33
บทที2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาเรื่อง ปจจัยที่สงเสริมภาวะผูนําสตรีทองถิ่น อําเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี ไดมี การสํารวจองคความรูเกี่ยวกับการวิจัย สามารถสรุปเปนหัวขอตาง ไดดังนี1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับผูนําและภาวะผูนํา 2. แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทสตรี 3. แนวคิดเกี่ยวกับการเขาสูบทบาททางการเมืองของสตรี 4. แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนาสตรี 5. เอกสารทางวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 6. กรอบแนวคิดการวิจัย แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวของกับผูนําและภาวะผูนํา ความหมายของผูนํา ผูนํา (Leader) มีนักวิชาการไดใหความหมายไวมากมายตาง กัน ทั้งความหมายทาง จิตวิทยาและความหมายทางรัฐศาสตรซึ่งมีที่นาสนใจดังนี(โสภา ชูพิกุลชัย, 2521, หนา 75) ผูนําคือ ผูที่สมาชิกในกลุมเปนผูที่ไดรับเลือกขึ้นมาอยางเปนทางการ และเปนที่ยอมรับของคนทั่วไป การ เปนผูนํามิใชแตเพียงเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงเทานั้นยังตองคํานึงถึงวาการเปลี่ยนแปลงนั้นเปนผล สืบเนื่องมาจากความสัมพันธของผูนํากับสมาชิกภายในกลุและกระบวนการทางสังคมดวย โสภา ชูพิกุลชัย (2521, หนา 75) ผูนํา คือผูที่สมาชิกในกลุมเปนผูที่ไดรับเลือกขึ้นมาอยาง เปนทางการ และเปนที่ยอมรับของคนทั่วไป การเปนผูนํามิใชแตเพียงเปนผูนําการเปลี่ยนแปลง เทานั้นยังตองคํานึงถึงวาการเปลี่ยนแปลงนั้นเปนผลสืบเนื่องมาจากความสัมพันธของผูนํากับ สมาชิกภายในกลุมและกระบวนการทางสังคมดวย จีรพรรณ กาญจนจิตรา (2522, หนา 47) ไดกลาววา ผูนํา หมายถึงผูมีความรูในเรื่องใด เรื่องหนึ่งอันเปนที่ตองการในการดําเนินงานของกลุมและสามารถใชความรูนั้นชวยใหบรรลุ วัตถุประสงคไดในสถานการณตาง เปนลักษณะของผูนําในดานการเปนผูมีความรูพิเศษเหนือกวา คนอื่นที่ทําใหเกิดความสําเร็จจากความรูของตนเอง อรุณ รักธรรม (2522, หนา 187) ใหความเห็นวา ผูนําเปนเพียงบุคคลซึ่งไดรับการแตงตั้ง หรือไดรับการยกยองใหเปนหัวหนา ผูตัดสินใจ เพราะมีความสามารถในการปกครองบังคับบัญชา และจะพาผูใตบังคับบัญชาหรือหมูชนไปในทางที่ดีหรือในทางที่ชั่วได

8 บทที่ 2 - digital_collect.lib.buu.ac.thdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53920293/chapter2.pdf · เป ี่ยอมรนทับของสมาชิกในสังคมนั้น

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาเรื่อง ปจจัยที่สงเสรมิภาวะผูนําสตรีทองถ่ิน อําเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี ไดมีการสํารวจองคความรูเกี่ยวกับการวจิัย สามารถสรุปเปนหัวขอตาง ๆ ไดดังนี ้ 1. แนวคดิและทฤษฎีที่เกี่ยวกบัผูนําและภาวะผูนํา 2. แนวคดิเกีย่วกับบทบาทสตรี 3. แนวคดิเกีย่วกับการเขาสูบทบาททางการเมืองของสตรี 4. แนวคดิและทฤษฏีที่เกี่ยวกบัการสงเสริมและพัฒนาสตรี 5. เอกสารทางวิชาการและงานวิจยัที่เกีย่วของ 6. กรอบแนวคิดการวจิัย

แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวของกับผูนาํและภาวะผูนํา ความหมายของผูนํา ผูนํา (Leader) มีนักวิชาการไดใหความหมายไวมากมายตาง ๆ กัน ทั้งความหมายทางจิตวิทยาและความหมายทางรัฐศาสตรซ่ึงมีที่นาสนใจดังนี้ (โสภา ชูพิกุลชัย, 2521, หนา 75) ผูนําคือ ผูที่สมาชิกในกลุมเปนผูที่ไดรับเลือกขึ้นมาอยางเปนทางการ และเปนที่ยอมรับของคนทั่วไป การเปนผูนํามิใชแตเพียงเปนผูนาํการเปลี่ยนแปลงเทานั้นยังตองคํานึงถึงวาการเปลี่ยนแปลงนั้นเปนผลสืบเนื่องมาจากความสัมพันธของผูนํากับสมาชิกภายในกลุม และกระบวนการทางสงัคมดวย โสภา ชูพิกุลชัย (2521, หนา 75) ผูนํา คือผูที่สมาชิกในกลุมเปนผูที่ไดรับเลือกขึ้นมาอยางเปนทางการ และเปนที่ยอมรบัของคนทั่วไป การเปนผูนาํมิใชแตเพียงเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงเทานั้นยงัตองคํานึงถึงวาการเปลี่ยนแปลงนัน้เปนผลสืบเนื่องมาจากความสัมพันธของผูนํากับสมาชิกภายในกลุมและกระบวนการทางสงัคมดวย จีรพรรณ กาญจนจิตรา (2522, หนา 47) ไดกลาววา ผูนํา หมายถึงผูมีความรูในเรื่องใดเร่ืองหนึ่งอันเปนที่ตองการในการดําเนินงานของกลุมและสามารถใชความรูนั้นชวยใหบรรลุวัตถุประสงคไดในสถานการณตาง ๆ เปนลักษณะของผูนาํในดานการเปนผูมีความรูพิเศษเหนือกวาคนอื่นที่ทําใหเกิดความสําเรจ็จากความรูของตนเอง อรุณ รักธรรม (2522, หนา 187) ใหความเห็นวา ผูนาํเปนเพียงบุคคลซึ่งไดรับการแตงตั้งหรือไดรับการยกยองใหเปนหัวหนา ผูตัดสินใจ เพราะมีความสามารถในการปกครองบังคับบัญชา และจะพาผูใตบังคับบัญชาหรือหมูชนไปในทางที่ดีหรือในทางที่ชั่วได

5

ถวิล ธาราโภชน (2532, หนา 117) ไดใหความหมายผูนําไววา ผูนํา หมายถึงบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่เปนสมาชิกของกลุม โดยที่เขาพยายามจะมอิีทธิพลเหนือสมาชิกคนอื่น ๆ มากกวาที่สมาชิกเหลานัน้จะพยายามมอิีทธิพลเหนือเขา ราชสีห ชายแดน (2538, หนา 581) ไดใหความหมายผูนําวาคือ บุคคลที่ไดรับการแตงตั้งหรือไดรับการยอมรับยกยองใหเปนหวัหนา หรือผูนํา หรือผูบังคับบัญชา มีความสามารถในการปกครองบังคับบัญชาลูกนองหรือผูใตบังคับบัญชา ใหเปนไปในทางทีถู่กตอง เพื่อใหงานสําเร็จ สมความมุงหมายขององคการหรือหนวยงานนั้น เอกชัย กี่สุขพันธ (2538, หนา 98) ไดใหความหมายของผูนําไว คือ บุคคลที่มีบทบาทหรือมีอิทธิพลตอผูอ่ืน ในองคการหรือในหนวยงาน ไมวาจะเปนความคิดหรือพฤติกรรมการทํางาน พระธรรมปฎก (2541, หนา 2) กลาววา ผูนําเปนบุคคลที่มีความสําคัญตอการอยูรอด สวัสดิภาพและสันติสุขของสังคมและประเทศชาติทั้งหมด ธงชัย สันติวงษ (2543, หนา 410) กลาววา ผูนําคือผูที่มีภาระหนาที่ทีจ่ะกอใหเกิดความรวมมือ (Cooperation) อยางดีระหวางสมาชิกฝายตาง ๆ ขององคการ โดยผูนําจะตองสามารถรวบรวมพลังและใชประโยชนของบุคลากรภายในองคการเพื่อผลสําเร็จตามวัตถุประสงคขององคการ พรนพ พุกกะพันธุ (2544, หนา 19) สรุปไววา ผูนํา หมายถึงบุคคลที่ไดรับแตงตั้งขึน้มาหรือไดรับการยกยองใหเปนหัวหนา เปนผูตัดสินใจ เพราะมีความสามารถในการปกครอง บังคับบัญชา และจะพาผูตามหรือผูอยูใตบังคับบัญชาหรือหมูชนไปในทางที่ดีหรือช่ัวไดโดยใชอิทธิพลในความสัมพนัธที่มีอยู โดยสรุปอาจกลาวไดวา ผูนํา คือบุคคลใดก็ตามที่มีอิทธิพลเหนือคนอื่นในกลุม หรือมีบทบาทสําคัญในการนํากลุมไปสูความสําเร็จตามเปาหมายที่ตั้งไว และในการที่จะใหจุดมุงหมายบรรลุผลสําเร็จเร็วขึ้น ความหมายของภาวะผูนําหรอืความเปนผูนาํ โสภา ชูพิชัยกลุ (2521, หนา 203) ไดรวบรวมจากขอเขยีนของนักจิตวทิยาสังคม แฮมปฮิล (Hamphill) ถึงภาวะความเปนผูนําไววา เปนการแสดงออกถึงการกระทําของบุคคลซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการของมวลชน โดยสามารถทําใหงานของมวลชนสําเร็จลุลวงไปดวยด ีมีประสิทธิภาพ และภาวะความเปนผูนํานี้เกดิขึ้นได 3 ลักษณะคือ 1. เกิดจากอํานาจตามตัวบทกฎหมาย หรือโดยขนบธรรมเนียมประเพณใีนสังคม 2. เกิดจากการใชอํานาจบารมีของผูนําเอง ซ่ึงเปนลักษณะของผูนําอภิลักษณ

6

3. เกิดจากการใชเทคนิคในการแสดงบทบาท เชน ภาวะความเปนผูนําแบบพอปกครองลูกภาวะความเปนผูนําแบบผูเชี่ยวชาญหรือผูชํานาญการเปนตน โสภา ชูพิกุลชัย (2521, หนา 75-76) ไดเสนอทฤษฎีการเกดิภาวะผูนําไว 3 ทฤษฎี ดังนี ้ 1. ทฤษฎีมหาบุรุษ (Great Man Theory) ผูนําเกิดขึน้จากการที่บุคคลมีลักษณะพิเศษที่ตกทอดกันมา การเปลี่ยนแปลงชีวิตในสังคมหรือในกลุมจะเปนผลกระทบมาจากบุคคลประเภทนี ้ซ่ึงเปนผูมีความสามารถมีความฉลาดผิดไปจากคนอื่น ดังนัน้ การเกดิภาวะความเปนผูนาํจึงเปนไปใน ลักษณะประเพณีสืบทอดตอกันมา 2. ทฤษฎีสถานการณ (Situational Theory) ผูนําเกิดขึ้นจากสถานการณส่ิงแวดลอมตาง ๆซ่ึงเปนพลังภายนอก เปนพลังที่ตัวผูนําเองไมสามารถควบคุมได หรือถาควบคุมไดกเ็ปนเพียงสวนนอยเชนสงครามทําใหเกิดวรีบุรุษ (ผูนํา) สถานการณส่ิงแวดลอมเหลานี้จะเปนพลังผลักดันใหเกิดผูนําขึ้น ดังนั้นภาวะความเปนผูนําที่จะเกิดขึ้นจึงอยูกับสถานการณ และสิ่งแวดลอมเหลานั้นเปนสําคัญ 3. ทฤษฎีทางสังคมมิติ (Sociometric Approach) ผูนําเกิดขึ้นเพราะความนิยมชมชอบและเปนที่ยอมรับของสมาชิกในสังคมนั้น และไดเลือกขึ้นมาเปนผูนํา ดังนัน้ภาวะความเปนผูนําจึงขึ้นอยูกับบุคลิกภาพ ความรู และความสามารถของผูนําที่ไดคัดเลือกขึ้นมา ชุบ กาญจนประกร (2526, หนา 290) ไดอธิบายความหมายและความสําคัญของภาวะผูนําวาเปนกระบวนการที่ผูเปนหัวหนาใชเพื่อใหอิทธิพลอยูเหนือจิตใจลูกนอง มีสาระสําคัญ 3 ประการคือ 1. ความสามารถของหัวหนาที่จะเปนผูอํานวยการในกิจกรรมตางๆ 2. ความสามารถของหัวหนาที่จะตองเอาชนะจิตใจของลกูนอง 3. ความสามารถของหัวหนาที่จะตองบากบั่นฝาฟนอุปสรรคมีการนําเปาหมายซึ่งตองขึ้นอยูกับบุคลิกภาพของหัวหนาเปนสําคญั เทพนม เมืองแมน (2529, หนา 182) ใหคําจํากัดความ ภาวะความเปนผูนําหมายถึง กระบวนการของการมีอิทธิพลตอกิจกรรมของบุคคลหรือของกลุม เพื่อใหบรรลุถึงจุดมุงหมายทีไ่ดกําหนดขึ้นไวในสถานการณหนึ่ง ๆ กลาวโดยสรุปแลว ภาวะผูนําหรือความเปนผูนําจึงเปนกระบวนการของการที่บุคคลใชอิทธิพลอยางเปนทางการ หรืออยางไมเปนทางการ ซ่ึงสามารถทําใหบุคคลอื่นยอมรับฟงและปฏิบัติ ตาม เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ตองการ

7

ลักษณะภาวะผูนํา มิทเชล และลารสัน (Michell & Larson, 1987, pp. 435-436) ไดช้ีใหเหน็องคประกอบที่สําคัญ 3 ประการ ในการพจิารณาวาผูนําใดมีภาวะผูนําหรือไม ไดแก 1. ภาวะผูนํา เปนกระบวนการของการใชอิทธิพล ที่ผูนําพยายามจะมีอิทธิพลเหนือผูตาม เพื่อใหมพีฤติกรรม การปฏิบัติงานตามตองการโดยมีจดุมุงหมายขององคการเปนเปาหมาย ไมใชเร่ืองของบุคคลที่จะพึงมีภาวะผูนําไดโดยท่ีไมไดมีการกระทําใด ๆ เปนกระบวนการ (Process) ใหเกิดอิทธิพลตอผูอ่ืน ดังนั้น ผูนําทางจากการแตงตั้ง เชน ผูอํานวยการ ผูบัญชาการ อาจจะมภีาวะหรือไมก็ได ทัง้นี้ขึ้นอยูวามีลักษณะทั้ง 3 ประการหรือเปลา ในทางตรงขาม ผูที่แสดงภาวะผูนําอาจจะไมเปนผูนําที่แบบทางการ แตมีองคประกอบ 3 ประการนั้น 2. ภาวะผูนํา นอกจากเปนกระบวนการแลว ภาวะผูนําจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อผูตามยอมใหผูนําใชอิทธิพลตอตัวเขา ซ่ึงโดยทั่วไปก็ตองพิจารณาถึงระดับความถูกตองของอิทธิพลที่ใชดวยวาไมใชเปนการใชอํานาจเขาขูเข็ญ หรือบีบบังคับใหทําตาม เพราะถาเปนการเชนนั้นก็ไมถือวาผูนํามีภาวะผูนําได 3. ภาวะผูนํา จะถูกอางถึงเมื่อจุดมุงหมายของกลุม หรือองคการประสบความสําเร็จ ดังนั้นถาหากผูนําไมสามารถ นํากลุมไปสูความสําเร็จดังกลาวได ก็ยอมหมายถึงวาผูนําไมไดแสดงภาวะผูนําหรือไมมีความสามารถในการนํานั่นเอง ประสิทธิภาพของภาวะผูนํา ความหมายของประสิทธิภาพของภาวะผูนาํก็เหมือนกับความหมายของภาวะผูนําที่มีมากและแตกตางกนัไปตามความสนใจ และขอบเขตการศึกษาของนักวจิัย นอกจากนั้นสิง่สําคัญอีก ประการหนึ่ง คือ เกณฑ (Criteria) ที่จะใชวดัหรือประเมินประสิทธิภาพของภาวะผูนํา 1. ผลที่เกิดขึ้นของกลุม (Outcome) คือผลท่ีเกิดขึ้นของกลุม เนื่องจากความสามารถในการนํา หรือภายใตการนําของผูนํา เชน ผลสําเร็จของการปฏิบัติงานของกลุม การสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว การอยูรอดของกลุมความกาวหนาของกลุม ความพรอมของกลุม ความสามารถในการแกปญหาของกลุม ความพึงพอใจของสมาชิกของกลุมที่มีตอผูนํา และฐานะที ่ไดรับการยอมรับไมเปล่ียนแปลงของผูนํา สําหรับผลสําเร็จของการปฏิบัติงานในองคการธุรกิจ อาจจะเห็นไดชัดจากผลกําไรที่เพิ่มขึ้น ยอดขายที่เพิ่มขึน้ ครองสวนแบงของตลาดมากขึ้น เงินหมุนเวียนลงทุนมากขึ้น รวมทั้ง การยอมรบัในผูนําจากผูบังคับบัญชา เพื่อน และผูตามมากขึ้นสวนองคการของรัฐมักจะเนนไปที่ ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตและการบริการขององคการ 2. ทัศนคติของผูตาม (Attitude of Followers) ทัศนคติของผูตามหรือผูใตบังคับบัญชาที่มีตอผูนํา นิยมใชเปนเกณฑตดัสินประสิทธิภาพของผูนําอกีเกณฑหนึ่ง ซ่ึงสวนใหญจะทราบได โดย

8

การใชแบบสอบถามหรือการสัมภาษณผูตาม ดังตัวอยางคําถามตอไปนี้ ผูนําสามารถตอบสนองความตองการและคาดหวังของผูตามไดดีเพียงใด ผูตามชอบ ยกยองและยอมรับผูนําเพียงใด ผูตามมีความยินดีในการปฏิบัติงานตามคําสั่งหรือคําขอรองของผูนําแคไหน ผูตามตอตาน เพกิเฉย ที่จะไมปฏิบัติตามคําสั่งหรือคําขอรองของผูนําหรือเปลา นอกจากนั้น อาจดูไดจากการมีคํารองทุกข และบัตรสนเทหตาง ๆ สงถึงผูนําในระดับสูงกวา รวมทั้งการขอยาย การขาดงาน การหนวงเหนีย่วงาน และการหยุดงานมากขึน้ เปนตน 3. คุณภาพของกระบวนการกลุม (Quality of Group Process) คุณภาพของกระบวนการกลุมก็เปนเกณฑที่ใชประเมนิประสิทธิภาพของผูนํา โดยประเมินจากความสนับสนนุดานตาง ๆ และความตั้งใจที่จะทําใหคณุภาพของกระบวนการกลุมของลูกนองมีคุณภาพดีขึ้นใน ดานความ สามัคคี ความรวมมือ แรงจูงใจ การแกปญหา การตัดสินใจ การแกไขความขัดแยง ประสิทธิภาพ ของงานเฉพาะดาน กิจกรรมขององคการ การมีทรัพยากรอยางพอเพียง และความพรอมของกลุมที่จะรับมือตอการเปลี่ยนแปลง และเหตกุารณวกิฤตตาง ๆ รวมทั้งการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของการทํางาน การสรางความมั่นใจใหสมาชิก การเพิ่มพูนทักษะในงาน และการพัฒนาสุขภาพจิตของสมาชิกใหดีขึน้

แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทสตรี แนวคดิสตรีนยิม สตรีนิยม หรืออิตถีนิยม (Feminism) ไดมผูีใหคําจํากดัความไวหลายความหมาย ดังนี้ ชลิดาภรณ สงสัมพันธ (2541, หนา 78) กลาววา สตรีนิยม เปนแนวการศึกษาที่ศึกษาโดยเอาผูหญิงเปนแกนกลางของการศึกษา ในขณะเดียวกนักเ็ปนยุทธศาสตรในการตอสูดวย สมเกียรต ิวันทะนะ (2544, หนา 130) สรุปไววา สตรีนิยม หรืออิตถีนิยม คือ อุดมการณที่พยายามสงเสริม และยกระดับสถานภาพ บทบาททางสังคมของผูหญิงไมใหต่ําตอยกวาผูชาย สตรีนิยมจึงเห็นวาความแตกตาง ระหวางเพศหญิง – เพศชายของบุคคล มิไดเปนเพยีงความแตกตางทางสรีรวิทยาตามธรรมชาติเทานั้น หากเปนความแตกตาง ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ซ่ึงมนุษยเปนผูสรางขึ้นดวย สุชีลา ตันชัยนนัท และจีรต ิติงศภัทิย (2542, หนา 35-37) ไดแบงกลุมสตรีออกเปน 4 กลุมตามกรอบความคิดทางทฤษฎี คือ 1. สตรีนิยมในแนวทางเสรีนยิม (Liberal Feminism) เห็นวาความเสมอภาคระหวางเพศเปนสิ่งจะเกิดขึ้นไดโดยสมบูรณ โดยไมจาํเปนจะตองเปลี่ยนโครงสรางทางเศรษฐกจิการเมืองพื้นฐานของสงัคม

9

2. สตรีนิยมในแนวสังคมนยิม (Social Feminism) เห็นวา การกดขี่ทางชนชั้นทางเชื้อชาติและทางเพศ มีความสัมพันธ เกี่ยวของกันอยางซับซอนแนบแนน ระบบทุนนิยมเปนสาเหตุของการกดขี่ทางชนชัน้ 3. สตรีนิยมในแนวหัวรุนแรง (Radical Feminism) เห็นวา การกดขี่ระหวางเพศเปนรูปแบบที่ลึกลํ้า และยั่งยืนทีสุ่ดในบรรดาการเอารัดเอาเปรียบทั้งมวล เปนรากเหงาของการเอารัด เอาเปรียบทางชนชั้น และเชือ้ชาติ 4. สตรีนิยมเชงิวัฒนธรรม (Cultural Feminism) มีทัศนะวา คุณสมบัติของผูหญิงที่แตกตางจากชายนั้น อาจจะกลายเปนพลังสําคัญของการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธระหวางมนุษยชาต ิเปนกระบวนการทางทฤษฎีที่มุงคนควาเกีย่วกับการสรางสรรควัฒนธรรมของผูหญิงที่เปนเอกเทศ โดยไมเนนการเสนอแนวทางเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และเศรษฐกจิอยางใดอยางหนึ่งโดยชัดเจน กลาวโดยสรุป สตรีนิยม หรืออิตถีนิยม หมายถึง อุดมการณ ที่พยายามสงเสริม และยกระดับสถานภาพและบทบาททางสังคมของผูหญิง รวมถึงการเรยีกรองความเสมอภาคในดาน ตาง ๆ ที่สตรีไมไดรับความเปนธรรม และมองวา ความแตกตางระหวางเพศ มิไดเปนเพียงความแตกตางทางสรีรวิทยาตามธรรมชาติเทานั้น หากเปนความแตกตางทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง บทบาทสตรี จากแนวคิดสตรีนิยมที่ไดกลาวมา ทําใหเห็นความสําคญัของบทบาทสตรีมากขึ้นไดมีผูที่สนใจและใหทัศนะเกี่ยวกับบทบาทสตรีไวดังนี ้ อมรา พงศาพิชญ (2521, หนา 92) ไดแสดงความเหน็ไววา บทบาทของสตรี คือ สิทธิ หนาที่ในการประพฤติปฏิบัติ ซ่ึงสังคมคาดหวังใหปฏิบตัิเชน บทบาทของสตรีในฐานะแม ก็คือทําหนาที่เล้ียงดูลูกใหเปนคนด ีและรูจักทํามาหากิน พัทยา สายห ู(2529, หนา 57-59) กลาวไววา บทบาทของสตรี คือขอบเขตอํานาจหนาที่ และสิทธิในการกระทําตามบทบาทของแตละงานที่สตรีมีตอผูอ่ืน และบทบาทตาง ๆ ของสตรีทางสังคมนั้นมีไดเพราะสังคมรวมกันกําหนดบทบาทไวดวยวธีิการตาง ๆ ที่ไมใชกฎหมายหรือขอบังคับเปนลายลักษณอักษรเสมอไป แตตองอาศัยความตองการและยอมรับกนัในหมูชนที่เกี่ยวของ เมทิน ีพงษเวช (2544, หนา 7) กลาววา บทบาทหลักของสตรีคือ ดุแลความเปนอยูของครอบครัวในฐานะ ภรรยาและแม โดยมีลักษณะหลายดานและพรอม ๆ กัน ถึงแมจะมสีวนในการ

10

ทํางานหารายได สังคมก็คาดหวังใหทําหนาที่ แม และภรรยาไปดวย โดยไมขาดตกบกพรอง ซ่ึงทําใหเกิดภาระหลายดานของผูหญิง จากความหมายที่กลาวมาขางตน อาจพอสรุปไดวา บทบาทสตรี หมายถึง สิทธิหนาที่ หรือพฤติกรรมอันพึงคาดหมายของบุคคลแตละคนในสงัคม ภายใตวฒันธรรมที่สังคมนั้น ๆ กําหนดขึ้นซึ่งเปนพฤติกรรมที่ถูกคาดหวังโดยผูอ่ืน เปนการกระทําของบุคคลตามสถานภาพที่ตนดํารงบทบาทเปนสิ่งที่คูกับสถานภาพ ซ่ึงเปนโครงสรางของสังคม บทบาททางเศรษฐกิจ การปรับเปลี่ยนโครงสรางทางเศรษฐกิจโลกชวงป พ.ศ. 2513 ทําใหตองมีการวางกฎเกณฑโลกใหม เนื่องจากการแขงขันและระบบคมนาคมที่กาวหนา ทําใหเกิดความตองการใหสตรีเขามามีสวนรวมในการผลิต และโดยเหตุที่สตรีไดเขามามีสวนรวมทํางานนี้เอง ทําใหบางประเทศ สามารถกําหนดนโยบายเปลีย่นไปสูอุตสาหกรรมเพื่อความกาวหนาโดยยึดถือการใชแรงงานเปนหลักในอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก เชน ส่ิงทอ เครื่องนุงหม และอิเล็กทรอนิกส โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแกไขปญหาเศรษฐกิจ (คณะกรรมการสงเสริมและประสานงานสตรีแหงชาต,ิ 2535, หนา 272) ในบริบทของการพัฒนาเศรษฐกิจแบบโลกาภวิัฒนนัน้ สตรีมีความสําคัญมากมายเกนิกวาการเปนเพยีงแคคนงานในโรงงานที่ผลิตสินคาสงออก แตในการพฒันาเศรษฐกิจแบบโลกาภิวัฒนดงักลาว สตรีกับเปนผูตกอยูในโยงใยที่สลับซับซอนของกระแสโลกาภวิัฒนซ่ึงมีสวนไดเสียตอทั้งสตรีบุรุษ และเด็ก สวนเสียดงักลาวสะทอนออกมาในรปูของชองวางตาง ๆ ความไมสมดุล และความขัดแยงระหวางหญิงกับชายในกระบวนการพัฒนา เมื่อประชากรจํานวนครึ่งหนึ่งของประเทศถูกผลกระทบจากสวนเสียนั้น นับเปนการสญูเสียของประเทศชาติดวยเชนกัน (คณะกรรมการสงเสริมและประสานงานสตรีแหงชาต,ิ 2535, หนา 13) สภาพเศรษฐกจิไทยไดมีการขยายตวัมากขึน้จึงทําใหสตรีมีโอกาสเขารวมในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ ดังจะเห็นไดจากการที่สตรีไดเขาไปมีบทบาทดานการผลิต การบริหาร ตลอดจนเปนผูกอตั้งและบกุเบิกธุรกิจมากมาย จะเห็นไดจากสตรีไทยทีอ่ยูในวัยทํางาน มีสัดสวนเกือบรอยละ 50 ของกําลังแรงงานทั่วประเทศ โดยรอยละ 80 ของกําลังแรงงานสตรีอยูในชนบทซึ่งเกือบครึ่งหนึ่งทําอยูในภาคเกษตรกรรม (คณะกรรมการสงเสริมและประสานงานสตรีแหงชาต,ิ 2535 หนา 146-153) ทางดานเศรษฐกิจผูหญิงมีบทบาทอยางสําคัญไมวาจะมองในดานของการผลิต การจัดหาปจจัย การบริโภค การจําแนกแจกจาย สังคมไดผลักภาระไวใหกับผูหญิงอยางมากทั้งในการผลิต

11

กําลังคนหรือแรงงานทดแทน การเสริมสรางพลังแรงงานทดแทนพลังงานที่สูญเสียใหแกแรงงานชาย เพื่อใหพรอมสําหรับการทํางานในรอบหรือวันตอไป การดูแลครอบครัว ซ่ึงในทางเศรษฐศาสตรถือเปนหนวยเศรษฐกิจระดบัยอยที่สุดใหคงสภาพอยูตอไปดวยดีทั้งในดานกจิกรรมการบริโภค และการเปนแหลงแรงงานใหแกระบบ นอกจากนี้ผูหญิงยงัเขามีสวนรวมในการผลิตโดยตรงในฐานะผูขายแรงงานอีกดวย (ธีรนาถ กาญจนอกัษร, 2542, หนา 119) กนกศกัดิ ์แกวเทพ (2544, หนา 374-378) ใหความเห็นวา ในวิถีของเศรษฐกิจ มักหลีกไมพนที่จะเกีย่วของกับมิติของการผลิต การจําหนายและปนผลการผลิต ตลอดจนการบริโภค หมายถึงวาชายและหญงิเปนสวนหนึง่ที่สําคัญของระบบและกระบวนการทางเศรษฐกิจ การมีสวนรวมของ ชายและหญิงในทางเศรษฐกจินั้น อาจแบงไดเปน 2 ลักษณะ ไดแก 1. ในฐานะที่เปนผูผลิต เปนแรงงานซึ่งเมื่อรวมกับปจจัยการผลิตอื่น ๆ กอใหเกิดผลผลิตขึ้นไมวาจะเปนสินคาหรือบริการ ทั้งในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และภาคบริการ 2. ในฐานะที่เปนผูบริโภคซึ่งบริโภคสินคา บริการ เพื่อการดําเนนิชีวติของตนเองและครอบครัวในฐานะดังกลาวทัง้ 2 อยาง ชายและหญิงจึงมสีวนทําใหเศรษฐกิจพัฒนาไปไดทั้ง 3 ระบบ ไดแก 2.1 เศรษฐกิจในระบบ ที่มีกลไกตลาด มีการแบงสรรงานกันทํา มีการผลิต และ การจําหนายแลกเปลี่ยนสินคา บริการ เปนสําคัญ 2.2 เศรษฐกิจนอกระบบ ซ่ึงรวมกิจกรรมทางเศรษฐกิจทีเ่กิดขึ้นในครัวเรือน มีกลไกการตลาดเขามาเกี่ยวของ แตอาจไมเต็มรูปแบบ 2.3 เศรษฐกิจครัวเรือนหรือเศรษฐกิจภาคอภิบาล ที่เชื่อมโยงกับทุนทางสังคม ที่ครัวเรือนลงทุนสงผลตอเศรษฐกิจแตมิไดถูกประเมินคณุคาไมไดใชกลไกการตลาดเปนเครื่องมือในการจดัสรรแบงปนทรัพยากรหรือผลการผลิต แตปจจยัทางสังคมและวัฒนธรรมมักเปนตัวกําหนดที่สําคัญ วรวิทย เจริญเลิศ (2543, หนา 1-3) กลาววา ภายใตกรอบคิดทางเศรษฐศาสตรที่เปนอยูในปจจุบันงานทีเ่กี่ยวพันกับภาคครัวเรือนนั้น มิไดรับการพจิารณาวาเปนงาน เพราะไมไดทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนซื้อขายตามกลไกตลาด โดยปกต ิงานบาน อาจรวมอยูภายใตงานดแูลคุณภาพชวีิตของครัวเรือนอันไดแก การดูแลความสะอาดที่อยูอาศัย การจัดหาอาหาร การดูแลชีวติความเปนอยูของคนในครอบครัว ตลอดจนการอบรมสั่งสอนบุตร ลักษณะของแรงงานเหลานี้จดัวาเปนแรงงานแฝง เปนทุนทางสังคม แรงงานแฝง ในลักษณะดังกลาว ผูหญิงเปนผูรับผิดชอบหลัก เปนแรงงานที่ไมมีคาจาง ดวยเปนแรงงานที่ลงไปเพื่อครอบครัว การที่ผูหญิงไดลงแรงรับผิดชอบงานตาง ๆ

12

เหลานี้ใหดําเนินไปไดอยางเรียบรอย ก็สามารถทําใหผูชายมีโอกาสไปทํางานที่กอใหเกิดผลทางเศรษฐกิจไดอยางเต็มที่มากขึ้น ในดานเศรษฐกิจนั้นผูหญิงมีบทบาทที่สําคัญยิ่ง เพราะจํานวนเกือบครึ่งหนึ่งของกําลังแรงงานของประเทศ ประมาณ 30 ลานคนเปนผูหญิง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในชวงทศวรรษที่ผานมาเปนผลมาจากการขยายตวัอุตสาหกรรมการสงออก และอุตสาหกรรมทองเทีย่วที่ทํารายไดใหแกประเทศอยางมหาศาล ซ่ึงในสวนนี ้อาจกลาวไดวา ผูหญิงเปนพลังสําคัญที่อยูเบื้องหลังความสําเร็จทางเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากในอุตสาหกรรมดังกลาว มีผูหญิงเปนแรงงานถึงรอยละ 80-90 (สถาบันวิจยับทบาทหญิงชายและการพัฒนา, 2545) จะเห็นไดวาทัง้ชายและหญิงมีสวนสําคัญในการสรางสรรคและพัฒนาเศรษฐกิจเปนอยางมากแมจะอยูในลักษณะ และสถานะที่แตกตางกันอยูบาง แตมิติของทฤษฎีและวิชาการทางเศรษฐศาสตรยังไมไดใหความสําคัญตอบทบาทของผูหญิงเทาที่ควร บทบาททางสังคม สุภัทรา สิงหลกะ (2535, หนา 204-206) ไดกลาววาปจจุบนัการพัฒนาสตรีตองเผชิญปญหาดังตอไปนี้ 1. ความไมเสมอภาคทางโอกาสของสตรี ในการไดรับบริการดานเศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งการไมไดรับสวนแบงหรือผลประโยชนจากการพฒันาและทรัพยากรในรูปแบบตาง ๆ 2. สตรีขาดการมีสวนรวมในกระบวนการตัดสินใจและการเปนผูนํา โดยเฉพาะกระบวนการพัฒนาและการเมือง ทําใหไมสามารถดําเนินการปองกนั และแกไขปญหาสังคมหลายดานที่เกีย่วกับสตรี 3. การมีการเลือกปฏิบัตติอสตรีทั้งทางนิตินัยและพฤตินยั 4. การขาดการคุมครองสถานภาพในฐานะที่เปนตวับุคคล และในฐานะที่เปนสตรี 5. คานิยมและเจตคติตอสตรีในเชิงลบยังมอียูทั่วไปสะทอนในรูปการกดีกัน และ การปฏิบัติ 6. เศรษฐกิจและสังคมของประเทศกําลังเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเรว็ หากการพัฒนาดําเนินไปอยางไมระมัดระวงั กลุมสตรีจะถูกละเลยและทอดทิ้งไวเบื้องหลัง ทําใหทรัพยากรกลุมนี้ไมสามารถมีสวนชวยพัฒนาประเทศได ดังนั้นการพัฒนาสตรีจึงควรสงเสริมความเสมอภาค และความคุมครองทางสังคม สุธีรา ทอมสัน (2537, หนา 2) กลาววาเมื่อสตรีมีโอกาสในการศึกษาสูงขึ้น มีความเชื่อมั่นในตนเองทําใหสตรีมีบทบาทในสังคมมากขึ้น เชน ขบวนการรณรงคเพื่อความเสมอภาคระหวางหญิงชายไดวิวัฒนาการมาจากกลุมที่รวมกันทํางานในเชิงสังคมสงเคราะห และการพัฒนา

13

จนถึงกลุมที่เนนความเทาเทยีมกันกับชายในทุก ๆ ดาน องคกรสตรีตาง ๆ ไดปฏิบัติงาน เพื่อยกระดับสถานภาพสตรีในหลายลักษณะไดแก การใหคําปรึกษา การฝกอบรม การวิจัยส่ือปฏิบัติการ การสรางเครือขายและการรณรงครวมกัน ตลอดเวลาที่ผานมาไดมีความพยายามอยางแข็งขันและตอเนื่องในการที่จะผลักดันใหบทบาทและความสําคัญของผูหญิงที่มีตอการพัฒนาประเทศเปนที่ประจักษ โดยใชขอมลูหญิงชาย เปนเครื่องมือสําคัญ ความกาวหนาทีเ่ปนรปูธรรมมากที่สุด คือ ในป 2544 มีการแกไขระเบียบของ กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาต ิไดใหผูหญิงและผูชายเปนกรรมการบริหารกองทุนฯ อยาง เทาเทียมกนั (สถาบันวิจัยบทบาทหญิงชายและการพัฒนา, 2545) ในปจจุบนัมีองคกรสตรีที่ไดอุทิศตนเปนประโยชนตอสังคม ดวยการชวยเหลือเด็ก และสตรีที่ถูกทารุณทางเพศ มีการสรางเครือขายในการรวมกันตอตานภัยทีจ่ะเกิดกบัเพศหญิงจะเห็นไดวาบทบาทสตรีมีสวนสําคัญอยางยิ่งในทุกสวนของโครงสรางทางสังคม ไมวาจะเปนกิจกรรมภาคเอกชนหรือภาครัฐ สตรีลวนมีสวนสําคัญทั้งสิ้น บทบาททางการเมืองและการบริหาร การเมืองเปนเรื่องที่มีผลกระทบตอทุกคนทั้งชายและหญิงในชีวิตประจําวัน แตเทาที่เปนอยูในปจจบุันอํานาจในการตัดสินใจทางการเมืองในทุกระดับยังคงอยูภายใตการควบคุมของผูชาย การตัดสินใจในเรื่องบานเมืองและการแกไขปญหาตาง ๆ ของประเทศจึงเปนไปในลักษณะที่ผูหญิงแทบจะไมมีสวนรวมเลย แมวาปจจบุันสังคมมิไดกีดกนัผูหญิงในทางการเมืองแลวก็ตาม หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในป พ.ศ. 2475 เพื่อเปล่ียนแปลงทางการเมืองจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบประชาธิปไตยภายใตรัฐบาลโดยคณะราษฎรซ่ึงเปนกลุมของผูสําเร็จการศึกษามาจากประเทศตะวันตกทั้งขาราชการพลเมือง และทหารซึ่งไดเขามามีอํานาจ การตัดสินใจทางการเมืองของไทยไดมีความคิดเชิงประชาธิปไตย และเจตคติเสรนีิยมไดปูทางใหม ีการปรับปรุงบทบาทและสถานภาพสตร ีไดมีรัฐธรรมนูญฉบับถาวรและกฎหมายเลอืกตั้งฉบับแรก พ.ศ. 2476 สตรีไดสิทธิในการสมัครรับเลือกตั้ง รวมทั้งการออกเสียงในการเลือกตั้งผูแทน ตอมาใน ป พ. ศ. 2492 นางอรพินทร ไชยกาลไดรับเลือกตั้งเปน ส.ส. หญิงคนแรกของไทย และในปเดียวกนัก็มีสตรีอีก 2 ทานไดรับเลือกตั้งเปนวุฒิสมาชิก (อมรา พงศาพิชญ และวมิลศิริ ชํานาญเวช, 2541, หนา 46) ถึงแมผูหญิงจะมีจํานวนไมมากที่ลงสมัครรับเลือกตั้ง และไดรับการเลือกตั้ง ผูหญิงก็มีบทบาทแข็งขันในฐานะผูชวยรณรงคหาเสียง ผูสนับสนุน และผูลงคะแนนเสียง ความสนใจของผูหญิงในเรื่องการเมืองจึงนบัวาไมนอย ถึงแมหลาย ๆ คนจะมองวา การเมืองไมใชเร่ืองของผูหญิง

14

จริงๆ แลว ผูหญิงอาจมีขอมูลที่ทันสมัยในเรื่องของการเมืองมากกวาชายก็ได (สุธีรา ทอมสัน และเมธินี พงษเวช, 2539, หนา 3) การมีสวนรวมทางการเมืองของผูหญิงเปนประเด็นสําคัญที่องคกรสตรีหลายองคกร ใหความสําคญั โดยแตละองคกรมีรูปแบบการทํากิจกรรมที่แตกตางหลากหลาย แตมีเปาหมายรวมกันวาผูหญิงจะตองรวมกันเพื่อสรางอาํนาจตอรองเพื่อใหมีการกระจายทรพัยากรและผลประโยชนตาง ๆ มาสูผูหญิง รวมทั้งผูหญิงจะตองเขาไปมีบทบาทเปนตัวแทนทางการเมืองในระดับตัดสินใจดวย (นัยนา สุภาพึ่ง, 2543, หนา 1) นัยนา สุภาพึ่ง (2543, หนา 3) กลาววา การรวมกลุมขององคกรสตรีในประเด็นทางการเมืองเปนสิง่ที่มีผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสถานภาพสตรี ไปในทางที่กาวหนาขึน้อยางชัดเจนในหลายประเด็น เชน มีการแกไข พัฒนากฎหมายหลายฉบับที่เปดโอกาสใหผูหญิงไดรับสิทธิเทาเทียมผูชายอีกทั้งผูหญิงจํานวนมากมโีอกาสกาวหนา ดํารงตําแหนงบรหิารระดับสูงมากขึ้นทั้งในภาคการเมือง และการบริหารราชการตลอดจนเอกชนบางสวนดวย ดังนั้นสรุปไดวา ขอบขายทางการเมืองนั้นเกี่ยวของไมเฉพาะการพัฒนาในระดับชาต ิแตจะเชื่อมโยงไปถึงระดับการดําเนินชวีิตของปจเจกบุคคลดวย การเขาไปมีบทบาททางการเมืองนั้น จึงเปนสิ่งที่สําคัญที่ผูหญิงจะตองเขาไปมีสวนอยางเต็มที่ เพราะผูหญิงเปนประชากรครึ่งหนึ่งของ ประเทศ สตรีกับการเมืองทองถ่ิน การเมอืงในระดับทองถ่ินที่ประชาชนในทองถ่ินนั้น ๆ มีสิทธิเขารวม และสามารถเขารวมในการบริหารจัดการ ซ่ึงกฎหมายไดกําหนดใหมีการเลือกตั้งโดยประชาชนมีหลากหลายรูปแบบ การบริหารราชการสวนทองถ่ินโดยทัว่ไปจะแบงเปนฝายสภาทองถ่ิน และฝายบริหาร การมีสวนรวมของสตรีในระดับทองถ่ินสามารถแบงออกเปน 3 กลุม ไดแก 1. การเมืองทองถ่ินที่เปนชุมชนเมือง ไดแก เทศบาล กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา 2. การเมืองในระดับจังหวัด ไดแก องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) 3. การเมืองในระดับชุมชน ไดแก องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) แมคนทั่วไปอาจมองวาการเมืองในระดับทองถ่ินไมมีความสําคัญเชิงอํานาจกวางขวาง เทาเทียมกับการเมืองในระดบัประเทศ แตการเมืองในระดับทองถ่ินถือเปนเวทีที่ประชาชนสามารถ เขามามีสวนรวมแบงปน และดูแลผลประโยชนที่มีผลกระทบตอชีวิตของคนในพืน้ทีน่ั้น ๆ ดังนั้น การมสีวนรวมทางการเมืองของสตรีในระดบัทองถ่ินจึงถือไดวาเปนมีความสําคัญยิ่ง เพราะไมวา จะเปนการเมืองในระดับใด สตรีควรไดรับโอกาสในการเขารวมทางการเมือง และสําคัญอยางยิ่ง ในการเขามามสีวนรวมในระดับทองถ่ิน เพราะเปนการเขารวมเพื่อดแูลจัดสรรผลประโยชนตาง ๆ

15

ที่จะมีผลกระทบตอชีวิตของตนโดยตรง เมทิน ีพงษเวช (2541, หนา 4) กลาววา มุมมองของผูหญิงและผูชายที่แตกตางกันในบริบทของการเมืองนั้นมีมากมาย เชน ในการฝกอบรมสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ซ่ึงสถาบันวิจัยบทบาทหญิงชายและการพัฒนาจัดขึ้นในชวง ป พ.ศ. 2539-2540 จากผูเขารับการอบรมจัดลําดับความสําคัญของโครงการพัฒนา ในกลุมของ อบต. หญิง จะมีโครงการที่เนนกลุมเปาหมายในตําบลที่เปนหญิง เชน โครงการฝกอาชีพ จัดตั้งศูนยเล้ียงเด็ก หรือแมจะเปนโครงการพัฒนาทางดานสาธารณูปโภค เชนการสรางถนนลาดยาง ซ่ึงเปนกลุมโครงการที่ อบต. ชายใหความสําคญัก็ตามแตเหตุผลในการเสนอโครงการนั้นแตกตางกัน

แนวคิดเกี่ยวกับการเขาสูบทบาททางการเมืองของสตรี การเขาสูบทบาทการเมืองของสตรี คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิ(2540, หนา 39) ไดกําหนดแนวทางการพัฒนาการมีสวนรวมในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองในแผนพฒันาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544 )วา “ รณรงคใหพรรคการเมือง มีนโยบายดานสตรีและสงเสริมใหสตรีเปนสมาชิกพรรคการเมืองและลงสมัครรับเลือกตั้งมากขึ้น และกระตุนใหพรรคการเมืองรวมเอาสตรีไวในตาํแหนงทางการเมือง ทั้งที่มาจากการเลือกตั้งและไมไดมาจากการเลือกตั้งในสัดสวนระดับเดียวกับบุรุษรวมทั้งสนับสนนุใหสตรีใชสิทธิในการเลือกตั้งทุกระดับ โดยเนนใหสตรีมีบทบาทสําคัญในการเลือกตั้งที่บริสุทธิ์ยุติธรรม” เมทิน ีพงษเวช (2541, หนา 19) กลาววา ความสําคัญและความจําเปนทีผู่หญิงจะตองเขาไปมีสวนรวมในการตัดสนิใจทางการเมืองและการบริหารนั้น ไดรับรองโดยที่ประชุมระดับโลกวาดวยเร่ืองสตรีคร้ังที่ 4 เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ. ศ. 2538 ขอ 181 ที่กําหนดวา “การที่สตรีจะมีสวนรวมอยางเทาเทียมในการตัดสินใจนัน้ ไมเปนแตเพยีงการเรียกรองความยุติธรรมเบื้องตน หรือเรียกรองประชาธิปไตย แตอาจมองไดวาเปนเงื่อนไขจําเปนประการหนึ่งของการที่ผลประโยชนของสตรีจะไดรับการพิจารณา หากสตรีไมมีสวนรวมและไมมีมุมมองของสตรีอยูในทุกระดับของการตัดสินใจ เปาหมายที่จะเกิดความเสมอภาคการพัฒนา และสันติภาพก็ไมบรรลุผลได” สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาชนบท จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2541, หนา 3-4) ไดกลาวถึงความจําเปนที่ผูหญิงตองเขามีบทบาททางการเมือง เพราะ 1. ความตองการของผูหญิงหรือเรียกวา ประเด็นผูหญิง Women’s Issue ซ่ึงมีลักษณะพิเศษเชน ความปลอดภัยในชีวิตและการทาํงานหรือในฐานะมารดา และรวมทั้งประเด็นที่เกีย่วกับการเลือกปฏิบัติตาง ๆ จะไดรับการสนับสนุนและผลักดนัใหมกีารออกกฎหมายหรอืสนองตอบใน

16

ระดับนโยบาย ซ่ึงผูหญิงเองจะเปนผูแทนที่ตอสูเพื่อเรื่องเหลานี้ไดหนกัแนนกวา เพราะเกิดจากประสบการณโดยตรง ความออนไหวในประเด็นเหลานีจ้ะมีมากกวา 2. ความเชี่ยวชาญและคุณสมบัติเฉพาะของผูหญิงที่เนนบทบาทดั้งเดิมกเ็หมาะทีจ่ะถูกใชใหเปนประโยชนในการตัดสินใจ ดูแลงานเชิงสังคมหลาย ๆ อยาง เชน การศึกษา สวัสดิการงานสาธารณสุข เยาวชนเปนตน 3. ผูหญิงเปนครึ่งหนึ่งของประชากร จึงเปนความชอบธรรมที่จะตองมีตวัแทนในสัดสวนที่เหมาะสม เพื่อเขาไปจัดสรรดูแลผลประโยชนของสังคม และของชาติอยางเสมอภาคที่ผานมาเราจะพบวางบประมาณที่สนับสนุนโครงการทางสังคม และคุณภาพชวีิตนัน้นอยกวางบประมาณที่สนับสนุนดานโครงสรางพื้นฐานหลายเทา 4. การมีผูหญิงในระดบัตัดสนิใจมากขึ้น แสดงถึงความชอบธรรมในระบบการเมืองนัน้ (Legitimacy) โดยเฉพาะในระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย ที่ใชหลักการปกครองแบบตัวแทน (Representative) ก็ยดึหลักการการมีสวนรวมอยางหลากหลายในระดับตดัสินใจในสัดสวนที่มีมวลมากพอที่จะผลักดันใหนโยบาย หรือความตองการของกลุมไดรับการยอมรับ และสามารถตรวจสอบกับกลุมผลประโยชนอ่ืน ๆ เมทิน ีพงษเวช (2541, หนา 1) กลาววา ผูหญิงนอยคนนกัที่จะอยูบนเสนทางแหงอํานาจและการตัดสนิใจ การมีสวนรวมในกระบวนการตดัสินใจทางการเมอืง และการบรหิารของผูหญิงนั้นเปนที่ทราบกันอยูวาจํากดัมาก ซ่ึงยอมหมายถึงการตดัสินใจเกี่ยวกบันโยบายสาธารณะซึ่งมีผล กระทบตอหญิงและชายอยางแตกตางกันนัน้ผูชายยังเปนหลักอยู ดังนั้น สาเหตุที่ผูหญิงตองมีสวนรวมในการตัดสินใจ มี 4 ประการคือ 1. เพื่อใหเปนไปตามหลักของประชาธิปไตยในเรื่องความเสมอภาค และความชอบธรรมเนื่องจากผูหญิงมีจํานวนครึ่งหนึ่งของประชากรจึงควรจะมีตัวแทนในสัดสวนที่สะทอนจํานวนเต็มนั้น 2. เพื่อการใชทรัพยากรบุคคลอยางคุมคา ผูหญิงมีความสามารถ และมีสวนรวมในการสรางสรรคและพัฒนาสังคมไมดอยไปกวาชาย การกีดกนัผูหญิงออกจากอํานาจ และบทบาทใน การที่จะกําหนดทิศทางของประเทศ นับวาเปนอุปสรรคตอการพัฒนา ทั้งยังเปนผลเสียโดยตรงตอสวนรวม 3. ผูหญิงและผูชายมีมุมมองโลกทัศน และความสนใจทีแ่ตกตางกันจากกระบวนการหลอหลอมทางสังคม ที่ทําใหบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบไมเหมือนกัน ดังนัน้ หากการมีสวนรวมในการตัดสินใจ หมายรวมถึง การมีสวนรวมในการแสดงจุดยนืและการพิทกัษ

17

ผลประโยชนแลวทั้งผูหญิง และผูชายควรจะมีสวนรวมดวยกันทั้งสองฝาย เพราะตางฝายตางรูซ้ึงถึงความตองการของตนไดดกีวา 4. เพื่อสรางสาระทางการเมืองการบริหารที่แตกตาง หากผูหญิงอยูในระดับที่มีอํานาจตัดสินใจที่มากพอ ก็จะสามารถสรางความแปลกใหมและแตกตาง ตลอดจนขยายขอบเขตประเดน็ทางการเมืองและการบริหารได อังกาบ กอศรพีร (2543) กลาววาการเมืองระดับประเทศเปนชองทางทีสํ่าคัญสุด ที่นักการเมืองจะไดรับรูความตองการ ความจําเปนและความลําบากตาง ๆ ของสตรีในเวทีการเมืองระดับประเทศนี้ประเดน็ตาง ๆ เกี่ยวกับสตรีสามารถถูกหยิบยกขึน้มาอภิปราย และนาํไปสูการสรางนโยบายเพื่อยกสถานภาพะของสตรี และความเสมอภาคทางเพศ ดังนัน้ จึงเปนสิ่งจําเปนมากที่จะตองมีสตรีในสัดสวนที่พอเพียงเพื่อเปนตัวแทนของสตรีในการเมืองระดับประเทศ วิมลศิริ ชํานาญเวช (2545, หนา 1) กลาววา เหตุที่ตองมีการพัฒนาสตรี เนื่องจากสตรีมีจํานวนประมาณครึ่งหนึ่งของประชากรทั้งประเทศ เปนผูมีบทบาทในครอบครัว ในฐานะภรรยา และมารดา ในทางเศรษฐกิจในฐานะผูใชแรงงาน ผูมีสวนรวมในการผลิต ในทางการเมืองในฐานะประชาชนซึ่งจะตองมีสวนรวมในการสรางสรรคสังคมและพัฒนาประเทศชาติ ผลจาการศึกษาวิจยัในหลายประเทศ องคการสหประชาชาติ (United Nations, 1992) ไดใหขอสรุปวาผูหญิง และผูชายมีความคิดเหน็และทัศนคตทิี่แตกตางกันในประเดน็สาธารณะตาง ๆ เพราะฉะนั้นขอแตกตางระหวางผูหญิงและผูชายนี้จะพบเชนกันในนกัการเมือง ซ่ึงจะสงผลใหการตัดสินใจทางการเมืองแตกตางกันระหวางนกัการเมืองหญงิและนักการเมืองชาย ขอแตกตางทางความคิดเหน็และทัศนคติเหลานี้มิไดจํากดัอยูเฉพาะเรื่องของสิทธิสตรี แตยังครอบคลุมไปถึงประเด็นอืน่ ๆ ดวย เชน เร่ืองของสันติภาพและสงครามซึ่งผูหญิงมักจะแสวงหาขอตกลงดวย สันติวิธี ตลอดจนประเด็นทางสังคมและสิ่งแวดลอม (สุธีรา ทอมสัน และเมธินี พงษเวช, 2546, หนา 5) สรุปแนวความคิดเกี่ยวกับการเขาสูบทบาททางการเมืองของสตรีไดวา เปนเรื่องสําคัญและจําเปนอยางยิ่งที่สตรีควรเขาสูบทบาททางการเมือง ดวยเหตุผลหลักที่วาเนื่องจากสตรีเปนประชากรครึ่งหนึ่งของประเทศ มุมมองของสตรีและบุรุษตอสาระสําคัญตาง ๆ มีความแตกตางกัน ดังนั้นเพื่อใหนโยบาย มาตรการ และแนวปฏิบัติที่กําหนดขึ้นสงผลตอประชาชนทั้งสตรีและบุรุษอยางสมดุลและเปนธรรม จําเปนตองมีทั้งสตรีและบุรุษในสัดสวนที่เทาเทียมในการตัดสินใจ และจากประสบการณในหลายประเทศที่ผูหญิงเขาไปมีสวนรวมอยูในสัดสวนเกนิกวารอยละ30 จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมได

18

ปจจัยที่สนับสนุนการเขาสูบทบาททางการเมืองของสตรี วียเนอร (Weiner, 1971) อธิบายถึงปจจัยทีส่นับสนุนการเขาสูบทบาททางการเมือง สรุปไดดังนี ้ 1. อุดมการณ เปนผลมาจากการสั่งสมกลอมเกลาทางสังคมและวัฒนธรรม มีการยอมรับการปกครองแบบพอกับลูก ยอมรับลักษณะการปกครองที่ผูปกครองมีความเด็ดขาดใชอํานาจบังคับ 2. ความแตกตางทางชีวภาพ เปนผลใหแตละเพศมีสภาพจติใจแตกตางกนั นอกจากนี้วัฒนธรรมไดกําหนดวิถีชีวติใหสอดคลองกบัชีวภาพของสตรีดวย 3. ลักษณะโครงสรางทางสังคมที่มีบุรุษเปนผูปกครอง วัฒนธรรม ประเพณีที่กําหนดใหบุรุษเปนผูนําครอบครัว 4. ระดับของชนชั้นในสังคมเปนสิ่งกําหนดสถานภาพทางสังคม บทบาทของสตรีสวนใหญแลว สตรีที่อยูในชนชั้นสูงจะมีบทบาทมากกวาสตรีที่อยูในชนชั้นต่ํา และในชนชั้นเดียวกนัสตรีก็มีบทบาทนอยกวาบุรุษ 5. สตรีตองมีหนาที่รับผิดชอบภายในบาน จึงทําใหไมมีเวลาในการเพิ่มพนูความรูใหสูงขึ้นซึ่งเปนปจจัยสําคัญทีจ่ะชวยในการยกระดับตนเองใหสูงขึ้น 6. การที่บุรุษใชกฎหมายเปนเครื่องมือในการบังคับสตรีใหอยูภายใตอํานาจของตน เชน การบัญญัติกฎหมายไวในกฎหมายอิสลามที่กําหนดใหบรุุษมีฐานะสูงกวาสตรี 7. แนวความคดิทางมนุษยวทิยาและทางศาสนา บทบาทสตรีถูกกําหนดโดยสภาพจติใจมากกวาสภาพทางรางกาย และถูกกําหนดโดยวัฒนธรรมมากกวาทางดานชีวภาพโดยเฉพาะตามคําสั่งสอนทางศาสนา 8. สตรีมีความผันแปรทางอารมณ และมกีารปรับเปลี่ยนบทบาทของตนตามคานิยมของสังคม ในทางจิตวิทยาความคิดเกี่ยวกับบทบาทของสตรีนั้น สตรีจะยอมรับบทบาทตามที่สังคมเปนผูกําหนดให จงึทําใหไดรับการปฏิบัติที่ไมเทาเทียมกับบุรุษ บวร ประพฤตดิี และคณะ (2520) ศึกษาพบวาปจจยัที่ผลักดันใหสตรีประสบความสําเร็จในการเปนผูนาํคือ 1. การมีระดับการศึกษาสูง 2. ภูมิหลังของผูนําสตรี มีสวนในการกําหนดแนวทางการเปนผูนํา แตไมใชเปนสิ่งกําหนดหรือมคีวามสัมพันธกับความสําเรจ็ในการเปนผูนําทางการบริหารของสตรี คณะทํางานวางแผนพัฒนาสตรีระยะยาว (2525, หนา 41) รายงานวา ปจจัยที่สนับสนนุการเขาสูบทบาททางการเมืองของสตรี คือ

19

1. ปจจัยจากสิง่แวดลอมภายนอก ไดแก การเปลี่ยนแปลงความเชื่อทางสังคม ทําใหอคติที่มีตอสตรีลดนอยลง ใหความสําคัญเรื่องความสามารถของบุคคลมากขึ้น การสรางความพรอมใหกับสตรีดวยการพึ่งพาตวัเองมากขึ้น ตลอดจนการรวมมือระหวางสตรีเปนองคกรมากขึ้น 2. ปจจัยตวัสตรีเอง ไดแก การที่สตรีไดรับการศึกษาสูงขึน้ ทําใหมีความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น มีภาระทางครอบครัวนอยลง โดยการสรางความเขาใจใหบุรุษมีความรับผิดชอบในภาระครอบครัวและเลี้ยงดูบุตรรวมกับสตรี ศศิพร สิทธิพันธ (2539, หนา 12) สรุปวา ปจจัยที่สนับสนุนสงเสริมตอการเขาสูบทบาททางการเมืองของสตรีมีอยูสองปจจัย คือ ปจจัยจากตวัสตรีเอง ซ่ึงไดแกภูมิหลังตาง ๆ ของสตรี และครอบครัวอาทิ การศึกษา อาย ุอาชีพ ภูมิลําเนา ภาระทางครอบครัว เปนตน ปจจัยจากภายนอกตวัสตรีหมายถึงคานิยมทางสังคม วัฒนธรรม กฎหมาย ลักษณะรูปแบบการปกครอง เหลานี้ ลวนแลวแตมีอิทธพิลตอการเขาสูบทบาททางการเมืองของสตรี สรุปวา ปจจัยที่สนับสนุนการเขาสูบทบาททางการเมืองของสตรี มี 2 ปจจัยสําคัญคอืปจจัยจากตวัสตรีเอง ซ่ึงไดแก ความเชื่อมัน่ในตนเอง ภูมิหลังตาง ๆ ของสตรีและครอบครัวครัว เชน การศึกษา อายุ อาชีพ ภูมิลําเนา ภาระครอบครัว เปนตน และปจจยัภายนอกของสตรี ไดแกคานิยมทางสังคม วัฒนธรรม กฎหมาย ลักษณะรูปแบบการปกครอง การสรางความพรอมใหกับสตรีการรวมมือกันเปนกลุม เปนองคกรของสตรี เปนตน ปจจัยที่เปนอปุสรรคตอการเขาสูบทบาททางการเมืองของสตรี ในประเด็นนี้มผูีศึกษาไวมากทั้งนักรัฐศาสตร นักสังคมวทิยา นักจิตวิทยาสังคม ทั้งจาก ตางประเทศ และในประเทศเชน อีเลียต (Elliott, 1977) ไดกลาวถึงขอจํากัด การเขาสูบทบาททางการเมืองของสตรีสรุปไดดังนี ้คือ 1. ทฤษฎีทวิวฒันธรรม (Cultural Dualism) อธิบายวา โดยธรรมชาติแลวสตรีมีความสามารถมากกวาบุรุษ เชน ความสามารถในการใหกําเนิดมนุษย บุรุษจึงพยายามกําหนด วัฒนธรรมขึ้นมาเพื่อใหเปนเครื่องมือในการควบคุมสตรีใหมีบทบาททีจ่ํากัด โดยการไมใหสตรีเขามีสวนรวมเกี่ยวของกับสงคราม ศาสนา และการเมือง 2. ทฤษฎีวิวัฒนาการทางสังคม (Social Evolutionary Theory) การที่สังคมเริ่มตนจากสังคมแบบปฐมภูม ิมาสูสังคมที่มีความสลับซับซอนมากยิ่งขึ้น ทําใหมกีารแบงงานกนัทําซึ่งนําไปสูความสัมพันธที่ไมเทาเทียมกัน โดยที่สตรีจะเปนฝายเสียเปรียบบุรุษ 3. ทฤษฎีลัทธิการพัฒนา (Developmentalism) มีสมมุติฐานวา การนําเทคโนโลยีมาใชในการพัฒนาสวนใหญเปนการใหความรูเฉพาะบุรุษเทานัน้ ขณะเดยีวกนัก็แสวงหาประโยชนจากการ

20

ใชแรงงานสตรี และแรงงานสตรีที่ทํางานภายในบาน เชน การทํางานบาน การเลี้ยงดูบุตร ก็ไมถูกนํามาคิดเปนสวนหนึ่งของการคํานวณรายไดประชาชาต ิ 4. ทฤษฎีการพึ่งพา (Dependency Theory) การที่โลกท่ีสามตองพึ่งพาอาศัยประเทศที่เจริญแลวทําใหประเทศอุตสาหกรรมเขามามีอิทธิพลตอประเทศโลกที่สาม โดยการเขาควบคุมตลาดและเทคโนโลยี ทั้งยังเบียดบังเอาทรพัยากรตาง ๆ จากประเทศโลกที่สาม พยายามชี้นําใหประเทศโลกทีส่ามมีการพัฒนาตามแบบอยางประเทศของตน ดังนั้น เมื่อพัฒนาประเทศใหเปนประเทศอุตสาหกรรมจึงไดมกีารเกณฑแรงงานบุรุษเขาเมอืงซึ่งเปนเขตอุตสาหกรรม ขณะทีแ่รงงานสตรียังคงอยูในชนบทและภายในบาน ภายหลังเมื่อจําเปนตองใชแรงงานเพิ่มมากขึน้ แรงงานสตรีจึงถูกดึงเขาสูภาคอุตสาหกรรม เชนเดียวกนั แตเปนแรงงานในระดับไมมีโอกาสกาวหนา เคริกพาทริก (Kirkpatrick, 1979) อธิบายถึงขอจํากัดที่ทําใหสตรีตองเผชิญหนากับอุปสรรคในการเขารับภารกิจทางดานการเมอืง ดังนี ้ 1. ขอจํากัดทางดานจิตวิทยา เปนปจจยัสําคัญที่ทําใหสตรีขาดบุคลิกภาพในการเปนผูนําประกอบกับความเชื่อตามคําสอนทางศาสนาที่เนนบทบาทของบุรุษ ที่ใหเปนผูใชอํานาจปกครองครอบครัว ทําใหสตรีเชื่อวาการใชอํานาจบังคับในสังคมเปนเรื่องของบุรุษ 2. ขอจํากัดทางดานวัฒนธรรม ซ่ึงเปนสิ่งที่กําหนดบุคลิกภาพทีแ่ตกตางกันระหวางสตรีกับบุรุษ วัฒนธรรมจะกําหนดบรรทัดฐานของเพศ จําแนกพฤติกรรมและบทบาทแตละเพศโดยอาศัยกระบวนการสั่งสมและกลอมเกลาทางการเมือง จึงเปนที่เชื่อกันวาวัฒนธรรมจํากัดการพัฒนาตนเองของสตรี จํากัดทางเลอืกและโอกาสในการมีสวนรวมในสังคม 3. ขอจํากัดทางดานบทบาท แงคิดนี้เชื่อวาบุคคลจะพยายามรักษาบทบาทของตน และจะพยายามประพฤติปฏิบัติตนตามที่ถูกคาดหวังจากสังคมภายนอก ดังนั้น เมื่อสตรีจําตองปฏิบัติตามบทบาททางเพศที่สังคมคาดหวังในการเปนมารดา และเปนภรรยาจึงทาํใหสตรีไมมีเวลาเพื่อการมีสวนรวมในงานอื่น ๆ นอกเหนือไปจากงานบาน ดังนั้น บทบาทตามที่ขนบธรรมเนียมประเพณ ีเปนผูกําหนดใหจึงไมชวยใหสตรีไดพัฒนาทักษะเพื่อการมีบทบาททางการเมืองได 4. ขอจํากัดจากการที่บุรุษวางแผนสมคบคิด เพื่อผูกมัดภรรยาใหมีบทบาทติดขัดอยูกับความเปนมารดาและภรรยา และจะยอมรับใหสตรีไดเขามีบทบาทเพื่อชวยรับภาระดานเศรษฐกจิเทานั้น ทั้งนี้มีสาเหตุมาจากความเชื่อที่วาบุรุษตองการรักษาอํานาจ และตําแหนง ที่มีอิทธิพลทางการเมืองของตนไวนั่นเอง คณะทํางานวางแผนพัฒนาสตรีระยะยาว (2525, หนา 11-12) สรุปวา อุปสรรคที่ยิ่งใหญในการพัฒนาใหสตรีมีสวนรวมทางการเมืองวา รัฐยังไมตระหนกัถึงคุณคาของพลังของสตรีจึงขาด ปณิธานทางการเมืองที่จะพฒันา และระดมพลังสตรีมาใชในการพัฒนาประเทศ คือ ขาดนโยบาย

21

เปาหมาย ทิศทางในการพัฒนา ขาดองคกรระดับชาติที่ดแูลรับผิดชอบในเรื่องนี ้สตรีขาดเสถียรภาพ และโอกาสที่จะพัฒนาตนเองใหเต็มศกัยภาพเพราะอยูในฐานะทีย่ากจนไมมีความรู ไพรัตน เดชะรินทร (2524) กลาววา ลักษณะการถายทอดวัฒนธรรมทางการเมืองแบบ อํานาจนยิม ซ่ึงอํานาจทุกระดับอยูในมือของบุรุษมาโดยตลอด โดยเฉพาะทําใหสตรีไดรับ การเลือกตั้งมจีํานวนนอย ในระดับชาต ิและมีจํานวนมากขึ้นในระดับทองถ่ิน ฐิติกัลยา หวังเจริญ (2536, หนา 48) ไดกลาวถึงปจจยัที่เปนอุปสรรคของสตรีในการเขาไปมีบทบาททางการเมืองไว ดังนี ้ 1. ดานการอบรม สรางแนวคิดและอุดมการณที่ยอมรับการใชอํานาจบงัคับ เชน ลักษณะผูนําหรือผูปกครอง ตองมีอํานาจและกาวราว จึงมีบทบาทที่เหมาะสมกับบุรุษมากกวาสตรี สตรีมักถูกกีดกนัจากการเขาสูระบบการเมือง 2. ดานกายภาพ เนื่องจากเพศชายและเพศหญิง มีสภาพรางกายและจิตใจแตกตางกัน ทําใหผูหญิงถูกมองวาออนแอ ไมเหมาะสมกับบทบาททางการเมือง ปจจัยดานกายภาพนี้ไดกําหนดบทบาทหนาทีต่างกันระหวางหญิงชาย โดยผานระบบวฒันธรรมของแตละสังคม 3. ดานโครงสรางสังคม ไดมอบใหผูชายทําหนาที่เปนผูปกครอง หัวหนาครอบครัวจากโครงสรางของระบบการเมอืงที่ถูกครอบงําโดยเพศชายมาโดยตลอด 4. ดานการจดัลําดับชนชั้นทางสังคม ไมวาจะเปนชนชั้นในระดับใด จะพบวา สตรีมีบทบาทในทางการเมืองนอยกวาชายยิ่งในระดับสูง จํานวนสตรียิ่งมีจํานวนนอยลง สมเกียรต ิวันทะนะ (2544, หนา 135 –136) ไดสรุปวา ความเปนชายเปนสิ่งที่มีความหมายในเชิงบวก (Positive) เพราะความเปนชาย เปนเรื่องของวัฒนธรรมและความมีเหตุผล เมื่อผูชายมีคุณสมบัติทั้งเหตผุลและวัฒนธรรม ผูชายจึงควรไดรับผิดชอบกิจการหรือกจิกรรมที่มีลักษณะสาธารณะ (Public) หรือเกี่ยวกับความเปนอยูของคนหมูมากได ในทํานองกลับกัน ผูหญิงซ่ึงถูกจัดใหเปนคนที่ไมมีความเดนในเรื่องเหตุผล (มีแตอารมณ) และไมสรางสรรค (ไมมีวัฒนธรรมมีแตธรรมชาติซ่ึงเปนธรรมดา) จึงไมเหมาะทีจ่ะใหรับผิดชอบหรือจัดการในเรื่องที่เกี่ยวของกับชวีิตหรือความเปนอยูของคนหมูมาก สํานักงานกจิการสตรีและสถาบันครอบครัว (2545, หนา 38) สรุปวา อุปสรรคที่กีดกั้นสตรีจากการมสีวนรวมทางการเมืองในทุกระดับ อุปสรรคสําคัญคือคานิยม และเจตคติดั้งเดิมที่กําหนดใหสตรีอยูในกรอบของการเลือกปฏิบัติ ในขณะที่ผูชายดํารงสถานะที่มั่นคงในสถาบันเชิงอํานาจสตรียังคงมีบทบาทอยูในครวัเรือน แมวาปจจุบันสตรีมีบทบาทนอกบานมากขึ้น แตดวยการหลอหลอมทางสังคม ทําใหสตรีตองแบกรับภาระในบานดวย

22

สรุปวา อุปสรรคที่ขัดขวางการเขาสูบทบาททางการเมืองของสตรี มาจาก 3 สาเหตุหลักที่สัมพันธกันอยางแยกไมออก ประการแรก คือ คานิยมทางสังคม กระบวนการสั่งสมและกลอมเกลาทางวัฒนธรรมเปนตัวกําหนดจํากดัทางเลือก และโอกาสในการเขามบีทบาททางการเมืองของสตรี ซ่ึงรวมถึงความเชื่อ ทัศนคต ิที่เนนบทบาทของบุรุษใหเปนผูใชอํานาจ และชี้นําวาการเมืองเปนเรื่องของบุรุษ ประการที่สอง คือ พันธนาการทางความคิด ผูหญิงขาดความเชื่อมั่นและประเมินคาตนเองต่ํา อันเนื่องมาจากวัฒนธรรมซึ่งไมเอื้อตอการเขาสูบทบาททางการเมืองของผูหญิง จึงทําใหขาดความมั่นใจและเชื่อวาการมบีทบาทในสังคมนั้นเปนเรื่องของบุรุษ และผูหญิงมีพลังไมมากพอที่จะเขาไปสูสถาบันทางการเมือง ประการที่สาม คือ ขาดการสนับสนุนขาดการสงเสริมจากองคกรที่ทํางานดานสตรี และที่สําคัญรัฐยังไมตระหนักถึงคุณคาของพลังของสตรีจึงขาดนโยบาย เปาหมาย ทิศทางในการที่จะพัฒนา ไมเอื้ออํานวย ไมสนับสนุนสตรีเทาที่ควร

แนวคิดและทฤษฏีเกี่ยวกับการสงเสรมิและพัฒนาสตรี แนวคดิวาดวยความเสมอภาค การพัฒนาและสันติภาพ จากอดีตถึงปจจุบันเปนทีย่อมรับกันวาการเลือกปฏิบัติทางเพศยังคงดํารงอยูในหลายมติิของชีวิตทั่วโลก ฉะนัน้ประเด็นการสรางความเสมอภาคระหวางบทบาทหญิง-ชาย จงึเปนศูนยกลางของการพัฒนา จากรายงานนโยบายศกึษาของธนาคารโลก (World Bank, 2000 อางถึงใน เนตรดาว ยั่งยุบล, 2544, หนา 15) ไดกลาววา การสรางความเสมอภาคระหวางบทบาทหญิง-ชาย เปนวัตถุประสงคหลักในการพฒันาดวยความสําคัญของตัวปญหาเอง และเพราะความเสมอภาคระหวางเพศจะชวยเสริมสรางขีดความสามารถของประเทศในการสรางความเจริญเติบโต ในการลดความยากจนในการบริหารอยางมปีระสิทธิผล การสงเสริมความเสมอภาคในมิติหญิง-ชาย จึงเปนสวนสําคัญของกลยุทธการพัฒนาที่มุงเนนใหคนทุกคนทั้งผูหญิงและผูชายหลุดพนจากความยากจน และสามารถยกระดับคณุภาพชีวิตของตนเองได ทั้งนี้รายงานของธนาคารโลกฉบับดังกลาวไดนําเสนอกลยุทธ 3 ประการในสงเสริมความเสมอภาคระหวางเพศ ไดแก 1. การปฏิรูปเชิงสถาบันดวยการสรางกฎระเบียบและองคกร เพื่อสรางสิทธิ และโอกาสที่เทาเทียมระหวางผูหญิงและผูชาย การปฏิรูประเบียบและองคกรดานกฎหมาย และดานเศรษฐกจิเปนเรื่องที่ตองดําเนินการเพือ่วางพื้นฐานของสิทธิ และโอกาสที่เทาเทียมกันสําหรับผูหญิงผูชาย เนื่องจากกฎหมายในหลายประเทศยังมิไดใหสิทธิที่เทาเทียมกันระหวางหญิงและชาย การปฏิรูปกฎหมายจึงเปนสิ่งที่ตองกระทําโดยเฉพาะอยางยิ่งกฎหมายครอบครัว รวมทั้งการปองกันการใชความรุนแรง สิทธิการถือครองที่ดิน การจางงาน และสิทธิทางการเมอืง

23

2. การสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจทีเ่สริมแรงจูงใจใหมีการจัดสรรทรัพยากร โดยเสมอภาคและเนนการมีสวนรวม รายไดที่สูงขึ้น และระดับความยากจนที่ลดลงมีแนวโนมที่จะชวยลดความไมเทาเทยีมระหวางเพศในดานการศกึษา การสาธารณสุข และโภชนาการ ผลิตภาพที่สูงขึ้น และโอกาสการจางงานใหม ๆ จะชวยลดความไมเทาเทยีมกันระหวางเพศในการจางงาน รวมทั้งการลงทุนโครงสรางพื้นฐานดานประปา การพลังงาน และการจราจรขนสง จะชวยลดความไม เทาเทียมกนัในมิติหญิง-ชาย ในแงที่ผูหญิงตองเปนผูแบกรับภาระทั้งหมด 3. ใชมาตรการเชิงรุกและมาตรการพิเศษ เพื่อแกไขปญหาความไมเทาเทียมกันระหวางเพศ ในการควบคุมทรัพยากรและสิทธิทางการเมือง โดยเหตุที่การปฏิรูปกฎระเบยีบองคกรควบคูกับการพัฒนาเศรษฐกิจอาจไมเพียงพอสําหรับการแกไขปญหาหรือผลที่ไดอาจตองใชระยะเวลายาวนานจึงจําเปนตองมีมาตรการเรงดวน เพื่อแกปญหาดงักลาวในระยะสั้น และระยะกลางโดยมองวากลยุทธทั้ง 3 จะเปนแนวทางและเครื่องมือที่สําคัญในการสรางใหเกดิความเสมอภาคระหวางบทบาทหญิง-ชาย ขึ้นในสังคม และเชื่อมัน่วาความเสมอภาคดังกลาวคือหัวใจในการพัฒนาสังคมในระดบัชุมชน ระดับประเทศ และระดับโลกไดในทกุมิติของการพัฒนาไมวาจะเปนการพัฒนาในมิติทางการเมอืง วัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจ นอกจากความเสมอภาคระหวางบทบาทหญิง-ชายจะเปนกุญแจสําคัญที่จําเปนสําหรับการพัฒนาแลว ความเสมอภาคดังกลาวยังมีความสัมพันธกับการสรางสันติภาพในทุกระดับ กลาวคือ การที่มนุษยหญิง-ชาย อยูรวมกันโดยตระหนักและสํานึกรูวาตนเองมีความเสมอภาคเทาเทียมกับผูอ่ืน โดยเฉพาะในมิติของศักดิ์ศรีความเปนมนษุย ความตระหนกัและสํานึกรูดังกลาวจะทําใหหญิง-ชาย และคนในทุกกลุมในสังคมยอมรับในความแตกตางหลากหลายนั้น และจะนํามาซึ่งการใชชีวิตอยูรวมกันอยางสันติสุขสืบไป แนวคดิวาดวยการสงเสริมการมีสวนรวมของสตรีในการพัฒนา แนวคดิในการดึงผูหญิงเขามาสูการพัฒนา (Integrating Women in Development) ได ถูกนํามาใชเปนครั้งแรกโดยองคการสหประชาชาต ิในป ค.ศ. 1975 จากนั้นมาองคกรระหวางประเทศ องคกรตาง ๆ ไดกําหนดให “ผูหญิงกับการพัฒนา” (Women in Development) เปนโปรแกรมหนึง่ของการพัฒนา เพื่อสรางความมั่นใจวาทรัพยากรมนษุยซ่ึงมีอยูเปนจํานวนมากถึงคร่ึงหนึ่งของประชากรโลกจะไมถูกละเลยในการนําไปใชประโยชน (เนตรดาว ยั่งยบุล, 2544) และเปนแนวคิดที่เกิดขึ้นเพื่อแกไขปญหาที่เกิดกับผูหญิง อันไดแก ปญหาเรื่องการขาดโอกาสในสังคม ปญหาความยากจน และปญหาดานการไมมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาอยางเตม็ที่ แมวาปญหาอนัเนื่องมาจากความไมเทาเทยีมทางเพศระหวางหญิง-ชาย ยังคงปรากฏอยูอยางชัดเจนในทุกสังคม โดยเฉพาะในเรื่องของการมีสวนรวมของผูหญิง/สตรีในกระบวนการ

24

พัฒนา การมีสวนรวมของสตรีในกระบวนการพัฒนามนีัยสะทอนใหเห็นถึง “อํานาจ” ของผูหญิงในการกําหนดชะตาชีวิตของตนเองรวมกับผูอ่ืน มิไดเปนเพียงผูที่รอผลจากการตัดสนิใจของผูอ่ืนเทานั้นฉะนั้นประเด็นของการสงเสริมการมีสวนรวมของสตรีในการพฒันาจึงเปนอกีมิติหนึ่งของการสงเสริมการมีสวนรวมทางการเมืองของสตรี ทั้งนี้กระบวนการและบทบาทการเขาไปมสีวนรวมของสตรีนั้นมีดวยกัน 5 ขั้นตอน คือ 1. การมีสวนรวมในการริเร่ิมโครงการ ไดแก การตระหนกัถึงปญหา การวิเคราะหหาสาเหตุของปญหา การกําหนด และจัดลําดับความสําคญัของปญหา ตลอดจนรวมในกระบวนการตัดสินใจ 2. การมีสวนรวมในการวางแผนโครงการ เปนขั้นตอนการกําหนดนโยบาย และวัตถุประสงคของโครงการ ตลอดจนกําหนดวิธีการในการดําเนินโครงการ 3. การมีสวนรวมในการดําเนินโครงการ เปนขั้นที่จะตองทําประโยชนใหกับโครงการ ซ่ึงอาจจะเปนการออกทุนทรัพย วัสดุ แรงงาน หรือการบริหาร และประสานงาน ตลอดจนการติดตอกับภายนอกตามแผนงานที่วางไว 4. ขั้นรับผลของโครงการ เปนขั้นที่ไดรับผลประโยชนหรือผลเสียที่อาจตามมา ซ่ึงอาจจะเปนผลทางวัตถุหรือจิตใจทีอ่าจจะกระทบไปสูบุคคลและสังคม 5. การมีสวนรวมในการประเมินและสรุปผลของโครงการเปนขั้นพิจารณาคุณคาของโครงการที่ดําเนินมาวาบรรลวุัตถุประสงคที่วางไวหรือไม การประเมินในขั้นนี้อาจกระทําระหวางการดําเนนิงานหรือภายหลังจากโครงการเสร็จสิ้นแลวกไ็ด (อคิน รพีพัฒน, 2527 อางถึงใน สุนิสิต สุขิตานนท และคณะ, 2535) รัฐบาลพยายามแกไขปญหาการไมมีสวนรวมของผูหญิงในการพัฒนา โดยการจดัทําโครงการใหม ๆ เพื่อกระตุนใหผูหญิงเขามามีสวนรวมในการพัฒนา แมกระนั้นรัฐยังไดมองขามเงื่อนไขที่ทําใหหญิงชายตอบสนองตอการพัฒนาแตกตางกัน ทําใหมองไมเห็นถึงอปุสรรคที่แทจริง ซ่ึงทําใหผูหญิงไมสามารถเขารวมในการพฒันาไดอยางเทาเทียม แตอยางไรก็ตาม มีผูตั้งขอสังเกตวาแนวคดิการสงเสริม/นําผูหญิงเขาสูพัฒนานั้น ตั้งอยู บนฐานคิดทีว่า “ผูหญิงมีปญหา” เปาหมายของการแกปญหาจึงเนนทีผู่หญิง โดยเปนกลุมที่แยกออก ตางหากจากกระบวนการพฒันาดวย ประเด็นผูหญิงจึงเปนประเดน็ทีถู่กเสริมเพิ่มเตมิเขาไป โดยเปนเพยีงสวนรอบนอกของกระบวนการพัฒนากระแสหลัก การดึงผูหญิงเขามามีสวนรวมในการพัฒนานั้น ยังมุงเนนในเรือ่งของการสรางรายได และเนนใหผูหญิงกลายเปนแมบาน (House Wifization) และวางแผนครอบครัว พรอมทั้งมองวาการดึงผูหญิงเขาสูการพัฒนาเปนการเพิ่มภาระ

25

รับผิดชอบใหกับผูหญิงมากขึ้น เปนการเพิม่ขีดความสามารถในงานการผลิตใหแกผูหญิง โดยมิไดเชื่อมโยงไปถึงความรับผิดชอบของผูหญิงในสวนงานในบานดวย ซ่ึงในจุดนี้จึงทําใหกลายเปนการเพิ่มภาระการทํางานแกผูหญิงใหหนักขึ้นไปอีก แนวคดิวาดวยการขจัดการเลอืกปฏิบัติตอสตรี การทําความเขาใจแนวคิดวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีจะตองทําความเขาใจ เสียกอนวาการเลือกปฏิบัติตอสตรีคอือะไร การเลือกปฏิบัติตอสตรีคือการปฏิบัติไมเหมือนกนั การ แบงแยกกดีกนั หรือการจํากัดใด ๆ เพราะเหตุทีเ่ปนเพศหญิง การที่ผูที่ถูกเลือกปฏิบัติไมไดรับสทิธิที่พึงมีพึงไดเกดิความไมเทาเทียม ไมเสมอภาคกับบุรุษ เกิดความลําเอยีงหรืออคติขึ้น ซ่ึงผลก็คือความไมเปนธรรมตอผูถูกเลือกปฏิบัติซ่ึงกระทบตอสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และสิทธิของประชาชนหรือทางแพงอื่น ๆ ที่ตองเสื่อมเสียหรือสูญสิ้นไป (วิระดา สมสวัสดิ์, 2535, หนา 3) การเลือกปฏิบัติตอสตรีอาจเกิดขึ้นจากรัฐเปนผูเลือกปฏิบัติเองโดยผานกลไกตาง ๆ ของรัฐซ่ึงอาจจะเปนในรูปของกฎหมาย ระเบยีบ ขอบังคับ หรือเกิดจากการปฏิบัติของพนักงาเจาหนาที่ในการใชหรือตีความบทบัญญตัิตาง ๆ ของกฎหมายหรือระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ เชนเดียวกัน และไมจําเปนวาจะตองเปนผูชายเทานั้นที่เลือกปฏิบัติตอสตรี เนื่องจากสตรกี็อาจจะเลือกปฏิบัติตอสตรีดวยกันเองก็ไดการเลือกปฏิบัติทางตรง มักจะเกิดขึน้เมือ่กฎหมาย ขอบังคับทางศาสนา และระเบียบตาง ๆ หามมิใหผูหญิงเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ไดเทาเทียมผูชาย รูปแบบของการกีดกนัทางตรงที่เห็นไดชัดเจน ไดแก การมีขอกําหนดมใิหผูหญิงดํารงตําแหนงบางตําแหนง การเลือกปฏิบัติทางออมจะเกิดขึ้นเมื่อระเบียบทางสังคม บรรทัดฐาน และคานิยมทาง สังคม หามมิใหผูหญิงเขารวมกิจกรรมตาง ๆ เชน การไมจางผูหญิงเขาทํางานในตําแหนงที่ถูกมองวาเปน “งานของผูชาย” แมวากฎหมายจะบญัญัติวาผูหญิงและผูชายมีโอกาสเทาเทียมกนัในการจางงาน การเลือกปฏิบัติทางออมที่เกิดขึ้นเชนนี้มักเรียกกันวา “การกีดกนัในทางปฏิบัติ” ซ่ึงเปนเรื่องที่แกไขไดยากอกีรูปแบบหนึ่งของการเลือกปฏิบัติทางออมคือ การเลือกปฏิบัติโดยระบบซึ่งเปนในลักษณะที่กีดกนัผูหญิงที่เกิดขึ้นจากนโยบายและแนวทางการปฏิบัติที่ยดึถือและปฏิบัติกันอยูในสถาบันตาง ๆ ในสังคม การขจัดการเลอืกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบจะนําไปสูการที่ผูหญิงไดรับการปฏิบัติที่ดีและเทาเทยีมกนักับผูชาย ผูหญิงจะไมถูกกลาวหาวาฉลาดนอยกวาผูชาย และจะไมถูกมองวาไรเหตุผลไมมีความสามารถในการใชดุลพินจิที่ถูกตอง ผูหญิงจะไมถูกมองวาใชอารมณ ตลอดจนจะไมถูกมองในลักษณะที่เปนสิ่งที่ติดมากับเพศหญิง อาทิเชน การถูกมองวาเปนเพศทีอ่อนแอหรือเปนเพศที่มีหนาทีเ่พียงผูดแูลบานและลูก อยางไรก็ดีการขจดัการเลือกปฏิบัติตอสตรีมิไดหมายความวา

26

ผูหญิงจะกลายเพศเปนผูชาย หากแตหมายถึงวาผูหญิงจะมโีอกาสในการพัฒนาศักยภาพไดอยางเต็มที่จะเปนคนที่มีความเปนมนุษยเทาเทยีมกับผูชายในทุก ๆ ดาน การขจัดการเลอืกปฏิบัติตอสตรีนั้นมักถูกมองขามไปวาในที่สุดแลวนั้นการขจัดการ เลือกปฏิบัติตอสตรีจะทําใหสังคมโดยรวมไดรับประโยชน ผูชายก็ไดประโยชน เนื่องจากวาสมาชกิในสังคมไมวาหญิงหรือชายก็ลวนแตจะมโีอกาสเดินไปตามแนวทางทีต่นปรารถนามากกวาตามแนวทางที่ถูกกําหนดจากเพศ แนวคดิวาดวยความเสมอภาคหญิงชาย (Gender Equality) แนวคดิวาดวยความเสมอภาคระหวางหญิงชาย หมายถึง ความเทาเทยีมกันในสิทธิ หนาที ่ความรับผิดชอบและโอกาสของผูหญิง และผูชายของเด็กผูหญิงและเดก็ผูชาย โดยที่ความเสมอภาคไมไดหมายความวา ผูหญิงและผูชายจะตองเหมือนกัน หากแตหมายถึงวาสทิธิหนาที ่ความรับผิดชอบตาง ๆ และโอกาสตาง ๆ ทางสังคมจะตองไมถูกกําหนดหรือข้ึนอยูกับวาบุคคลนัน้เกิดเปนผูหญิงหรือผูชาย ความเสมอภาค ยังหมายถึงการที่ผูหญิงและผูชายมีสถานภาพที่เทาเทยีมกันในการใช สิทธิของความเปนมนุษยอยางเต็มที่ ซ่ึงรวมถึงการมีสวนรวมในการพัฒนาเศรษฐกจิ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนไดรับประโยชนจากผลของการพัฒนานั้นดวยความเสมอภาคระหวางหญิงชาย นอกจากจะเปนประเด็นเรือ่งสิทธิมนุษยชนแลวยังเปนเงื่อนไข และตวัช้ีวดัการพัฒนาแบบยั่งยืนที่ยดึคนเปนศูนยกลางในการพัฒนาอีกดวยอยางไรกด็ีเนื่องจากการที่ผูหญิงไมไดรับความเสมอภาคในสังคมเทาเทียมกับผูชายมาเปนเวลานานแลว ดวยสถานภาพทางสังคมที่แตกตางและไมเทากัน จึงทําใหในบางครั้งความเทาเทยีมหรือเสมอภาคในโอกาสของผูหญิงอาจจะยังไมเพยีงพอที่จะแกปญหานี้ได 1. แนวคดิพื้นฐานในการสงเสริมความเสมอภาคระหวางหญิงชาย มีดังนี้ 1.1 มิติความสัมพันธหญิงชาย เปนที่เห็นไดชัดวา ในทกุสังคมจะมีการกําหนดบทบาทและความสัมพันธระหวางหญงิชายไวแตกตางกนัไป สังคมจะมีหนาที่ขัดเกลาใหหญิงชายรูจัก และปฏิบตัิหนาที่ที่แตกตางกันตามทีสั่งคมคาดหวัง โดยบทบาทและความสัมพนัธระหวางหญิงชายนีจ้ะเปลี่ยนแปลงไดตามโครงสรางทางสังคมซึ่งไดแก เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม ศาสนาความเชื่อ ประเพณ ีการศึกษา ครอบครัว ซ่ึงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และยังสัมพันธกับอาย ุชาติพันธุ และชนชั้นอยางเล่ียงไมได 1.2 เพศ เปนการจําแนกผูหญิงและผูชายตามสรีระ อวัยวะ รางกายที่มีมาตั้งแตกําเนิด ซ่ึงเปนการจําแนกที่เหมือนกันทั่วโลก และเปนสิ่งที่เปล่ียนแปลงไดยาก

27

1.3 การสงเสริมความเสมอภาคระหวางเพศ ชวยยกระดับความเปนอยูของคนยากจนในสังคม ซ่ึงการสงเสริมความเสมอภาคยังครอบคลุมถึงการสงเสริมใหผูหญิง และผูชายมีสิทธิแรงงานและสทิธิมนุษยชนทีเ่หมือนกนั การใหคุณคาและโอกาสทางสังคมที่เทาเทียมกันตอผูหญิงและผูชายในดานของความรบัผิดชอบและดานปริมาณงาน และอํานาจในการตัดสนิใจ 1.4 การสงเสริมความเสมอภาค มิใชเปนเพยีงสิทธิของบุคคลที่จะตองไดรับแตยังเปนแนวทางการพฒันาที่สําคัญซึ่งจะตองไดรับการดําเนนิการอยางตอเนื่องอีกดวย โดยทีก่ารสงเสริมความเสมอภาคระหวางหญิงและชายมหีลักการ ดังตอไปนี้ การบรรลุเปาหมายในการสงเสริมความเสมอภาคนั้นเปนสิ่งที่ตองรับผิดชอบรวมกนัของสมาชิกทั่วทั้งสังคม มิใชเปนเพยีงความรับผิดชอบของผูหญิงหรือผูชายเทานั้น ควรมีการกําหนดมาตรการพเิศษ โครงการหรือกิจกรรมพิเศษใหครบวงจรเพื่อแกปญหาความไมเสมอภาค ความรุนแรง และปญหาที่มตีอสถานภาพของผูหญิง ทันทีที่พบวามีปญหาเหลานี้เกิดขึ้น การสงเสริมความเสมอภาคระหวางหญิงชายนั้น จะนาํไปสูประโยชน และความสุขแกสังคมโดยรวม ใชหลักการในการสงเสริมความเสมอภาคในการวางแผนทุกระดบัตั้งแตเร่ิมตน และในทุกขั้นตอนของการวางแผนโครงการ/ กิจกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับสูงตั้งแต การกําหนดนโยบาย แผนงาน และงบประมาณ กิจกรรมตาง ๆ ที่จัดขึ้นจะตองมีการคํานึงถึงความตองการของผูหญิงตั้งแตความตองการพื้นฐานซึ่งสัมพันธกับความตองการในดานปจจยัสี่ซ่ึงจําเปนตอการดํารงชีวิตประจําวนั รวมถึงความตองการในการทํางาน และความตองการในเชิงโครงสรางหนาที ่ซ่ึงสัมพันธ กับสถานภาพ และการเขาถึงและควบคุมการใชทรัพยากร รวมถึงผลประโยชนทีไ่มเสมอภาคระหวางหญิงชาย ควรคํานึงถึงความแตกตางทางสังคมในมิตอ่ืิน ๆ ที่มีผลกระทบตอความสัมพันธระหวางหญิงชาย อาทิ อายุ ชาติพันธุ ชนชัน้ ฐานะ ศาสนา เพราะหากยิ่งมีการแบงแยก ความแตกตางหรือความไมเสมอภาคกันในมิติตาง ๆ ดังกลาว ก็อาจจะนําไปสูความไมเสมอภาคใน ความสัมพันธระหวางหญิงและชายไดดวย และหากไมมคีวามเสมอภาคของบทบาทความสัมพันธหญิงชายแลวก็จะกอใหเกดิความรุนแรงในความไมเสมอภาคในมิติอ่ืน ๆ เชนเดยีวกัน กิจกรรมและโครงการดําเนนิงานตาง ๆ ควรมีการเนนใหเกิดการสรางพลัง และเนนการสรางเครือขายทุกระดับ เพื่อเปนการสนับสนุน รวมพลัง และแลกเปลี่ยนเรียนรูขอมูลขาวสารกัน โดยเฉพาะในเรื่องของสิทธิตาง ๆ เพราะปญหาสําคญัเกี่ยวกับสิทธิก็คือ การละเมิดสิทธิ และ

28

กีดกนัไมใหสิทธิ ดังนั้นการใหความรูเร่ืองสิทธิจึงไมไดเปนทางออกของปญหา ทางออกควรจะเปนการกระตุนใหเกิดการขจดัการละเมิด และกดีกันทั้งในระดับโครงสรางสังคมและบุคคล ดังนั้นกลวิธีจึงตองใชทั้งการทําใหเปนปญหาสวนรวมไมใชเร่ืองสวนตัว นอกจากนี้การนําเสนอปญหาตอสาธารณะและการใชกระบวนการทางกฎหมายหรือศาล ขอมูล และความตอเนื่องในกระบวนการดําเนินการ การรวมพลัง และการสรางเครือขายจึงเปนหวัใจยุทธศาสตรในการสรางความเสมอภาคระหวางหญิงชายดวย

เอกสารทางวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ลลนา บุญชื่น และคณะ (2544) ศึกษาเรื่อง การสงเสริมความเขมแข็งในองคกรสตรีชุมชน เพื่อสงเสริมบทบาทสตรีในการพัฒนาชุมชนชนบท เครื่องมือที่ใชในการวิจัย โดยใชแบบบันทึกขอมูลภาคสนาม แบบสัมภาษณแบบไมเปนทางการ พบวา กระบวนการดังกลาวเกดิผลตอชุมชนและกลุมสตรีในชุมชนคือ การเกิดแนวคิดในการพึ่งตนเอง มีทักษะในการวิเคราะหปญหาชุมชน และนําประสบการณจากการเรยีนรูมาเปนทักษะชวีิตไดมากขึ้น มีความรูและวธีิการในการดูแลตนเองและครอบครัว ดานสุขภาพ ดานการทํามาหากินเพิ่มขึ้น นอกจากนี้แลวสตรียังมีทัศนคติที่ดีตอตนเอง ชุมชน ยอมรับบทบาทของสตรีมากขึ้น สตรีมีความเขาใจกระบวนการพัฒนากลุมกระบวนการศกึษาและการพฒันายังชวยให เกิดความมั่นคงในครอบครัว สงผลตอบุตรหลานมีความอบอุนมากขึ้นเนื่องจากสามารถลดการอพยพยายถ่ินไป ตางชุมชน อันจะสงผลเชื่อมโยงไปยงัโครงสรางอื่น ๆ ของชุมชน ทําใหชุมชนเกดิความเขมแข็งไดอีกทางหนึง่ดวย ภารดี อนันตนาวี (2545) ศกึษาเรื่อง ภาวะผูนําของนิสิตสตรีระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการวิจัย โดยใชแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวา 1. การตรวจสอบภาวะผูนําพิสัยเต็มของนิสิตสตรี ปรากฏวามี 5 องคประกอบ คือ การสงเสริมการกระตุนเชาวนปญญา ภาวะผูนําแบบคอนขางตามสบาย การบริหารแบบมีขอยกเวนโดยออม และคํานึงถึงบุคคล การบริหารแบบมีขอยกเวนโดยตรง และใหรางวลัอยางเหมาะสมและการสงเสริมการสรางแรงบันดาลใจ 2. ภาวะผูนําของนิสิตสตรีดานการเปลี่ยนแปลงอยูในระดับมาก เกณฑปกติภาวะผูนําเทากับ 28.91-78.38 ดานแลกเปลี่ยนอยูในระดับปานกลาง เกณฑปกตภิาวะผูนําเทากบั 21.35-79.05และภาวะผูนําแบบตามสบายอยูในระดบันอย เกณฑปกติภาวะผูนําเทากับ 31.28-86.08 3. การเปรียบเทียบภาวะผูนํานิสิตสตรีจําแนกตามตําแหนง อายุ และประสบการณ การทํางานโดยรวม และรายไดไมแตกตางกันยกเวนดานการกระตุนเชาวนปญญา และดานการคาํนึงถึงเอกบุคคล จําแนกตามอายุแตกตางกัน

29

ชนะ แพงพิบลูย (2537) ศึกษาเรื่อง บทบาทของผูนําสตรีในการพัฒนาหมูบาน กรณีศึกษา อําเภอเมืองเชียงใหม นอกเขตเทศบาลเครื่องมือที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้โดยใชแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวา ในสังคมชนบทระดับการศึกษาไมใชปจจัยจูงใจสําคญัที่จะนําพาสตรีไปสูการไดรับคัดเลือกไปสูตําแหนงผูนําชุมชนในระดับหมูบานเทาใดนกั แตระดับการศกึษาเปนเพยีงองคประกอบเพื่อสรางความสามารถ การเรียนรูในการทํางานไดอยางรวดเร็วและเกดิความคิดริเร่ิมของผูนําสตรีมากกวา ซ่ึงเปนการโตแยงสมมุติฐานประการที่หนึ่ง แตส่ิงที่เปนปจจยัสําคัญที่สุดที่เปนสวนสงเสริมสถานะสตรีใหเขาไปสูตาํแหนงผูนําก็คอื ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว อันเปนการสนับสนุนสมมุติฐานประการที่สอง และเนื่องจากจารีตประเพณีของสังคมไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันที่กาํหนดใหเพศหญิงเปนผูตามเพศชายมากกวาเปนผูนํา ดังนัน้ ปจจุบันโอกาสการเขาสูตําแหนงผูนําหมูบานของเพศหญิงจึงยังถูกกดีกันจากเพศชาย และสังคมอยูบาง ทั้ง ๆ ที่ขอเท็จจริงยังไมมีขอพิสูจนใด ๆ ที่แจมชัดวา สตรีทํางานไดดอยกวาเพศชายหรือผูชายเปนผูนําชุมชนที่ดีกวา อันเปนการโตแยงสมมุติฐานประการที่สาม และสนับสนุนสมมุติฐานประการที่ส่ี และจากผลการศึกษาทั้งหมดสามารถสรุปไดวา ปจจุบันสงัคมไทยโดยทัว่ไปใหการยอมรับหรือใหความสําคัญตอบทบาท และความสามารถของสตรีในการทํางานทุกระดับมากขึ้น โดยเฉพาะในองคการธุรกิจเอกชน อีกทั้งแนวโนมที่เชื่อมั่นไดวาในอนาคตสตรีจะสามารถกาวไปสูตําแหนงผูนาํในทุกระดบัมากยิ่งขึ้น เพราะมีการยอมรับความสามารถทางการบริหารของสตรีไทยวาเทาเทยีมกับผูนําชาย และสังคมไดเปดโอกาสใหสตรีเขาไปดํารงตําแหนงระดับผูนําหรือผูบริหารในองคการประเภทตาง ๆ ดวยความเสมอภาค ดังนัน้ การนิยมยกยองสตรีเชนนี้เองที่เปนปจจยัประการหนึ่งที่ทําใหสตรีในปจจุบันมีโอกาสเปนผูนําหรือผูบริหารมากขึ้น ถาหากสงัคมไมนิยมยกยองสตรีแลวโอกาสการกาวไปเปนผูนําของสตรีก็มีนอยมากไปดวย เบ็ญจา สวัสดโิอ (2524) ศึกษาเรื่อง ภาวะผูนําของสตรีในจังหวัดเชยีงใหม ผลการวจิัยพบวา ปจจัยทีท่ําใหผูนําสตรเีชียงใหมประสบความสําเร็จคือ การรูหลักหรือหนาทีก่ารบริหารงาน ไดแก การวางแผน การกระจายหนาที่ และความรับผิดชอบทํางานโดยหลักพัฒนาองคการ การศึกษาเปนตัวแปรสําคัญที่ทําใหมีโอกาสกาวหนาในอาชีพ การอบรมในครอบครัวตามวัฒนธรรมประเพณีของลานนาไทย ทําใหสตรีเชียงใหมประสบความสําเร็จทั้งหนาที่การงาน และครอบครัว โดยเฉพาะสตรีนักธุรกิจของเชียงใหม ประกอบอาชีพโดยใชวัตถุดิบของทองถ่ินใหเกิดประโยชนจึงมีสวนชวยในการพัฒนาประเทศไดเหมาะสมทั้งในทางเศรษฐกิจและสังคม ประทีป จงสืบธรรม (2528) ศึกษาเรื่อง ผูนาํสตรีในการปกครองระดับทองถ่ินของไทย ศึกษาบทบาทความเปนผูนําของกํานัน ผูใหญบานสตรีทั่วประเทศ เครือ่งมือที่ใชในการวิจยั โดยใชแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวา แนวโนมของการแสดงบทบาททางการบริหาร การปกครอง โดย

30

รับการยอมรับจากประชาชนและขาราชการอําเภอ โดยสามารถรับผิดชอบและปฏิบัติงานไดเชนเดยีวกับกํานัน ผูใหญบานชาย จะแตกตางกันไปบางก็ในดานบทบาทที่มุงทํางานเพื่อสนองตอบใครมากกวา สมิหรา จิตตลดากร (2529) ศึกษาเรื่อง ภาวะผูนําของสตรีในการปกครองทองที่ของไทย โดยสนใจศึกษาถึงปจจัยทีท่ําใหสตรีไดรับการแตงตั้ง และเลือกตั้งในตําแหนงผูนาํทางการเมืองในการปกครองทองที่ (กํานัน ผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน สารวัตรกํานัน แพทยประจําตาํบล) รวมถึงลักษณะการทาํงาน คุณธรรมการปกครองและการยอมรบัจากผูนําชุมชนคนอื่น ๆ ในการปฏิบัติงาน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย โดยใชการเก็บขอมูลจากกลุมประชากรทั่วประเทศ ผลการวิจัยพบวา ผูนาํสตรีทางการเมืองสวนใหญเปนผูมีภูมิลําเนาอยูในสถานที่ ที่ดํารงตําแหนงอยูมีอาชพีเกษตรกรรม ไมคอยกระตือรือรนแตมองโลกในแงดี ลักษณะการทํางานของผูนําสตรี สอดคลองกับลักษณะการจัดการในเชิงการบริหาร คือ ไมนิยมใชอํานาจ ใชความสภุาพและสรางความเขาใจ มีการวางแผนลวงหนาเสมอ เนนเปาหมายเพื่อสวนรวม สตรีที่มีการศึกษาสูงจะใชความเดด็ขาดนอยลง ฐานะทางเศรษฐกิจและภูมิหลังครอบครัวมีความสัมพันธกับตําแหนงทางการเมืองในเรื่องการยอมรับจากผูนําชุมชนอื่น ๆ กํานันสตรีไดรับการยอมรับในเรื่องการมีหลักธรรมะในการปกครอง โดยเฉพาะเร่ืองความสุภาพออนโยน ในดานหนาที่ไดรับการยอมรบัในเรื่องหนาทีก่ารบํารุงสาธารณะประโยชน การบําบัดทุกขบาํรุงสุขและการรักษาวัฒนธรรมประเพณี ส่ิงที่ไดรับการยอมรับนอย คอื หนาที่ดานการสืบสวนขอเท็จจริงและการเรี่ยไรเงินทองหรือแรงงานจากชาวบาน รวิวรรณ วรรณพานิชย (2542) ศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการยอมรับบทบาททางการเมืองของผูนําสตรีทองถ่ิน ศึกษากรณี กํานัน ผูใหญบานสตรียอดเยี่ยม ประจําป 2540 เครื่องมือที่ใชในการวิจยั โดยการทําแบบสอบถามบุคคลผูรวมปฏิบัติงานกับกํานันผูใหญบานในพื้นที่ที่กํานัน ผูใหญบานสตรียอดเยี่ยม ประจําป 2540 ปกครองอยู ผลการวิจยัพบวา 1. การยอมรับบทบาททางการเมืองของผูนําสตรีทองถ่ินยอดเยี่ยมมีผลจากปจจยัดานคณุสมบตัิสวนตัว ความรูความสามารถเฉพาะตัว และความสามารถในการปฏิบัตหินาที่ภารกิจตามอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย โดยประชาชนยอมรับบทบทบาทผูนําสูงสุดในความสามารถในการประสานงาน และยอมรับ นอยสุดในคุณลักษณะเฉพาะตัวในดานการเบียดเบยีนหรือเรี่ยไร 2. การยอมรับของชุมชนในภาวะผูนําสตรีทองถ่ินยอดเยี่ยมเกดิจากความรู ความสามารถเฉพาะตวัมากกวาความสามารถใน การปฏิบัติหนาที่ภารกิจตามอํานาจหนาทีต่ามกฎหมาย ฒาลัศมา จุลเพชร (2548) ศกึษาเรื่อง บทบาทผูนําสตรีในการปกครองทองถ่ิน: กรณีศึกษานายกองคการบรหิารสวนตําบล เครื่องมือที่ใชในการวิจัย โดยการเก็บขอมูลใชการสัมภาษณ ผลการวิจยัพบวา การที่สตรีกาวเขามาสูผูนําทองถ่ินไดตองมบีทบาทการตอสูที่เร่ิม ตั้งแต

31

ภายในครอบครัวจนถึงสังคมภายนอก และมีปจจัยที่ผลักดันใหผูนําสตรีสามารถเขามาสูการเมืองทองถ่ินไดสําเร็จ ประกอบดวยความสัมพนัธกับกลุมผลประโยชนและกลุมนักการเมอืง คานิยมในฐานะความเปนผูนําสตรี พลังกลุมเครือขายสตรี และอํานาจการครอบครองปจจัยการผลิต ซ่ึงตางมีความสําคัญและสัมพันธตอกันอยางตอเนือ่ง สําหรับการบริหารจัดการทองถ่ินของผูนําสตรีกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดานการเมืองโดยประชาชนมสีวนรวมในการกําหนดนโยบาย และแกไขปญหาในชุมชนมากขึ้น ดานเศรษฐกิจประชาชนสามารถเลือกอาชีพเสริมตามที่ถนัดและตองการโดยไมมีการ บังคับ และดานสังคมเนนการดูแลคุณภาพชีวิตสวัสดิการสมาชิกในชุมชนมากกวาเนน ปจจัยทางเศรษฐกิจ ทั้งนี ้ปจจัยดานเพศสภาพทั้งความสมัพันธเชิงโครงสรางดานเพศสภาพ เศรษฐกิจ และครอบครัวไดมีสวนสงเสริมการปฏิบัติงานของนายกองคการบริหารสวนตําบล มากกวาเปนอปุสรรคในการปฏิบัติงาน นอกจากนี ้ภาพรวมในการดําเนนิงานของนายกองคการบริหารสวนตําบลผูหญิงสงผลใหประชาชน สวนใหญพอใจและยอมรบัผลการปฏิบัติงานอยางมาก อาตีกะ จรัลศาสน (2547) ศึกษาเรื่อง ภาวะผูนําสตรีจังหวดัปตตานี เครือ่งมือที่ใชในการวิจัยโดยการใชแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวา ผูนําสตรีจังหวดัปตตานีมีลักษณะภาวะผูนําทกุดาน ไมแตกตาง และในทุกดานผูนําสตรีมีภาวะผูนําในระดับมาก และผูนําสตรีจังหวัดปตตานปีระเภทตาง ๆ มีลักษณะภาวะผูนําทุกดานที่ไมแตกตางกัน นอกจากนี้ยังไดศกึษาหาปจจยัทีท่ําใหผูนําสตรมีีภาวะผูนําที่แตกตางกัน พบวาสตรีที่มี อายุ ประสบการณในการทํางาน สถานภาพทางเศรษฐกิจ สถานภาพทางครอบครัว และศาสนา แตกตางกันมีลักษณะภาวะผูนําที่ไมแตกตางกนั แตผูนําสตรทีี่มีระดับการศึกษาที่ตางกันจะมีระดับภาวะผูนําที่แตกตางกนั โดยพบวาผูนําสตรีในจังหวัดปตตานีที่มีระดับการศึกษาจบชั้นมัธยมศึกษาหรือ อนุปริญญา ปริญญาตรี และสูงกวาปริญญาตรีมีภาวะผูนําไมแตกตางกัน แตผูนําสตรีที่มีระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีกับประถมศึกษา มีภาวะผูนําแตกตางกัน จากการวิเคราะหปญหา พบวาผูนําสตรีในจังหวัดปตตานีสวนใหญมีปญหาทางดานการไมไดรับความรวม มือจากชมุชนเทาที่ควร และบางชุมชนยังมีความคดิเกา ๆ ไมยอมรับผูนําสตรี นอกจากนั้นปญหาที่พบบอยที่สุดก็คือ ปญหาการขาดบุคลากรและงบประมาณในการดําเนินการ นอกจากนี้ผูนาํสตรียังมีความคิดเห็นวาการทํางานกับองคกรหรือเครือขายงาน ยอมมีภาวะขัดแยงกับผูรวมงานเปนธรรมดา และอยากใหไดรับการสนับสนุนและเขาใจจากผูบังคับบัญชา ผูนําสตรีในจังหวดัปตตานีบางพื้นทีม่ีปญหาดานความไมปลอดภัยในชีวติและ ทรัพยสิน โดยเฉพาะความไมปลอดภัยในการเดินทางไปยังชุมชน ทําใหการปฏิบัติงานไมเต็มที ่ขอเสนอแนะจากกลุมตัวอยาง คือ กลุมตัวอยางอยากใหเจาหนาที่ที่เกีย่วของลงมาชวยสนับสนุนงานในพื้นที ่อยางสม่ําเสมอ และไดมองเหน็ปญหารวมกันวาควรมีการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของหนวย งานตาง ๆ อยางเปนระบบขั้นตอน สามารถทํางานครอบคลุมไดทุกดาน

32

ฉันทวรรณ ยงคประเดิม (2545) ศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการยอมรับบทบาทสตรีในการเปนผูนําทางการบริหาร ศึกษาเฉพาะพนักงานวิทยกุารบินแหงประเทศไทยจํากัด เครื่องมอืที่ใชในการวจิัยโดยการเก็บแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวา พนกังานบริษัทวิทยกุารบินแหงประเทศไทยจํากัด มกีารยอมรับบทบาทสตรีในการเปนผูนําทางการบริหารในระดับ ปานกลาง ปจจัยสวนบุคคลในเรื่องเพศ อายุ ระยะเวลา ในการเปนผูนาํทางการบริหาร ยกเวน สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา และลักษณะกลุมงาน สวนปจจยัดานการอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัว การอบรมกลอมเกลาทางสังคม จากเพื่อนรวมงาน และการรับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับบทบาทสตรีมีความสัมพันธในเชิงบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับการยอมรับบทบาทสตรีในการเปนผูนําทางการบริหาร พงษฤทธิ์ คงประสิทธิ์ (2528) ศึกษาเรื่อง ผูนําทองถ่ินสตรี เครื่องมือที่ใชการวิจยัโดยการสงแบบสอบถามทางไปรษณีย และขอมูลสัมภาษณ ผลการวิจยัพบวา 1. ในสวนที่สนับสนุนสตรีเปนผูเปนผูนําทองถ่ินมีความเห็นวา ในปจจุบันสตรีมีความรูความสามารถสูง ดังนั้น จึงสามารถทําอะไรไดทกุอยางเหมือนผูชายไมมีปญหาแตอยางใด ในระยะแรก ๆ อาจจะยังไมเปนที่ยอมรับ แตภายหลังเมื่อเหน็ผลงานแลวจะศรัทธาสิ่งที่ไดเปรียบผูชายก็คือ เร่ืองการประสานงาน การประชาสัมพันธ โดยสตรมีักอาศัยความนุมนวลออนโยนตามวสัิยของสตรีในการทาํงาน ส่ิงนี้นับวาเปนประโยชนอยางมากในการขอความรวมมือจากทางราชการ เอกชน ในที่นี้นาจะหมายถึง ผูประกอบธุรกิจเอกชนและชาวบานซึ่งเปนผลดีตอการพัฒนาทองถ่ิน สําหรับการปฏิบัติหนาที่เสีย่งอันตรายก็มีผูชายที่เปนชายคอยชวยเหลืออยูแลว ผูนําทองถ่ินสตรีไมตองลงมือปฏิบัติเอง 2. มีบางกลุมแตก็เปนสวนนอยทีไ่มเห็นดวยหรือไมใหการสนับสนุน โดยใหเหตุผลวาในทองถ่ินทุรกันดานที่ตองเสี่ยงภยัที่ตองใชความเด็ดขาด ผูนําทองถ่ินสตรียังทําไมไดเทาชาย มีขอจํากัดในเรื่องเพศ ภาระทางครอบครัวซ่ึงยังตองทําหนาที่แมบาน นอกจากนี้การยอมรับในบทบาทของสตรีของประชาชนโดยทั่วไปยังมนีอย 3. สวนกลุมที่มีความเหน็เปนกลาง เห็นวาการมีผูนําทองถ่ินสตรีนั้น มีทั้งขอดีและขอเสีย ผสมผสานกันไป ส่ิงสําคัญที่ตัวบคุคลมากกวาอื่นใด เร่ืองเพศไมสําคัญ 4. ความเหน็ของปลัดอําเภอสวนใหญยอมรับวา ผูนําทองถ่ินสตรีมีความเขาใจ และสามารถปฏิบัติงานในหนาที่ไดเปนอยางดี และมคีวามรูความสามารถไมนอยไปกวาชาย นอกจากนีย้ังเปนผูที่เอาใจใสในหนาที่ สนใจศกึษาหาความรูเพิ่มเติม และทีสํ่าคัญอยางมากคือ ผูนําทองถ่ินสตรีตองการแสดงออกซึ่งความสามารถที่จะเอาชนะชายในเรือ่งความสามารถในการทํางานพัฒนาชนบทเปนผลดียิ่งขึ้น 5. ในสวนความเหน็เปรียบเทียบในการปฏิบัติงาน ระหวางผูนาํทองถ่ินสตรีกับชายนัน้สวนใหญเห็นวาทัดเทียมกัน การปฏิบัติหนาที่จะไดผลหรือไมไดผลไมอยูที่เร่ืองเพศ แตลักษณะเฉพาะของบุคคลเปนสําคัญ แตสวนที่ไมเหน็ดวยหรือไมใหการสนับสนุนซึ่งเปนสวนนอย

33

เห็นวางานทางดานปราบปรามรักษาความสงบเรียบรอยหรือการแกไขปญหาระงับขอพิพาทสตรีทําใหไมไดผล ผูชายมีขีดความสามารถสูงกวาในลักษณะความคลองตัว และใกลชิดสนิทสนมกับบุคคลอื่นโดยไมกลัวคําครหาเกี่ยวกับชื่อเสยีง ภชดา ทัตภากร (2549) ศึกษาเรื่อง การยอมรับบทบาทของผูนําสตรีในองคกรภาครัฐ โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการวิจัยซ่ึงขอมูลที่ไดวิเคราะหดวยคาสถิติความถี่ รอยละ คาเฉลี่ยสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะหคาที การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว และการหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน ผลการวิจัยพบวา 1. บุคลากรในองคกรภาครัฐสวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุไมเกนิ 30 ป และอาย ุระหวาง 31-40 ป ในสัดสวนที่ใกลเคียงกัน จบการศึกษาระดบัปริญญาตรี มีอายุราชการไมเกิน 5 ประดบัตําแหนงอยูในชวงซี 3-5 และมีสถานภาพโสด 2. บุคลากรในองคกรเห็นวาการบริหารงานของผูนําสตรีในองคกรภาครฐัดานการ วางแผน ดานการจัดองคกร ดานการสั่งการหรือการนํา และดานการควบคมุ อยูในระดับปานกลาง 3. การสนับสนุนทางสังคมของผูบังคับบัญชาที่มีตอผูใตบังคับบัญชาดานขอมูล ขาวสาร ดานวัสดุอุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวก ดานความรูความสามารถ และดานอารมณและจติใจ อยูในระดบัปานกลาง 4. บุคลากรในองคกรภาครัฐยอมรับบทบาทผูนําสตรีในการบริหารงานในองคกร ภาครัฐ ดานการวางแผน ดานการจัดองคกร ดานการสั่งการหรือการนํา และดานการควบคุม อยูในระดับปานกลาง 5. บุคลากรในองคกรภาครัฐที่มีอายุแตกตางกันยอมรับบทบาทผูนําสตรีในการ บริหารงานในองคกรภาครัฐดานการวางแผน และดานการสั่งการหรือการนําแตกตางกัน 6. บุคลากรในองคกรภาครัฐที่มีอายรุาชการแตกตางกันยอมรับบทบาทผูนําสตรีใน การบริหารงานในองคกรภาครัฐในดานการควบคมุ แตกตางกัน 7. บุคลากรที่สังกัดกระทรวงแตกตางกันยอมรับบทบาทของผูนําสตรีในการ บริหารงานดานการวางแผน ดานการจัดองคกร ดานการสั่งการหรือการนาํ และดานการควบคุมแตกตางกัน 8. การบริหารงานของผูนําสตรีในองคกรภาครัฐดานการวางแผน ดานการจดัองคกร ดานการสั่งการหรือการนํา และดานการควบคุม มีความสัมพันธในทางบวกกบัการยอมรับบาทผูนําสตรีในการบริหารงานในองคกรภาค รัฐ ดานการวางแผน ดานการจัดองคกร ดานการสั่งการหรือการนาํ และดานการควบคุม 9. การสนับสนุนทางสังคมของผูบังคับบัญชาที่มีตอผูใตบังคับบัญชา ดานขอมูล ขาวสาร ดานวสัดุอุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวก ดานความรูความสามารถ และดานอารมณและจิตใจ มีความสัมพันธในทางบวกกบัการยอมรับบทบาทผูนําสตรีในการบริหารงานในองคกร ภาครัฐ ดานการวางแผน ดานการจัดองคกร ดานการสั่งการหรือการนํา และดานการควบคุม บวร ประพฤตดิี และคณะ (2520) ศึกษาเรื่อง สตรีไทยบทบาทในการเปนผูนําทางการบริหาร พบวาคานิยม และระดับการศกึษาของสตรีจะมีอิทธิพลตอการเขาสูบทบาทการเปนผูนําของ

34

สตรีคือ การที่สตรีมีโอกาสทางการศึกษาต่ํากวา ประกอบกับคานิยมของสังคมไทยที่ไมยกยองใหสตรีเปนผูนํา สงผลใหสตรีขาดความมั่นใจในตวัเอง ไมนิยมความมีอํานาจ สนใจแตการบานการเรือน ซ่ึงนับเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหสตรีมีโอกาสนอยในการกาวสูตําแหนงผูนํา ในสวนของผูหญิงที่ประสบความสําเร็จและมีโอกาสเปนผูนําทางการบริหารนั้น มีปจจัย 2 ประการ คือ มีการศึกษาระดบัสงู และมีภูมหิลังของสตรีเปนสวนสําคัญกําหนดแนวทางการเปนผูนํา จริยา วีระหงส (2537) ศึกษาเรื่อง บทบาทของผูนําสตรีในการพัฒนาประชาธิปไตย ศึกษาเฉพาะกรณีตําบลบานทุมอําเภอเมือง จังหวดัขอนแกน ผลการวิจยัพบวา ผูนําสตรีมีทัศนคติที่เปนเชิงลบตอบทบาทของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในอดีตที่ผานมา รวมทั้งในการเลือกตั้งสตรีมีบทบาทเฉพาะในเรื่องการรณรงคใหประชาชนออกไปใชสิทธิเลือกตั้ง และมีความเห็นวาการพัฒนาประชาธิปไตยทําใหการเลือกตั้งบริสุทธิ์ยุติธรรม ปราศจากการซื้อสิทธิขายเสียงสําหรับสตรีเพียงเพศเดยีวอาจไมสําเร็จควรตองมีผูนําชายมารวมสนับสนนุดําเนนิการดวย ลัดดา ชัชวาล (2544) ศึกษาเรื่อง บทบาทของผูนําสตรีในการพัฒนาทรพัยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ผลการวิจัยพบวา ผูนําสตรีมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมในชุมชนโดยเปนผูริเร่ิมโครงการ รวมปฏิบัติงานตามโครงการ ใหการศึกษาแกชาวบาน ประสานงานกับภาครฐัและเอกชน แสดงความเห็น และเสนอขอมูลอันเปนประโยชนในที่ประชุม รวมทัง้เสียสละ และใหการสนับสนุนการดําเนินงานตามโครงการ จนสามารถบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ พยุง รสใจ (2554) ศึกษาเรื่อง บทบาทผูนําสตรีในทางการเมืองการปกครอง ศึกษากรณี ตําบลหนองมะคาโมง อําเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบรีุ เปนการวจิัยแบบเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบวา 1. ปจจยัที่ทําใหผูนําสตรีเขามามบีทบาททางการเมืองการปกครองในระดับทองถ่ิน เกิดจากปจจัยภายนอกและปจจยัภายใน ปจจยัภายในที่สําคัญ คือ การตัดสินใจดวยตนเองการสนับสนุนจากสมาชิกในครอบครัว เพื่อนบาน สวนปจจยัภายนอก คือ ความเปลี่ยนแปลงของสถานการณบานเมือง 2. บทบาททางการเมืองการปกครองระดับทองถ่ินของผูนําสตรีที่สําคัญที่สุด ไดแก การรวมรณรงคเกี่ยวกับการเลือกตั้ง 3. ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินบทบาททางการเมืองการปกครองระดบัทองถ่ินที่เกดิขึ้น เกดิจากปจจัยภายในทีสํ่าคัญ คือ สมาชิกในครอบครัว เพื่อนบาน และเกดิจากปจจัยภายนอกทีสํ่าคัญ คือ สถานการณบานเมือง และการยดึติดเรื่องคานยิมดานเพศในอดีต โดยพบวาปญหาและอปุสรรคในการดําเนินบทบาททางการเมืองการปกครองที่สําคัญ ไดแก ปญหาและอุปสรรคที่เกิดจากสถานการณบานเมืองเพราะเปนสิ่งที่แกไขไดยากที่สุด 4. แนวทางการแกไขปญหาและอุปสรรค หลักสําคัญที่ผูนําสตรีสวนใหญยึดถือในการดําเนินบทบาททางการเมืองระดับทองถ่ิน คือ ใชหลักความรู ความสามารถประสบการณและแกไข ปญหาตามกระบวนการ

35

ภายใตหลักของเหตุผล สวนขอเสนอแนะในการพัฒนาบทบาททางการเมืองของผูนําสตรี คือ ใหเปนสิ่งที่ใฝหาความรูใสตนอยูเสมอ และมใีจมุงมั่นตอบทบาทที่กําลังทํา

กรอบแนวคดิในการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดตัง้กรอบแนวคิดในการศึกษาชั่วคราว (Tentative Conceptual Framework) สําหรับเปนแนวทางในการศึกษา ไวดังนี้ บริบททางสังคมและวัฒนธรรมภายในชุมชน ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิในการวิจัย จากกรอบแนวคิดในการวิจยัช่ัวคราวที่กําหนดไวในภาพที่ 1 ผูศึกษาไดกําหนดคุณลักษณะพเิศษของผูนําสตรี อาทิ ความเปนผูเสียสละเพื่อสวนรวม ความเชื่อมั่นในตนเอง การมีวิสัยทัศน ความสามารถในการสื่อสารเพื่อชักจูงผูอ่ืนใหคลอยตาม การดูแลเอาใจใสผูอ่ืน เปนตน สวนเงื่อนไขทีส่งผลใหสตรีกาวขึ้นเปนผูนาํสตรีทองถ่ิน ไดแก การสนบัสนุน/ ผลักดนัจากสาม ีและเครือญาติ รวมทั้งการทุนทางสังคมที่มีอยูภายในชุมชน

ครอบครัว เครือญาติ และการอบรมเลี้ยงดู

คุณลักษณะภาวะผูนําสตรีทองถ่ิน

การสะสมทุนทางสังคม

36

การสนับสนุน/ ผลักดัน จากสามี และเครือญาติใหสตรีสามารถกาวขึ้นสูตําแหนงผูนาํทองถ่ินได เนือ่งจากประการแรก สามีดํารงตําแหนงเปนผูนําทางการของทองถ่ินอยูแลว และตองการกระชบัความเหนียวแนนในการนํา และ/ หรือ ขยายอํานาจการนําของตนใหกวางขวางมาขึ้น โดยการสนับสนุนใหญาติสนิทของตน รวมทั้งภรรยาขึ้นมาดํารงตําแหนงทางการในทองถ่ิน ประการที่สอง ครอบครัวหรือเครือญาติ มีสถานะทางเศรษฐกิจระดับสูง ทําใหตองการขยายอํานาจทางเศรษฐกิจไปสูฐานทางการเมือง เพื่อตองการสถาปนาอํานาจทางการเมืองสําหรับนําไปใชในการปกปองคุมครองฐานทางเศรษฐกิจ รวมท้ังนําอํานาจทางการเมืองไปใชในการสะสมอํานาจทางเศรษฐกิจใหกวางขวางมากขึน้ ประการที่สาม ครอบครัวและเครือญาติสนับสนุนใหสตรีกาวขึ้นสูการเปนผูนําทองถ่ินเพื่อจะไดเปนผูนําในการพัฒนา ปกปองคุมครองผลประโยชน และทํางานรับใชครอบครัวและเครือญาติของตน สวนทุนทางสงัคมที่สงเสริมหรือผลักดันใหสตรีสามารถกาวขึ้นสูตําแหนงผูนํามีดังนี้ ประการแรก สตรีคนดังกลาวเปนผูที่ไดรับความเชื่อถือและไววางใจจากชาวบานในทองถ่ินอยางสูง จนกอใหเกิดการผลักดันจากชาวบานเพื่อใหกาวขึน้สูการเปนผูนําทองถ่ิน ประการที่สอง สตรีเปนผูญาติสนิทและเพื่อนฝูงรักใคร กวางขวาง เนื่องจากเปนผูที่มีบุคลิกโดดเดน เชน มีความเปนกันเอง จริงใจ เสียสละเพื่อสวนรวม เปนตน จนนําไปสูการผลักดันจากชาวบานเพื่อใหสตรีผูนั้นกาวขึ้นเปนผูนําเพื่อทีจ่ะไดเปนปากเสียงใหกับชาวบาน