงสามารถผลิตชาคุณภาพดีใกลเคียงกัน

เกียวคุโร (Gyokuro) คําวาเกียวคุโร แปลวา น้ําคางอันมีคา ชาเกียวคุโรเปนน้ําชาท่ีดีท่ีสุดของญ่ีปุน นิยมนํามาตอนรับแขกในวาระโอกาสพิเศษ ๆ เทานั้น ใบชามีความเบาบาง งดงาม รูปรางคลายกับเข็ม สีเขียวมรกต เม่ือชงแลวใหน้ําชารสชาติกลมกลอมและมีกล่ินหอมซอนอยู เกียวคุโรเปนชาท่ีนํามาผลิตเปนผงชามัทฉะ (Matcha) ซ่ึงใชในพิธีชงชาอันศักดิ์สิทธ์ิของชาวญ่ีปุน

เซนฉะ (Sencha) เปนชาเขียวคุณภาพสูง ท่ีนิยมดื่มกันมากท่ีสุดในญ่ีปุน ใบชาสีเขียวเขม รูปรางแหลมยาวเหมือนเข็ม น้ําชามีสีเหลืองออน ๆ ใหรสชาติสดช่ืนชุมคอ เซนฉะท่ีผลิตออกมาในชวงตนฤดูมีราคาแพงมาก ชาวญ่ีปุนนิยมนําไปเปนของกํานัลใหกับบุคคลสําคัญ

Page 29: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

13

บันฉะ (Bancha) ชาบันฉะเปนเคร่ืองดื่มประจําบานของชาวญ่ีปุน ทําจากใบชายอดออน ท่ีคัดเลือกมาอยางดี มีกล่ินหอม รสชาติออนนุม ดื่มงาย

ชาอินเดีย อินเดียเปนหนึ่งในประเทศที่ปลูกชามากท่ีสุดในโลก ยอดสงออกมีมากกวา 14 เปอรเซ็นตของปริมาณชาท่ัวโลก พื้นท่ีเพาะปลูกกวางขวาง ครอบคลุมต้ังแตรัฐดารจีล่ิงทางตอนเหนือไปจนถึงรัฐนิลกิรีทางตอนใต ฤดูการเก็บเกี่ยวชาของชาวอินเดียเร่ิมตนเดือนมีนาคมและส้ินสุดเดือนตุลาคมของทุก ๆ ป

ชาอัสสัม (Assam) รัฐอัสสัมเปนพื้นท่ีเพาะปลูกชาท่ีสําคัญของอินเดีย ครอบคลุมตั้งแตบริเวณหุบเขามหาพุทธรา เร่ือยไปตลอดแนวเทือกเขาหิมาลัย จนกระทั่งถึงอาวเบงกอล ชาอัสสัมมีลักษณะเดนคือ ใบชาแหง มีลายจุดน้ําตาลออกทอง น้ําชาเขมขน มีรสเผ็ดเจืออยูเล็กนอย ใหความรูสึกสดช่ืน เหมาะกับการเปนชาถวยแรกของวัน ดวยรสชาติท่ีเขมขนมากนี้เอง นักดื่มชาท่ัวโลกจึงนิยมนําไปผสมกับสมุนไพรหรือชาชนิดอ่ืน ๆออกมาเปนชาสูตรพิเศษตางๆมากมาย และนอกจากชาดําแลว รัฐอัสสัมยังเปนแหลงผลิตชาวเขียวรสชาติเยี่ยมอีกหนึ่งแหงของโลก ชาเขียวอัสสัมมีกล่ินหอมออนๆ รสชาติเบาๆ และมีความหวานซอนอยูในตัวอีกดวย

ชาดารจีล่ิง (Darjeeling) ไดรับการยกยองวาเปนแชมเปญแหงชา เนื่องจากใบชามีกล่ินหอมและรสชาติออนนุม พรอมท้ังมีรสชาติคลายกับเหลาองุนแบบเจือจางอยูดวย ดารจีล่ิงจึงเปนชาท่ีเหมาะกับการดื่มระหวางอาหารคํ่าหรือการดื่มชาชวงบายท่ีสุด ชาชนิดนี้นิยมปลูกกันมากแถบชายเทือกเขาหิมาลัย

ชานิวกิรี (Nilgiri) รัฐนิลกิรีตั้งอยูทางตอนใตของอินเดีย ลักษณะภูมิประเทศเปนท่ีราบสูงอเช่ือตอระหวางภูเขาแถบทางตะวันตก และตะวันออก ประชากรในรัฐมีอาชีพปลูกชาเปนหลัก โดยมากแลวชานิลกิรีมักใชเปนสวนผสมในการทําสูตรชาตาง ๆ มีสีเหลืองสดใส รสชาติเขมขน แตนุมนวลใหความรูสึกสดช่ืน

ชาอินเดีย เปนชาผสมท่ีรวมเอาชาสูตรตาง ๆ ของอินเดียเขาไวดวยกัน รสชาติเขมขน และมีกล่ินอายจาง ๆ ของชาหลากหลายพันธุซอนอยู นอกจากนี้ยังมีอีกหลายประเทศท่ีมีชาท่ีเปนเอกลักษณ ไดแก

ชาศรีลังกาหรือชาซีลอน ศรีลังกามีพื้นท่ีในการปลูกชาที่หลากหลายมาก ชาของแตละแหงมีเอกลักษณแตกตางกันออกไป ท้ังจากปจจัยดานภูมิศาสตร และวัฒนธรรมผสมชา ทําใหศรีลังกามีชาหลายประเภท และหลากสีสันมาก บางชนิดก็เขมขน บางชนิดก็นุมนวล มีคุณสมบัติเดน คือ รสชาติท่ีทําใหกระฉับกระเฉงและน้ําชามีสีทองสดใส

ชาแอฟริกา ประเทศจากทวีปแอฟริกาเปนประเทศที่เร่ิมทําการพัฒนาในเร่ืองชา และนําขอผิดพลาดจากประเทศท่ีทําการเพาะปลูกชามาปรับแก จึงสามารถปองกัน และแกไขปญหาได

Page 30: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

14

อยางเช่ียวชาญ ปจจุบันประเทศจากทวีปแอฟริกาไดกลายเปนอีกหนึ่งในผูสงออกชาท่ีสําคัญของโลก สามารถผลิตชาคุณภาพดีท่ีสามารถนําไปผสมเปนชาสูตรตาง ๆ ไดมากมาย ประเทศผูผลิตชาท่ีสําคัญของทวีปแอฟริกา คือ เคนยา มาลาวี แทนซาเนีย ซิมบับเว และแอฟริกาใต

เคนยา เปนหนึ่งในประเทศในแถบแอฟริกาใตท่ีปลูกชามานานท่ีสุด มีองคกรพัฒนาเพื่อพัฒนาการปลูกชาโดยเฉพาะ ซ่ึงมีไมกี่ประเทศท่ีมีองคกอนเชนนี้ ดวยสภาพภูมิอากาศท่ีเหมาะสมกับการปลูกชาอยางมากจึงทําใหเคนยาสามารถปลูกชาไดตลอดท้ังป ชาของเคนยาเปนชาท่ีมีสีสดใสออกทองแดง รสชาติเขมขน เหมาะกับการดื่มในทุกชวงเวลาของวันนอกจากนี้ยังนิยมนําไปผสมกับสูตรชาของอังกฤษอีกหลายชนิด

มาลาวี ถือเปนประเทศท่ีบุกเบิกการปลูกชาของทวีปแอฟริกา นอกจากนี้มาลาวียังเปนประเทศแรกท่ีนําเทคโนโลยีการโคลนนิ่งมาใชกับพันธุชาของตน

ซิมบับเว การผลิตชาของซิมบับเว เร่ิมตนข้ึนหลังจากความสําเร็จในการพัฒนาระบบชลประทานเม่ือไมนานมานี้ดวยปริมาณนํ้าฝนของประเทศมีจํานวนไมมากระบบชลประทานจึงมีความสําคัญ ซ่ึงสามารถทําใหซิมบับเวสามารถสงออกชาไดมากถึง 8,000 ตันตอป นํามาเปนสวนผสมสําคัญของชาสูตรพิเศษตาง ๆ

การศึกษาเกี่ยวกับการจําแนกชนิดของชา เพื่อเปนการเรียนรูถึงเร่ืองราวของชาแตละ

ชนิดวามีลักษณะอยางไร ชามีกี่ชนิด กี่ประเภท รวมท้ังแหลงท่ีปลูกชาวามาจากประเทศใดบาง เพื่อเปนความรูเบ้ืองตนในการผลิตชุดกาน้ําชา อิทธิพลจากวัฒนธรรมการดื่มชาสูศิลปะเคร่ืองปนดินเผา

ชาเปนสวนหน่ึงในวิถีชีวิตของชาวจีน ดังปรากฏในบันทึกเกาแกท่ีสุดสมัยราชวงศฮั่น ในหนังสือสัญญาซ้ือขายเด็กรับใช ยังมีการระบุไววา ทาสท่ีขายตัวมานั้น นอกจากจะตองหุงขาวและทํากับขาวแลว ยังจะตองปรุงชาเปนดวย ถือเปนสาระสําคัญท่ีระบุไวในสัญญาขอหนึ่ง

แตเดิม คนจีนไมไดมีกาน้ําชาเปนภาชนะชงชามาแตแรก เพราะในยุคแรก ๆ ท่ีดื่มชา คนจีนดื่มชาดวยจุดประสงคท่ีแตกตางจากในปจจุบัน พฤติกรรมการดื่มชาที่แตกตางทําใหการใชภาชนะชงชาในแตละยุคสมัยของจีนตางกันตามไปดวย (อุษณีย ประวัง 2548 :119)

ในสมัยราชวงศถัง ชาจีนจะผลิตเปนรูปทรงกอนส่ีเหล่ียมคลายกอนอิฐหรือทรงกลมแบนคลายจานขาว แตหนากวา เรียกวา ทรงกลมมังกร ชากอนเหลานี้เวลาจะดื่มตองหักเปนช้ินเล็ก ๆ ตมในหมอน้ําขนาดใหญ ตมสุกแลวใชกระบวยตักเอาเฉพาะนํ้าชาใสชามขนาดนํ้าแกง คอย ๆ ซดดื่มแกกระหาย และยังเช่ือวาชามีสรรพคุณทางยาสามารถลางพิษตาง ๆ ถึง 60 กวาชนิด

Page 31: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

15

ภาชนะท่ีใชดื่มชาในยุคกอนนั้นจึงเปนชามขนาดถวยน้ําแกงใบยอม ๆ สวนใหญทรงกลม วางบนฝามือได หรือขนาดพอเหมาะพอประคองดวยฝามือสองขาง ไมใหญมากเทาชามน้ําแกงกลางโตะ มีบันทึกไววาในสมัยราชวงศถัง ลักษณะชามท่ีเปนดินเผาเคลือบสีน้ําเงินเปนท่ีนิยมมาก

ในยุคราชวงศซง นิยมดื่มชาแตกตางจากสมัยถัง แตภาชนะบางช้ินท่ีใชยังคงเหมือนเดิม ใบชาท่ีเตรียมชงข้ึนโตะ จะถูกบดเปนผงดวยเคร่ืองบดชา รูปรางคลายเคร่ืองบดยาจีน ท่ีใชในปจจุบัน เคร่ืองมือนี้เปนภาชนะสองช้ิน ช้ินลางเปนตัวรองรับใบชาท่ีจะถูกบด ช้ินบนเปนตัวบด มีมือจับสองขาง กล้ิงไปมาบนภาชนะตัวลางบดใหใบชาเปนผง อุปกรณช้ินนี้แกะมาจากตนสม หรือตนแพรก็ไดเม่ือบดชาจนเปนผงแลวจึงตักใสชาม แลวตักน้ําเดือดลงไป คนดวยไมไผทรงคลาย ๆ แปรง เปนรูปทรงของไมคนชาผงมัตจะ ของญ่ีปุนในปจจุบัน ซ่ึงการดื่มชาสมัยซงนี่เองท่ีพัฒนามาเปนพิธีดื่มชาของญ่ีปุนทุกวันนี้

ภาพท่ี 3 แสดงเคร่ืองบดชาในสมัยราชวงศถัง ท่ีมา : นพพร ภาสะพงศ, ปนชาเสนหางานศิลปแหงดินปน , พิมพคร้ังท่ี 2 (กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2548), 24.

ตอนปลายราชวงศหยวน เร่ิมมีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการผลิตใบชา จากการอัดเปน

กอน มาเปนการนวดมวนใบชาเปนใบ ๆ ทําใหวิธีการชงชาเปล่ียนไปดวย จากท่ีเคยตมชาหรือบดชา มาเปนการชงชาท่ีตองกรองเอาแตน้ําออกมาดื่ม การชงชาแบบหลังนี้ไดแพรไปท่ัวประเทศเม่ือยางเขาสูยุคตนของราชวงศหมิง ภาชนะท่ีนิยมในสมัยชวงกลางราชวงศเปนถวยชาสีขาว และกานํ้าชาของอ๋ีชิง (Yixing) มีบันทึกไววากาน้ําชาอันแรกของโลก ถูกปนข้ึนจากเด็กรับใชผูติดตามของบุตรชายของฮองเตเจิ้นเตอ ซ่ึงไดมาพักท่ีวัดจินซา ในเมืองหนานซัน ใกล ๆ เมืองอ๋ีชิง วัดแหงน้ีมี

Page 32: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

16

เตาเผาของตนเอง และพระท่ีอยูในวัดจะปนภาชนะดินใชเอง วันหนึ่งหลังจากเตรียมชงน้ําชาใหคุณชายทองหนังสือเรียบรอยแลว เด็กรับใชช่ือกงชุนผูนี้ไดหลบมาพักผอน และเห็นพระกําลังปนภาชนะดินเผาอยู กงชุนจึงไดเรียนรูวิธีปนภาชนะดินเผาจากพระแหงนี้ เขาก็ไดปนภาชนะดินเผาจําพวกกระถาง แจกัน เหยือกน้ํา หมอน้ําตาง ๆ สําหรับใชในชีวิตประจําวันอยูแลว

วันหนึ่งกงชุนก็สรางมิติใหมแหงการดื่มชาข้ึน โดยปนภาชนะทรงกลมใบหนึ่ง มีหูจับ มีฝาดานบน มีพวยยื่นออกมาสําหรับรินน้ํา โดยสามารถดักใบชาเปยกไวในภาชนะไมใหไหลออกมากับน้ําชาได ซ่ึงภาชนะนี้ คือ กาน้ําชาใบแรกของโลก มีลักษณะเบาเผาออกมาแลว มีผิวแตกระแหงไปท่ัวท้ังใบ

ภาพท่ี 4 แสดงกาน้ําชาท่ีกงชุนปน ถือเปนใบแรกของโลก ท่ีมา : นพพร ภาสะพงศ, ปนชาเสนหางานศิลปแหงดินปน , พิมพคร้ังท่ี 2 (กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2548), 8.

กาน้ําชา ดินอ๋ี ชิงการดื่มน้ําชาในหมูชนของชาติตาง ๆ มิไดเพ่ิงเกิดข้ึนในโลกปจจุบัน

หากสืบเนื่องตกทอดมา ตั้งแตคร้ังโบราณภาชนะท่ีใชบรรจุชาในรูปแบบตาง ๆ จึงกลายเปนส่ิงท่ีตองใหความสําคัญตามมา เพราะถือกันวาเปนเคร่ืองแสดงถึงรสนิยมของผูดื่มชา และตนกําเนิดของการปน

Page 33: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

17

กาน้ําชา ท่ีดีท่ีสุดอยูในแถบอําเภอ อ๋ี ชิง (Yixing) เปนช่ือเมืองเล็ก ๆ ในมลฑลเจียง ซู ประเทศจีน ท่ีมีช่ือเสียงโดงดังไปท่ัวโลก ดวยเปนถ่ินกําเนิดกาน้ําชาแหงแรกของโลก และยังเปนตนแบบ ของภาชนะชงชาชุดเครื่องเงินของราชินีวิคตอเรียแหงอังกฤษ กาน้ําชาอ๋ีชิง มีบทบาทสําคัญในสังคมและวัฒนธรรมจีนมามากกวา 500 ป

ดังมีคํากลาววา “หากแผนดินจีนเปนแดนกําเนิดแหงชาหอม” อ๋ีชิง คือ ถ่ินกําเนิดของการปนกาน้ําชาดินสีแดง จากความกลมกลืนหลายประการซ่ึงผสมผสานระหวาง รสชาติละมุนของใบชาและโครงรางของดินเผาอยางดี ทําใหดิน ใชทํากาน้ําชาไดดีท่ีสุดในโลก เพราะมีลักษณะพิเศษมาก คือเปนดินทรายเนื้อละเอียด และมีสีแดงเผาแลวแข็งกวาดินท่ีใชทําหมอไห และมีแรธาตุหลายชนิดท่ีเหมาะสําหรับการปน ซ่ึงเปนลักษณะท่ีทําใหดินอ๋ีชิง โดดเดนจากเคร่ืองปนดินเผาจากภาคอืน่ ๆ ของจีนท่ีอาจมีสีเหมือนกัน จึงถือไดวา อ๋ีชิง เปนยานอุตสาหกรรมเคร่ืองปนดินเผาท่ีสําคัญ โดยเปนท่ีรูจักกันท่ัวไปไมเฉพาะในจีนเทานั้น และความโดดเดนอีกอยางหน่ึงของกาน้ําชาอ๋ีชิง คือ การผลิตจะตกแตงกาน้ําชาดวยไมไผเหลาแทนใบมีด ตอมาจึงพัฒนาเทคนิคการผลิตโดยใชแปนหมุน และมักผลิตกาน้ําชาออกมาเปนทรงลูกทอ เพราะชาวจีนเช่ือวา ลูกทอเปนสัญลักษณของความโชคดี และอายุยืน (นพพร ภาสะพงศ 2548 : 47) วากันวาเมืองนี้ หาดินสําหรับปนไดงายกวาท่ีอ่ืน ดินนั้นเอาหลายอยางมาผสมกันปนไดหลายสีเปนดินละเอียดเน้ือแข็ง ดินของเมืองนี้มีลักษณะพิเศษมาก คือเปนดินปนทราย เนื้อละเอียดเผาแลวแข็งกวาดินท่ีใชทําหมอทําไห และมีแรธาตุหลายชนิดท่ีเหมาะในการทําปนซ่ึงเปนลักษณะท่ีทําใหดินอ๋ีชิงโดดเดนจากเคร่ืองปนดินเผาจากภาคอ่ืน ๆ ดินอ๋ีชิงมีสีพื้นฐานที่นิยมทําปนชาอยู ดังนี้

1. ดินจื่อซา มีสีตับหมู หรือรูจักในนาม Purple clay 2. ดินจู ซา มีสีแดง 3. ดินเปนซันหลู มีสีขาวครีม ศิลปะของดินอ๋ี ชิง แรกกําเนิดในราชวงศซง (ค.ศ.960 - ค.ศ. 1279) รุงโรจนท่ีสุดใน

สมัยราชวงศมิง (ค.ศ.1368 - ค.ศ.1644) และราชวงศชิง (ค.ศ.1644 - ค.ศ.1911) จนถึงปจจุบัน มีคํารองในเนื้อเพลงสมัยราชวงศชิงท่ีกลาวถึงเตาอ๋ีชิงวา “เตานับไมถวน หนารานเรียงลวนเรียงดวยแถวดินเหนียว มานับสิบเท่ียวไมพอขนสินคา” แสดงใหเห็นถึงความนิยมในเคร่ืองปนดินเผาของเมืองนี้วาแพรหลายไปท่ัว เคร่ืองปนดินเผาเหลานี้เปนท่ีนิยมอยางมากจนมีคําพูดวา แพงกวาทอง มีบันทึกประจําเมืองอ๋ีชิงเม่ือ 400 กวาปกอน เขียนไววา “กงชุนไดผลิตกาน้ําชาออกมาหลายแบบ เปนท่ีช่ืนชอบไปท้ังแผนดิน เม่ือนํามาชงชา รสชาติเดิมไมมีเปล่ียนแปลง เหลาผูดีและขาราชการผูใหญ ผูมีความรูและนักปราชญ ตางเต็มใจซ้ือกาน้ําชาท่ีกงชุนทํา” คุณสมบัติของดินท่ีนี้ไมมีในดินชนิดอ่ืน คือสามารถดึงเอารสชาติ กล่ิน สี ท่ีแทของชาออกมาไดเต็มท่ี ท้ังนี้เปนเพราะมีคุณสมบัติธรรมชาติ

Page 34: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

18

ทางเคมีท่ีแตกตางจากดินท่ัวไป โดยเปนการผสมระหวางแรเกาลิน (Kaolin) ควอตซ (Quartz) และไมกา (Mica) ในอัตราสวนท่ีมีแรเหล็กผสมอยูอีก 2 - 9 เปอรเซ็นต แรธาตุตาง ๆ เหลานี้เม่ือผานการเผาดวยความรอนสูงถึง 1,100 - 1,200 องศาเซลเซียส จะทําใหเนื้อดินเกิดเปนรูพรุนเล็ก ๆ ข้ึนสองลักษณะ คือ รูปด และรูเปด รูพรุนเหลานี้ชาวจีนเรียกวารูหายใจ การน้ําชาจากท่ีนี้ จึงเปนกาท่ีหายใจได

การศึกษาไดเรียนรูถึงกระบวนการบดชาในสมัยกอน รวมถึงตนกําเนิดของการกาน้ําชาใบแรกท่ีมีประวัติศาสตรท่ีนาสนใจ และทราบถึงแหลงเนื้อดินท่ีมีคุณภาพในการผลิตกาน้ําชาวามีสวนผสมอยางไรบางในเนื้อดิน เพื่อเปนการนําขอมูลเบ้ืองตนเหลานี้มาทําการเปรียบเทียบวิเคราะหกับเนื้อดินท่ีทําการทดลองเพื่อนําไปสูกระบวนการในการผลิตชุดการน้ําชา วัฒนธรรมการดื่มชาในประเทศไทย

แมวาคนจีนจะรูจักดื่มชามาหลายพันปแลว แตสําหรับประเทศไทยคนไทยรูจักชาก็เม่ือในสมัยสุโขทัยชวงท่ีมีการแลกเปล่ียนวัฒนธรรมกับจีนนาจะมีการดื่มชากันแลวแตท่ีปรากฏหลักฐานชัดเจน คือจากจดหมายเหตุลาลูแบรราชฑูตฝร่ังเศสในแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช พูดถึงการดื่มชาในสยามวาดื่มเฉพาะในกรุงศรีอยุธยาเทานั้น ถือเปนมารยาทผูดีอันจําเปนตองนําน้ําชามาเล้ียงผูมาเยี่ยม และคําวา "ชา" คนไทยก็เรียกกันมาต้ังแตสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางแลวชากับความเปนอยู และประเพณี ไดแกพระสงฆฉันน้ําชามาแตโบราณ จึงมีประเพณีถวายน้ําชาพระสืบตอกันมาจนทุกวันนี้ มีหมายรับส่ังสมัยรัชกาลท่ี 1 เม่ือมีพิธีสงฆในงานหลวงปรากฏเปนหลักฐานวา "ใหแตงน้ําชาถวายสงฆท้ัง 4 เวลาใหพอครัวรับ เคร่ืองชา ตอวิเสทหมากพลู ตมถวายพระสงฆใหพอ 8 คืน"

ชาเปนเคร่ืองดื่มท่ีชงไปนั่งคุยกันไปคนจีนเวลามีผูมาหาสูถึงบานจะตองยกน้ําชาออกมาตอนรับ ถาไมรักกันจริงจะไมยกน้ําชามานั่งดื่ม เพราะจะไดคุยใหเสร็จ ๆ แลวรีบออกไปจากบานซะ อีกหนึ่งประโยชนของชาทางความเช่ือ คือ คนไทย และจีนใสใบชาลงในโลงศพเพ่ือใชประกอบพิธี บางวาชวยการดูดกล่ิน บางวาไมใหมีน้ําเหลืองไหลออกมาพิธีไหวบรรพบุรุษของจีนส่ิงที่ขาดไมไดคือ น้ําชา และเหลาเวลาทําความสะอาดหลุมศพ (เช็งเมง) จะตองไหวน้ําชาท้ังท่ีสุสาน และท่ีบาน วันสารทจีนก็ไหวน้ําชาแมพิธีแตงงานชาวจีนพิธียกน้ําชาก็มีบทบาท ใชเคารพผูใหญใหเมตตาคูบาวสาว เพื่อการเร่ิมตนชีวิตใหมท่ีสมบูรณ

Page 35: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

19

ภาพท่ี 5 แสดงลักษณะใบชารูปแบบตาง ๆ ท่ีมา : Koa Joseph S.G., ชา..เลือกชาดื่ม ซ้ือชาเปน (เชียงใหม : The Knowledge Center, 2546), 76.

ขอมูลทางพฤกษศาสตรและสรรพคุณทางสมุนไพร

“ชา” มาจากพืชตระกูลคาเมเลีย ไซเนนซิส (Camellia sinensis) ถ่ินกําเนิดอยูในจีนและอินเดีย มีลักษณะเปนพุม ใบเขียว หากปลอยใหเติบโตเองในปา จะใหดอกสีขาวสงกล่ินหอมในฤดูใบไมผลิ เม่ือดอกชาโตเต็มท่ี จะใหผลชาที่ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ หนึ่งถึงสามเมล็ดในการแพรพันธุ ตนชาตองไดรับการผสมละอองเกสรกับตนชาตนอ่ืน ๆ เพ่ือแลกเปล่ียนยีนและโครโมโซมซ่ึงกัน และกัน เม่ือชาตนใหมเจริญงอกงาม จะคงลักษณะท่ีแข็งแรงบางสวนของพอแม ดวยวิถีเชนนี ้ตนชาจึงเปนพืชท่ีมีลักษณะเดนเฉพาะตัวของมันเอง

ชา เปนพืชใบเล้ียงเดี่ยว ใบเรียงสลับกัน ขอบใบหยักเปนฟนเล่ือย ปลายใบแหลม หนาใบเรียบมันยาว 7 - 30 เซนติเมตร ใตใบมีขนออน ๆ ปกคลุม ใบเขียวตลอดป จัดเปนไดท้ังไมพุม และไมยืนตนโดยมีความสูง ตามธรรมชาติ 15 - 20 เมตร หากถูกตัดแตงในไรจะสูงเพียง 1.5 เมตร ตนชา ท่ีเกิดตามธรรมชาติอาจมี อายุกวา 100 ป ตนท่ีขยายพันธุดวยการตอน มีอายุไดถึง 80 ป ตนชา ออกดอกระหวางลําตนกับใบ มีท้ังดอกเดี่ยว และดอกชอ ในหนึ่งดอกมีท้ังเกสรตัวผู และตัวเมีย มี 5 - 8 กลีบ ผลชามีลักษณะเปนกระเปาะกลม สีน้ําตาลอมเขียว เปลือกหนา ผลใชเวลาในการสุก 9 - 12 เดือน เม่ือแกเต็มท่ีจะแตกใหเมล็ดหลุดออก เมล็ดมีรูปรางกลม เสนผาศูนยกลาง 0.8 - 1.6 เซนติเมตร เมล็ดชาใชเวลาในการงอกประมาณ 2 – 3 สัปดาห สวนของตนชาท่ีนํามาเปนเคร่ืองดื่ม

Page 36: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

20

จะอยูสวนบนสุดของตน อันเปนตําแหนงของการผลิใบออน และการแตกหนอ ซ่ึงเปนสวนท่ีมีคุณภาพดีท่ีสุดนั่นก็คือ ชาท่ีมีคุณภาพดีท่ีสุด คือ ยอดออน และอีกสองใบถัดลงมา เคร่ืองมือในการเก็บใบชาท่ีดีท่ีสุดก็คือ มือของมนุษย ซ่ึงปฏิบัติตอกันมาอยางนี้เปนเวลานับหลายพันป ตนชาในไรจึงตองตัดแตงไมใหสูงเกินมือเอ้ือม กลายเปนไมพุมไป ตนชา จะเร่ิมใหผลผลิตไดก็เม่ือ อายุ 4 ปข้ึนไป แลว และอีกราว 50 ปจึงหมดอายุการเก็บเกี่ยว ใบชา นั้นเม่ือเก็บมาแลว ถาตากแหง ขมวดใบ และอบใหแหงท้ังยังเขียว ๆ อยูก็เรียกวา "ชาเขียว" ถาหมักจนใบคลํ้าข้ึนมานิดแลวคอยอบแหงก็เรียก "ชากึ่งหมัก หรือท่ีติดปากกันวา "อูหลง" ถาหมักกันจนถึงที่สุดแลวคอยอบแหงก็จะเรียกวา "ชาดํา" สารสมุนไพรตาง ๆ ท่ีเปนคุณตอสุขภาพนั้นจะมีมากท่ีสุดก็ใน ชาเขียว นั้นเอง เม่ือชาถูกหมักนานเขาสรรพคุณก็จะลดลงกลายไปเปนสารซ่ึงใหกล่ินรสแทน

การศึกษาวัฒนธรรมการด่ืมชาในประเทศไทยเพ่ือทราบถึงประวัติความเปนมาเกี่ยวกับการดื่มชาของคนไทยวาชาไดเขามาในประเทศไทยไดอยางไร เรียนรูถึงตนกําเนิดของชา ชามีกี่สายพันธุ เพื่อนํามาเปนขอมูลเบ้ืองตนในการผลิตชุดกาน้ําชา รูปแบบของกาน้ําชาแบบตาง ๆ

ในขณะท่ีมีการพัฒนาสายพันธุชา และผลิตภัณฑชา เพื่อใหไดชาท่ีมีคุณภาพมากข้ึน มีความอรอยมากข้ึน สังคมมนุษยก็ไดมีการพัฒนากาน้ําชา และถวยชา กาน้ําชาในแตละประเภทก็มีการพัฒนากันออกไป แตรูปแบบหลักก็เหมือนกัน คือ มีท่ีสําหรับเทน้ําชาออก มีท่ีกรองกากชา และมีหูจับเพื่อไมใหรอนมือจนเกินไป กาน้ําชาสวนมากจะตองมีขนาดพอเหมาะสําหรับดื่ม 4 ท่ี ชุดกาน้ําชา ขนาดมาตรฐานสําหรับ 4 คน จะตองมีปริมาตรความจุภายในเพื่อบรรจุน้ําชาไดประมาณ 750 - 800 cc. ผูออกแบบตองคํานึกถึงการบรรจุ การชงชา และการใช เพื่อใหสอดคลองกับลักษณะการดื่มชาแตละประเภท ซ่ึงสามารถออกแบบดวยการแยกสวน หรือออกแบบทั้งช้ินไปพรอมกันก็ได นอกจากนี้ยังสามารถออกแบบใหมีลักษณะท่ีเขาชุดกันกับภาชนะช้ินอ่ืน ๆ เชน ถวยชา จานรอง รวมท้ังการออกแบบท่ีใหเขากับบรรยากาศ หรือส่ิงแวดลอม และชนิดของชาไดอีกดวย

Page 37: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

21

ภาพท่ี 6 แสดงรูปแบบกาน้ําชารูปทรงเหล่ียมมุม และรูปทรงรีไข ท่ีมา : [editor,Suzanne J.E. Tourtillott], 500 Teapot Contempory Explorations of a TimelessDesign (New York : Lark Book, 2002), 200.

การออกแบบกาน้ําชา ตองคํานึงถึงหนาท่ีการใชสอย และรูปรางท่ีสวยงาม กาน้ําชาท่ีดี

ตองมีรูปทรงท่ีเรียบงายไมซับซอน เวลารินน้ําชาจะตองไมมีน้ําชาคางตรงสวนใดสวนหนึ่งของกา ลักษณะของการูปทรงกลมจะสามารถรินน้ําชาไดดี ถาลักษณะของรูปทรงกาเปนเหล่ียมมุม และรูปทรงอิสระ การเทน้ําชาออกจะไมราบเรียบ การออกแบบพวยกาควรมีลักษณะทรงกรวย หรือโคงเรียว สามารถเทน้ําชาออกโดยสะดวก และสามารถเก็บน้ําชาไดตามปริมาตรท่ีตองการ

1. พวยกาท่ีดึงจากกาน้ําชาท่ีขึ้นรูปดวยแปนหมุน มีลักษณะการข้ึนรูปเปนทรงกรวย เม่ือเนื้อดินเร่ิมหมาดแลวจึงนํามาตัด และติดกับตัวกาน้ําชา โดยการข้ึนรูปพวยกานั้นตองคํานึงถึงความเหมาะสมกับตัวกาน้ําชาเปนหลักสําคัญ

ภาพท่ี 7 แสดงลักษณะพวยกาท่ีดึงจากกานํ้าชาท่ีข้ึนรูปดวยแปนหมุน ท่ีมา : [editor,Suzanne J.E. Tourtillott], 500 Teapot Contempory Explorations of a TimelessDesign (New York : Lark Book, 2002), 105.

Page 38: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

22

2. พวยกาท่ีออกแบบเชื่อมตอกับตัวกา มีลักษณะท่ีมีพวยกายืนออกมาจากตัวกา สวนมากจะเปนกาน้ําชาในระบบอุตสาหกรรมท่ีมีการผลิตเปนจํานวนมาก ท่ีข้ึนรูปดวยวิธีการหลอน้ําดิน

ภาพท่ี 8 แสดงลักษณะพวยกาท่ีออกแบบเชือ่มตอกับตัวกา ท่ีมา : [editor,Suzanne J.E. Tourtillott], 500 Teapot Contempory Explorations of a TimelessDesign (New York : Lark Book, 2002), 35.

3. พวยกาท่ีอัด หรือหลอไดจากแมพิมพแลวนํามาตอกับกา เปนลักษณะของพวยท่ีติดอยู

กับตัวกา ข้ึนรูปดวยวิธีการหลอน้ําสลิป ซ่ึงในระบบอุตสาหกรรมใชกันเปนจํานวนมาก

ภาพท่ี 9 แสดงลักษณะพวยกาท่ีอัด หรือหลอไดจากแมพมิพแลวนํามาตอกับกา ท่ีมา : [editor,Suzanne J.E. Tourtillott], 500 Teapot Contempory Explorations of a TimelessDesign (New York : Lark Book, 2002), 345.

Page 39: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

23

การออกแบบกานํ้าชา การออกแบบกาน้ําชาจะตองมีการประสานสัมพันธกันท้ังหมดไมวาจะเปนตัวกาท่ีตอง

สอดคลองกับปริมาตรความจุ ลักษณะพวยกาท่ีสามารถใหน้ําชาไหลผานและตัดน้ําไดขาด ประกอบกับระดับพวยกาท่ีติดต้ังจะตองเก็บระดับน้ําชาไดพอดี ฝากาตองหยิบจับไดสะดวกและไมหลุดลวงจนกระท่ังเทน้ําชาออกจากกาจนหมด มือจับตองประสานกับตัวกาและพวยกาที่สามารถจบัไดถนัดมือ

การออกแบบถวยชา การออกแบบถวยชาเพื่อการดื่มชาโดยเฉพาะน้ันไมมีการสรางข้ึนเทาท่ีหาหลักฐานไดก็

มีการใชถวยขนาดใหญชงชาดื่ม โดยจะดื่มจากถวยนั้นเลย และตอมาเม่ือเห็นวาน้ําชาท่ีดื่มนั้นรสไมออกเต็มท่ี เพราะน้ําท่ีใชในการชงชาเย็นเร็ว จึงมีการคิดภาชนะอ่ืน ๆ มาปดเพ่ือปกกันการเย็นของน้ําชา ดังนั้นความตองการที่จะมีฝาปดถวยชงชาจึงเกิดข้ึน จึงทําการสรางข้ึนตามคตินิยมใหมนี้ จนกระท่ังยุคตอมาเห็นวาการมีฝาปดถวยชงนั้นไมสะดวกจึงมีผูคิดนําถวยยามาตักตวงน้ําชาจากถวยชงเห็นวามีความสะดวกดี ถวยชาขนาดเล็กจึงเกิดข้ึนซ่ึงตรงกับยุคตนราชวงศเหม็ง และในสมัยแรกนั้นเนื่องดวยถวยชาเปนภาชนะขนาดเล็ก ยอมมีความสําคัญนอยกวาเคร่ืองถวยประเภทอ่ืน ๆ จึงทําใหถวยชาท่ีมีความงดงามในสมัยนั้นมีนอยทรวดทรงของถวยชาในยุคระหวาง 200 - 500 ปท่ีผานมานี้ มีทรวดทรงอยูนอยแบบ การท่ีปรากฏมีแบบตาง ๆ อยูในปจจุบันลวนเปนถวยชาท่ีสรางข้ึนภายใน 200 ปท่ีผานมานี้เอง แตจะมีจํานวนเทาไรก็ตามคตินิยมในการสรางถวยชาทุกยุคทุกสมัยมีเหมือน ๆ กัน คือ

1. สรางใหมีทรงคอนขางสูงเปดผิวน้ําชาใหถูกอากาศนอยเพ่ือใหเย็นชา ลักษณะนี้เพื่อมุงหมายใชดื่มในฤดูหนาว

2. รูปทรงคอนขางเต้ียปากผาย ผิวน้ําชาถูกอากาศมาก ชาเย็นไดเร็ว เปนลักษณะของถวยชาท่ีใชในฤดูรอน

การออกแบบหูกาน้ําชา การออกแบบหูกาน้ําชานั้นจะตองใหมีความสัมพันธเหมาะสมกับตัวกาน้ําชา และพวย

กา ซ่ึงการออกแบบท่ีดีจะตองคํานึงถึงลักษณะรูปราง รูปทรง ของตัวกาเปนหลัก รวมท้ังความสะดวกในการหยิบจับ ลักษณะของหูตองไมกวางจนเกินไปพอท่ีจะสอดมือ หรือนิ้วได ท้ังนี้ก็ข้ึนอยูกับลักษณะของการออกแบบของศิลปนผูสรางสรรคผลงาน

Page 40: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

24

การออกแบบกาน้ําชาจะตองมีความประสานสัมพันธกันท้ังหมดไมวาจะเปนตัวกาท่ีตองสอดคลองกับปริมาตรความจุ ลักษณะพวยกาท่ีสามารถใหน้ําชาไหลผานและตัดน้ําไดขาด ประกอบกับระดับพวยกาท่ีติดต้ังจะตองเก็บระดับน้ําท่ีบรรจุไดพอดี ฝากาตองหยิบจับไดสะดวก และไมหลุดลวงเวลาเทน้ําออกจากกาไดจนหมด มือจับตองประสานสัมพันธกับตัวกาและพวยกา ท่ีสามารถจับไดถนัดมือ 2. แนวความคิดในการออกแบบชุดกาน้ําชา

การศึกษาเร่ืองการออกแบบชุดกานํ้าชาในคร้ังนี้ผูวิจัยเนนถึงคุณคาความงามและความรูสึกของการเคล่ือนไหว โดยนําลักษณะรูปราง รูปทรง เสนสาย และพ้ืนผิว ของความเปนธรรมชาติท่ีเกิดจากเทคนิคการปนดวยแปนหมุนประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ ใหมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑชุดกาน้ําชาผูวิจัยไดแบงแนวความคิดในการศึกษา ดังนี้

2.1 ความรูสึกเคล่ือนไหวท่ีเกิดจากเสน 2.2 ลักษณะความงามและความเคล่ือนไหวท่ีเกิดจากความเปนธรรมชาติของแปนหมุน

2.1 ความรูสึกเคลื่อนไหวท่ีเกิดจากเสน (ชลูด นิ่มเสมอ 2534 : 35) ตามหลักฐานทางประวัติศาสตรบงวา งานทัศนศิลปช้ินแรก ๆ ของมนุษยนั้นเร่ิมจาก

เสน ดังท่ีเราเห็นไดจากภาพเขียนตามผนังถํ้าของคนสมัยดั้งเดิม (Primitive) การเร่ิมตนของงานศิลปะในวัยเด็กก็ใชเสนเชนเดียวกัน เสนเปนทัศนธาตุท่ีแสดงแกนแทของทุกส่ิงไดอยางเขมแข็งและยนยอท่ีสุดคําจํากัดความของเสน

2.1.1 เสนเกิดจากจุดท่ีตอเนื่องกันในทางยาว หรือเกิดจากรองรอยของจุดท่ีถูกแรงแรงหนึ่งผลักดันใหเคล่ือนท่ีไป

2.1.2 เสนเปนขอบเขตของท่ีวาง ขอบเขตของส่ิงของ ขอบเขตของรูปทรง ขอบเขตของน้ําหนัก และขอบเขตของสี

Page 41: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

25

คุณลักษณะของเสน เสนมีมิติเดียว คือ ความยาว มีลักษณะตาง ๆ มิทิศทาง และมีขนาด ลักษณะตาง ๆ ของ

เสน ไดแก ตรง โคง คด เปนคล่ืน ฟนปลา เกล็ดปลา กนหอยชัด พรา ประ ฯลฯ ทิศทางของเสน ไดแก แนวราบ แนวด่ิง แนวเฉียง แนวลึก ขนาดของเสน เสนไมมีความกวาง มีแตเสนหนา เสนบาง หรือเสนใหญ เสนเล็ก ความหนาของเสนจะตองพิจารณาเปรียบเทียบกับความยาวถาเสนส้ันแตมีความหนามากจะหมดคุณลักษณะของความเปนเสนกลายเปนรูปราง (Shape) ส่ีเหล่ียมผืนผาไป

ภาพที่ 10 แสดงลักษณะของเสนแบบตาง ๆ ท่ีมา : ชลูด นิ่มเสมอ, องศประกอบของศิลปะ (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิชโอเดียนสโตร, 2546), 34.

ความรูสึกท่ีเกิดจากลักษณะของเสน 1. เสนตรงใหความรูสึกแข็งแรง แนนอน ตรง เขม ไมประนีประนอม 2. เสนโคงนอย ๆ หรือเสนท่ีเปนคล่ืนนอย ๆ ใหความรูสึกสบาย เปล่ียนแปลงได เล่ือน

ไหล ตอเนื่อง มีความกลมกลืนในการเปล่ียนทิศทาง ความเคล่ือนไหวชา ๆ สุภาพ เปนผูหญิง นุม และอ่ิมเอิบ ถาใชเสนแบบนี้มากเกินไปจะทําใหความรูสึกกังวล เร่ือยเฉ่ือย ขาดจุดหมาย

3. เสนโคงวงแคบ เปล่ียนทิศทางรวดเร็ว มีพลังเคล่ือนไหวรุนแรง

Page 42: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

26

4. เสนโคงของวงกลมการเปล่ียนทิศทางท่ีตายตัว ไมมีการเปล่ียนแปลง ใหความรูสึกเปนเร่ืองซํ้า ๆ เปนเสนโคงท่ีมีระเบียบมากท่ีสุด แตจืดชืดท่ีสุด ไมนาสนใจ เพราะขาดการเปล่ียนแปร

5. เสนฟนปลาหรือเสนคดท่ีหักเหโดยกะทันหัน เปล่ียนทิศทางรวดเร็วมาก ทําใหประสาทกระตุก ใหจังหวะกระแทก เกร็ง ทําใหนึกถึงพลังไฟฟา ฟาผา กิจกรรมที่ขัดแยง ความรุนแรง และสงคราม

6. เสนโคงกนหอย ใหความรูสึกเคลื่อนไหว คล่ีคลาย และเติบโตเม่ือมองจากดานในออกมา ถามองจากภายนอกเขาไปจะใหความรูสึกไมส้ินสุดของพลังเคล่ือนไหว เสนกนหอยท่ีพบในธรรมชาติมักจะวนทวนเข็มนาฬิกาเห็นไดในกนหอย ในหมอกเพลิง ในอาการเกี่ยวพันไมเล้ือย เปนเสนโคงท่ีขยายตัวออกไมมีจุดจบ

ความรูสึกท่ีเกิดจากทิศทางของเสน เสนทุกเสนมีทิศทาง คือ ทางนอน ทางต้ัง หรือทางเฉียง ในแตละทิศทางจะใหความรูสึก

ตอผูดูตางกัน 1. เสนนอน กลมกลืนแรงดึงดูดของโลก ใหความรูสึกพักผอน เงียบ เฉย สงบ ผอน

คลาย ไดแก เสนขอบฟา ทะเล ทุงกวาง คนนอน 2. เสนต้ัง ใหความสมดุล ม่ันคง แข็งแรงพุงข้ึน จริงจัง และเงียบขรึม เปนสัญลักษณของ

ความถูกตอง ซ่ือสัตย มีความสมบูรณในตัว เปนผูดี สงา ทะเยอทะยาน และรุงเรือง 3. เสนเฉียง เปนเสนท่ีอยูระหวางเสนนอนกับเสนต้ัง ใหความรูสึกเคล่ือนไหว ไม

สมบูรณ ไมม่ันคง ตองการเสนเฉียงอีกเสนหนึ่งมาชวยใหม่ันคงสมดุลในรูปของมุมฉาก เสนเฉียงใชมากในงานจิตรกรรมแบบคิวบิสม (Cubism)

4. เสนท่ีเฉียงและโคง ใหความรูสึกขาดระเบียบ ตามยถากรรม ใหความรูสึกพุงเขา หรือพุงออกจากท่ีวาง

2.2 ลักษณะความงามและความเคล่ือนไหวท่ีเกิดจากความเปนธรรมชาติของแปนหมุนเคร่ืองปนดินเผาเปนศิลปะแขนงหนึ่งท่ีผูกพันกับอารยธรรมมนุษยมายาวนานเหมือนศิลปะประเภทอ่ืน ๆ เชน จิตรกรรม ประติมากรรม ดนตรี ฯลฯ ซ่ึงการท่ีจะวัดคุณคาความงามเคร่ืองปนดินเผามีหลักเกณฑในการพิจารณา โดยแบงประเภทเปนหมวดหมู เชน ผลงานท่ีเนนประโยชนการใชสอย (For use) ผลงานท่ีเนนความรูสึกหรือประทับใจ (For Expression) หรือผลงานท่ีแสดงถึงเอกลักษณ

Page 43: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

27

ประจําชาติ (Traditional) การแบงประเภทอยางไรก็ตามท่ี รากฐานท้ังปวงยอมหนีไมพนท่ีจะเกี่ยวของกับความงาม หรือคุณคาอันเปนท่ียอมรับกันเปนสากล ดังนี้

ความงามจากดิน (Clay) เปนท่ีทราบกันดีแลววาเคร่ืองปนดินเผาท่ัวไปนั้น ตองมีเนื้อดินเปนหลักในตัวผลงาน เม่ือทําการปนหรือข้ึนรูปช้ินงาน ผนวกกับการตกแตง การเคลือบ และการเผาแลว คุณคาความงามอันเปนเนื้อแทแหงวัสดุท่ีหลอมรวมกับความคิดสรางสรรคจึงบังเกิด เนื้อดินแตละแหลงมีความแตกตางกัน ท้ังโครงสรางและองคประกอบ เม่ือผานการเผาแลวจะเกิดความแตกตางกันมากมายไมวาจะเปนความหยาบ ความละเอียด ตลอดจนสีของเนื้อดิน ส่ิงเหลานี้เปรียบเสมือนผิวพรรณของแตละบุคคลที่สามารถแยกยอยไดเหลือคณานับ ใครจะช่ืนชอบสีผิวลักษณะไหนก็ข้ึนอยูกับรสนิยมของแตละบุคคล (สาธร ชลชาติภิญโญ 2547 : 147 - 151)

กลาวคือ บางคนอาจจะชมชอบเนื้อดินท่ีขาวเนียน ดูแลวรูสึกสะอาด บางเบา นาถนอม แตบางคนอาจจะชอบภาชนะท่ีสีเขม เนื้อหยาบ สัมผัสแลวไดความรูสึกหนักแนนและทึบตัน ซ่ึงตรงนี้ไมตัดสินลักษณะใดดีกวากัน แตจะขอแนะนําเพียงวาการพินิจพิจารณาเน้ือดินนั้น สามารถดูไดจากสวนท่ีพนจากการปดบังของเคลือบหรือสวนฐานของช้ินงาน ตลอดจนสีผิวท่ีสามารถสังเกตผานเคลือบประเภทเคลือบใส การท่ีไดสังเกตเปรียบเทียบขอแตกตางของเน้ือดินแตละชนิดบอยคร้ังจะทําใหสามารถวิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตาง จนกลายเปนความเขาใจและความซาบซึ้งในความงามจากดินท่ีชอบได มีขอพึงสังเกตวาผลงานท่ีดีนั้น ตองแสดงความเปนธรรมชาติของดินไดอยางเดนชัดไมวาจะเปนรูปทรง สีผิวเพราะดินสามารถเก็บซับรองรอยตาง ๆ ไมวาจะเปนการข้ึนรูป การตกแตงตลอดจนการเผา ไวบนพื้นผิวไดอยางชัดเจน ยากท่ีวัสดุอ่ืน ๆ จะสามารถสะทอนออกมาไดเหมือน นอกจากท่ีกลาวมาแลว ศิลปนบางทานนิยมท่ีจะเลือกใชดินจากแหลงธรรมชาติ มาสรางสรรคผลงานโดยไมผสมกับดินแหลงอ่ืน นัยวาเพ่ือรักษาหรือแสดงเอกลักษณของดินจากแหลงท่ีนํามาใชใหโดดเดนซ่ึงในบานเรายังไมใหความสําคัญในจุดนี้มากนัก

ความงามจากเคลือบและการตกแตง (Glaze &Decoration) ถาเนื้อดินเปรียบเสมือนรางกายเคลือบก็เปรียบเสมือนอาภรณท่ีหอหุม ความบรรเจิดเพริดพรายในสีและลักษณะผิวท่ีหลากหลายของเคลือบ เม่ือผนวกกับการตกแตงตลอดจนการขับเนนจากสีของเนื้อดิน ถาเปนไปอยางเหมาะสมลงตัว ความงามจากเคลือบก็ยิ่งโดดเดน การรับรูความงามจากเคลือบและการตกแตงนั้นเปนส่ิงท่ีทาทาย และดึงดูดความสนใจเพราะบางคร้ังจากผลงานท่ีงดงามภายหลังการเผาก็ชวนใหติดตามวาผลงานน้ันตกแตงดวยเทคนิคใดเหมาะสมและตรงกับจุดมุงหมายหรือไมพื้นผิวท่ีมันวาวเกิดจากเคลือบ โดยเจตนาหรือเกิดจากปฏิกิริยาการเผาแบบธรรมชาติ

Page 44: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

28

ความงามจากการเผา (Firing) กระบวนการของเคร่ืองเคลือบดินเผานั้น ตองอาศัยความรอนหรือการเผาเพื่อแปรเปล่ียนสภาพวัตถุดิบใหสําเร็จเปนผลงาน องคประกอบการเผานั้นตองสอดคลองกับธรรมชาติของดินและเคลือบโดยครอบคลุมถึงระดับของอุณหภูมิ บรรยากาศในการเผารวมถึงตําแหนงการวางชิ้นงานภายในเตาเผาและการท้ิงรองรอยจากการเผา อันเปนการจัดท่ีตองอาศัยประสบการณรวมกับธรรมชาติของความรอนอยางเหมาะสม จึงจะบรรลุถึงเปาหมายแหงความงามไดอยางสมบูรณแบบ ชวงระยะเวลาส้ัน ๆ ณ ระดับแหงอุณหภูมิท่ีสงผลใหเคลือบสุกตัวอยางสมบูรณ จะสงผลใหเคลือบงดงามตามเจตนา ถาอุณหภูมิต่ํากวาจุดท่ีตองการเคลือบก็ไมสมบูรณความงามก็ไมบังเกิดแตกลับกัน ถาอุณหภูมิสูงเกินจุดท่ีตองการ การยุบตัวของดินการไหลของเคลือบท่ีเกินความตองการก็เปนความลมเหลวเชนกัน และปจจุบันมีศิลปนบางทานนิยมเผาผลงานดวยเตาฟน โดยใชเทคนิคการจัดวางผงงานในตําแหนงท่ีจะกระทบกับเปลวไฟ และข้ีเถาเพื่อใหไดรองรอยการเผาใหเกิดความงามจากธรรมชาติการเผาท่ีผสมผสานกับการจัดกระทําแบบ

ภาพท่ี 11 แสดงความงามจากรูปทรง ท่ีมา : Phil Rogers, Ash Glaze, (U.S.A. : Chilton Book Company, 1991), 130.

ความงามจากรูปทรง (Form) เปนท่ียอมรับและเขาใจกันมานานแลววารูปทรงเปน

องคประกอบพื้นฐาน ท่ีมีอิทธิพลตอการออกแบบในหลาย ๆ ดาน อาทิเชน ผลงานในดานสถาปตยกรรม ประติมากรรม และผลิตภัณฑ เ พ่ือประโยชนใชสอยทุกประเภทรวมถึงเคร่ืองปนดินเผาท่ีกําลังกลาวถึงเพราะรูปทรงนั้นเปนเร่ืองเกี่ยวกับวัตถุท้ัง 3 มิติ หมายรวมท้ังเร่ืองของขนาด ปริมาตร สัดสวน สวนโคงเวา หรือเสนรอบ ตลอดจนพื้นราบ และสงผลตอคุณคาของผลงานไดอยางกวางขวางไมเวนแมเรือนรางมนุษย ก็ยังยกเอาเรื่องรูปทรงข้ึนมาเปนเกณฑสําคัญ

Page 45: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

29

เพื่อการวิพากษวิจารณไดอยางไมรูจบ ตามทฤษฎีมีการแบงแยกลักษณะรูปทรงออกเปนหลายประเภทเพื่อใหงายตอความเขาใจ เชน รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงจากธรรมชาติ รูปทรงอิสระ ฯลฯ รูปทรงแตละประเภทจะเปนท่ีมาของการนําไปใชสรางสรรคผลงาน แตท้ังนี้ก็เปนการยากท่ีจะกําหนดลงไปวาผลงานท่ีดีหรือเหมาะสมควรจะเปนรูปทรงในลักษณะใด เพราะพ้ืนฐานความเช่ือความประทับใจ ประกอบกับความคิดสรางสรรคและทักษะฝมือของผูสรางผลงานจะเปนตัวผลักดันใหผลงานเกิดความสมบูรณงดงามหรือโดดเดนไดอยางไรขอบเขต รูปทรงในงานเคร่ืองปนดินเผา สามารถท่ีจะกําหนดหนาท่ีหรือประโยชนใชสอยแลว ยังกอใหเกิดผลตอความรูสึก ในดานสุนทรียะ เม่ือไดช่ืนชมหรือสัมผัส และในทํานองเดียวกัน รูปทรงของภาชนะยังสามารถบงบอกความเปนเอกลักษณในแตละชาติหรือสังคมไดอยางชัดเจน รูปทรงท่ีดี นอกจากจะมีคุณคานานัปการดังกลาวแลว ผลงานท่ีมีรูปทรงโครงสรางท่ีดี ยังเอ้ือประโยชนตอการนําสูการตกแตงไดอยางเปดกวางคลาย ๆ กับคํากลาวในวงการแฟช่ันท่ีวา “หุนดีใสอะไรก็สวย” รูปทรงจึงเปนพื้นฐานเบ้ืองตนท่ีจัดไดวาไมธรรมดาท้ังสําหรับนักออกแบบ ผูผลิต รวมถึงผูบริโภคที่จะตองตัดสินในการเลือกสรร ยามซ้ือหาเพื่อใหไดมาท้ังประโยชนหรือความพึงพอใจ

ความงามจากลักษณะของผิว (Texture) ลักษณะผิว หมายถึง ลักษณะภายนอกของวัตถุท่ีสามารถมองเห็นและสัมผัสได เคร่ืองปนดินเผาทุกประเภทไมวาจะอยูรูปแบบของงานศิลปะ หรือภาชนะเครื่องใชตาง ๆ ลวนมีพื้นผิวของผลงานท่ีตางกันออกไป ความแตกตางของลักษณะผิวอาจจะเกิดข้ึนจากเนื้อดิน หรือ จากลักษณะของเคลือบ ตลอดจนรองรอยจากการข้ึนรูป ท่ีนาสนใจคือ ลักษณะผิวบางประเภทเกิดจากความจงใจสรางข้ึนดวยเทคนิคตาง ๆ เชน การขูดขีด บีบ กด หรือตีดวยวัสดุตางผิวใหเกิดร้ิวรอยข้ึนบนพ้ืนผิว เพราะดินเปนวัสดุท่ีมีธรรมชาติในการเก็บซับรองรอยหรือรายละเอียดไดอยางเดนชัดในหลายสภาวะ อาทิเชน ในสภาวะดินเหนียว สภาวะหมาดตัว หรือขณะแหงแลว ในสภาวะตาง ๆ เหลานี้ สําหรับผูมีประสบการณยอมสามารถท่ีจะสรางลักษณะผิวใหเกิดข้ึนไดในลักษณะตาง ๆ กัน เชน ลักษณะผิวหยาบ ละเอียด เรียบเนียน หรือขรุขระ กอใหเกิดการเนนจากความแตกตางกันของพื้นผิวไดอยางไดอยางชัดเจน หรือกลับกันบางกรณีลักษณะผิวยังสามารถย้ําซํ้าใหเกิดการผสมผสานกลมกลืนของผิวแตละสวนไดอยางแนบเนียน

จากอดีตการออกแบบเคร่ืองปนดินเผาอาจจะมองกันวาลักษณะผิวจะมีคุณคาตออารมณ หรือความรูสึกเปนประเด็นหลัก แตในปจจุบันเปนท่ียอมรับกันวาลักษณะผิวยังมีผลตอหนาท่ีใชสอยอยางกวางขวาง อาทิเชน การทําผิวกระเบ้ืองพื้นใหมีความหยาบในระดับหนึ่งเพื่อปองกันความล่ืน หรือการทําผิวสุขภัณฑใหเรียบมัน เพ่ืองายตอการทําความสะอาด ซ่ึงแตละระดับของความแตกตางของผิวจะสงผลตอหนาท่ีไดอยางหลากหลายตามวัตถุประสงคและดังท่ีกลาวแลวในเบ้ืองตนวาลักษณะผิวนั้นสามารถรับรูไดดวยการมองเห็นและสัมผัส ฉะนั้นการเลือกใชหรือช่ืน

Page 46: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

30

ชมผลงานเคร่ืองปนดินเผาจึงตองคํานึงถึงลักษณะผิวอยูเสมอ เพราะสัมผัสใด ๆ ถาเปนไดดังใจหวังหรือตรงกับพื้นฐานท่ีช่ืนชอบ หรือเปนสุขไดทุกคร้ังเม่ือยามจับตองหรือใชงาน

ความงามในลักษณะเอกลักษณ (Tradition) สังคมผูคนแตละเช้ือชาติ ลวนมีวัฒนธรรมหรือประเพณีท่ียึดถือสืบทอดกันมากอใหเกิดรูปลักษณ เอกลักษณ หรือคานิยมของแตละเชื้อชาติไดอยางเดนชัด ความเหมือนหรือความแตกตางเหลานี้สามารถบงบอกยอนกลับถึงท่ีมา หรือตนแบบไดวาเปนรูปลักษณของชนเผาใดกอใหเกิดลักษณะ และกลายมาเปนความภาคภูมิใจรวมกันของสมาชิกภายในสังคมได คานิยมเหลานี้สามารถแสดงออกไดท้ังทางศิลปวัตถุ สถาปตยกรรม การแสดง หรือพฤติกรรมในวิถีของการดํารงชีพ หนึ่งในจํานวนนั้นรวมถึงเคร่ืองปนดินเผา ท่ีถือกันวาเปนมรดกทางปญญาของแตละชนชาติ ท่ีสะทอนใหเห็นถึงภูมิปญญา ความสามารถ และระดับของความเปนอยูของผูคนในแตละยุคแตละสมัยไดอยางชัดเจน ซ่ึงมีความแตกตางกันท้ังดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตรและดานอารยธรรม สงผลเกิดความหลากหลายทางคานิยม หรือประเพณีท่ีถายทอดกันมาในผลงานเคร่ืองปนดินเผาซ่ึงผูท่ีศึกษาสังเกตจะสามารถแยกแยะไดอยางชัดเจนวาภาชนะแตละชนิดมีท่ีกําเนิดมาจากแหลงใดหรือชาติใด อาทิเชน ภาชนะพอรสเลน หรือเคร่ืองลายครามสังคมท่ัวไป ก็ตองยอมรับกันวาชาวจีนเปนผูคนพบและสรางสรรคข้ึนจนเปนท่ีแพรหลายท่ัวโลก และในส่ิงท่ียอมรับกันวาดีวาเลิศนั้นแตละสังคมก็ยอมรับไปเปนตนแบบเพื่อศึกษาหรือทําตามตลอดจนมีการดัดแปลงในรายละเอียด เพื่อใหเหมาะสมสอดคลองกับวิถีชีวิตของแตละชาติ แตละสังคมใหเหมาะกลมกลืนยิ่งข้ึน ตัวอยางเขน ภาชนะตกแตงดวยสีน้ําเงินขาว (Blue & White) ท่ีผลิตกันในภาคพ้ืนยุโรปในรูปทรงภาชนะแบบยุโรปรวมถึงลวดลายก็ลวนเกิดจากตนแบบของผลงานท่ีเราเรียกวางานลายครามจากจีนเปนตน

ความงามในลักษณะเอกลักษณสามารถแสดงออกใหรับรูไดตั้งแตธรรมชาติของดิน เคลือบ การตกแตงรูปทรง ลวดลาย เทคนิคตาง ๆ ตลอดจนการเผาและรายละเอียดปลีกยอย แมกระท่ังตราประทับ หรือลายเซ็น การยอมรับ การเรียนรู หรือพัฒนาและการผลิต จึงตองศึกษาใหเขาใจอยางถองแท จึงจะสามารถนําเสนอหรือสรางสรรคงานใหเกิดเอกลักษณข้ึนไดตามสภาพแหงความจริง

ความงามจากการสัมผัส (Tactile Quality) เคร่ืองปนดินเผาจัดเปนศิลปะแขนงหนึ่ง โดยท่ัวไปเม่ือเรากลาวถึงผลงานทางศิลปะท่ีอยูในรูปวัตถุ สวนใหญจะคิดถึงการรับรูถึงคุณคาของผลงานในแงมุมจากการมองเห็น หรือทัศนศิลป ความเขาใจหรือความรูสึกเชนนี้ ก็รวมไปถึงผลงานเคร่ืองปนดินเผาเขาไปดวยโดยปริยาย โดยลืมนึกถึงการสัมผัส อันเปนชองทางการรับรูจากการสัมผัสทางผิวกาย ไมวาจากมือ เทา ริมฝปาก หรือทางประสาทสัมผัสท้ังหลาย และการรับรูจากการสัมผัสสามารถส่ือไดถึงความนุมนวล ความแข็ง ความระเอียด ความหยาบ ความช้ืนแฉะ ความแหง

Page 47: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

31

การเรียนรูจากการสัมผัสเหลานี้กอให เกิดความรูสึกในแตละสภาวะไดอยางหลากหลายและจากนั้นประสบการณ ความเคยชิน หรือรสนิยมของแตละบุคคลจะบงบอกกับตัวเราเองวาดี หรือไมดี ชอบหรือไมชอบ ถารูสึกวาดีหรือชอบก็เปนสุข เม่ือยามสัมผัสโดยปริยาย ความรูสึกจากการสัมผัสนั้นเกิดข้ึนไดท้ังหมด ไมวาจากธรรมชาติรอบตัวหรือส่ิงท่ีสรางสรรคข้ึนโดยนํ้ามือมนุษย และโดยสากลก็เปนท่ียอมรับกันท่ัวไปวา ความรูสึกจากการสัมผัสนั้นเปนความงามอีกประเด็นหนึ่ง ซ่ึงสอดประสานไปกับการรับรูทางอ่ืนไมวาจะเปนการมองเห็น การไดยิน การไดกล่ิน และการล้ิมรส ไดอยางแนบเนียน

ฉะนั้น ถามีโอกาสไดสัมผัสกับเคร่ืองปนดินเผาแตละประเภท โดยการจับตองดวยมือ หรือการจรดริมฝปากกับขอบภาชนะ ไปจนแมกระท่ังฝาเทาท่ีสัมผัสพื้นผิวจากผลิตภัณฑประเภทกระเบ้ืองก็ดี ถาพื้นผิวเปนส่ิงท่ีสัมผัส ตอบสนองความรูสึกของทานไดอยางเหมาะสมลงตัวก็จะเกิดความพึงพอใจหรือเปนสุข นั่นหมายความวาผลงานนั้นมีคุณคาตอการสัมผัสของทาน และตัวทานเองก็จะเปนอีกผูหนึ่งท่ีรูซ้ึงในความงามในจุดนี้

ความงาม ณ พื้นท่ีรอบฐาน (The beauty of area around the base) เคร่ืองปนดินเผามิไดมีขอบเขตอยูเพียงภาชนะใชสอยหรือวัสดุกอสราง ศิลปนหลายทานท่ีมีความรูความเขาใจในวัสดุและกระบวนการผลิตอยางลึกซ้ึง นิยมท่ีจะใชดินเปนส่ือในการสรางสรรคผลงานประเภทประติมากรรมและเม่ือขอบขายของผลงานครอบคลุมไปถึงประติมากรรมความงามจากบริเวณวางรอบฐานของผลงาน จึงเปนอีกประเด็นหนึ่งท่ีตองคํานึงเพราะพื้นท่ีวางเหลานี้สามารถสรางความรูสึกจากความสัมพันธระหวางวัตถุกับบริเวณวางโดยรอบไดตามจินตนาการของแตละบุคคลท่ีมีโอกาสไดช่ืนชม

ความงามจากรองรอยแหงทักษะ (Skill) มีผลงานบางช้ินท่ีผูสรางเจตนาท้ิงรองรอยไวอยางจงใจ อาทิเชน รอยมือจากการขึ้นรูปดวนแปนหมุน รอยตัดผลงานดวยเชือกท่ีบาดลึกไปในฐานช้ินงาน หรือรอยยนบนผิวดินท่ีเกิดจากแรงการข้ึนรูป ฯลฯ เหลานี้เปนรองรอยแหงทักษะในการข้ึนรูป และการสรางสรรค บางกรณีอาจจะเปนรองรอยท่ีตองอาศัยธรรมชาติรวมสรางสรรคดวย เชน รอยเปลวไฟ และเถาธรรมชาติท่ีลามเลียติดอยูบนพื้นผิว ผสมกับการปดบังในบางตําแหนงเพื่อขับเนนใหเดนชัด รองรอยท่ีปรากฏลงบนผลงานเหลานี้ ถาผูชมไมพิจารณาใหละเอียด ก็จะคิดวาเกิดข้ึนเพราะความบังเอิญหรือไมไดเจตนา แตถาพิจารณาใหลึกซ้ึงแลว จะพบวาศิลปนหลาย ๆ ทานเจตนาท้ิงรองรอยเหลานี้ไว เพราะนอกจากจะแสดงใหเห็นถึงทักษะท่ีสูงสงแลว ยังหมายถึงความคิดสรางสรรคท่ียอดเยี่ยม และการแสดงออกถึงความเปนตัวตน หรือลักษณะเฉพาะตนไดอีกดวย เพราะผลงานบางชิ้นถึงแมจะไมมีรองรอยประทับ หรือลายเซ็นเราก็ยังสามารถแยกแยะไดวาเปนของใคร โดยอาศัยรองรอยแหงทักษะเหลานี้นั้นเอง

Page 48: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

32

ความงามจากสมดุล (Balance) ปกติเม่ือกลาวถึงความสมดุล บุคคลทั่วไปก็มักจะคิดถึงหลักการจัดองคประกอบศิลปในแงของภาพหรือน้ําหนักตามท่ีเห็นแตสมดุลในประเด็น ท่ีเรากําลังกลาวถึงในงานเครื่องปนดินเผานั้น มีรายละเอียดท่ีซับซอนและลุมลึกลงไปอีกมากมาย เพราะเม่ือเราเร่ิมตนพิจารณาเคร่ืองปนดินเผาใด ๆ ก็ตาม แมช้ินงานภายนอกจะดูวามีสัดสวนท่ีเหมาะสมกลมกลืน หรือมีสีผิวลวดลายท่ีเราความสนใจเปนอยางยิ่งก็ตาม เรายังคงสรุปหรือตัดสินใจไปในทันทีไมได เพราะเราตองพิจารณาอยางต้ังใจ หรืออยูในสมาธิเพื่อใหเกิดการรับรูถึงสมดุลในงาน นอกจากสัดสวนแลวยังตองพินิจใหชัดเจนถึงความหนาบาง สวนโคงหรือรูปทรงไปตลอดจนสีผิว ทุกพื้นท่ีท่ีปรากฏใหเห็นรวมไปกระท่ังถึงผิวสัมผัสท่ีจะสามารถตอบสนองใหรูไดถึงความประสานกลมกลืนตั้งแตสวนลางสุด ดานขาง ขอบปาก และสวนท่ีเปนลักษณะเดนอ่ืน ๆ จากนั้นก็ตองจับความรูสึกที่มีตอเนื้อดิน รองรอยการข้ึนรูปและการตกแตงเคลือบ ตลอดจนการเผาเปนจุดแปรผันวาทุกส่ิงทุกอยางลงตัวอยางสมบูรณแบบ หรือไมส่ิงเหลานี้ถาขาดหรือเกินลวนแลวแตจะทําใหความสมดุลบกพรองไปทันที

จากการศึกษาถึงลักษณะความงามจากความเปนธรรมชาติของแปนหมุนจะตองคํานึงถึงลักษณะความงามของดิน ความงามจากรูปทรง และความงามจากการเผา เพราะการทํางานจะตองมีความประสานสัมพันธกัน คือดินมีสีผิวท่ีเปนธรรมชาติ รูปทรงท่ีมีความเหมาะสมลงตัว เคลือบและการเผาท่ีมีองคประกอบท่ีสอดคลองกัน จึงจะบรรลุเปาหมายแหงความงามไดอยางสมบูรณ 3. ขอมูลท่ีเก่ียวของวัตถุดิบและกรรมวิธีการผลิต

วัตถุดิบและกรรมวิธีการผลิต ท่ีเกี่ยวของกับงานวิจัยคร้ังนี้ สามารถแยกเปนหัวขอตาง ๆ ดังนี้

3.1 วัตถุดิบท่ีใชในการผลิต 3.2 กรรมวิธีท่ีใชในการผลิต

3.1 วัตถุดิบท่ีใชในการผลิต วัตถุดิบท่ีใชในการผลิต ไดแบงออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้

3.1.1 เนื้อดิน 3.1.2 น้ําเคลือบ

Page 49: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

33

3.1.1 เนื้อดิน ในการผลิตชุดกาน้ําชานี้ตองการเนื้อดินท่ีมีความแข็งแกรง ทนทาน ดูดซึมน้ํานอย โกงตัวนอย มีสีน้ําตาลท่ีแสดงถึงความเปนธรรมชาติ และมีความเหนียวสามารถข้ึนรูปดวยแปนหมุนได จึงไดนําเนื้อดินเอิรทเทนแวรในตําบลบานแกง อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค มาพัฒนาคุณภาพเพื่อใหไดคุณสมบัติตามท่ีตองการ แหลงดินดังกลาวนี้ เปนแหลงดินท่ีใชผลิตหัตถกรรมเคร่ืองปนดินเผาโดยไมมีการเคลือบของหมูบานแกง หรือบานมอญ อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค มีคุณสมบัติคือมีลักษณะสีน้ําตาลอมสม แตมีการดูดซึมน้ําสูง มีความแข็งแกรงนอย เผาไดในอุณหภูมิต่ํา จึงไมสามารถเคลือบได จําเปนท่ีตองมีการพัฒนา และปรับปรุงคุณภาพเนื้อดิน โดยการผสมวัตถุดิบท่ีชวยใหเนื้อดินมีความทนไฟสามารถเผาไดในอุณหภูมิสูง วัตถุดิบท่ีใชในการทดลองเน้ือดินมีคุณสมบัติ ดังน้ี

3.1.1.1 ดินเอิรทเทนแวร (Earthenware) อําเภอบานมอญ เปนดินทองถ่ินท่ีจัดอยูในดินเอิรทเทนแวร เปนดินท่ีเผาในอุณหภูมิ ประมาณ 800 – 1,150 องศาเซลเซียส ลักษณะการข้ึนรูปดวยแปนหมุนคอนขางหนา เนื้อดินมีความพรุนตัวสูง ไมสามารถเผาในอุณหภูมิสูงได มีการดูดซึมน้ําไดสูงถึง 10 -15 เปอรเซ็นต เวลาเคาะไมมีเสียงดังกังวาน เนื้อดินมีความแข็งแรงนอย และ เนื้อดินมีลักษณะทึบแสง สีเนื้อดินเปนสีแดงอิฐ สีน้ําตาล หรือสีครีมหลังเผา (ไพจิตร อ่ิงศิริวัฒน 2541 : 59) เนื้อดินเอิรทเทนแวรท่ี ไดนํามาจากตําบลบานแกง จังหวัดนครสวรรค เปนแหลงดินท่ีใชในการผลิตหัตถกรรมเคร่ืองปนดินเผาท่ีไมมีการเคลือบ ของหมูบานแกง จังหวัดนครสวรรค ซ่ึงมีสภาพทางธรณีวิทยาเปนดินท่ีราบลุม และเปนบึงเกา ซ่ึงชาวมอญไดอพยพมาจากหมูบานเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มาพบแหลงดินเหนียวบริเวณตําบลบานแกง ซ่ึงมีคุณสมบัติเหมาะสมในการปนโองมาก ตอมาจึงไดใชทําเปนผลิตภัณฑประเภทอ่ืน ๆ มากมาย อยางเชน กระถางตนไม แจกัน โคมไฟ อางบัว และของตกแตงอ่ืน ๆ การนําดินเหนียวมาใชจะตองมีการเปดหนาดินประมาณ 25 เซนติเมตร ในฤดูแลงจะตองมีการขุดดินมากองไวกอน เพราะถาเปนฤดูฝนน้ําจะทวมไมสามารถนําดินข้ึนมาใชได ลักษณะสีของเนื้อดินกอนเผาจะเปนสีน้ําตาลอมดํา มีทรายผสม รวมท้ังเศษวัชพืชตาง ๆ

ภาพท่ี 12 แสดงแหลงดินบานมอญ

Page 50: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

34

ดวยคุณสมบัติของดินบานมอญดังกลาวขางตน ผูวิจัยจึงมีแนวความคิดวาจะนําเนื้อดินมาพัฒนาไดให มีคุณสมบัติ ท่ี เผาไดสูงข้ึน รวมท้ังเปนการเพ่ิมมูลคาใหกับดิน และสรางลักษณะเฉพาะใหกับผลิตภัณฑไดอีกดวย

3.1.1.2 ดินขาวลําปาง (Kaolin) ดินขาว เปนดินขาวท่ีเกิดจากการผุพังสลายตัวของแรเฟลดสปาร ท่ีสลายตัวยังไมคอยสมบูรณ ทําใหมีปริมาณของหินแข็งปะปนอยูมาก แตสามารถข้ึนรูปทรงไดโดยไมตองผสมกับวัตถุดิบชนิดอ่ืน เชน ดินท่ีไดจากเขาปางคา อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง ลางและกรองผานตะแกรงรอนละเอียดขนาด 325 เมซ ทนไฟไมเกิน 1,250 ถึง 1,300 องศาเซลเซียส มีคุณสมบัติชวยลดความเหนียวของเนื้อดินประเภทอื่น ใชผสมในเนื้อดินเพื่อชวยใหมีความทนไฟไดสูงข้ึน นิยมใชเปนสวนผสมของเนื้อดินประเภทอื่น ๆ ผลวิเคราะหทางเคมีของดินขาวลําปาง มีดังนี้ ตารางท่ี 1 ผลการวิเคราะหทางเคมีของดินขาวลําปาง L.O.I. (%)

SiO2 (%)

Al2O3

(%) Fe2O3 (%)

TiO2 (%)

MgO (%)

CaO (%)

Na2O3 (%)

K2O (%)

รวม

5.4 59.7 27.6 0.8 0.1 0.3 0.1 0.2 5.9 100

ท่ีมา : ไพจิตร อ่ิงศิริวัฒน, เนื้อดินเซรามิก (กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2537), 45.

จากขอมูลดังกลาว แสดงวาดินขาวเปนวัตถุดิบท่ีไมมีความเหนียว ทนไฟไดสูง สามารถ

ใชผสมกับดินบานมอญเพ่ือชวยในการเผา การหดตัว และเสริมโครงสรางใหดินบานมอญได ซ่ึงเปนเหตุผลใหผูวิจัยเลือกใชดินขาวมาเปนสวนผสมในการวิจัยคร้ังนี้

3.1.1.3 ซิลิกา (Silica) ซิลิกาเปนสารประกอบระหวางซิลิกอน (Silicon) กับออกซิเจน (Oxygen) เม่ือนําซิลิกาไปใชเปนสวนผสมของผลิตภัณฑจะทําใหผลิตภัณฑมีความแข็งแรง ทําหนาท่ีเปนโครงสรางเปรียบประดุจโครงกระดูกปองกันการบิดเบ้ียวของผลิตภัณฑไดดี การเพิ่มซิลิกาเขาไปในเนื้อดินถาปริมาณมากจะทําใหเนื้อดินขยายตัวมากกวาเคลือบ จะทําใหเคลือบรานตัว ซิลิกามีสูตรทางเคมี คือ SiO2 ซิลิกาบริสุทธ์ิ จะมีจุดหลอมละลายท่ี 1,728 องศาเซลเซียส ความถวงจําเพาะ 2.65 ความแข็ง 7 โมหสเกล (Mohs, scale) ซิลิกาใชเปนสวนผสมของเนื้อดินในการทําผลิตภัณฑเคร่ืองปนดินเผาปริมาณ รอยละ 10 – 30 สารที่ใหซิลิกา ไดแก ควอตซ (Quartz) หินเข้ียวหนุมาน ทราย (Sand) กรวด (Granite) และหินทราย (Sand Stone) (ไพจิตร

Page 51: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

35

อ่ิงศิริวัฒน 2541 : 76 - 78) ดังนั้นจึงซิลิกาเปนวัตถุดิบท่ีชวยเสริมโครงสรางใหกับเนื้อดินใหแข็งแรง ปองกันการบิดเบ้ียวจากการเผาในอุณหภูมิสูง ท่ีชวยพัฒนาดินใหสามารถเผาไดในอุณหภูมิท่ีสูงขึ้นไดผูวิจัยจึงไดเลือกใชซิลิกาเปนวัตถุดิบอีกตัวหนึ่งในการผสมเน้ือดินปน

3.1.2 น้ําเคลือบ งานวิจัยนี้ตองการน้ําเคลือบท่ีมีลักษณะของความเปนธรรมชาติ และสีโทนนํ้าตาล จึงไดทําการพัฒนาสูตรเคลือบโดยการใชวัตถุดิบ 3 ชนิด คือ ข้ีเถาไม ดินขาว และโปแตสเฟลดสปาร เผาท่ีอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส ซ่ึงเปนสูตรท่ีบอกสวนผสมเปนน้ําหนักรอยละโดยนํามาพัฒนาเพื่อใหไดลักษณะเคลือบตามความเหมาะสมของรูปแบบ เผาท่ีอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส บรรยากาศรีดักชัน (RF.) วัตถุดิบท่ีใชในการทดลองเคลือบ มีดังนี้

3.1.2.1 ขี้เถาไม (Wood Ash) ข้ีเถาไมใชทําเปนเคลือบกันมานานแลวตามประวัติศาสตรของจีน และญ่ีปุน เปนเคลือบท่ีเผาในอุณหภูมิสูงชนิดแรกท่ีมนุษยรูจักทําข้ึน และยังคงนิยมใชตอมาถึงยุคปจจุบัน แตในขณะท่ีข้ีเถาจากไมตาง ๆ นับวันจะหาไดยากและราคาแพง เคลือบข้ีเถาไมนิยมใชเคลือบงานเครื่องปนดินเผาท่ีเปนศิลปะพ้ืนบานซ่ึงยังนิยมใชกันอยางแพรหลายในประเทศญ่ีปุน เชน ผลิตภัณฑบีเซน ชิการากิ โตโกนาเม และมัชชิโกะ ในปจจุบันเคลือบข้ีเถาไดนิยมแพรหลาย ไปถึงชางปนอิสระ (Studio Potter) ในออสเตรเลีย อเมริกา และยุโรป

คุณสมบัติของเคลือบขี้ เถา ข้ี เถาจากพืชทุกชนิดมีสวนประกอบของไฮโดรเจน และคารบอน เม่ือถูกเผาไหมหมดไปข้ีเถาจะเหลือเพียงปริมาณเล็กนอยเทานั้น ซ่ึงเปนสวนท่ีทนไฟสารเหลานี้จะคงเหลืออยูในกองข้ีเถาจากพืช ซ่ึงประกอบดวยธาตุ 6 ตัวหลัก ซ่ึงใชในสูตรเคลือบคือ ดางพวกหินปูน แมกนีเซียม โปแทสเฟลดสปาร โซดาเฟลดสปาร ในปริมาณมาก และมีสวนประกอบของอลูมินาและซิลิกาเล็กนอย เคลือบข้ีเถาจึงเผาใหหลอมละลายในอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส ไดงายเนื่องจากมีดางเปนหลัก ท่ีเปนตัวหลอมละลายอยางรุนแรง (ไพจิตร อ่ิงศิริวัฒน 2537: 152 – 153)

3.1.2.2 โปแตสเฟลดสปาร (Potash Feldspar) สูตรทางเคมี คือ (K2O.Al2O3.6SiO2) มักอยูในรูปของผลึก (Crystal) มีสารประกอบสวนใหญเปนโปแตสเซียสอลูมิเนียมซิลิเกต (Potassium Aluminium Silicate) และอาจมีสารประกอบของโซเดียมหรือแคลเซียมปนอยูดวย มีจุดหลอมละลายประมาณ 1,200 – 1,250 องศาเซลเซียส มีคุณสมบัติชวยลดอุณหภูมิการเผา ชวยใหเคลือบมีความมันแวววาว ชวยใหการไหลตัวของเคลือบนอยลง ผิวเคลือบมีความแข็งแกรงทนตอรอยขีดขวน

3.1.2.3 ดินขาวลําปาง (Lampang China Clay) สูตรทางเคมี คือ (Al2O3.2SiO2

.2H2O) มีปริมาณของเหล็กและไทเทเนียมตํ่า ดินดิบสีครีมอมเหลือง เม่ือผสมในเนื้อดินจะมีความทนไฟสูง จุดหลอมละลายประมาณ 1, 500 องศาเซลเซียส (ไพจิตร อ่ิงศิริวัฒน 2541 : 41)

Page 52: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

36

การวิจัยในคร้ังนี้ผูวิจัยไดเลือกใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังโดยศึกษาอัตราสวนผสมระหวางข้ีเถามันสําปะหลัง ซิลิกา และโปแตสเฟลดสปาร เพ่ือนําไปใชในการทดสอบหาสูตรท่ีดีท่ีสุดมาใชในการเคลือบช้ินงาน 3.2 กรรมวิธีท่ีใชในการผลิต

กรรมวิธีท่ีใชในการผลิต สามารถแบงออกเปน 3 หัวขอ ในการดําเนิน ดังนี้ 3.2.1 การข้ึนรูปผลิตภัณฑดวยแปนหมุน 3.2.2 เตาและการเผา 3.2.3 กรรมวิธีการตกแตง

3.2.1 การขึ้นรูปผลิตภัณฑดวยแปนหมุน

การข้ึนรูปดวยแปนหมุนเปนวิธีแรกท่ีมนุษยยุคกอนประวัติศาสตรรูจัก การประดิษฐเคร่ืองมือข้ึนมาใช ในการข้ึนรูปผลิตภัณฑเคร่ืองปนดินเผาแทนการปนดวยมือ เร่ิมตั้งแต 3,000 ปกอนประวัติศาสตร และยังคงใชในการขึ้นรูปในระบบกึ่งอุตสาหกรรมมาจนกระท่ังทุกวันนี้ เพราะสามารถผลิตไดอยางรวดเร็ว โดยชางปนผูชํานาญงาน ชางปนแปนหมุนจะตองฝกฝนโดยใชเวลานาน 3 – 5 ป จนเกิดความชํานาญจึงปนไดรวดเร็ว และปนรูปทรงขนาดใหญได ผูปนจะตองเรียนรูวิธีการเตรียมดิน นวดดินกอนปนใหมีความชื้นพอเหมาะในการนํามาข้ึนรูปดวยแปนหมุน โดยปกติดินท่ีนํามาปนดวยแปนหมุนจะมีน้ําอยูในดิน 22 – 25 % เนื้อดินจะออนนุมกวาดินท่ีปนดวยมือเล็กนอย ดินออนสามารถมวนตัวเขาศูนยกลางแปนหมุนไดงาย เนื้อดินท่ีข้ึนรูปดวยแปนหมุนจะตองเปนดินท่ีมีความเหนียวมาก จึงข้ึนรูปไดงาย สามารถปนเปนรูปทรงตาง ๆ ได ผลิตภัณฑท่ีปนดวยแปนหมุนจะหดตัวมาก เนื่องจากขณะที่ปนมีการเติมน้ําเพื่อชวยในการหลอล่ืน ทําใหเนื้อดินมีอัตราสวนของน้ําในปริมาณมาก การหดตัวจึงเพิ่มมากข้ึนในแตละทองถ่ินลักษณะของแปนหมุนจะแตกตางกันไปบาง และจะแตกตางกันมากข้ึน ถาเปรียบเทียบขามทวีป อยางไรก็ตามงานแปนหมุนจัดเปนงานหัตถกรรมท่ีมีราคาสูง หากผูผลิตมีความปราณีต และมีความเช่ียวชาญสูงการข้ึนรูปดวยแปนหมุนมีข้ันตอนในการขึ้นรูป ดังนี้

3.2.1.1 ทําการนวดดินใหเขากัน และไลฟองอากาศท่ีมีอยูในเนื้อดิน 3.2.1.2 นําดินท่ีผานการนวดจนเน้ือดินไมมีฟองอากาศแลวมาวางไวตรงกลางของ

แปนหมุน

Page 53: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

37

3.2.1.3 ทําการต้ังศูนย หรือปรับใหกอนดินวางตัวอยูตรงกึ่งกลางของแปนหมุน เพื่อปองกันไมใหเกิดการแกวง หรือเหวี่ยงขณะทําการข้ึนรูป

3.2.1.4 เม่ือต้ังศูนยไดแลวจะเร่ิมทําการข้ึนรูป โดยอาศัยทักษะในการข้ึนรูป และใชอุปกรณอ่ืน ๆ ชวยในการขึ้นรูปผลิตภัณฑ

การขึ้นรูปกานํ้าชา มีข้ันตอนในการปฏิบัติ คือ จะตองมีการตั้งศูนยกอน จากนั้นก็เปด

ดินจากจุดศูนยกลาง รีดดินใหมีความหนา – บาง ตามท่ีตองการ จัดแตงรูปทรงตามท่ีไดออกแบบตามแบบราง 2 มิติไว ตรวจสอบความเรียบรอยกนตัดช้ินงานออกจากแปนหมุน

การขูดแตงกน มีข้ันตอนในการปฏิบัติ คือ เม่ือทําข้ึนรูปเสร็จแลว พอช้ินงานแหงหมาด ๆ จึงนํามาทําการขูดแตง โดยการต้ังศูนยบนแปนหมุนตามรูปทรง และความหนา – บางตามท่ีตองการ จากนั้นใชฟองน้ําเช็ดใหเรียบเพื่อความเรียบรอยสวยงาม

การติดชิ้นสวนประกอบของกาน้ําชา มีข้ันตอนในการปฏิบัติ คือ เม่ือทําการข้ึนรูปตัวกา พวยกา ฝากา และถวยชา เสร็จแลวท้ิงไวจนดินเร่ิมหมาด จากนั้นทําการแตงกนกาน้ําชา แตงฝากาใหพอดีกับปากของกา การติดพวยกาจะตองทําการตัดดินท่ีพวยกาออกเพื่อทําการปรับระยะหางระหวางพวยกากับตัวกา รวมท้ังเปนการปรับองศาของพวยกาเพื่อเช็คระดับปริมาตรความจุของน้ํา เม่ือปรับระดับเรียบรอยแลวก็ทําการติดรังผ้ึงสําหรับกรองชาท่ีตัวกา ทาน้ําดินเพื่อเปนตัวประสานระหวางตัวกากับพวยกา ตรวจสอบความเรียบรอยกอนติดหูกาน้ําชา การติดหูกาตองอยูในระดับเสนตรงของพวยกา ปากของกา หูกาน้ําชาและเช่ือมประสานโดยการใชน้ําดิน การติดช้ินสวนตาง ๆ ของกาจะตองกระทําดวยความรวดเร็วและตอเนื่อง เพ่ือใหช้ินสวนตาง ๆ ประสานเปนอันหนึ่งอันเดียวกันกับตัวกาอยางแนบแนน แปนหมุนแบงออกเปน 2 ประเภทคือ

1. แปนหมุนท่ีใชแรงคนเหวี่ยงใชมือใชเทา หรือผูอ่ืนหมุน มักมีหัวแปนขนาดใหญและหนา เพื่อใหมีรอบหมุน ไดนานไมตองหมุนบอย ๆ

2. แปนหมุนท่ีขับเคล่ือนดวยมอเตอรไฟฟาแปนหมุนท่ีใชกําลังขับเคล่ือนแบบตาง ๆ เนื้อดินสําหรับข้ึนรูปดวยแปนหมุนดินเหนียวเกือบทุกชนิดสามารถนํามาข้ึนรูปดวยแปนหมุนได แตควรจะเปนดินท่ีไมมีเศษวัสดุอ่ืนเจือปน เชนหิน หรือรากไม สวนใหญแลวดินซ่ึงเตรียมข้ึนพิเศษเพื่อการข้ึนรูปดวยแปนหมุน ไดผานการหมัก และนวดดินใหมีความช้ืนพอเหมาะตามตองการ เพื่อเพิ่มความเหนียวและสามารถนํามาข้ึนรูปไดงาย เนื้อดินจะตองมีความชื้นพอเหมาะออนนุมไมแข็งมาก เนื้อดินพอรเลน (Porcelain) ข้ึนรูปไดยากกวาดินสโตนแวร (Stoneware)

Page 54: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

38

ระบบการทํางานของแปนหมุนใชดินเหนียวกอนข้ึนรูปบนแปนหมุนท่ีหมุนรอบตัวไปตามรอบความเร็ว ความชํานาญและความสวยงามข้ึนอยูกับฝมือคนปนในการข้ึนรูปใหเปนรูปทรงตาง ๆ เม่ือปนเสร็จแลวตองผ่ึงใหแหงหมาด ๆ พอจับไดไมยุบ แลวนํามาคว่ําแตงกนอีกทีจึงเสร็จสมบูรณ เคร่ืองมือท่ีใชชางปนจะทําข้ึนเองงาย ๆ ท้ังเคร่ืองมือปนและเคร่ืองมือแตงกน การผลิตภาชนะทรงกลมทุกชนิดสามารถทําไดรวดเร็วบนแปนหมุนเหมาะสําหรับการผลิตท่ีเปนอุตสาหกรรมขนาดเล็ก หรือผลิตงานกึ่งหัตถกรรมท่ีตองการแสดงเทคนิคการปนดวยมือ ตลอดจนการปนช้ินงานประเภทศิลปะของชางปนท่ีออกแบบข้ึนเอง เหตุผลท่ีผูวิจัยเลือกการข้ึนรูปดวยแปนหมุน เนื่องจากผูวิจัยมีความตองการผลิตภัณฑท่ีเนนถึงความรูสึกท่ีเคล่ือนไหว ท่ีเกิดจากเทคนิคและวิธีการข้ึนรูปดวยแปนหมุนนํามาประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ และมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑ

การวิจัยในคร้ังนี้ ผูวิจัยเลือกใชวิธีการข้ึนรูปดวยแปนหมุนซ่ึงเปนแปนหมุนไฟฟา เพ่ือสะดวกรวดเร็วตอการผลิตในระยะเวลาท่ีจํากัด

3.2.2 เตาและการเผา เตาเผาท่ีนิยมใชกันในระบบอุตสาหกรรม ซ่ึงแบงตามเช้ือเพลิงมี 2 ชนิด คือ เตาไฟฟา

และเตาแกส แตละชนิดมีการเผาท่ีแตกตางกัน รวมท้ังสีของเคลือบก็จะแตกตางกันดวยซ่ึงจะขอกลาวถึง คุณสมบัติของเตาแตละชนิด ดังนี้

3.2.2.1 เตาไฟฟา (Electric kiln) เปนเตาท่ีใชเช้ือเพลิงจากไฟฟาโดยมีขดลวดนิโครม (Nichrom) หรือ Nickels - Chrom เปนตัวใหความรอน มีตัววัดอุณหภูมิภายในเตาเผาเรียกวา “ไพโรมิเตอร” (Pyrometer) ไมมีปลองระบายควันจึงเผาผลิตภัณฑไดสะอาด เผาไดเฉพาะบรรยากาศแบบสันดาปสมบูรณ (Oxidation) ใหอุณหภูมิไดสมํ่าเสมอควบคุมอุณหภูมิไดสะดวกจึงนิยมใชกันในสถานศึกษา และโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก

3.2.2.2 เตาแกส เปนเตาท่ีใชเช้ือเพลิงจากแกสโดยใชออกซิเจนผสมกับแกสกลายเปนความรอนในการวัดอุณหภูมิโดยใชไพโรมิเตอร (Pyrometer) และโคนวัดอุณหภูมิจะมีการปลอยควันการเผาจะเผาไดท้ังบรรยากาศแบบสันดาปสมบูรณ และการสันดาปไมสมบูรณ การเผาเตาแกส จะใชความชํานาญของผูควบคุมการเผาเปนพิเศษปจจุบันการใชเตาเผาในระบบอุตสาหกรรมจะนิยมเตาแกส เนื่องจากสามารถเผาไดในอุณหภูมิสูง และประหยัดตนทุนในการผลิต จึงเหมาะสมกับการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑเอิรทเทนแวรท่ีตองการเผาในอุณหภูมิสูงเพื่อใหเนื้อดนิมีความแกรง

Page 55: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

39

ภาพท่ี 13 แสดงลักษณะเตาแกส และเตาไฟฟา

Page 56: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

40

การเปล่ียนแปลงในระหวางการเผา การเปล่ียนแปลงในขณะการเผาเขียนเปนแผนภาพได ดังนี้

ภาพท่ี 14 แสดงลักษณะการเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิในระหวางการเผา

1, 200 – 1, 400 Co

ความหนดืของของเหลวลดลง

1, 000 – 1, 200 Co

การผนึกตัวของแรส้ินสุด

800 – 1, 000 Co ซิลิกาเร่ิมแข็งตัว

600 – 800 Co

เกิดการเปล่ียนแปลงของซิลิกาจากอัลฟาเปนเบตา

400 – 600 Co

เกิดการระเหยของน้ําในโมเลกุล

0 – 200 Co

การระเหยของน้ํานอกโมเลกลุ

Page 57: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

41

บรรยากาศในการเผามี 2 แบบ คือ 1. การเผาแบบสันดาปสมบูรณ (Oxidation firing) เปนวิธีการเผาท่ีพยายามใหออกซิเจน

ในบรรยากาศในเตามีมาก นั่นหมายถึงการหมุนเวียนการเผาไหมท่ีดี กาซท่ีเกิดการลุกไหมไดผสมกับอากาศท่ีมีมากเกินพอดี ทําใหไมเหลือกาซในเตาเลย ผลคือกาซจะลุกไหมหมดแตอาจจะใหพลังงานความรอนไมเต็มท่ี เนื่องจากการหมุนเวียนท่ีดีเกินไปของเตา ทําใหความรอนบางสวนถูกถายเทออกจากเตาเร็วเกินกวาท่ีจะถายเทใหกับผลิตภัณฑภายในเตาได การเผาแบบนี้เหมาะสําหรับการเผาดิบเพื่อขจัดส่ิงเจือปนในเนื้อดิน ประเภทสารอินทรีย หรือสารท่ีใหคารบอนไดออกไซด

2. การเผาแบบสันดาปไมสมบูรณ (Reduction Firing) เปนการเผาที่ตรงกันขามกับการเผาแบบสันดาปสมบูรณ คือพยายามใหการหมุนเวียน และการลุกไหมของกาซผิดปกติโดยการปดกั้นชองระบายลม หรือการเพิ่มปริมาณกาซใหไหลเขาสูเตามากเกินไปจนจนทําใหออกซิเจนในเตามีนอยลง เกินกวาท่ีจะทําใหกาซติดไฟไดหมด ทําใหเหลือกาซท่ีไมถูกเผาไหมในเตา ในบรรยากาศเชนนี้จะมีเขมาเกิดข้ึน ในการเผาแบบนี้มีจุดประสงคหลัก เพ่ือฟอกสีของเหล็กออกไซดในเนื้อดินโดยกระบวนการรีดักชัน หลังจากการเผาแลวเนื้อดินจะดูขาวข้ึนมากเมื่อเทียบกับการเผาแบบออกซิเดชันผลิตภัณฑประเภทพอรสเลน จําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองเผาแบบรีดักชัน ขอดอย คือส้ินเปลืองเช้ือเพลิงมาก และควบคุมบรรยากาศในเตาลําบาก ถาบรรยากาศแบบรีดักชัน เกิดข้ึนมากเกินไป ผลิตภัณฑจะเกิดปญหาอยางอ่ืน ๆ เกิดข้ึน เชน เกิดรอยสีดํา เนื่องจากเขมาแทรกลงไปเนื้อผลิตภัณฑ เปนตน กระบวนการในการเผาโดยท่ัวไปมี 2 แบบ คือเผาดิบ และเผาเคลือบ

1. การเผาดิบ (Biscuit firing) ในการเผาผลิตภัณฑเรานิยมท่ีจะเผาคร้ังแรกท่ีเรียกวาเผาดิบ หรือบิสกิต โดยใชอุณหภูมิเผาประมาณ 800 – 900 องศาเซลเซียส ในบรรยากาศออกซิเดชัน เพื่อจุดประสงคหลัก คือ

1.1 เพื่อเพิ่มความพรุนตัวของผลิตภัณฑ หลังการเผาดิบแลวเนื้อผลิตภัณฑจะมีความพรุนตัวสูงข้ึนกวาเดิม เม่ือเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑท่ีไมมีการเผา ทําใหการชุบเคลือบเปนไปไดงาย

1.2 เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของผลิตภัณฑ ทําใหสามารถหยิบ ยก หรือโยกยาย รวมถึงการชุบเคลือบไดงายโดยไมตองกังวลวาจะเกิดการเสียหายกับผลิตภัณฑ

1.3 เพื่อขจัดสารตกคางตาง ๆ ใหหมดไป กอนการเผาเคลือบสารตกคางท่ีมีในเนื้อดิน คือสารอินทรียท่ีปะปนในดินเหนียว ความช้ืนในดิน น้ําท่ีอยูในโมเลกุลของแรธาตุวัตถุดิบท่ีมีการสลายตัวใหกาซ เชนแคลเซียมคารบอเนต เปนตน

Page 58: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

42

ส่ิงตาง ๆ เหลานี้จะสลายตัวหมดไปในชวงอุณหภูมิ 900 องศาเซลเซียส ทําใหเนื้อผลิตภัณฑหลังการเผาดิบ สะอาด เม่ือทําการชุบเคลือบ และการเผาเคลือบจะลดปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนลงไปไดมาก อาทิเชน ปญหารูเข็ม (Pin Hole) อยางไรก็ตามการเผาผลิตภัณฑโดยไมผานการเผาดิบก็เปนส่ิงท่ีเปนไปไดแตตองอยูในความควบคุมอยางระมัดระวัง

2. การเผาเคลือบ (Glaze firing) เปนการเผาช้ินงานในอุณหภูมิสูงจนถึงสุกตัวของเน้ือดิน เพื่อใหเนื้อผลิตภัณฑมีความแกรง ช้ินงานท่ีผานการเผาดิบแลวจะนําไปชุบเคลือบ แลวนําไปเผาเพื่อใหเคลือบหลอมเปนแกวติดแนนอยูบนผิวช้ินงาน การเผาเคลือบท่ีอุณหภูมิ และบรรยากาศแบบใดนั้น ข้ึนอยูกับชนิดของเคลือบ และประเภทของผลิตภัณฑ

วงจรการเผาเตาท่ีอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส (ไพจิตร อ่ิงศิริวัฒน 2537 : 29)

ชวงท่ี 1 อุณหภูมิหอง – 950 องศาเซลเซียส ใชเวลา 5 - 6 ช่ัวโมง ชวงท่ี 2 950 – 1,200 องศาเซลเซียส (RF.) ใชเวลา 3 - 4 ช่ัวโมง หรือ 950 - 1,200 องศาเซลเซียส (RF.) ใชเวลา 4 – 5 ช่ัวโมง

ชวงท่ี 3 เผาแช อุณหภูมิคงท่ี (Soaking) 1,200 องศาเซลเซียส ใชเวลาเผา 15 นาที

งานวิจัยในคร้ังนี้ ผูวิจัยใชเตาแกส และเผาแบบการสันดาปไมสมบูรณ (RF.) อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส เนื่องจากเนื้อดินมีสีท่ีน้ําตาลอมดําซ่ึงเปนสีผิวท่ีตรงตามวัตถุประสงคของผูวิจัย

3.2.3 กรรมวิธีการตกแตง การตกแตงผลิตภัณฑเซรามิกนั้นมีหลายประเภทดวยกันในม่ีนี้จะขอกลาวถึงเฉพาะ

ประเภทท่ีใชในการตกแตงผลิตภัณฑในโครงการวิจัยในคร้ังนี้เปนขอ ๆ ดังนี้ 3.2.3.1 การตกแตงช้ินงานกอนเผา คือการแกไขช้ินงานท่ีไมเรียบรอยหรือการทํา

ใหช้ินงานมีความสมบูรณมากยิ่งข้ึน เพื่อใหช้ินงานมีความเรียบรอย เชนการขูดขีดลวดลาย และการทาดวยน้ําดินสี

3.2.3.2 การตกแตงช้ินงานหลังเผาดิบ คือการตกแตงโดยการชุบเคลือบ การพนเคลือบ เปนตน ซ่ึงผูปฏิบัติงานสามารถตกแตงดวยวิธีไหนก็ไดตามความเหมาะสมของช้ินงาน และรูปแบบของงาน

งานวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยใชวิธีการตกแตงท้ังกอนเผาและหลังเผา โดยกอนเผาใชน้ําดินสีทาตกแตงกอนนําไปเผาดิบ สวนหลังเผามีการตกแตงโดยการใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังในการเคลือบช้ินงาน

Page 59: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

43

บทท่ี 3 วิธีการดําเนินการวิจัย

โครงการออกแบบผลิตภัณฑ “ชุดกาน้ําชา” มีวัตถุประสงคท่ีเนนการข้ึนรูปดวยแปน

หมุนเพื่อแสดงออกถึงความเปนธรรมชาติท่ีเกิดจากรูปราง รูปทรง มาประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ โดยมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑ เพื่อสรางใหเกิดความรูสึกเคล่ือนไหวในงาน ท้ังนี้ผูวิจัยไดแบงวิธีการดําเนินการศึกษา ดังนี้

1. การออกแบบและพัฒนารูปแบบ 2. ทดลองเนื้อดิน 3. ทดลองเคลือบ 4. ทดลองผลิต 5. วิเคราะหผลการศึกษาและการทดลอง 6. สถานท่ี และระยะเวลาในท่ีทําการศึกษาวิจัย

1. การออกแบบและพัฒนารูปแบบ

ข้ันตอนการออกแบบผลิตภัณฑชุดกาน้ําชาเนนการข้ึนรูปดวยแปนหมุน และใชเทคนิคความเปนธรรมชาติของการปนดวยแปนหมุนมีข้ันตอนในการปฏิบัติ ดังนี้

1.1 การศึกษาเก่ียวกับรูปแบบของผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา เปนการศึกษารูปแบบของผลิตภัณฑชุดกานํ้าชาแบบเดิม ๆ เพื่อนํามาเปนแนวทางในการออกแบบ โดยการศึกษาคนควา และรวบรวมจากเอกสาร ตํารา รูปภาพ และแผนซีดี

1.2 การกําหนดแนวความคิดในการสรางสรรคเบ้ืองตน เปนการกําหนดแนวความคิดในการสรางสรรคเบ้ืองตน จากขอมูลท่ีรวบรวมไดมาทําการศึกษารางภาพเปนผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา ลักษณะรางภาพลายเสน 2 มิติ เพื่อออกแบบรูปราง และรูปทรง

1.3 การพัฒนารูปแบบ โดยการนําภาพรางท่ีเปนแนวความคิดสรางสรรคเบ้ืองตนมาพัฒนาองคประกอบของรูปราง รูปทรง และลายเสน โดยการคํานึงถึงกรรมวิธีในการข้ึนรูปโดยกระบวนการผลิตทางเซรามิก และสามารถใชงานไดจริง มีขนาดเทาจริง แลวทําการวิเคราะหความเหมาะสม และความสวยงามตามหลักการออกแบบ เพื่อใหไดรูปแบบผลิตภัณฑท่ีสามารถตอบสนองความตองการดานความงามทางสุนทรียศาสตร และการใชสอย

Page 60: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

44

1.4 การออกแบบ 3 มิติ นําแบบราง 2 มิติ มาทําการข้ึนรูปผลิตภัณฑในลักษณะ 3 มิติ เพื่อศึกษาขนาดสัดสวน ความเหมาะสม และความสวยงามในแงมุมตาง ๆ เพื่อการแกไขปรับปรุง

1.5 การวิเคราะหรูปแบบ เปนการพิจารณาคัดเลือกรูปแบบท่ีมีความเหมาะสมท่ีสุด ตามแนวทางของการออกแบบ เพื่อนําไปทําการทดลองในการผลิต 2. ทดลองเนื้อดิน

2.1 การทดลองเน้ือดินการทดลองเน้ือดินเพื่อใชในการข้ึนรูปดวยแปนหมุน โดยการผสมวัตถุดิบ 3 ชนิด คือ ดินบานมอญ ดินขาวลําปาง และซิลิกา ตามอัตราสวนผสมตามตารางสามเหล่ียมดานเทา ได 28 อัตราสวน เพื่อหาสูตรผสมของดินท่ีดีท่ีสุดนํามาใชข้ึนรูปผลิตภัณฑ ตอไปนี้

ภาพท่ี 15 แสดงตารางสามเหล่ียมดานเทาของอัตราสวนผสมของเน้ือดิน

ดินบานมอญ

ดินขาว ซิลิกา

Page 61: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

45

ตารางท่ี 2 แสดงอัตราสวนผสมของวัตถุดิบเนื้อดินจากตารางสามเหล่ียม

สูตรท่ี ดินบานมอญ ดินขาว ซิลิกา

1 80 10 10

2 75 10 15

3 75 15 10

4 70 10 20

5 70 15 15

6 70 20 10

7 65 10 25

8 65 15 20

9 65 20 15

10 65 25 10

11 60 10 30

12 60 15 25

13 60 20 20

14 60 25 15

15 60 30 10

16 55 10 35

17 55 15 30

18 55 20 25

19 55 25 20

20 55 30 15

.

Page 62: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

46

ตารางท่ี 2 (ตอ)

สูตรท่ี ดินบานมอญ ดินขาว ซิลิกา

21 55 35 10

22 50 10 40

23 50 15 35

24 50 20 30

25 50 25 25

26 50 30 20

27 50 35 15

28 50 40 10

ลําดับข้ันตอนการทดลอง

1. ช่ังวัตถุดิบท้ังสามชนิด คือ ดินเอิรทเทนแวร ดินขาวลําปาง และซิลิกา ตามอัตราสวน จํานวน 36 อัตราสวน ตามตารางท่ี 2 จํานวนอัตราสวนละ 200 กรัม

2. นําสวนผสมของวัตถุดิบท่ีช่ังมาเติมน้ํานวดใหเขากัน และนํามาอัดลงในพิมพแทงทดลอง

3. นําแทงทดลองออกจากพิมพ ท้ิงไวจนแหงกอนนํามาวัดการหดตัว 4. ทดสอบคุณสมบัติกอนเผา คือการหดตัวกอนเผา 5. นําแทงทดลองเขาเตาเผาท่ีอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส เพ่ือทดสอบคุณสมบัติหลัง

เผา คือ การหดตัว การดูดซึมน้ํา การโกงงอ สี และเคลือบ 6. นําผลการทดลองท่ีไดไปวิเคราะหหาคุณสมบัติท่ีเหมาะสมของดินปนแปนหมุน

Page 63: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

47

ซิลิกา

ภาพท่ี 16 แสดงถึงลักษณะของเน้ือดิน เผาที่อุณหภูมิ 1,200 oC (OF.)

สรุปผล การทดลองเนื้อดินแตละอุณหภูมิ จุดท่ีดีท่ีสุด คือ จุดท่ี 9 มีอัตราสวนผสมระหวางดินบานมอญ รอยละ 65 ดินขาว รอยละ 20 และซิลิกา รอยละ 15

ดินขาว

ดินบานมอญ

Page 64: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

48

ภาพท่ี 17 แสดงถึงลักษณะของเน้ือดิน เผาที่อุณหภูมิ 1,200 oC (RF.)

สรุปผล การทดลองเนื้อดินแตละอุณหภูมิ จุดท่ีดีท่ีสุด คือ จุดท่ี 8 มีอัตราสวนผสมระหวางดินบานมอญ รอยละ 65 ดินขาว รอยละ 15 และซิลิกา รอยละ 20

ดินบานมอญ

ดินขาว ซิลิกา

Page 65: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

49

ซิลิกา

ภาพท่ี 18 แสดงถึงลักษณะของเน้ือดิน เผาที่อุณหภูมิ 1,220 oC (OF.)

สรุปผล การทดลองเนื้อดินแตละอุณหภูมิ จุดท่ีดีท่ีสุด คือ จุดท่ี 7 มีอัตราสวนผสม

ระหวางดินบานมอญ รอยละ 65 ดินขาว รอยละ 10 และซิลิกา รอยละ 25

ดินบานมอญ

ดินขาว

Page 66: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

50

ซิลิกา

ภาพท่ี 19 แสดงถึงลักษณะของเน้ือดิน เผาที่อุณหภูมิ 1,220 oC (RF.)

สรุปผล การทดลองเนื้อดินแตละอุณหภูมิ จุดท่ีดีท่ีสุด คือ จุดท่ี 8 มีอัตราสวนผสมระหวางดินบานมอญ รอยละ 65 ดินขาว รอยละ 15 และซิลิกา รอยละ 20

ดินขาว

ดินบานมอญ

Page 67: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

51

A

B C

ดินบานมอญ

ดินขาว ซิลิกา

ภาพท่ี 20 แสดงถึงลักษณะการวิเคราะหเนื้อดิน

บริเวณ A จะมีปริมาณของเน้ือดินบานมอญอยู รอยละ 65 ข้ึนไป ทําใหเนื้อดินมีสีน้ําตาลเขม

บริเวณ B จะมีปริมาณของเน้ือดินบานมอญอยู รอยละ 55 ข้ึนไป ทําใหเนื้อดินมีสีน้ําตาลออน

บริเวณ C จะมีปริมาณของเน้ือดินบานมอญอยู รอยละ 50 ข้ึนไป แตมีปริมาณของดินขาวมากทําใหเนื้อดินมีสีน้ําตาลอมขาว

Page 68: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

52

3. ทดลองเคลือบ การทดลองเคลือบโดยการใชวัตถุดิบสามชนิด คือ ข้ีเถามันสําปะหลัง/ข้ีเถาฟางขาว ดิน

ขาว และหินฟนมา หาอัตราสวนโดยใชทฤษฏีตารางสามเหล่ียมดานเทา ไดจํานวน 36 อัตราสวน ดังนี้

ภาพท่ี 21 แสดงอัตราสวนผสมของเคลือบข้ีเถามันสําปะหลัง/ข้ีเถาฟางขาว

ดินขาว หินฟนมา

ข้ีเถามันสําปะหลัง/ข้ีเถาฟางขาว

Page 69: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

53

ตารางท่ี 3 อัตราสวนผสมของวัตถุดิบเคลือบจากตารางสามเหล่ียม

วัตถุดิบ NO. ขี้เถามันสําปะหลัง/

ขี้เถาฟางขาว ดินขาว หินฟนมา

1 80 10 10 2 70 20 10 3 70 10 20 4 60 30 10 5 60 20 20 6 60 10 30 7 50 40 10 8 50 30 20 9 50 20 30 10 50 10 40 11 40 50 10 12 40 40 20 13 40 30 30 14 40 20 40 15 40 10 50 16 30 60 10 17 30 50 20 18 30 40 30 19 30 30 40 20 30 20 50 21 30 10 60 22 50 70 10 23 20 60 20 24 20 50 30

Page 70: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

54

ตารางท่ี 3 (ตอ)

วัตถุดิบ NO. ขี้เถามันสําปะหลัง

ขี้เถาฟางขาว ดินขาว หินฟนมา

25 20 40 40 26 20 30 50 27 20 20 60 28 20 10 70 29 10 80 10 30 10 70 20 31 10 60 30 32 10 50 40 33 10 10 80 34 10 30 60 35 10 20 70 36 10 10 80

ข้ันตอนการทดลอง 1.1 ช่ังวัตถุดิบตามอัตราสวนผสมของสูตรเคลือบท่ีกําหนด จํานวน 100 กรัม 1.2 ใสโกรงบดเคลือบ เติมน้ําในอัตราสวนผสม ประมาณ 65 ลูกบาศกเซนติเมตร บด

เคลือบ ประมาณ 30 นาที 1.3 นําแผนทดสอบเคลือบ มาชุบน้ําเคลือบดวยวิธีการจุม จํานวน 4 แผน 1.4 นําไปเผาท่ีอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส บรรยากาศออกซิเดชัน และรีดักชัน

อุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียส ท้ังบรรยากาศออกซิเดชัน และรีดักชัน 1.5 นําแผนทดสอบไปวิเคราะหคุณสมบัติของน้ําเคลือบเพื่อเลือกเคลือบท่ีดีท่ีสุด

จากนั้นนํามาพัฒนาสีเคลือบ

Page 71: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

55

ภาพท่ี 22 แสดงถึงลักษณะของเคลือบข้ีเถาฟางขาว เผาท่ีอุณหภูมิ 1,220 oC (RF.)

จากภาพท่ี 22 ลักษณะเคลือบข้ีเถาฟางขาวมีการวิเคราะหลักษณะเคลือบ ดังนี้ สูตรท่ี 1 – 10 ลักษณะของเคลือบมีความมันวาว มีการหลอมตัวดี เนื่องจากอัตราสวน

ผสมของข้ีเถาฟางขาว รอยละ 50 ข้ึนไปทําใหเคลือบหลอมตัวไดดี สูตรท่ี 11 – 21 ลักษณะของเคลือบมีความกึ่งดานกึ่งมัน เนื่องจากมีอัตราสวนผสมของ

ดินขาวอยูในปริมาณ รอยละ 50 สูตรท่ี 22 – 36 ลักษณะของเคลือบมีความดานและมีรอยแตก เนื่องจากมีอัตราสวนผสม

ของดินขาวอยูในปริมาณ รอยละ 70 ข้ึนไป ซ่ึงดินขาวมีความทนไฟสูง

1

2 3

4 5 6

7 8 9 10

11 12 13 14 15

16 17 18 19 20 21

22

29

23

30

24

31

25

32

26

33

27

34

28

35 36

ดินขาว หินฟนมา

ข้ีเถาฟางขาว

Page 72: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

56

ภาพท่ี 23 แสดงถึงลักษณะของเคลือบข้ีเถามันสําปะหลัง เผาท่ีอุณหภูมิ 1,220 oC (RF.)

จากภาพที่ 23 ลักษณะเคลือบข้ีเถาฟางขาวมีการวิเคราะหลักษณะเคลือบ ดังนี้ สูตรท่ี 1 – 10 ลักษณะของเคลือบมีความมันวาว มีการหลอมตัวดี เนื่องจากอัตราสวน

ผสมของข้ีเถามันสําปะหลัง รอยละ 50 ข้ึนไปทําใหเคลือบหลอมตัวไดดี สูตรท่ี 11 – 21 ลักษณะของเคลือบมีความกึ่งดานกึ่งมัน เคลือบมีการหดตัว เนื่องจากมี

อัตราสวนผสมของดินขาวปริมาณ รอยละ 50 สูตรท่ี 22 – 36 ลักษณะของเคลือบมีความดานและมีรอยแตก เนื่องจากมีอัตราสวนผสมของดินขาวอยูในปริมาณ รอยละ 70 ข้ึนไป สวนบริเวณท่ีมีหินฟนมาอยูสูง เคลือบจะกึ่งดานกึ่งมัน

1

2 3

4 5 6

7 8 9 10

11 12 13 14 15

16 17 18 19 20 21

22

29

23

30

24

31

25

32

26

33

27

34

28

35 36

ดินขาว หินฟนมา

ข้ีเถามันสําปะหลัง

Page 73: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

57

ภาพท่ี 24 แสดงถึงลักษณะของเคลือบข้ีเถาฟางขาว เผาท่ีอุณหภูมิ 1,250 oC (RF.)

จากภาพที่ 24 ลักษณะเคลือบข้ีเถาฟางขาวมีการวิเคราะหลักษณะเคลือบ ดังนี้ สูตรท่ี 1 – 10 ลักษณะของเคลือบมีความมันวาว ใส มีการหลอมตัวดี เนื่องจาก

อัตราสวนผสมของข้ีเถามันสําปะหลัง รอยละ 50 ข้ึนไปทําใหเคลือบหลอมตัวไดดี สูตรท่ี 11 – 21 ลักษณะของเคลือบมีความกึ่งดานกึ่งมัน เนื่องจากมีอัตราสวนผสมของ

ดินขาว รอยละ 50 สูตรท่ี 22 – 36 ลักษณะของเคลือบมีความดานและมีรอยแตก เนื่องจากมีอัตราสวนผสมของดินขาวอยูในปริมาณ รอยละ 70 ข้ึนไป สวนบริเวณท่ีมีหินฟนมา เคลือบจะกึ่งดานกึ่งมัน มีฟองอากาศในเคลือบ เนื่องจากมีการหลอมตัวมากเกินไป

1

2 3

4 5 6

7 8 9 10

11 12 13 14 15

16 17 18 19 20 21

22

29

23

30

24

31

25

32

26

33

27

34

28

35 36

ข้ีเถาฟางขาว

ดินขาว หินฟนมา

Page 74: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

58

ภาพท่ี 25 แสดงถึงลักษณะของเคลือบข้ีเถามันสําปะหลัง เผาท่ีอุณหภูมิ 1,250 oC (RF.)

จากภาพที่ 25 ลักษณะเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังมีการวิเคราะหลักษณะเคลือบ ดังนี้ สูตรท่ี 1 – 10 ลักษณะของเคลือบมีความมันวาว ใส มีการหลอมตัวดี เนื่องจาก

อัตราสวนผสมของข้ีเถามันสําปะหลัง รอยละ 50 ข้ึนไปทําใหเคลือบหลอมตัวไดดี สูตรท่ี 11 – 21 ลักษณะของเคลือบมีความกึ่งดานกึ่งมัน มีเนื้อเคลือบ เนื่องจากมีอัตรา

สวนผสมของดินขาว รอยละ 50 สูตรท่ี 22 – 36 ลักษณะของเคลือบมีความดานและมีรอยแตก เนื่องจากมีอัตราสวนผสมของดินขาวอยูในปริมาณ รอยละ 70 ข้ึนไป สวนบริเวณท่ีมีหินฟนมา เคลือบจะกึ่งดานกึ่งมัน มีฟองอากาศในเคลือบ เนื่องจากมีการหลอมตัวมากเกินไป

7 8 9 10

11 12 13 14 15

16 17 18 19 20 21

22

29

23

30

24

31

25

32

26

33

27

34

28

35 36

1

2 3

4 5 6

ข้ีเถามันสําปะหลัง

ดินขาว หินฟนมา

Page 75: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

59

ภาพท่ี 26 แสดงถึงลักษณะของเคลือบข้ีเถาฟางขาว เผาท่ีอุณหภูมิ 1,250 oC (OF.) จากภาพที่ 26 ลักษณะเคลือบข้ีเถาฟางขาวมีการวิเคราะหลักษณะเคลือบ ดังนี้ สูตรท่ี 1 – 6 ลักษณะของเคลือบมีความกึ่งดานกึ่งมัน เนื่องจากอัตราสวนผสมของข้ีเถา

มันสําปะหลัง รอยละ 60 ข้ึนไป สูตรท่ี 7 ลักษณะของเคลือบมีการหดตัว เนื่องจากมีอัตราสวนผสมของดินขาว รอยละ

50 รวมท้ังเนื้อดินกับเคลือบมีการหดไมเทากัน สูตรท่ี 8 – 21 ลักษณะของเคลือบมีความดานและมีเคลือบเดือด เนื่องจากมีอัตรา

สวนผสมของดินขาวอยูในปริมาณ รอยละ 50 ข้ึนไป สวนบริเวณท่ีมีหินฟนมา เคลือบจะกึ่งดานกึ่งมัน มีฟองอากาศในเคลือบ เนื่องจากมีการหลอมตัวมากเกินไป

1

2 3

4 5 6

7 8 9 10

11 12 13 14 15

16 17 18 19 20 21

ข้ีเถามันฟางขาว

ดินขาว หินฟนมา

Page 76: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

60

ภาพท่ี 27 แสดงถึงลักษณะของเคลือบข้ีเถามันสําปะหลัง เผาท่ีอุณหภูมิ 1,250 oC (OF.) จากภาพที่ 27 ลักษณะเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังมีการวิเคราะหลักษณะเคลือบ ดังนี้ สูตรท่ี 1 – 6 ลักษณะของเคลือบมีความกึ่งดานกึ่งมัน เนื่องจากอัตราสวนผสมของข้ีเถา

มันสําปะหลัง รอยละ 60 ข้ึนไป เนื้อดินเปนสีครีมเนื่องจากการเผาแบบสันดาปสมบูรณ สูตรท่ี 7 - 15 ลักษณะของเคลือบดานในสวนท่ีมีดินขาว รอยละ 50 สวนท่ีมีหินฟนมา

รอยละ 40 เนื้อดินกึ่งดานกึ่งมัน สูตรท่ี 15 – 21 ลักษณะของเคลือบเปนเคลือบดานและหดตัวในสูตรท่ี 16, 17 เนื่องจาก

มีอัตราสวนการหดตัวระหวางเนื้อดินและเคลือบไมเทา สวนบริเวณท่ีมีหินฟนมา เคลือบจะกึ่งดานกึ่งมัน

1

2 3

4 5 6

7

16 17 18 19 20 21

8

11 12 13

9

14 15

10

ข้ีเถามันสําปะหลัง

ดินขาว หินฟนมา

Page 77: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

61

ภาพท่ี 28 แสดงการทดลองการทับซอนของเคลือบ

ผูวิจัยไดศึกษาถึงการทับซอนของเคลือบทําใหรูถึงลักษณะของเคลือบ สีสัน และพ้ืนผิวของเคลือบท่ีเกิดข้ึนหลังการเผา เพื่อนําผลที่ไดเปนขอมูลในการนําไปใชเคลือบงานจริงตอไป

ภาพท่ี 29 แสดงการทดลองการไหลตัวของเคลือบ

Page 78: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

62

ผูวิจัยไดทําการทดลองการไหลตัวของเคลือบ พบวาเคลือบสวนใหญไมมีการไหลตัว 2. การทดลองพัฒนาเคลือบ เพื่อปรับปรุงลักษณะของเคลือบใหมีลักษณะกึ่งดานกึ่งมัน

และมีสีออกในโทนสีน้ําตาล โดยการเติมวัตถุดิบใหสีลงในอัตราสวนผสมของเคลือบ การทดลองคร้ังนี้กําหนดอัตราสวนของน้ําเคลือบอยางละ 100 กรัมการทดลองพัฒนาเคลือบ มีข้ันตอนการทดลอง ดังนี้

ตารางท่ี 4 แสดงอัตราสวนผสมของออกไซดใหสี

ขี้เถามันสําปะหลัง

ขี้เถาฟางขาว

วัตถุดิบ

สูตรท่ี 11 สูตรท่ี 15 สูตรท่ี 10 สูตรท่ี 19 Fe2O3 % 5 5 5 5 CuO % 1.5 1.5 1.5 1.5 NiO2 % 4 4 4 4 MnO2 % 4 4 4 4 Cr2O3 % 1.5 1.5 1.5 1.5 CoO % 0.5 0.5 0.5 0.5

4. ทดลองผลิต

4.1 การข้ึนรูปผลิตภัณฑดวยแปนหมุน 4.2 การเผาผลิตภัณฑ 4.3 อุปกรณท่ีใชในการวิจัย

4.1 การขึ้นรูปผลิตภัณฑดวยแปนหมุน

การข้ึนรูปผลิตภัณฑดวยแปนหมุน ตองอาศัยความชํานาญและประสบการณของชางปนมาก ซ่ึงมีข้ันตอนในการข้ึนรูป ดังนี้

4.1.1 เตรียมดินโดยการนวดดินใหเขากันและนวดไลฟองอากาศท่ีมีอยูในเนื้อดินออกใหหมด

4.1.2 นําดินท่ีผานการนวดแลวในปริมาณท่ีพอเหมาะวางไวตรงกลางของแปนหมุนเพื่อทําการจับศูนย หรือต้ังศูนย

Page 79: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

63

4.1.3 ตั้งศูนย หรือปรับใหกอนดินวางตัวอยูตรงก่ึงกลางของแปนหมุน เพ่ือปองกันไมใหเกิดการแกวงหรือเหวี่ยงขณะทําการข้ึนรูป ทําการเปดหนาดินเตรียมการข้ึนรูปตามรูปแบบท่ีกําหนดไว

4.1.4 เม่ือผลิตภัณฑเร่ิมแหงหมาด ๆ แลวก็ทําการแตงกน และตอพวยกา ตอหูใหเรียบรอย

4.1.5 เช็ดตรวจสอบความเรียบรอยของผลิตภัณฑอีกคร้ัง

การตกแตงผลิตภัณฑ มี 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. การตกแตงรูปทรง 1.1 การตกแตงเพ่ือความเรียบรอยของรูปทรง เม่ือมีการข้ึนรูปแลว จะตองมีการตกแตง

กนใหเรียบรอย 1.2 การตอเติมเพ่ือความสมบูรณ นําพวยกา และหูจับมาประกอบโดยการใชน้ําดินเปน

ตัวประสาน และตอเติมขณะช้ินงานมีสภาพหมาด 2. การตกแตงดวยเคลือบ ตกแตงผิวช้ินงานดวยเคลือบ โดยการทาเคลือบดวยพูกัน หรือพน สวนถวยชาจะใช

วิธีการจุมเคลือบ

4.2 การเผาผลิตภัณฑ เม่ือช้ินงานท่ีข้ึนรูปเสร็จแลวมีสภาพแหงสนิท จากน้ันก็นําไปเขาเตาเผาเพื่อทําการเผา

ดิบท่ีอุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส และเผาแกรงท่ีอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส บรรยากาศสันดาปไมสมบูรณ

4.3 อุปกรณท่ีใชในการวิจัย อุปกรณท่ีใชในการเก็บขอมูลสามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ

1. เคร่ืองมือท่ีใชในการทดลอง และปฏิบัติงาน 2. เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 3. เคร่ืองมือท่ีใชในการทดลอง และปฏิบัติงาน 4.โกรงบด 5. เคร่ืองช่ัง 6. ภาชนะใสวัตถุดิบ

Page 80: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

64

7. แปนหมุนไฟฟา 8. ฟองน้ํา 9. เตาแกส 10. ไมบรรทัด ดินสอ ปากกา สมุด 11. แผนปูนปลาสเตอร แผนไม 12. เคร่ืองมือตกแตงแบบตาง ๆ

เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบบันทึกผลการทดลอง โดยใชสําหรับ

บันทึกผลการทดลองตาง ๆ ประกอบดวย 1. แบบบันทึกผลจากการทดสอบคุณสมบัติของเนื้อดินบานมอญ ประกอบดวยผลการ

หดตัวกอนเผา – หลังเผา ผลของสีหลังเผา การดูดซึมน้ํา ลักษณะของเนื้อดิน และพ้ืนผิวของเนื้อดิน 2. กลองถายรูป

5. วิเคราะหผลการศึกษาและการทดลอง

เคลือบท่ีใชเคลือบผลิตภัณฑชุดกาน้ําชาใชเกณฑในการวิเคราะหจากลักษณะท่ีปรากฏบนผิวหนาของเคลือบ แตการวิจัยคร้ังนี้จะทดลองเพื่อใหลักษณะของสีเคลือบเปนความงามแบบธรรมชาติ โดยใชเกณฑการวิเคราะห ดังนี้

5.1 ความใส หรือความทึบของเคลือบตองมีความสม่ําเสมอกัน 5.2 สีของเคลือบเหมาะสมกับสีของเนื้อดิน และการตกแตง 5.3 ลักษณะเคลือบมีความเรียบ เหมาะสมกับเนื้อดิน 5.4 สามารถใชรวมกับผลิตภัณฑไดอยางเหมาะสมลงตัว ตามแนวความคิดในการ

ออกแบบ

6. สถานท่ีและระยะเวลาท่ีทําการศึกษาวิจัย การวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดทําการศึกษาท่ีหองปฏิบัติการเคร่ืองเคลือบดินเผา คณะวิชา

มัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร โดยใชระยะเวลาศึกษาต้ังแตเดือน เมษายน 2551 – มกราคม 2552

Page 81: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

65

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

โครงการออกแบบผลิตภัณฑ “ชุดกานํ้าชา”ไดมีวัตถุประสงคท่ีเนนการข้ึนรูปดวนแปน

หมุนเพื่อแสดงออกถึงความเปนธรรมชาติท่ีเกิดจากรูปราง รูปทรง มาประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ โดยมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑ เพื่อสรางใหเกิดความรูสึกเคล่ือนไหวในงาน ท้ังนี้ผูวิจัยไดผลการวิเคราะหขอมูล ดังนี้

1. การวิเคราะหผลการออกแบบ 2. การวิเคราะหผลการทดลองเคลือบ 3. การวิเคราะหผลการผลิต

1. การวิเคราะหผลการออกแบบ

1.1 การกําหนดแนวความคิดในการสรางสรรคเบ้ืองตนแบบราง 2 มิติ เปนการกําหนดแนวความคิดในการสรางสรรคเบ้ืองตน จากขอมูลท่ีรวบรวมไดมา

ทําการศึกษารางภาพผลิตภัณฑชุดกาน้ําชาออกแบบภาพราง 2 มิติ เพ่ือออกแบบรูปราง และรูปทรงของผลิตภัณฑ โดยการนําเอาลักษณะของรูปทรงเรขาคณิตมาใชในการออกแบบ

Page 82: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

66

ภาพท่ี 30 แสดงลักษณะแบบราง 2 มิติ ชุดท่ี 1 สรุปแบบราง 2 มิติ ชุดท่ี 1 ลักษณะกาน้ําชาเปนทรงกลมจะไดรูปทรงท่ีหลากหลาย การ

ใชหูจับท่ีทําจากทองเหลือง และหวาย ซ่ึงเปนขอดอย เพราะการใชงานไมสะดวกการหยิบจับไมถนัดมือ จึงนําไปสูการพัฒนาแบบรางในชุดท่ี 2 การติดพวยกาต่ําทําใหมีปริมาตรความจุของน้ําชามีนอย

ภาพท่ี 31 แสดงลักษณะแบบราง 2 มิติ ชุดท่ี 2

Page 83: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

67

สรุปแบบราง 2 มิติ ชุดท่ี 2 ลักษณะกาน้ําชายังเปนทรงกลมแตไดทําการปรับเปล่ียนหูกา โดยการใชดินมาทําเปนหู เพื่อการจับท่ีถนัดมือ แบบรางการติดตําแหนงของพวยกาสูงทําใหมีปริมาตรความจุของน้ําชาไดมาก

การออกแบบราง 3 มิติ ครั้งท่ี 1

การออกแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ตองมีการออกแบบท้ังรูปราง และรูปทรง รวมท้ังเคลือบท่ีจะนํามาสรางสรรคบนผิวของภาชนะ รูปทรงท่ีดีจะตองสามารถข้ึนรูปได การออกแบบตองเหมาะตอการใชงาน ขนาดพวยกา หูกา ตองมีความประสานสัมพันธกับตัวกา

ภาพท่ี 32 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ชุดท่ี 1

แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ขอเสีย คือลักษณะของพวยกายาวเกินไป หูจับมีขนาดใหญเกินไปไมเหมาะสมกับตัวกาน้ําชา ระดับพวยกาตํ่าทําใหปริมาณความจุของนํ้าชานอยเกินไป

Page 84: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

68

ภาพท่ี 33 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ชุดท่ี 2 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ขอเสีย คือลักษณะของพวยกาใหญเกินไป หูจับมี

ขนาดไมเหมาะสมกับตัว ปริมาตรความจุของกาเล็กเกินไป

ภาพท่ี 34 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ชุดท่ี 3 ลักษณะของกาน้ําชาในชุดท่ี 3 พวยกามีขนาดใหญเกินไป ฝากาปดไมสนิท หูกามีขนาด

ไมเหมาะสมกับตัวกา ขนาดถวยชาใหญเกินไป เม่ือเทียบกับขนาดของตัวกา

Page 85: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

69

ภาพท่ี 35 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ชุดท่ี 4 ลักษณะของกาน้ําชาในชุดท่ี 4 พวยกาและหูกามีขนาดใหญไมเหมาะสมกับตัวกา ขนาด

ของกามีปริมาตรความจุนอย ฝามีขนาดท่ีใหญไมม่ันคง ระดับพวยกาตํ่าเกินไป

ภาพท่ี 36 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 1 ชุดท่ี 5 ลักษณะของกานํ้าชาในชุดท่ี 5 การติดระดับพวยกาตํ่าเกินไป หูกามีขนาดไมเหมาะสม

กับตัวกา ฝากาปดไมสนิท ขนาดของถวยชาใหญเกินไป เม่ือเทียบกับขนาดของตัวกา ปริมาตรความจุของกานอย

Page 86: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

70

การออกแบบราง 3 มิติ ครั้งท่ี 2 การออกแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 มีการปรับปรุงถึงลักษณะขนาดของกาใหใหญข้ึน ปรับ

ระดับการติดพวยกาใหสูงข้ึน หูจับตองออกแบบใหมีขนาดท่ีเหมาะสมและสอดคลองกับกา ถวยปรับขนาดและความจุใหสัมพันธกับตัวกา

ภาพท่ี 37 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 1

ลักษณะของพวยกายาวเกินไป ขาดความเปนธรรมชาติของแปนหมุน หูกามีขนาดไมม่ันคงขนาดของถวยชามีขนาดใหญเกินไปไมเหมาะสมกับขนาดของตัวกา

Page 87: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

71

ภาพท่ี 38 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 2 พวยกายังมีขนาดท่ีใหญเกินไปและระดับการติดพวยกายังตํ่าอยู ฝากามีขนาดท่ีใหญ

หยิบจับลําบาก หูจับ และถวยชา ยังขาดความเปนธรรมชาติของแปนหมุน

ภาพท่ี 39 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 3 ลักษณะพวยกาส้ันและใหญเกินไป ระดับของพวยกายังตํ่าอยู หูจับมีขนาดท่ีใหญไม

ม่ันคง ขนาดของถวยชาไมสัมพันธกับขนาดกา

Page 88: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

72

ภาพท่ี 40 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 4 ลักษณะพวยกายังส้ันเกินไป และโคนของพวยกามีขนาดที่ใหญเกินไป ระดับการติด

พวยกายังตํ่า หูจับและถวยชามีขนาดท่ีใหญไมสัมพันธกับ ขนาดของกา ฝากามีขนาดท่ีใหญไมเหมาะสมกับตัวกา

ภาพท่ี 41 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 5 ลักษณะของพวยกาตรงและแข็งเกินไป ระดับพวยกายังตํ่าอยู หูกา และถวยชามีขนาดท่ี

ใหญเกินไป กามีขนาดท่ีเล็กเกินไป ฝากามีขนาดใหญและหนาเกินไปทําใหรูสึกหนัก ไมเหมาะสมกับขนาดของตัวกา

Page 89: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

73

ภาพท่ี 42 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 6 ลักษณะของพวยกามีขนาดใหญและยาวเกินไป ระดับการติดพวยกาตํ่า หูจับมีขนาดท่ี

ใหญไมม่ันคง ขนาดถวยชาใหญเกินไป

ภาพท่ี 43 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 7 ลักษณะโดยรวมดูเทอะทะ ขนาดของพวยกาใหญเกินไป หูกามีขนาดท่ีใหญไมม่ันคง

ขนาดของถวยชาใหญไมเหมาะสมกับกา

Page 90: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

74

ภาพท่ี 44 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 8 ลักษณะรูปทรงโดยรวมไมเหมาะสมตอการใชงาน พวยกามีขนาดท่ียาว การหยิบจับไม

ถนัดมือ ขนาดของถวยชาท่ีใหญ ฝากามีความหนามากเกินไป

ภาพท่ี 45 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 2 ชุดท่ี 9 พวยกายาวเกินไปไมเหมาะสมในตอการใชงาน หูกามีขนาดท่ีใหญไมม่ันคง ขนาดถวย

ชาใหญไมเหมาะสมกับขนาดของตัวกา ขาดความเปนธรรมชาติของแปนหมุน

Page 91: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

75

การออกแบบราง 3 มิติ ครั้งท่ี 3 การออกแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 มีการปรับขนาดของตัวกาใหใหญข้ึน ระดับการติดพวย

กาเพ่ิมใหสูงข้ึน ลดความยาวของพวยกาใหส้ันลง ขนาดของหูจับตองออกแบบใหเหมาะสมกับตัวกา ปรับขนาดของถวยชาใหเหมาะสมสัมพันธกับตัวกา

ภาพท่ี 46 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ชุดท่ี 1

ลักษณะพวยกายาวไมสะดวกตอการใชงาน ขนาดของถวยชาท่ีใหญเกินไปเม่ือเทียบกับขนาดของตัวกา หูกามีขนาดท่ีเล็กการหยิบจับไมถนัดมือ

Page 92: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

76

ภาพท่ี 47 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ชุดท่ี 2 หูจับไมม่ันคงตอการใชงานขนาดของถวยชาใหญไมเหมาะสมกับขนาดของตัวกา

ขนาดมือจับฝากาใหญเกินไป รูปทรงโดยรวมไมเหมาะตอการใชงาน

ภ ภาพท่ี 48 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ภาพชุดท่ี 3

ลักษณะของพวยกาไมตัดน้ํา หูจับไมม่ันคงตอการใชงาน ถวยชาใหญ มือจับฝากาใหญ

ไมเหมาะสมกับขนาดของตัวกา

Page 93: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

77

ภาพท่ี 49 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ภาพชุดท่ี 4 ลักษณะของพวยกาไมตัดน้ํา หูจับไมสัมพันธกับตัวกา ถวยชาใหญ มือจับฝากาไมเขา

กันตัวกาขาดความเหมาะสมลงตัว

ภาพท่ี 50 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ภาพชุดท่ี 5 ลักษณะรูปทรงของกาแข็งไมมีความเคล่ือนไหว พวยกายาวไมตัดน้ํา หูจับใหความรูสึก

แข็งขัดแยงกับตัวกา ขนาดของถวยชาใหญเกินไป เม่ือเทียบกับขนาดของตัวกา รูปทรงโดยรวมแข็งไมมีความเปนธรรมชาติของแปนหมุน

Page 94: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

78

ภาพท่ี 51 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ภาพชุดท่ี 6 ลักษณะรูปทรงเหมาะสมตอการใชงาน ลักษณะของรูปทรงมีความเคล่ือนไหว แตขนาด

โคนของพวยกาใหญเกินไปเม่ือเทียบกับขนาดของตัวกา หูจับไมแข็งแรงกับการใชงาน รูปแบบเหมือนกับทองตลาด

ภาพท่ี 52 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ภาพชุดท่ี 7 ลักษณะรูปทรงไมเหมาะสมตอการใชงาน พวยยาว หูกาแข็งดูไมเปนธรรมชาติ ถวยชามี

ขนาดใหญ ลักษณะของรูปทรงแข็ง ไมมีความเคล่ือนไหว ระดับน้ําตํ่าเกินไป

Page 95: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

79

ภาพท่ี 53 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ภาพชุดท่ี 8 ลักษณะรูปทรงเหมาะสมตอการใชงาน ขนาดของถวยชามีท่ีเหมาะสม ลักษณะหูกา

ขัดแยงกับรูปทรงของตัวกา รูปแบบของกาเหมือนกับทองตลาด

ภาพท่ี 54 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 3 ภาพชุดท่ี 9 ลักษณะรูปทรงเหมาะสมตอการใชงาน ถวยชาเหมาะสม ลักษณะหกูามีความขัดแยงกบั

รูปทรงของตัวกา การติดระดบัพวยกาต่ําเกนิไป

Page 96: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

80

การออกแบบราง 3 มิติ ครั้งท่ี 4 การออกแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 มีการปรับปรุงถึงลักษณะของรูปทรงของตัวกาใหมี

ความเคล่ือนไหวของเสนมากข้ึน หูจับตองออกแบบใหเหมาะสมกับตัวกา ถวยชาปรับขนาดใหเหมาะสมสัมพันธกับตัวกา

ภาพท่ี 55 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ภาพชุดท่ี 1 ลักษณะรูปทรงเหมาะสมตอการใชงาน ถวยชาเหมาะสม หูจับแข็ง ระดับพวยต่ําเกินไป

รูปแบบเหมือนกับทองตลาด

Page 97: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

81

ภาพท่ี 56 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ภาพชุดท่ี 2 ขนาดของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน ขนาดของถวยชาใหญเกินไปเม่ือเทียบกับขนาด

ของลักษณะหูกาแข็ง การติดระดับของพวยกาดี รูปแบบของฝากายังไมเขากับรูปทรงของตัวกา

ภาพท่ี 57 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ภาพชุดท่ี 3 ขนาดของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน ถวยชาเหมาะสม หูจับใหญเกินไป ระดับพวยกา

ดี รูปทรงแข็ง ขาดความเปนธรรมชาติของแปนหมุน

Page 98: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

82

ภาพท่ี 58 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ภาพชุดท่ี 4 ขนาดของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน ถวยชาใหญ หูจับใหญเกินไป การติดระดับพวย

กาดี ลักษณะรูปทรงของกาขาดความเปนธรรมชาติของแปนหมุน

ภาพท่ี 59 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ภาพชุดท่ี 5 ขนาดของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน ถวยชามีขนาดท่ีเหมาะสม ขนาดของหูกาเล็ก

เกินไป การติดระดับพวยกาตํ่า รูปทรงของกาขาดความเปนธรรมชาติของแปนหมุน

Page 99: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

83

ภาพท่ี 60 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ภาพชุดท่ี 6 รูปทรงและขนาดโดยรวมเหมาะสมตอการใชงาน ขนาดของหูกาใหญเกินไป การติด

ระดับของพวยกาต่ํา พวยกาใหญเกินไปรูปทรงของกาขาดความเปนธรรมชาติของแปนหมุน

ภาพท่ี 61 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ภาพชุดท่ี 7 ขนาดของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน ระดับพวยกาดี หูจับกามีขนาดท่ีใหญเกินไป

ลักษณะของเสนโดยรวมใหความรูสึกแข็งเกินไป

Page 100: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

84

ภาพท่ี 62 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ภาพชุดท่ี 8 ขนาดของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน การติดระดับของพวยกาดี ขนาดพวยกาใหญ

เกินไป หูกาไมแข็งแรง การทาสลิปไมเปนธรรมชาติ ไมมีมิติ

ภาพท่ี 63 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 4 ภาพชุดท่ี 9 ขนาดของตัวกาไมเหมาะสมตอการใชงาน การติดระดับของพวยกาต่ํา ลักษณะพวยกา

ยาว ขนาดของหูกาใหญดูไมแข็งแรง การทาสลิปไมเปนธรรมชาติ ไมมีมิติของเสน

Page 101: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

85

การออกแบบราง 3 มิติ ครั้งท่ี 5 การออกแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 สรางรูปทรงของตัวกาใหมีความเคล่ือนไหวของเสน

มากข้ึน หูจับตองออกแบบใหเหมาะสมกับตัวกา ถวยชาปรับขนาดใหเหมาะสมสัมพันธกับตัวกา การติดพวยกาตองมีระดับท่ีสูง

ภาพท่ี 64 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ภาพชุดท่ี 1

ลักษณะรูปทรงไมเหมาะสมตอการใชงาน การติดระดับพวยกาดี ขนาดของกนกาน้ําชา

เล็กเกินไป หูจับไมแข็งแรงการรินน้ําชาไมสะดวก

Page 102: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

86

ภาพท่ี 65 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ภาพชุดท่ี 2 ลักษณะรูปทรงและขนาดของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน ระดับพวยกาดี กนกาม่ันคง

หูจับใหญเกินไป เม่ือจับฝากาจับไมสะดวก การรินชาคอนขางยาก ความเปนธรรมชาติของแปนหมุนดี

ภาพท่ี 66 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ภาพชุดท่ี 3 ลักษณะรูปทรงและขนาดของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน ระดับพวยกาดี พวยกาไม

ตัดน้ําชา กนกามั่นคง หูจับใหญเกินไป ฝากาปดไมสนิท เสนสายมีการเคล่ือนไหว

Page 103: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

87

ภาพท่ี 67 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ภาพชุดท่ี 4 ลักษณะรูปทรงไมเหมาะสมตอการใชงาน ระดับพวยกาส้ัน พวยกาไมตัดน้ําชา กนกา

ม่ันคง หูจับใหญเกินไป ฝากาปดไมสนิท เสนสายมีการเคล่ือนไหว ไมเรียบรอย ขนาดใหญการใชงานไมสะดวก

ภาพท่ี 68 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ภาพชุดท่ี 5 ลักษณะรูปทรงและขนาดของตัวกาไมเหมาะสมตอการใชงาน พวยกาเปดดานบนรินไม

สะดวก กนกามั่นคง ฝากาปดไมสนิท เสนสายมีการเคล่ือนไหว

Page 104: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

88

ภาพท่ี 69 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ภาพชุดท่ี 6 ลักษณะรูปทรงไมเหมาะสมตอการใชงาน พวยกาใหญ กนกามั่นคง ฝากาปดไมล็อกกบั

ตัวกา เสนสายมีการเคล่ือนไหวดี

ภาพท่ี 70 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ภาพชุดท่ี 7 ลักษณะรูปทรงและขนาดของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน พวยกายาวและหางเกินไป

กนกามั่นคง เสนสายมีการเคล่ือนไหว แสดงความเปนธรรมชาติของแปนหมุน

Page 105: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

89

ภาพท่ี 71 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ภาพชุดท่ี 8 ลักษณะรูปทรงและขนาดของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน พวยกายาวเกินไป กนกา

ม่ันคง หูกาใชงานไมสะดวกเสนสายมีการเคล่ือนไหว แสดงความเปนธรรมชาติของแปนหมุน

ภาพท่ี 72 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ภาพชุดท่ี 9 ลักษณะรูปทรงและขนาดของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน ลักษณะพวยกาส้ันไมตัดน้ํา

กนกามั่นคง หูกาใชงานไมสะดวกรูปทรงแสดงความเปนธรรมชาติของแปนหมุน ถวยชามีขนาดท่ีใหญเกินไปเม่ือเทียบกับขนาดของตัวกา

Page 106: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

90

ภาพท่ี 73 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 5 ภาพชุดท่ี 10 ลักษณะรูปทรงและขนาดของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน ลักษณะของพวยกาท่ีเปด

ดานบนรินน้ําชาไมสะดวก ไมตัดน้ํา ขนาดของหูกาท่ีเล็กและแข็งเกินไปมีผลตอการใชงานไม และความมั่นคง รูปทรงของกาแสดงความเปนธรรมชาติของแปนหมุนเสนสาย และปุมท่ีเนนการเคล่ือนไหวไดชัดเจน

Page 107: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

91

การออกแบบราง 3 มิติ ครั้งท่ี 6 การออกแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 6 สรางรูปทรงของตัวกาใหมีความเคล่ือนไหวของเสน หู

จับออกแบบใหมีความเคล่ือนไหว รูปแบบเนนประโยชนใชสอย ถวยชาปรับขนาดใหเหมาะสมกับตัวกา การติดพวยกาตองมีระดับท่ีสูง

ภาพท่ี 74 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 6 ภาพชุดท่ี 1 ขนาดและรูปทรงของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน พวยกาอยูในระดับท่ีดี กนกาม่ันคง

หูกาสอดคลองกับตัวกาการใชงานสะดวก งามมีความรูสึกเคลื่อนไหว แสดงความเปนธรรมชาติของแปนหมุน ถวยชามีขนาดท่ีเหมาะสมกับตัวกา

Page 108: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

92

ภาพท่ี 75 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 6 ภาพชุดท่ี 2 ขนาดและรูปทรงของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน พวยกาอยูในระดับท่ีดี ขนาดของ

ถวยชาสัมพันธกับขนาดตัวกา หูกาสอดคลองกับตัวกาการใชงานสะดวก แสดงความเปนธรรมชาติของแปนหมุนมากข้ึน

ภาพท่ี 76 แสดงลักษณะแบบราง 3 มิติ คร้ังท่ี 6 ภาพชุดท่ี 3 ขนาดและรูปทรงของตัวกาเหมาะสมตอการใชงาน พวยกาอยูในระดับท่ีดี ขนาดของ

ถวยชาสัมพันธกับตัวกา ขนาดและลักษณะของหูกาสอดคลองกับตัวกา การใชงานสะดวก ดูลักษณะโดยรวมใหความรูสึกเคล่ือนไหว และแสดงความเปนธรรมชาติของงานแปนหมุน

Page 109: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

93

2. การวิเคราะหผลการทดลองเคลือบ 1. วิเคราะหเคลือบพื้นฐาน ทําการทดลองโดยใชวัตถุดิบสามชนิด คือข้ีเถามันสําปะหลัง

ดินขาว และหินฟนมา หาอัตราสวนผสมโดยใชทฤษฎีตารางสามเหล่ียมดานเทา จํานวน 36 สูตร มีผลการวิเคราะหคุณสมบัติตามตาราง ดังนี้

แบบบันทึกผลการวิเคราะหคุณสมบัติของเคลือบ

เผาท่ีอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส บรรยากาศรีดักชัน ตารางท่ี 5 แสดงแบบบันทกึผลการวิเคราะหคุณสมบัติของเคลือบ เผาท่ี อุณหภูมิ 1,200 oC (RF.)

ลักษณะ

ความมัน ลักษณะท่ัวไป

จุด

ดาน ก่ึง มัน ราน ฟองอากาศ แยกตัว

หมายเหตุ

1 ขาวขุนอมฟา 2 ขาวขุนเคลือบไมเรียบ 3 เขียวมีผลึกบนหนาเคลือบ 4 เขียวออน 5 เขียวออนมีขาวปน 6 ขาวอมฟา 7 เทาขุนอมเขียว 8 เขียว 9 เขียวอมฟา 10 ขาวอมฟา 11 เขียวอมเทา 12 เขียวอมเทา 13 เขียวอมเทามีฟองอากาศมาก 14 เขียวอมฟามีฟองอากาศมาก 15 ขาวอมฟา 16 น้ําตาลออนมีรอยแตก 17 ขาวขุนจับตัวกันเปนกลุมๆ 18 ขาวขุนจับตัวกันเปนกลุมๆ

Page 110: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

94

ตารางท่ี 5 (ตอ)

ลักษณะ

ความมัน ลักษณะท่ัวไป

จุด

ดาน ก่ึง มัน ราน ฟองอากาศ แยกตัว

หมายเหตุ

19 ขาวขุนมีฟองอากาศมาก 20 ขาวอมเขียวมีฟองอากาศมาก 21 เขียวมีฟองอากาศมาก 22 ขาวขุนมีรอยแตก 23 ขาวอมเทามีรอยแตก 24 ขาวขุนมีรอยแตก 25 ขาวขุนมีจุดดําบนเคลือบ 26 ขาวขุนจับตัวเปนกลุม 27 ขาวอมเทา 28 ขาวอมเทา 29 ขาวครีมมีรอยแตก 30 ขาวครีม 31 ขาวครีม 32 ขาวขุนอมครีม 33 ขาวครีม 34 ขาวครีม 35 ขาวครีม 36 ขาวครีม

จากการทดลองเคลือบดังกลาวผูวิจัยไดเลือกสูตรท่ี 5 โดยการเติมออกไซดใหสี ซ่ึงสูตรท่ี 5 ประกอบดวยข้ีเถามันสําปะหลัง รอยละ 60 ดินขาว รอยละ 20 และหินฟนมา รอยละ 20 ท่ีมีลักษณะผิวมัน สีเขียวใส ผิวเคลือบรานเล็กนอย มาทดลองปรับปรุงคุณภาพของเคลือบ

Page 111: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

95

2. การวิเคราะหการพัฒนาเคลือบพื้นฐาน ไดเลือกเคลือบสูตรท่ี 5 ท่ีมีความสอดคลองกับรูปแบบของชุดกาน้ําชา คือมีลักษณะผิวมัน มีเนื้อเคลือบใส มาทําการทดลองโดยการใชวัตถุดิบท่ีชวยปรับปรุงคุณภาพของสีเคลือบจํานวน 4 ชนิด คือ แมงกานีสออกไซด เฟอรริกออกไซด ไทเทเนียมไดออกไซด และโครมิกออกไซด เพิ่มในสวนผสมของเคลือบ โดยมีผลการวิเคราะหคุณสมบัติ ดังน้ี

2.1 การพัฒนาเคลือบพื้นฐานโดยการเพ่ิมแมงกานีสออกไซด ปริมาณ รอยละ 3 – 6 ไดผลการวิเคราะห ดังนี้

ตารางท่ี 6 แสดงผลการวิเคราะหเคลือบพืน้ฐาน โดยเพิม่แมงกานีสออกไซด รอยละ 3 – 6 สูตรท่ี ผลการทดลองเคลือบ

เนื้อ ผิว ตําหน ิ No

MnO

(%)

สี

ทึบ ใส มัน ก่ึง ดาน ฟอง ร าน

เ ค ลื อ บหด

รายละเอียด

1 3 เหลืองอมน้ําตาล

มีจุดดํามาก

2 4 เหลืองอมน้ําตาล

มีจุดดําเล็กใหญรอบๆ

3 5 เหลืองอมน้ําตาล

จุดดํามีสีน้ําตาลในเคลือบ

4 6 เหลืองอมน้ําตาล

จุดดําเคลือบเรียบเสมอ

จากตารางท่ี 6 พบวาเคลือบท่ีมีปริมาณแมงกานีสออกไซดนอยเนื้อเคลือบจะมีสีท่ีออน

กวาเคลือบท่ีมีปริมาณแมงกานีสออกไซดมาก ผิวเคลือบจะมีความมัน ใส เหมือนกัน แตปริมาณแมงกานีสออกไซดมีผลตอจุดดําท่ีเกิดบนผิวเคลือบ ถามีปริมาณแมงกานีสออกไซดมากจุดดําจะเกดินอยกวาเคลือบท่ีมีปริมาณแมงกานีสออกไซดนอย

Page 112: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

96

ภาพท่ี 77 แสดงผลการวิเคราะหเคลือบพื้นฐานโดยเพ่ิมแมงกานีสออกไซด รอยละ 3 – 6

2.2 การพัฒนาเคลือบพื้นฐานโดยการเพ่ิมเฟอรริกออกไซด ปริมาณ รอยละ 8 – 14 ไดผลการวิเคราะห ดังนี้

ตารางท่ี 7 แสดงผลการวิเคราะหเคลือบพืน้ฐาน โดยเพิม่เฟอรริกออกไซด รอยละ 8 – 14

สูตรท่ี ผลการทดลองเคลือบ

เนื้อ ผิว ตําหน ิ No

Fe2O3

(%)

สี

ทึบ ใส มัน ก่ึง ดาน ฟอง ร าน

เ ค ลื อ บหด

รายละเอียด

1 8 น้ําตาลอมแดง

มีผลึกดํา

2 10 น้ําตาลอมแดง

มีผลึกดํารอบๆ

3 12 น้ําตาลอมแดง

มีผลึกน้ําตาลบนพื้นดํา

4 14 น้ําตาลอมแดง

มีผลึกน้ําตาลบนพื้นดํา

Page 113: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

97

จากตารางท่ี 7 พบวาเคลือบท่ีมีปริมาณเฟอรริกออกไซดนอยเนื้อเคลือบจะมีความมันวาวกวาเคลือบท่ีมีปริมาณเฟอรริกออกไซดมาก ผิวเคลือบสวนมากจะมีสีน้ําตาลแดง แตปริมาณแมงกานีสมีผลตอผลึกท่ีเกิดบนผิวเคลือบ ถามีปริมาณเฟอรริกออกไซดนอยจะเกิดผลึกบนเคลือบมากวาเคลือบท่ีมีปริมาณเฟอรริกออกไซดมาก

ภาพท่ี 78 แสดงผลการวิเคราะหเคลือบพื้นฐานโดยเพิ่มเฟอรริกออกไซดรอยละ 8 – 14

2.3 การพัฒนาเคลือบพื้นฐานโดยการเพิ่มไทเทเนียมไดออกไซด ปริมาณ รอยละ 8 – 12 ไดผลการวิเคราะห ดังนี้

ตารางท่ี 8 แสดงผลการวิเคราะหเคลือบพืน้ฐาน โดยเพิม่ไทเทเนยีมไดออกไซด รอยละ 8 – 12

สูตรท่ี ผลการทดลองเคลือบ

เนื้อ ผิว ตําหน ิ No

TiO2

(%)

สี

ทึบ ใส มัน ก่ึง ดาน ฟอง ร าน

เ ค ลื อ บหด

รายละเอียด

1 8 ขาวขุนอมเหลือง

มีจุดน้ําตาลบนผิวเคลือบ

2 10 ขาวขุนอมเหลือง

มีจุดน้ําตาลบนผิวเคลือบ

3 12 ขาวขุนอมเหลือง

มีจุดน้ําตาลบนผิวเคลือบ

Page 114: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

98

จากตารางท่ี 8 พบวาเคลือบท่ีมีปริมาณไทเทเนียมไดออกไซดนอยเนื้อเคลือบจะมีลักษณะกึ่งดานกึ่งมัน สวนเคลือบท่ีมีปริมาณไทเทเนียมไดออกไซดมาก ผิวเคลือบจะมีความมัน แตเนื้อเคลือบทึบ ปริมาณเคลือบท่ีหนาจะมีผลึกสีน้ําตาลเกิดเปนเสนเล็ก ๆ ในเคลือบ สวนบริเวณท่ีเคลือบบางผิวเคลือบจะดาน

ภาพท่ี 79 แสดงผลการวิเคราะหเคลือบพื้นฐานโดยเพ่ิมไทเทเนียมไดออกไซด รอยละ 8 – 12

2.3 การพัฒนาเคลือบพื้นฐานโดยการเพิ่มโครมิกออกไซด ปริมาณ รอยละ 2 – 2.5

ไดผลการวิเคราะห ดังนี้

ตารางท่ี 9 แสดงผลการวิเคราะหเคลือบพืน้ฐาน โดยเพิม่โครมิกออกไซด รอยละ 2 – 2.5 สูตรท่ี ผลการทดลองเคลือบ

เนื้อ ผิว ตําหน ิ No

Cr2O3

(%)

สี

ทึบ ใส มัน ก่ึง ดาน ฟอง ราน

เคลือบหด

รายละเอียด

1 2 น้ําตาลเขียว

มีจุดดําบนผิวเคลือบ หยาบ

2 2.5 น้ําตาลเขียว

มีจุดดําบนผิวเคลือบ หยาบ

Page 115: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

99

จากตารางท่ี 9 พบวาเคลือบท่ีมีปริมาณโครมิกออกไซดนอยเนื้อเคลือบจะมีลักษณะกึ่งดานกึ่งมัน สวนเคลือบท่ีมีปริมาณโครมิกออกไซดมาก ผิวเคลือบจะมีความมัน แตเนื้อเคลือบทึบ ปริมาณเคลือบท่ีหนาจะมีผลึกสีเขียวเขมเกิดจุดดําเล็ก ๆ ในเคลือบ สวนบริเวณท่ีเคลือบบางผิวเคลือบจะดาน

ภาพท่ี 80 แสดงผลการวิเคราะหเคลือบพื้นฐาน โดยเพิ่มโครมิกออกไซด รอยละ 2 – 2.5

สรุปเคลือบท่ีใชในการออกแบบชุดกาน้ําชา เคลือบพื้นฐานท่ีมีความเหมาะสมกับการออกแบบชุดกาน้ําชา คือเคลือบ สูตรท่ี 5 ท่ีมี

ลักษณะผิวเคลือบกึ่งดานกึ่งมัน มีเนื้อเคลือบใส และมีรอยรานในเคลือบเล็กนอย ซ่ึงในสูตรเคลือบดังกลาวจะมีสวนผสม ดังนี้

สูตรท่ี 5

ข้ีเถามันสําปะหลัง รอยละ 60 ดินขาว รอยละ 20 หินฟนมา รอยละ 20

สีน้ําตาลอมแดง เพิ่มเฟอรริกออกไซด รอยละ 10 สีขาวขุนอมเหลือง เพิ่มไทเทเนียมไดออกไซด รอยละ 10 สีเขียว เพิ่มโครมิกออกไซด รอยละ 2.5

Page 116: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

100

3. การวิเคราะหผลการผลิต ผลการวิเคราะหการผลิตเพื่อศึกษาเทคนิคการผลิต ปญหาที่เกิดข้ึนขณะดําเนินการผลิต

และแนวทางปองกัน การแกไข ซ่ึงจะทําใหสามารถวางแผนการผลิตเชิงอุตสาหกรรมไดอยางเหมาะสม และลดความเสียหายจากการผลิตได ซ่ึงการดําเนินการมีข้ันตอน 4 ข้ันตอนใหญ คือ

3.1 การข้ึนรูปตัวกาน้ําชา 3.2 การข้ึนรูปพวยกา 3.3 การข้ึนรูปฝากา 3.4 การข้ึนรูปรังผ้ึงสําหรับกรองใบชา 3.5 การข้ึนรูปถวยน้ําชา 3.6 การข้ึนรูปหูกาน้ําชา

3.1 การขึ้นรูปตัวกานํ้าชา การข้ึนรูปตัวกาน้ําชาจะตองขยายจากขนาดจริง รอยละ 12 ซ่ึงการข้ึนรูปตัวกานี้ตอง

อาศัยประสบการณ และความชํานาญเฉพาะดาน โดยตองสามารถกําหนดความหนา – บาง ของตัวกาใหเทากันท้ังใบ คงเหลือไวแตสวนกนของภาชนะท่ีตองมีการขูดแตง

ภาพท่ี 81 แสดงลักษณะการข้ึนรูปตัวกาน้ําชา

Page 117: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

101

ภาพท่ี 82 แสดงลักษณะการขูดแตงกนตัวกาน้ําชา ปญหาท่ีพบในการขึ้นรูปตัวกานํ้าชา

1. การข้ึนรูปตัวกาน้ําชาปญหาท่ีพบ เนื้อดินมีเศษหินปะปนอยูในเนื้อดินทําใหเนื้อดินแตกเวลาข้ึนรูป อีกทั้งจะเกิดปญหาแตกราวหลังการเผาได

2. เนื้อดินแหงตัวเร็วเกินไป จนทําใหไมสามารถตอช้ินสวนตาง ๆ ได หรือตอได แตอาจเกิดปญหาการแตกราวภายหลังได แนวทางแกไขปญหาในการขึ้นรูปตัวกานํ้าชา

1. ควรมีการเตรียมดินโดยการกรองเพ่ือเอาเศษวัตถุท่ีไมตองการออก รวมท้ังตองนวดใหเนื้อดินเขากัน และเปนการตรวจสอบมีหินหลงเหลืออยูหรือไม

2. ควรมีการควบคุมความช้ืนของเนื้อดิน โดยการใชถุงพลาสติกคุมงานไวปองกันไมใหช้ินงานแหงเร็วเกินไป

Page 118: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

102

3.2 การขึ้นรูปพวยกา การข้ึนรูปพวยกานั้นจะตองอาศัยทักษะอยางมากในการขึ้นรูป และตองใชความเร็วรอบ

ของแปนหมุนแบบชา ๆ เพื่อใหการข้ึนรูปไดรูปแบบอยางท่ีตองการ

ภาพท่ี 83 แสดงลักษณะการข้ึนรูปพวยกาน้ําชา

ภาพท่ี 84 แสดงลักษณะการตัดตกแตงรูปทรงของพวยกา

Page 119: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

103

ปญหาท่ีพบในการขึ้นรูปพวยกา

1. การข้ึนรูปพวยกาน้ําชา ปญหาท่ีพบเนื้อดินมักจะขาดในระหวางการข้ึนรูป หรือมีรอยราว

2. เนื้อดินแหงตัวเร็วเกินไป จนไมสามารถดัดตกแตงไดทําใหไมสามารถ นําไปติดกับตัวกาได และอาจเกิดปญหาการแตกราวภายหลังได แนวทางแกไขปญหาในการขึ้นรูปพวยกา

1. จะตองมีทักษะในการขึ้นรูป รวมท้ังตองอาศัยประสบการณ และความชํานาญในการข้ึนรูป แตท้ังนี้การใชความเร็วรอบของแปนหมุนใหชาลงก็จะชวยได

2.จะตองมีการควบคุมความช้ืนของเนื้อดิน และอาศัยชวงเวลาท่ีเหมาะสมในการดัดแตงรูปทรงของพวยกา ควนคุมช้ินงานไวปองกันไมใหงานแหงเร็วเกินไป

3.3 การขึ้นรูปฝากาน้ําชา การข้ึนรูปฝากาน้ําชานั้นจะตองมีการวัดขนาดของฝาท่ีตัวกาน้ําชากอนนําไปขึ้นรูป

หลังจากดินเร่ิมหมาดจึงทําการขูดแตงมือจับภายหลัง

Page 120: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

104

ภาพท่ี 85 แสดงลักษณะข้ันตอนในการข้ึนรูปฝากา

ภาพท่ี 86 แสดงลักษณะการแตงมือจับของฝากา

ปญหาท่ีพบในการขึ้นรูปฝากาน้ําชา และการแตงมือจับฝากาน้ําชา 1. การขึ้นรูปฝากาน้ําชา ปญหาท่ีพบเน้ือดินมักจะแตกราวหลังการข้ึนรูป และเดือยล็อก

เกิดการบิดเบ้ียว เนื่องจากการขูดแตงในขณะท่ีดินยังออนอยูทําใหดินเกิดการบิดเบ้ียวหลังเผา 2. เนื้อดินแหงตัวเร็วเกินไป จนไมสามารถขูดแตงได

แนวทางแกไขปญหาในการขึ้นรูปฝากาน้ําชา และการแตงมือจับฝากาน้ําชา

1. ควรมีทักษะในการขึ้นรูป รวมท้ังความชํานาญในการทํางาน ตองซับน้ําจากดานในฝาใหแหงกอนการตัดฝาออกจากแปนหมุน

2. ควรมีการควบคุมความช้ืนของเน้ือดิน และอาศัยชวงเวลาท่ีเหมาะสมในการแตงฝากาน้ําชา ควรคุมช้ินงานไวปองกันไมใหงานแหงเร็วเกินไป

Page 121: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

105

3.4 การขึ้นรูปรังผึ้งสําหรับกรองใบชา การขึ้นรูปรังผ้ึงสําหรับกรองใบชานั้น จะตองมีอุปกรณเขามาชวยในการทํางาน ในการ

เจาะรังผ้ึงตองระวังการฉีกขาดของเน้ือดิน

ภาพท่ี 87 แสดงลักษณะการข้ึนรูปรังผ้ึงสําหรับกรองใบชา ปญหาท่ีพบในการขึ้นรูปรังผึ้งสําหรับกรองใบชา

1. การเจาะรังผ้ึงสําหรับกรองใบชา มักพบปญหาการแตกราวหลังการข้ึนรูป เนื่องจากการตอเช่ือมช้ินงานไมดี หรือเนื้อดินแงมากเกินไป

2. การตอรังผ้ึงสําหรับกรองชามักแตกราว เนื่องจากเน้ือดินแหงตัวเร็วเกินไป จนไมสามารถตอกับตัวกาน้ําชาได แนวทางแกไขปญหาในการขึ้นรูปรังผึ้งสําหรับกรองใบชา

1. จะตองระวังในการเจาะรังผ้ึงตองอยางเจาะใหใกลกันจนเกินไป อาจทําใหเกิดรอยราวได และหลังการเจาะรังผ้ึงตองแตงขอบรูท่ีเจาะใหเรียบรอย

Page 122: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

106

2. จะตองมีการควบคุมความช้ืนของเนื้อดินใหรังผ้ึงและตัวกามีความชื้นใกลเคียงกัน ควรคุมช้ินงานไวปองกันไมใหงานแหงเร็วเกินไป

3.5 การขึ้นรูปถวยชา การข้ึนรูปถวยชาจะตองมีการกําหนดขนาดของถวยชากอนแลวคอยทําการข้ึนรูป ตอง

ใชทักษะในการรีดดินใหมีความหนา – บาง เทากันท้ังใบเพื่อความสวยงาม

ภาพท่ี 88 แสดงลักษณะการข้ึนรูปถวยชา

ปญหาท่ีพบในการขึ้นรูปถวยชา 1. การข้ึนรูปถวยชา มักพบปญหาการแตกราวหลังการข้ึนรูป 2. การข้ึนรูปถวยชา เนื้อดินแหงตัวเร็วเกินไป จนไมสามารถแตงกนได

แนวทางแกไขปญหาในการขึ้นรูปถวยชา

1. จะตองซับน้ําภายในถวยใหหมดกอนตัดช้ินงานออกจากแปนหมุนก็จะสามารถชวยลดปญหาในการแตกราวได

Page 123: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

107

2. จะตองมีการควบคุมความช้ืนของเน้ือดินของถวยชา และหลังการแตงกนตองใชถุงคุมช้ินงานไวปองกันไมใหงานแหงเร็วเกินไป

3.6 การขึ้นรูปหูกาน้ําชา การข้ึนรูปหูกาน้ําชาสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ หูกาท่ีข้ึนรูปดวยแปนหมุน

และหูกาท่ีข้ึนรูปโดยวิธีการคลึงดินแลวนําดินมาบิดเพื่อสรางความเคล่ือนไหวใหกับเนื้อดิน หูกาท่ีขึ้นรูปดวยแปนหมุน

ภาพท่ี 89 แสดงลักษณะการข้ึนรูปหูกาดวยแปนหมุน

ปญหาท่ีพบในการขึ้นรูปหูกาน้ําชา

1.การข้ึนรูปหูกาน้ําชา มักพบปญหาการข้ึนรูปแลวเนื้อดินขาดในระหวางการดึงดินข้ึน 2. หูกาน้ําชามีโคงไมไดสัดสวนในการติดกับตัวกา

Page 124: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

108

แนวทางแกไขปญหาในการขึ้นรูปหูกาน้ําชา 1. จะตองข้ึนรูปแบบชา ๆ คอย ๆ ดึงดินข้ึนทีละนอยเพื่อปองกันการขาดของเน้ือดิน 2. จะตองดัดสวนโคงของหูกาในขณะท่ีเนื้อดินเร่ิมหมาดท่ีสามารถดัดได และไมทําให

เนื้อดินเกิดรอยราวในขณะดัด หูกาท่ีขึ้นรูปโดยวิธีการคลึงดิน

ภาพท่ี 90 แสดงลักษณะการข้ึนรูปหูกาน้ําชาโดยการคลึงดิน ปญหาท่ีพบในการขึ้นรูปหูกาน้ําชาโดยการคลึงดิน

1.การข้ึนรูปหูกาน้ําชา มักพบปญหาการข้ึนรูปเนื้อดินมีรอยราวในระหวางการคลึงดิน 2. เสนดินท่ีเกิดจากการคลึงดินไมมีความชัดเจน เกิดรอยยุบตัวของดินจากการจับ

เคล่ือนยาย แนวทางแกไขปญหาในการขึ้นรูปหูกาน้ําชาโดยการคลึงดิน

1. จะตองนวดดินใหเขากัน ไมใหมีฟองอากาศ เนื้อดินมีความแข็งพอเหมาะในการคลึงดิน

2. จะตองใชเนื้อดินท่ีมีความแข็งหนอย เพื่อเวลาจับเนื้อดินจะไดไมยุบตัวสามารถที่จะนํามาตอกับตัวกาน้ําชาได

Page 125: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

109

การเคลือบและการเผา มีข้ันตอนในการปฏิบัติงาน ดังนี้

1. นําช้ินงานท่ีผานการเผาดิบมาเช็ดทําความสะอาดฝุนดวยฟองน้ําชุบน้ําหมาด ๆ 2. นําเคลือบท่ีบดผสมเตรียมไวมากวนใหเนื้อเคลือบกับน้ําเขากันไดดี 3. ทําการเคลือบโดยการทาดวยพูกันใหมีความหนาของเคลือบตามท่ีตองการ 4. ขูดแตงเคลือบท่ีมีความหนาเกินไป 5. ขูดหรือเช็ดบริเวณขอบขาของกาน้ําชา ถวยน้ําชา หรือฝากา 6. เปาผงเคลือบท่ีเปนสวนเกินออก 7. นําช้ินงานเขาเตาเผาเคลือบท่ีอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส ดวยเตาแกสระยะเวลาใน

การเผา รวม 6 – 7 ช่ัวโมง โดยการควบคุมเวลาการเผา ดังนี้

1. เร่ิมตน - 200 องศาเซลเซียส ใชเวลา 60 นาที 2. 200 - 300 องศาเซลเซียส ใชเวลา 60 นาที 3. 300 - 400 องศาเซลเซียส ใชเวลา 60 นาที 4. 400 - 600 องศาเซลเซียส ใชเวลา 60 นาที 5. 600 - 800 องศาเซลเซียส ใชเวลา 60 นาที 6. 800 - 1,000 องศาเซลเซียส ใชเวลา 60 นาที 7. 1,000 - 1,200 องศาเซลเซียส ใชเวลา 60 นาที 8. เผาแชอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส ใชเวลา 5 นาที

ปญหาท่ีพบหลังการเผาเคลือบ

1. การทาเคลือบท่ีบางเกินไป ทําใหช้ินงานไมมีเนื้อเคลือบ 2. น้ําเคลือบมีน้ําผสมมากเกินไปทําใหชุบเคลือบบางทําใหการเผาไมมีเนื้อเคลือบหลัง

เผา 3. เกิดรูเข็มในเนื้อเคลือบ 4. สีเนื้อดินไมฉํ่าเหมือนท่ีไดทําการทดลองไวอันเนื่องมาจากการเผาเตาท่ีเร็วเกินไป

Page 126: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

110

แนวทางการแกไขปญหา 1. การทาเคลือบใหหนาข้ึนอยางนอย 1 – 1.5 มิลลิเมตร ท้ังนี้ก็ข้ึนอยูกับเทคนิคการ

ตกแตง 2. กอนการกวนเคลือบตองรินน้ําออกกอนเล็กนอย แลวจึงทําการผสมเคลือบกอนนําไป

ทาบนช้ินงาน 3. กอนการทาเคลือบควรใชฟองน้ําชุบน้ําหมาด ๆ เช็ดท่ีตัวช้ินงานเพื่อใหช้ินงานมี

ความช้ืนพอประมาณ เวลาทาท่ีเนื้อดินจะไดไมดูดน้ําในเคลือบเร็วเกินไปทําใหเกิดฟองอากาศ หลังการทาเคลือบใหใชนิ้วลูบท่ีผิวเคลือบใหเรียบกอนนําเขาเตาเผา

ภาพท่ี 91 แสดงลักษณะเตาและการเผาเคลือบ

Page 127: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

111

ผลงานสําเร็จ

ภาพท่ี 92 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 1

จุดเดน คือ การใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดตกแตงบนพ้ืนดําของแมงกานีสออกไซด ทําใหงานดูมีมิติ รวมท้ังการโชวเนื้อดินตรงบริเวณสวนหูกา ทําใหงานมีน้ําหนักของเนื้อดินเพ่ิมข้ึนจากสีเคลือบเพียงอยางเดียว

เทคนิคท่ีใช คือ เคลือบ 2 ชนิดมาสรางความขัดแยงกันอยางลงตัวทําใหงานมีจุดเดนมากข้ึน

Page 128: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

112

ภาพท่ี 93 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 2

จุดเดน คือ การใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดท่ีมีเนื้อเคลือบเปนรอยยนท้ังใบ รวมท้ังการโชวเนื้อดินตรงบริเวณสวนหูกา ทําใหเกิดความแตกตางระหวางสีของเนื้อดินและเคลือบ

เทคนิคท่ีใช คือ การทาดวยเฟอรริกออกไซดกอนเคลือบ ทําใหเกิดปฏิกิริยาในเคลือบท่ีสามารถสรางเปนจุดเดนใหกับงานได

Page 129: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

113

ภาพท่ี 94 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 3

จุดเดน คือ การใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดท่ีมีเนื้อเคลือบเปนรอยยนท้ังใบที่ทําใหเห็นสีของเนื้อดินผุดข้ึนในบางจุด รวมท้ังการโชวเนื้อดินตรงสวนหูกา ทําใหงานเกิดความกลมกลืนกันมากข้ึน และรอยยนของเคลือบยังสามารถสรางจุดเดนใหกับงานไดอีกดวย

Page 130: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

114

ภาพท่ี 95 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 4

จุดเดน คือ การใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดท่ีมีเนื้อเคลือบเปนรอยยนท้ังใบที่ทําใหเห็นสีของเนื้อดินผุดข้ึนในบางจุด รวมท้ังการโชวเนื้อดินตรงบริเวณสวนหูกา ทําใหเกิดการเช่ือมตอระหวางตัวกาและหูกาได

เทคนิคท่ีใช คือ การทาดวยเฟอรริกออกไซดกอนเคลือบทําใหเกิดปฏิกิริยาเปนสีท่ีแตกตางกันข้ึนในเคลือบสรางเปนจุดเดนใหกับงาน

Page 131: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

115

ภาพท่ี 96 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 5

จุดเดน คือ การใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดท่ีมีเนื้อเคลือบเปนรอยยนท้ังใบทําใหเห็นสีของเนื้อดินผุดข้ึนในบางจุด และใชเคลือบแมงกานีสออกไซดทาท่ีหูกาทําใหงานมีความเช่ือมโยงกันระหวางสีของกากับหูมากข้ึน

เทคนิคท่ีใช คือ การทาดวยเฟอรริกออกไซดกอนเคลือบทําใหเกิดปฏิกิริยาในเคลือบเพ่ิมคาน้ําหนักของสีข้ึนท่ีสามารถสรางจุดเดนใหกับงาน

Page 132: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

116

ภาพท่ี 97 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 6

จุดเดน คือ การใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดท่ีมีเนื้อเคลือบเปนรอยยนท้ังใบทําให

เห็นสีของเนื้อดินผุดข้ึนในบางจุด และสีของเนื้อดินท่ีหูกาทําใหงานมีความเช่ือมโยงกันระหวางสีของกากับหูมากข้ึน

เทคนิคท่ีใช คือ การทาดวยเฟอรริกออกไซดกอนเคลือบทําใหเกิดปฏิกิริยาในเคลือบเพ่ิมคาน้ําหนักของสีข้ึนท่ีสามารถสรางจุดเดนใหกับงาน

Page 133: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

117

ภาพท่ี 98 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 7

จุดเดน คือ การใชเคลือบแมงกานีสออกไซดตกแตงบนเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดท่ีเปนสีพื้นทําใหงานดูมีมิติมากข้ึน ตําแหนงการติดหูกาทําใหงานมีความนาสนใจมากข้ึน

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบ 2 ชนิดมาสรางความขัดแยงอยางลงตัวทําใหงานมีจุดเดนมากข้ึน

Page 134: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

118

ภาพท่ี 99 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 8

จุดเดน คือ การใชเคลือบแมงกานีสออกไซดตกแตงบนเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดท่ีเปนสีพื้นทําใหงานดูมีมิติมากข้ึน เนื้อดินท่ีบริเวณหูกาไมเคลือบทําใหงานเกิดความแตกตางท่ีสรางความนาสนใจมากข้ึน

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบ 2 ชนิดมาสรางความขัดแยงอยางลงตัวทําใหงานมีจุดเดนมากข้ึน

Page 135: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

119

ภาพท่ี 100 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 9

จุดเดน คือ การใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดท่ีมีเนื้อเคลือบเปนรอยยนท้ังใบทําใหสีของเน้ือดินผุดข้ึนในบางจุดประกอบกับสีของเนื้อดินท่ีบริเวณหูกาทําใหงานมีความเช่ือมโยงกันระหวางตัวกากับหูกามากข้ึน

เทคนิคท่ีใช คือ การทาดวยเฟอรริกออกไซดกอนเคลือบทําใหเกิดปฏิกิริยาในเคลือบเพ่ิมคาน้ําหนักของสีข้ึนท่ีสามารถสรางจุดเดนใหกับงาน

Page 136: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

120

ภาพท่ี 101 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 10

จุดเดน คือ การใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดตกแตงบนพ้ืนดําของเคลือบแมงกานีสออกไซด รวมทั้งสีของเนื้อดินตรงบริเวณสวนหูกาและมือจับฝากา ทําใหงานมีความประสานกลมกลืนกัน

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบ 2 ชนิดเพื่อสรางจุดเดนใหกับงานไดอยางลงตัว

Page 137: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

121

ภาพท่ี 102 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 11

จุดเดน คือ การใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดตกแตงบนพ้ืนดําของเคลือบแมงกานีสออกไซด สวนมือจับฝากาสีของเนื้อดินทําใหงานมีความประสานกลมกลืนกัน

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบ 2 ชนิดเพื่อสรางจุดเดนใหกับงานไดอยางลงตัว

Page 138: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

122

ภาพท่ี 103 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 12

จุดเดน คือ การใชเคลือบแมงกานีสออกไซดตกแตงบนพ้ืนของเคลือบไทเทเนียมได

ออกไซดสวนบริเวณหูกาสีของเนื้อดินทําใหงานมีความประสานกลมกลืนกันมากข้ึน เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบ 2 ชนิดเพื่อสรางจุดเดนใหกับงานไดอยางลงตัว

Page 139: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

123

ภาพท่ี 104 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 13 จุดเดน คือ การใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดบนพื้นของเคลือบข้ีเถามันสําปะหลัง

สวนบริเวณปากกาทาดวยเคลือบแมงกานีสออกไซดทําใหเกิดคาน้ําหนักของสีข้ึน เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบ 3 ชนิดรวมกันเพื่อสรางจุดเดนใหกับงานโดยเคลือบทับ

กันไดอยางลงตัว

ภาพท่ี 105 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 14 จุดเดน คือ การใชเคลือบแมงกานีสออกไซดพนเปนเม็ดเล็กๆท่ัวท้ังใบเพื่อใหเห็นสีของ

เนื้อดิน

Page 140: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

124

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบพนเปนเม็ดเล็ก ๆ บนพื้นของสีเนื้อดินเพื่อสรางจุดเดนใหกับงาน

ภาพท่ี 106 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 15

จุดเดน คือ การใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดพนเปนเม็ดเล็ก ๆ ทั่วท้ังใบเพ่ือทําใหสีของเนื้อดิน

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบพนเปนเม็ดเล็ก ๆ บนพื้นของสีเนื้อดินเพื่อสรางจุดเดนใหกับงานได

Page 141: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

125

ภาพท่ี 107 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 16

จุดเดน คือ การใชเคลือบแมงกานีสออกไซดพนเปนเม็ดเล็ก ๆ โดยไลน้ําหนักจากสวนกนกาถึงฝากา เพื่อตองการเคลือบท่ีมีน้ําหนักสีเขม - จาง ของเคลือบ สวนหูกาสีของเนื้อดินเปนสีทีเชื่อมโยงระหวางตัวกากับหูกาได

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบพนเปนเม็ดเล็ก ๆ บนพื้นของสีเนื้อดินเพื่อสรางน้ําหนักสีเขม - จาง นํามาเปนจุดเดนใหกับงานได

Page 142: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

126

ภาพท่ี 108 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 17

จุดเดน คือ การใชเคลือบแมงกานีสออกไซดพนเปนเม็ดเล็ก ๆ โดยไลน้ําหนักจากสวนกนกาถึงฝากา เพื่อตองการนํ้าหนักของเคลือบท่ีหนา - บาง สวนบริเวณที่เปนสีขาว ใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดตกแตงเพิ่ม

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบพนเปนเม็ดเล็ก ๆ บนพื้นของสีเนื้อดินเพื่อสรางน้ําหนักท่ีเขม จาง สวนบริเวณสีขาว ๆ เปนการสรางความนาสนใจใหกับงานได

Page 143: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

127

ภาพท่ี 109 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 18

จุดเดน คือ การใชเคลือบแมงกานีสออกไซดตกแตงบริเวณตัวกาสวนดานบนใชเคลือบไทเทเนียมไดออกไซดตกแตง สวนบริเวณหูกาเวนใหเห็นสีของเนื้อดิน

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบ 2 ชนิดเพื่อสรางจุดเดนใหกับงานไดอยางลงตัว

Page 144: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

128

ภาพท่ี 110 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 19

จุดเดน คือ การใชเคลือบแมงกานีสออกไซดพนไลน้ําหนักจากบริเวณปากกาถึงบริเวณสวนกนกา สวนบริเวณหูกาเวนใหเห็นสีของเนื้อดินเพื่อเช่ือมโยงสีของตัวกากับหูกา

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบในการไลน้ําหนักเพื่อสรางจุดเดนใหกับงาน

Page 145: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

129

ภาพท่ี 111 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 20

จุดเดน คือ การใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังตกแตงเปนพื้นตัดดวยเคลือบไทเทเนียมไดออกไซด สวนบริเวณหูกาเวนใหเห็นสีของเน้ือดินเพื่อใหเห็นความแตกตางระหวางสีเคลือบกับสีของเนื้อดิน

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบ 2 ชนิดเพื่อสรางจุดเดนใหกับงานไดอยางลงตัว

Page 146: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

130

ภาพท่ี 112 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 21

จุดเดน คือ การใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังตกแตงโดยการทาเคลือบหนา - บาง สวนบริเวณหูกาเวนใหเห็นสีของเนื้อดิน

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลัง การทาเคลือบหนาจะเปนสีเขียวใส สวนการทาเคลือบบางจะมีลักษณะเคลือบสีเขียวดานอมน้ําตาล ลักษณะเชนนี้จะเปนการสรางจุดสนใจใหกับงานไดมากข้ึน

Page 147: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

131

ภาพท่ี 113 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 22

จุดเดน คือ การใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังตกแตงโดยการทาเคลือบบนน้ําดินสีอยูดานในเคลือบ สวนบริเวณหูกาเวนใหเห็นสีของเนื้อดินเพื่อสรางความแตกตางของสีเนื้อดินและเคลือบ

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังทาบนน้ําดินสี เพื่อเปนการสรางจุดเดนใหกับงาน

Page 148: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

132

ภาพท่ี 114 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 23 จุดเดน คือ การใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังตกแตงโดยการทาเคลือบหนา-บาง สวน

บริเวณหูกาเวนใหเห็นสีของเนื้อดินเพื่อสรางความแตกตางของสีเคลือบกับเนื้อดิน เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลัง การทาเคลือบหนาจะเปนสีเขียวใส

สวนการทาเคลือบบางจะมีลักษณะเคลือบเขียวดาน ลักษณะเชนนี้จะเปนการสรางจุดเดนใหกับงานได

Page 149: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

133

ภาพท่ี 115 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 24

จุดเดน คือ การใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังทาทั้งใบ สวนบริเวณหลุมทาดวยเคลือบไทเทเนียมไดออกไซด สวนบริเวณหูกาเวนใหเห็นสีของเนื้อดินเพื่อสรางความแตกตางของสีเคลือบกับเนื้อดิน

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบ 2 ชนิด เพื่อสรางจุดเดนใหกับงานไดอยางลงตัว

Page 150: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

134

ภาพท่ี 116 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 25

จุดเดน คือ การทาดวยเฟอรริกออกไซดกอนการเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังเพื่อทําใหเกิดคาน้ําหนักของสีเคลือบท่ีสามารถสรางจุดเดนได บริเวณหูกาเวนใหเห็นสีของเนื้อดินท่ีทําใหงานเกิดความแตกตางระหวางสีของเนื้อดินและเคลือบ

เทคนิคท่ีใช คือ การทาดวยเฟอรริกออกไซดกอนเคลือบทําใหเกิดปฏิกิริยาเปนคาน้ําหนักของสีในเคลือบท่ีสรางจุดเดนใหกับงานได

Page 151: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

135

ภาพท่ี 117 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 26 จุดเดน คือ การใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังทาท้ังใบ สวนบริเวณฝากาโชวสีของเนื้อดิน เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบทาท้ังใบและเวนเปนบางสวนเพื่อใหเห็นสีของเนื้อดินท่ี

สามารถสรางจุดเดนใหกับงานไดอยางลงตัว

Page 152: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

136

ภาพท่ี 118 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 27

จุดเดน คือ การใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังทาทั้งใบ สวนบริเวณหูกาและกนกาเวนใหเห็นสีของเนื้อดินเพื่อใหเกิดความแตกตางระหวางสีของเนื้อดินและเคลือบ

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบทาท้ังใบแตเวนเปนบางสวนเพื่อสรางจุดเดนใหกับงานไดอยางลงตัว

Page 153: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

137

ภาพท่ี 119 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 28

จุดเดน คือ การใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังทาท้ังใบ สวนบริเวณหูกาและฝากาทาดวยเคลือบแมงกานีสออกไซด

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบ 2 ชนิด เพื่อสรางจุดเดนใหกับงานได

Page 154: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

138

ภาพท่ี 120 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 29 จุดเดน คือ การใชเคลือบข้ีเถามันสําปะหลังตกแตงบริเวณตัวกา สวนดานบนใชเคลือบ

ไทเทเนียมไดออกไซดตกแตง สวนบริเวณหูกาโชวสีของเนื้อดิน เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบ 2 ชนิดเพื่อสรางจุดเดนใหกับงานได

ภาพที ่121 แสดงผลงานสําเร็จ ชุดท่ี 30

Page 155: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

139

จุดเดน คือ การทาเคลือบเฟอรริกออกไซดท้ังใบ เวนบริเวณตอนกลางของกาและเนนใหเห็นสีของเนื้อดิน ปาดดวยแมงกานีสออกไซด

เทคนิคท่ีใช คือ การใชเคลือบโดยเวนบางสวนเพื่อสรางจุดเดนใหกับงานได รูปแบบท่ีผูวิจัยพิจารณารวมกับอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธแลวเห็นวารูปแบบท้ัง 30

ชุด เปนรูปแบบท่ีสามารถส่ือใหเห็นถึงความเคล่ือนไหวและความเปนธรรมชาติของงานแปนหมุนได และมีขนาดสัดสวนของตัวกาน้ําชาที่เหมาะสมกับการใชงาน ระดับของพวยกาท่ีสูงสามารถใสน้ําชาไดตามปริมาตรท่ีกําหนดและไมหกเวลาหยิบจับ หูจับและถวยชามีความสัมพันธกัน รวมเปนความงามของชุดกาน้ําชาท่ีสอดคลองตามวัตถุประสงคของโครงการ

Page 156: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

140

บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเร่ืองการออกแบบ “ชุดกาน้ําชา” มีวัตถุประสงคเพ่ือออกแบบและสรางสรรค

ชุดกาน้ําชา ซ่ึงผูวิจัยไดนําเอาความรูสึกเร่ืองการเคล่ือนไหว การนําลักษณะรูปราง รูปทรง เสนสาย และพ้ืนผิว ของความเปนธรรมชาติท่ีเกิดจากเทคนิคการปนดวยแปนหมุนมาประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ ใหมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑ มาใชในการออกแบบและพัฒนารูปแบบของชุดกาน้ําชา

ผลการออกแบบ สามารถออกแบบและผลิตชุดกาน้ําชาดวยวิธีการปนดวยแปนหมุนได จํานวน 30 ชุด ซ่ึงในแตละชุดประกอบไปดวย กาน้ําชา 1 ใบ ถวยชา จํานวน 4 ใบ และถาดรอง จํานวน 1 ใบ โดยนําผลการทดลองเนื้อดินบานมอญ อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค พัฒนาเปนเนื้อดินปนดวยแปนหมุนท่ีมีอัตราสวนผสมของเนื้อดิน ระหวางดินบานมอญ ดินขาว และซิลิกา ซ่ึงไดจากทฤษฎีตารางสามเหล่ียมดานเทา จํานวน 28 อัตราสวนพบวาจุดท่ีดีท่ีสุดคือ จุดท่ี 8 ซ่ึงมีสวนผสมของดินบานมอญ รอยละ 65 ดินขาว รอยละ 15 และซิลิกา รอยละ 20 ซ่ึงสูตรนี้มีคุณสมบัติท่ีดี คือ เนื้อดินมีการหดตัว รอยละ 12 การดูดซึมน้ํา รอยละ 2.6 และสีของเนื้อดินเปนสีน้ําตาลอมแดง ผิวมัน มีเหล็กหลอมออกมาจากเนื้อดิน ดินไมมีการพองตัว มีความเหนียวท่ีเหมาะสมกับการข้ึนรูปดวยแปนหมุนไดดี สวนเคลือบไดนําผลการทดลองเคลือบท่ีไดจากการใชวัตถุดิบ คือ ข้ีเถามันสําปะหลัง ดินขาว และหินฟนมา จากการหาอัตราสวนผสมในตารางสามเหล่ียมดานเทา พบวาสูตรท่ีเหมาะสมกับผลิตภัณฑชุดกาน้ําชา คือ สูตรท่ี 5 ท่ีมีลักษณะผิวเคลือบกึ่งดานกึ่งมันและมีรอยราน ซ่ึงสูตรเคลือบ ดังกลาวมีสวนผสม ดังนี้

Page 157: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

141

สูตรท่ี 5 ข้ีเถามันสําปะหลัง รอยละ 60 ดินขาว รอยละ 20 หินฟนมา รอยละ 20

สีน้ําตาลอมแดง เพิ่มเฟอรริกออกไซด รอยละ 10 สีขาวขุนอมเหลือง เพิ่มไทเทเนียมไดออกไซด รอยละ 10 สีเขียว เพิ่มโครมิกออกไซด รอยละ 2.5

ผลการออกแบบและผลิตชุดกานํ้าชา จํานวน 30 ชุด จึงมีความสอดคลองตรงตา

วัตถุประสงคท่ีตั้งไว

การอภิปรายผล 1. ผลิตภัณฑชุดกาน้ําชาท่ีออกแบบสามารถแสดงความรูสึกในเร่ืองการเคล่ือนไหว ดวย

ลักษณะรูปราง รูปทรง เสนสาย พื้นผิว และความเปนธรรมชาติท่ีเกิดจากเทคนิคการปนดวยแปนหมุนท่ีประสานสัมพันธกับเนื้อดินและเคลือบ ซ่ึงมีความสอดคลองกับหนาท่ีการใชงานของผลิตภัณฑ รูปแบบจะมีความแตกตางกัน ซ่ึงถือวาเปนลักษณะพิเศษของงานท่ีข้ึนรูปดวยแปนหมุน

2. ผลิตภัณฑชุดกาน้ําชาอาจเปนแนวทางท่ีจะผลิตเปนสินคาเพื่อจําหนายแกผูบริโภคท้ังใน และตางประเทศ สําหรับผูท่ีช่ืนชอบในการดื่มชาเปนพิเศษ ส่ิงท่ีแตกตางของกาน้ําชาท่ีมีขายกันในทองตลาด ก็ คือ รูปแบบ และการตกแตงท่ีไมเหมือนใคร ลวนเปนจุดขายไดท้ังส้ิน

3. วัตถุดิบของดินบานมอญสามารถนํามาพัฒนา และเผาไดสูงถึง 1,200 องศาเซลเซียส อีกท้ังเนื้อดินยังมีสีท่ีเปนเอกลักษณเฉพาะถ่ิน คือ สีน้ําตาลอมแดง อันเนื่องมาจากดินบานมอญเปนดินท่ีมีสภาพทางธรณีวิทยาเปนกลุมดินในท่ีราบต่ํามีปริมาณของธาตุเหล็ก แมงกานีส และทราย ปะปนอยูในเนื้อดินคอนขางสูง

Page 158: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

142

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช 1. การออกแบบชุดกาน้ําชาสามารถออกแบบใหมีความหลากหลายไดอีก ท้ังนี้ข้ึนอยูกับ

ผูออกแบบ และการนําไปใชวาจะมีวัตถุประสงคอยางไร 2. วัตถุดิบท่ีนํามาใชในการข้ึนรูปสามารถนําประยุกตหรือเลือกใชดินจากแหลงอ่ืนได

ตามความสะดวก และความเหมาะสมดานตนทุนการผลิต โดยตองทําการศึกษาทดลองเพื่อพัฒนาคุณสมบัติทางกายภาพของวัตถุดิบตามกระบวนการที่ใชในการวิจัย

3. กรรมวิธีการผลิต ควรมีการวางแผนการผลิต เนื่องจากเปนการผลิตกึ่งอุตสาหกรรมท่ีตองอาศัยทักษะฝมือ ประสบการณในการผลิต และการตกแตง รวมทั้งการประกอบช้ินสวนตาง ๆ หลายชิ้นสวนตอหนึ่งรูปแบบของผลิตภัณฑ จึงตองมีการวางแผนการติดช้ินสวนตาง ๆ ใหมีความช้ืนของเนื้อดินท่ีเหมาะสมใกลเคียงกัน การวางแผนพื้นท่ีช้ันวางช้ินงานในสภาวะตาง ๆ รวมทั้งการวางแผนการเผาดิบ และการเผาเคลือบช้ินงานลวนเปนส่ิงท่ีชวยใหการผลิตช้ินงานไดตรงตามเปาหมายท่ีตั้งไว

ขอเสนอแนะในการศึกษาเพิ่มเติม 1. ชุดกาน้ําชาเปนสินคาและของตกแตงท่ีมีเพื่อใชงาน หรือใชประดับตกแตงเทานั้น จัด

ไดวาเปนสินคาฟุมเฟอยชนิดหนึ่ง แตในทางตรงกันขามกลับไดรับความนิยมจากกลุมผูท่ีช่ืนชอบการดื่มชา และเขาถึงความงามทางดานศิลปะท่ีมีการขยายตัวเพ่ิมมากข้ึน รวมทั้งเปนสินคาท่ีเกี่ยวของกับความงามท่ีเปนธรรมชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่งชาวตางชาตินิยมซ้ือนําไปประดับตกแตง หรือผูท่ีนิยมการด่ืมชาก็มักจะซ้ือกาน้ําชาไปเก็บสะสม ดังนั้นหากสนใจท่ีจะออกแบบและผลิตสินคา จึงควรมีการศึกษารูปแบบรวมท้ังการใชงาน และการตกแตงใหดีกอนทําการออกแบบ และผลิต

2. การเลือกใชวัตถุดิบในทองถ่ินถือไดวาใชทรัพยากรที่มีอยูในทองถ่ินใหเกิดประโยชนสูงสุด และมีศักยภาพในการตอรองหรือควบคุมตนทุนการผลิตไดเปนอยางดี แตการใชวัตถุดิบประเภทดินเอิรทเทนแวรนั้น ยังมีขอจํากัดในดานคุณภาพท่ีไมสมํ่าเสมอ จึงยากตอการควบคุมคุณภาพ และไมทราบปริมาณท่ีแนนอน จึงควรมีการศึกษาทางธรณีวิทยาเพื่อหาแหลง และการจัดการวัตถุดิบ

Page 159: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

143

3. การออกแบบชุดกาน้ําชาท่ีข้ึนรูปดวยแปนหมุนเปนการศึกษาทักษะการขึ้นรูป เทคนคิการตกแตงท่ีมีความสัมพันธระหวางเนื้อดินและเคลือบ จึงควรทําการศึกษาวิเคราะหรูปแบบ เทคนิค และเคลือบท่ีจะนํามาใชใหมีความเหมาะสมกัน เพื่อชวยใหลักษณะหรือรูปแบบมีความพิเศษมากยิ่งข้ึน

Page 160: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

144

บรรณานุกรม กรมการศึกษานอกโรงเรียน. ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคเหนือ. การออกแบบเซรามิก.

เชียงใหม : กรมการศึกษานอกโรงเรียน, 2539. เกียรติชัย พงษพาณิชย. ตํานานชาในตําราจีน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมติชน, 2546. ชลูด นิ่มเสมอ. องคประกอบของศิลปะ. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิชโอเดียน

สโตร, 2546. ณัฏฐภัทร จันทวิช. เคร่ืองถวยจีน ท่ีพบจากแหลงโบราณคดีในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร :

กรมศิลปากร, 2529. นพพร ภาสะพงศ. ปนชา เสนหางานศิลปแหงดินปน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพเมืองโบราณ,

2548. ปริวรรต ธรรมาปรีชากร. เคร่ืองถวยวัดโพธ์ิ. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพอัมรินทรพร้ินต้ิงแอนด

พับลิชซ่ิง, 2545. ปริวรรต ธรรมาปรีชากร และกฤษฎา พิณศรี. ศิลปะเคร่ืองถวยในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร :

สํานักพิมพแอดมีพร้ินต้ิง, 2533. ไพจิตร อ่ิงศิริวัฒน. รวมสูตรเคลือบเซรามิกส. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2537. . เนื้อดินเซรามิก. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2541.

มัตตัญู[นามแฝง]. ปนชาและถวยชาจีน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพไทยเกษม, 2524. มหาวิทยาลัยศิลปากร. บัณฑิตวิทยาลัย. คูมือการพิมพวิทยานิพนธ. ม.ป.ท., 2543. เรืองรอง รุงรัศมี. รวยรินกล่ินชา. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพอัมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชซ่ิง,

2549. สาธร ชลชาติภิญโญ. การศิลปะเคร่ืองปนดินเผาแหงชาติ คร้ังท่ี 12. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

อัมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชซ่ิง, 2547. อุษณีย ประวัง. Tea after time ชานอกเวลา. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพฟูลสตอป, 2548. ออง [นามแฝง]. ระบําชา. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพศรีสารา, 2544. Koa Joseph S.G. ชา..เลือกชาดื่ม ซ้ือชาเปน. เชียงใหม : สํานักพิมพ The Knowledge Center, 2546. Phil Rogers. Ash Glazes. rev. U.S.A : Chilton Book Company, 1991. Somluk Pantipoon . The Still Voice of the Forest. Bangkok : Amarin Printing and Public, 2008. Suzanne J.E.Tourtillott.500 Teapots contemporary explorations of timeless design. New York :

Lark Books, 2002.

Page 161: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

145

ภาคผนวก

Page 162: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

146

ภาพท่ี 122 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 1

ภาพท่ี 123 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 2

Page 163: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

147

ภาพท่ี 124 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 3

ภาพท่ี 125 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 4

Page 164: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

148

ภาพท่ี 126 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 5

ภาพท่ี 127 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 6

Page 165: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

149

ภาพท่ี 128 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 7

ภาพท่ี 129 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 8

Page 166: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

150

ภาพท่ี 130 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 9

ภาพท่ี 131 แสดงภาพการนําเสนอวิทยานพินธ 10

Page 167: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

151

ภาพท่ี 132 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 11

ภาพท่ี 133 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 12

Page 168: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

152

ภาพท่ี 134 แสดงภาพการนําเสนอวิทยานพินธ 13

ภาพท่ี 135 แสดงการนําเสนอวิทยานพินธ 14

Page 169: ณฑ อบด 2551กษา - SU · จ 49153309 : major : ceramics keyword : ceramics teapot design kridtayot comeming : teapot set. thesis advisors : asst. prof. supphaka palprame

153

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ – สกุล นายกฤตยชญ คําม่ิง ท่ีอยู 97/2 หมู 24 ตําบลบานไร อําเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค

60150 ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2545 สําเร็จการศึกษาปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกเซรามิก จาก

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ (เจ็ดยอด) เชียงใหม

พ.ศ. 2549 ศึกษาตอระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเคร่ืองเคลือบดินเผา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2546 – 2549 บริษัท ควอลิตี้เซรามิก จํากัด พ.ศ. 2551- 2552 อาจารยพิเศษ สาขาวิชาเคร่ืองเคลือบดินเผา มหาวิทยาลัย

ศิลปากร