13
ความรูเกี่ยวกับการพิมพ (วส 210 02/2556) ศรรวริศา เมฆไพบูลย [email protected] 1 นิยามความหมาย 2 ประวัติการพิมพ ตะวันออก ตะวันตก ไทย 3 ระบบการพิมพ การพิมพสัมผัส (การพิมพพื้นฐาน) 4 ระบบ การพิมพไรสัมผัส การพิมพดิจิทัล 4 กระบวนการพิมพ กอนพิมพ / พิมพ / หลังพิมพ 1. นิยามความหมาย: การพิมพ . รูป, แบบ; . ถายแบบ, ใชเครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพใหติดบนวัตถุ (พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ, 2532: 381) กรรมวิธีใดๆ ในการจําลองภาพ หรือสําเนาภาพ หรือหนังสือจากตนฉบับในลักษณะสองมิติ แบน ราบ ทั้งนี้ รวมถึงการพิมพผา การพิมพกระดาษปดฝาผนังและการอัดรูป (Mill, 1968: 590) การพิมพ คือ การจําลองตนฉบับอันหนึ่งจะเปนภาพหรือตัวหนังสือก็ตามออกเปนจํานวนมากๆ เหมือนกัน บนวัสดุที่เปนพื้นแบน หรือใกลเคียงกับพื้นแบนดวยการใชเครื่องมือกล (กําธร สถิรกุล, 2515: 177) พระราชบัญญัติการพิมพ พ.. 2484 "พิมพ" ทําใหเปนตัวหนังสือหรือรูปรอยใด ๆ โดยการกดหรือการใชพิมพหิน เครื่องกล วิธีเคมี หรือ วิธีอื่นใดอันอาจใหเกิดเปนสิ่งพิมพขึ้นมาหลายสําเนา พระราชบัญญัติจดแจงการพิมพ พ.. 2550 พิมพ ทําใหปรากฏดวยตัวอักษร รูปรอย ตัวเลข แผนผังหรือภาพ โดยวิธีการอยางใดๆ สิ่งพิมพ สมุด หนังสือ แผนกระดาษ หรือวัตถุใดๆ ที่พิมพขึ้นเปนหลายสําเนา หนังสือพิมพ สิ่งพิมพซึ่งมีชื่อจาหนาเชนเดียวกัน และออกหรือเจตนาจะออกตามลําดับเรื่อยไป มีกําหนดระยะเวลาหรือไมก็ตาม มีขอความตอเนื่องกันหรือไมก็ตาม ทั้งนี้ใหหมายความรวมถึง นิตยสาร วารสาร สิ่งพิมพที่เรียกชื่ออยางอื่นทํานองเดียวกัน โดยสรุป การพิมพ คือ ศาสตรและศิลปในการผลิตสําเนาจํานวนมากๆ จากตนฉบับ (ภาพวาด ภาพถาย หรือตัวอักษร) ลงสูวัสดุพิมพ โดยตนฉบับจะประกอบดวยเสน และ/หรือ จุด การผลิต สําเนา จะใชหมึก โดยจะมีแมพิมพ หรือมีแรงกดหรือไมก็ได วัสดุที่ใชพิมพเปนวัสดุผิวเรียบ อาจ เปนกระดาษ พลาสติก โลหะ หรือสิ่งทอ ฯลฯ 2. ประวัติการพิมพ: ตะวันออก ตะวันตก ไทย การพิมพสืบยอนกลับไปไดตั้งแตสมัยที่มนุษยเริ่มมีการวาดภาพเพื่อสื่อความหมายบางอยาง และคอยๆพัฒนา จนเกิดอักษรภาพขึ้น และพยายามหาวิธีที่จะคัดลอกหรือทําซ้ําสิ่งเหลานั้น 4,000 ปกอน ค.. เมโสโปเตเมีย อักษรลิ่ม cuneiform เกิดจากการใชของแข็งกดลงบนดินเหนียวจน เกิดเปนสัญลักษณ 2,000 ปกอน ค.. อียิปต อักษรภาพ hieroglyph พบบนจารึกโบราณ กําแพงวิหาร หลุมฝงศพ ตอมามีอักษรที่ใชสลักบนแผนหินและเขียนบนแผนเปลือกไม (ปาปรุส) โดยใชยางไม ซึ่งจะมวนเก็บไว 600 ปกอน ค.. กรีซ ใชเหล็กแหลมเขียนบนขี้ผึ้งเคลือบแผนไมที่เรียกวา waxtablet เปนการเขียน ชั่วคราว เมื่อตองการเขียนใหม ก็นําไปลนไฟใหขี้ผึ้งละลาย

210 printing

Embed Size (px)

DESCRIPTION

JC210 lecture (13-11-13) on history of printing, printing techniques and book printing process

Citation preview

Page 1: 210 printing

ความรูเก่ียวกับการพิมพ (วส 210 – 02/2556) ศรรวริศา เมฆไพบูลย [email protected] 1 นิยามความหมาย 2 ประวัติการพิมพ ตะวันออก ตะวันตก ไทย 3 ระบบการพิมพ การพิมพสัมผัส (การพิมพพ้ืนฐาน) 4 ระบบ การพิมพไรสัมผัส การพิมพดิจิทัล 4 กระบวนการพิมพ กอนพิมพ / พิมพ / หลังพิมพ 1. นิยามความหมาย: การพิมพ

• น. รูป, แบบ; ก. ถายแบบ, ใชเครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพใหติดบนวัตถุ (พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ, 2532: 381)

• กรรมวิธีใดๆ ในการจําลองภาพ หรือสําเนาภาพ หรือหนังสือจากตนฉบับในลักษณะสองมิติ แบนราบ ท้ังนี้ รวมถึงการพิมพผา การพิมพกระดาษปดฝาผนังและการอัดรูป (Mill, 1968: 590)

• การพิมพ คือ การจําลองตนฉบับอันหนึ่งจะเปนภาพหรือตัวหนังสือก็ตามออกเปนจํานวนมากๆ เหมือนกัน บนวัสดุท่ีเปนพ้ืนแบน หรือใกลเคียงกับพ้ืนแบนดวยการใชเคร่ืองมือกล

(กําธร สถิรกุล, 2515: 177) พระราชบัญญัติการพิมพ พ.ศ. 2484

• "พิมพ" ทําใหเปนตัวหนังสือหรือรูปรอยใด ๆ โดยการกดหรือการใชพิมพหิน เคร่ืองกล วิธีเคมี หรือวิธีอื่นใดอันอาจใหเกิดเปนสิ่งพิมพขึ้นมาหลายสําเนา

พระราชบัญญัติจดแจงการพิมพ พ.ศ. 2550 • พิมพ ทําใหปรากฏดวยตัวอักษร รูปรอย ตัวเลข แผนผังหรือภาพ โดยวิธีการอยางใดๆ • ส่ิงพิมพ สมุด หนังสือ แผนกระดาษ หรือวัตถุใดๆ ท่ีพิมพขึ้นเปนหลายสําเนา • หนังสือพิมพ สิ่งพิมพซึ่งมีชื่อจาหนาเชนเดียวกัน และออกหรือเจตนาจะออกตามลําดับเร่ือยไป

มีกําหนดระยะเวลาหรือไมก็ตาม มีขอความตอเนื่องกันหรือไมก็ตาม ท้ังนี้ใหหมายความรวมถึงนิตยสาร วารสาร สิ่งพิมพท่ีเรียกชื่ออยางอื่นทํานองเดียวกัน

• โดยสรุป การพิมพ คือ ศาสตรและศิลปในการผลิตสําเนาจํานวนมากๆ จากตนฉบับ (ภาพวาด ภาพถาย หรือตัวอักษร) ลงสูวัสดุพิมพ โดยตนฉบับจะประกอบดวยเสน และ/หรือ จุด การผลิตสําเนา จะใชหมึก โดยจะมีแมพิมพ หรือมีแรงกดหรือไมก็ได วัสดุท่ีใชพิมพเปนวัสดุผิวเรียบ อาจเปนกระดาษ พลาสติก โลหะ หรือส่ิงทอ ฯลฯ

2. ประวัติการพิมพ: ตะวันออก ตะวันตก ไทย การพิมพสืบยอนกลับไปไดตั้งแตสมัยท่ีมนุษยเร่ิมมีการวาดภาพเพ่ือสื่อความหมายบางอยาง และคอยๆพัฒนาจนเกิดอักษรภาพขึ้น และพยายามหาวิธีท่ีจะคัดลอกหรือทําซ้ําสิ่งเหลานั้น

4,000 ปกอน ค.ศ. เมโสโปเตเมีย – อักษรลิ่ม cuneiform เกิดจากการใชของแข็งกดลงบนดินเหนียวจนเกิดเปนสัญลักษณ 2,000 ปกอน ค.ศ. อียิปต – อักษรภาพ hieroglyph พบบนจารึกโบราณ กําแพงวิหาร หลุมฝงศพ ตอมามีอักษรท่ีใชสลักบนแผนหินและเขียนบนแผนเปลือกไม (ปาปรุส) โดยใชยางไม ซึ่งจะมวนเก็บไว 600 ปกอน ค.ศ. กรีซ – ใชเหล็กแหลมเขียนบนขี้ผ้ึงเคลือบแผนไมท่ีเรียกวา waxtablet เปนการเขียนชั่วคราว เมื่อตองการเขียนใหม ก็นําไปลนไฟใหขี้ผ้ึงละลาย

Page 2: 210 printing

การพิมพในตะวันออก การพิมพเร่ิมพัฒนาขึ้นในโลกตะวันออก โดยเฉพาะจีน ญี่ปุน และเกาหลี เหตุการณสําคัญท่ีเกิดขึ้น เชน 255 ปกอน ค.ศ. จีนและเอเชียกลางรูจักการแกะสลักดวงตราบนกอนหิน กระดูกสัตวและงาชางเพ่ือใช

ประทับบนดินเหนียว ขี้ผ้ึง หรือคร่ัง (เชน ตราหยกของฮองเต) ป ค.ศ. 105 ชาวจีนชื่อไชหลุน Cài Lún คิดวิธีทํากระดาษ ป ค.ศ. 175 เกิดเทคนิคการพิมพถ ู(rubbing) ในจีน โดยนํากระดาษไปทาบบนแผนหินท่ีสลักวิชาความรู

และใชถาน/สีระบายจนเกิดลายตามรูปรอยท่ีนูนขึ้นมา ป ค.ศ. 400 ชาวจีนทําหมึกแทงโดยใชเขมาไฟเปนเนื้อสี นําไปผสมกาวท่ีเคี่ยวจากกระดูกและหนังสัตว ป ค.ศ. 500 จีนเขียนหนังสือบนซีกไผ เจาะรูรอยเชือกไวเปนมัดๆ กอนจะเปลี่ยนมาเปนผาไหมซึ่งเบากวา

แตราคาสูง ขณะท่ีอินเดียใชวิธจีารบนใบลาน แลวเจาะรู ใชเชือกรอยเปนเลม ป ค.ศ. 575 การพิมพโดยแมพิมพไม (wood block printing) โดยแกะตัวหนังสือท่ีมีลักษณะกลับหัวท่ีจีน ป ค.ศ. 770 งานพิมพแกะไมเกาแกท่ีสุดท่ียังเหลืออยูเปนคําสวดปดรังควาน/ยันต ขนาด 6*45 ซม. ท่ี

จักรพรรดินีโชโตก ุShotodu ของญี่ปุน ทรงใหพิมพแจกหลังปราบกบฎเอมิไดสําเร็จ ใชเวลา 6 ป ป ค.ศ. 868 หวางเจิน Wáng Zhēn พิมพหนังสือเลมแรกคือวัชรสูตร ดวยแมพิมพแกะไม ลักษณะเปน

มวนยาว 16*1 ฟุต พบในถ้ําท่ีตุนหวาง ป ค.ศ. 950 จีนดัดแปลงหนังสือมวนเปนหนังสือพับ (ลักษณะคลายสมุดขอย) ป ค.ศ. 1041-1048 ไปเช็ง Bì Shēng พัฒนาแมพิมพโดยนําดินเหนียวมาปนตัวหนังสือ ตากใหแหง และเผา

เพ่ือใหใชไดหลายคร้ัง กลายเปนตัวเรียงพิมพ movable type ป ค.ศ. 1116 จีนทําหนังสือเย็บเลมดวยเชือก ตนแบบหนังสือปจจุบัน stitched book ป ค.ศ. 1241 เกาหลีหลอตัวพิมพโลหะคร้ังแรกโดยใชทองแดงผสมกับดีบุกในสมัยกษัตริยไทจง การพิมพในตะวันตก ป ค.ศ. 476 เมื่อกรุงโรมถูกทําลาย หนังสือก็ถูกทําลายไปดวย ยกเวนสวนท่ีลักลอบขนไปคอนสแตนติโนเปล ป ค.ศ. 500-1400 ชวงท่ีตะวันออกพัฒนาดานการพิมพ ยุโรปอยูในยุคมืด อํานาจปกครองเปนของศาสน

จักร ประชาชนไมรูหนังสือ มีเพียงชนชั้นสูงและพระท่ีไดเขียนอาน งานเขียนสวนใหญเปนปรัชญาศาสนา ป ค.ศ. 1423 การพิมพดวยแมพิมพแกะไม พิมพรูปภาพเปนหลัก มีตัวหนังสือประกอบ ชาและตนทุนสูง ป ค.ศ. 1440 โยฮันน กูเตนเบิรก ชาวเยอรมัน คิดคนตัวพิมพขึ้นเปนคนแรกในยุโรป และสรางแมพิมพหลอ

ตะกั่วขึ้นไดสําเร็จ ไดรับยกยองเปน “บิดาแหงการพิมพ” พิมพผลงานสําคัญคือ “พระคัมภีร 42 บรรทัด”นอกจากคิดตัวเรียงพิมพแลว กูเตนเบิรกยังออกแบบตัวพิมพ แกะแมพิมพ หลอตัวพิมพ ทําหมึกพิมพ และประดิษฐเครื่องพิมพท่ีดัดแปลงจากเคร่ืองคั้นองุนดวย

• ตัวเรียงพิมพของกูเตนเบิรก แกะสลักตัวอักษร a-z เปนตัวๆ โดยแตละตัวมีลักษณะเปนอักษรนูน ดานตรงขามกับตัวอักษรติดกับเคร่ืองปม เมื่อนําไปปมบนกระดาษ จะไดตัวอักษรอยูในกรอบสี่เหลี่ยมเล็กๆ เขาพบวาโลหะท่ีดีท่ีสุดสําหรับการหลอตัวพิมพคือโลหะผสม ดีบุก ตะกั่ว พลวง (5: 12: 23)

• หนังสือเลมแรกท่ีพิมพในยุโรปดวยตัวพิมพของกูเตนเบิรกคือ “พระคัมภีร 42 บรรทัด” พิมพเสร็จเมื่อป 1455 โดยใชภาษาละติน ลักษณะของพระคัมภีรเลมนี้คือ แตละหนามี 2 คอลัมน แตละคอลัมนมี 42 บรรทัด หนังสือท้ังหมดหนา 1,282 หนา และพิมพ 200 เลม ใชเวลาพิมพไมนอยกวา 5 ป เนื่องจากแทนพิมพตองอาศัยแรงอัดจากการขันเกลียว ทําใหพิมพไดชา (มาก)

• ชางฝมือในยุโรปเขามาศึกษาการพิมพท่ีเมืองไมนซและนําความรูกลับไปพัฒนางานพิมพในประเทศ สงผลใหการพิมพแพรหลายและกาวหนา สังเกตวา แมจะเร่ิมพัฒนาในโลกตะวันออก แตการพิมพกลับพัฒนากาวหนาและเจริญรุงเรืองในตะวันตก เนื่องจากคานิยมของตะวันออกมีลักษณะของการเก็บงําไวเฉพาะกลุมหรือพวก ไมนิยมเผยแพรและถายทอดอยางคนตะวันตก โอกาสท่ีความรูจะแตกยอดและเติบโตขึ้นจึงนอยกวา

ป ค.ศ. 1457 โจฮันน ฟูสต และปเตอร เชิฟเฟอร Johann Fust + Peter Schoeffer พิมพหนังสือพรอมกับ

ปท่ีพิมพเปนครั้งแรก ป ค.ศ. 1492 (โคลัมบัสพบทวีปอเมริกา) ยุโรปมีหนังสือรวมกันประมาณ 40,000 เร่ือง โดยแตละเร่ืองมี

จํานวนพิมพไมนอยกวา 100 เลม

Page 3: 210 printing

ป ค.ศ. 1495 อัลเบร็กต ดูเรอร Albrecht Durer จิตรกรเยอรมัน คิดวิธีพิมพจากแมพิมพทองแดง (Copper plate engraving) ถือเปนตนกําเนิดของการพิมพดวยแมพิมพพ้ืนลึก

ป ค.ศ. 1499 อัลดัส แมนิวเทียส Aldus Manutius ชางพิมพเวนิส ลดขนาดตัวหนังสือใหเล็กลงและคิดตัวเอน (italic) ขึ้น เพ่ือใหพิมพไดเยอะขึ้น จึงพิมพไดในราคาถูกลง เกิดหนังสือพ็อกเก็ตบุกเขายังออกแบบสัญลักษณปดทายงานพิมพ (colophon) เปนรูปปลาพันสมอเรือ

ป ค.ศ. 1513 เออรส กรัฟ Urs Graf คิดการใชน้ํากรดกัดแผนเหล็กใหเปนรองเพ่ือทําแมพิมพกราวัวร ซึ่งเปนตนแบบแมพิมพธนบัตรและเอกสารสําคัญ

ป ค.ศ. 1620 วิลเลม แจนสซูน เบลา Willem Janszoon Blaeu ชาวดัตช ประดิษฐเครื่องพิมพดัตช ทําดวยโลหะและการหมุนแกนขึ้นลง

ป ค.ศ. 1790 วิลเลียม นิโคลสัน William Nicholson ชาวอังกฤษ คิดเครื่องพิมพทรงกระบอก cylinder press และนําเคร่ืองจักรไอน้ํามาเดินเคร่ืองพิมพ ทําใหงานพิมพสะดวกรวดเร็วขึ้นมาก

ป ค.ศ. 1793 อาลัวส เซเนฟลเดอร Alois Senefilder ชาวเยอรมัน พบวิธีการพิมพหิน (lithography) ซึ่งเปนวิธีการพิมพพ้ืนราบ (planographic printing) ไดโดยบังเอิญ

ป ค.ศ. 1813 จอรจ อ.ี ไคลเมอร George E. Clymer ชาวอเมริกัน คิดแทนพิมพโคลัมเบียซึ่งใชระบบคานกระเดื่อง ชวยผอนแรงและมีแรงกดมากกวา

ป ค.ศ. 1858 จอรจ พี. กอรดอน George P. Gordon ชาวอเมริกัน ไดพัฒนาแทนพิมพเพลตเทน ป ค.ศ. 1861 ภาพถายสีภาพแรก ป ค.ศ. 1888 วิลเลียม มอรริส William Morris นักเขียนและศิลปนชาวอังกฤษ เร่ิมนําลวดลายมาใสไวใน

หนังสือ ถือเปนการออกแบบส่ิงพิมพคร้ังแรกๆ ท่ีพัฒนามากขึ้นในปลายศตวรรษท่ี 19 ป ค.ศ. 1904 ไอรา วอชิงตัน รูเบล Ira Washington Rubel ชางพิมพชาวอเมริกัน คิดวิธีการพิมพในระบบ

ออฟเซต (offset printing) ขึ้นจากการสังเกตความผิดพลาดเมื่อลืมใสกระดาษในแทนพิมพ เขาเห็นวากระดาษท่ีรับหมึกจากลูกโมแรงกดมีความนุมและสวยงามกวาท่ีรับจากแมพิมพโดยตรง

ป ค.ศ. 1907 แซมวล ไซมอน Samuel Simon ชาวอังกฤษ ปรับปรุงการพิมพซิลกสกรีน (Silk screen) และจดทะเบียนลิขสิทธิ์ท่ีประเทศอังกฤษ

ป ค.ศ. 1960 เกิดแนวคิดสรางเครือขายคอมพิวเตอรในการสื่อสารเพ่ือการใชงานดานความมั่นคงในสหรัฐฯ ป ค.ศ. 1965 การสรางฟอนตดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ป ค.ศ. 1976 เกิดบริษัทผลิตไมโครคอมพิวเตอร (แอ็ปเปล) ทศวรรษ 1980 สหรัฐฯ ออกแบบเครือขายสาธารณะ ซึ่งเปนพ้ืนฐานของอินเทอรเน็ต อีเมล นักวิทยาศาสตร

ยุโรปพัฒนาระบบเชื่อมตอท่ัวโลก www มีโปรแกรมคอมพิวเตอรในการออกแบบจัดหนาและการพิมพ ป ค.ศ. 1989 กลองดิจิทัลเคร่ืองแรกของบริษัทโซน ี ทศวรรษ 1990 อินเทอรเน็ตเร่ิมแพรหลาย รวมท้ังความสามารถในการสรางเว็บไซตและไฟลดิจิทัลตางๆ

(pdf, html) มีการเผยแพรผลงานท่ีไมไดตีพิมพ สิ่งพิมพใชสื่อออนไลนในการเผยแพรเนื้อหาและทําตลาด ป ค.ศ. 1998 หองสมุดสหรัฐฯ เร่ิมใหบริการสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกสแกผูใชบริการทางเว็บไซต (ดานวิชาการ) ป ค.ศ. 2003 การเผยแพรสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกสในรูปแบบท่ัวไป (บันเทิง) เปดใหยืมสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส

ในหองสมุดชั้นนํา เกิดโปรแกรมอินดีไซนซึ่งเปนนวัตกรรมของการออกแบบสิ่งพิมพ ป ค.ศ. 2007 โซเชียลเน็ตเวิรกและการเขียนบล็อกเร่ิมไดรับความนิยม ป ค.ศ. 2010 อุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆไดรับความนิยม ท้ังสมารตโฟน แท็บเล็ต และเคร่ืองอาน

อิเล็กทรอนิกส รวมถึงอีบุกและแอ็ปพลิเคชั่นตางๆ การพิมพในประเทศไทย เร่ิมตนในปลายสมัยอยุธยา (ค.ศ.1893-2310) โดยเปนการรับความรูจากตะวันตก (ฝร่ังเศส) ในรัชสมัย

สมเด็จพระนารายณมหาราช มีการนําวิธีการพิมพหนังสือมาจากยุโรป แมจะไมมีหลักฐานเปนหนังสือท่ีพิมพในสมัยนั้น แตมีหลักฐานยืนยันวาไทยมีการติดตอกับฝร่ังเศสและสงราชทูตไปยังราชสํานักฝร่ังเศส ราชทูตโกษาปานไดไปเยี่ยมโรงพิมพหลวงของฝร่ังเศสและดูกิจการอยางละเอียด

พ.ศ. 2205 บาทหลวงฝร่ังเศส (Louis Laneau) ไดแปลและแตงหนังสือคําสอนคริสตศาสนาเปนภาษาไทย 26 รายการ หนังสือไวยากรณไทยและบาลี 1 รายการ และพจนานุกรมไทยอีก 1 รายการ โดยเขียนดวยอักษรโรมัน (ในวัด = nai wat) ท้ังยังสรางศาลาเรียนขึ้นในท่ีพระราชทานท่ีตําบลเกาะมหาพราหมณซึ่งอยูเหนือกรุงเกา และตั้งโรงพิมพหลวงขึ้นดวย

Page 4: 210 printing

พ.ศ. 2213 มิชชันนารีชาวฝร่ังเศสชื่อปแยร ลองกรัวส Pierre Langrois เขารวมงานและคิดตั้งโรงพิมพเพ่ือพิมพหนังสือไทย จึงขอใหฝร่ังเศสสงชางหลอตัวพิมพมาชวยเพ่ือจัดพิมพคําสอนคริสตศาสนาโดยใชอักษรโรมัน แตเขียนใหอานออกเสียงเปนภาษาไทย (เหมือนภาษาคาราโอเกะ)

พ.ศ. 2217 บางหลวงลังคลูอาสมีหนังสือบอกบุญไปยังหัวหนามิชชันนารีในปารีสเพ่ือขอใหรวมเผยแผศาสนาคริสตคาทอลิกในไทย โดยขอใหซื้อเคร่ืองพิมพสงมาให จึงเชื่อกันวานาจะมีการพิมพเขามาตั้งแตคร้ังนั้น

พ.ศ. 2231 รัชสมัยของสมเด็จพระเพทราชา มีการขับไลกําลังทหารและชาวฝร่ังเศสท่ีอยูอาศัยและทําการคาออกจากกรุงศรีอยุธยา ยุติความสัมพันธกับฝร่ังเศส และทําใหการคากับชาติตะวันตกลดลง

พ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยาเสียแกพมา เอกสารหลักฐานและสิ่งพิมพตางๆ สูญหายหมด กรุงธนบุรี (2310-2325) รัชสมัยพระเจาตากสินมหาราช มีหลักฐานของบาทหลวงการโนลตวา สมัยธนบุรี บานเมืองเปนปกติ

มิชชันนารีไดกลับเขามาเผยแผศาสนา และตั้งโรงพิมพขึ้นท่ีวัดซางตาครูส ตําบลกุฎีจีน กรุงธนบุรี กรุงรัตนโกสินทร (2325-ปจจุบัน) รัชกาลท่ี 1 พ.ศ. 2339 มีการพิมพหนังสือท่ีตกทอดมาถึงปจจุบันคือหนังสือ คําสอนคฤศตัง เขียนเร่ืองเปนภาษาไทยดวย

ตัวพิมพอักษรโรมันและพิมพดวยตัวหลอ สันนิษฐานวาเปนการพิมพดวยบล็อกไมมากกวาตัวเรียงพิมพ รัชกาลท่ี 2 พ.ศ. 2356 มีการพิมพดวยอักษรไทยคร้ังแรกจัดทําในพมา โดยภรรยาบาทหลวงอเมริกัน แอนน จัดสัน Ann

Judson ท่ีมากับคณะมิชชันนารีแบ็ปติสตอเมริกันในกรุงยางกุง เพ่ือเผยแผศาสนาใหเชลยและลูกหลานไทยท่ีถูกกวาดตอนไปตั้งแตเสียกรุงเมื่อป พ.ศ. 2310

พ.ศ. 2359 คณะแบ็ปติสตสงจอรจ เอช. ฮัฟ นําแทนพิมพและตัวพิมพมาเปดโรงพิมพในพมา พ.ศ. 2360 โรงพิมพดังกลาวจัดพิมพหนังสือไทยจากตัวพิมพไทยเปนคร้ังแรกท่ียางกุง แตไมมีหลักฐานหลงเหลือ รัชกาลท่ี 3 พ.ศ. 2371 หนังสือพิมพดวยตัวพิมพอักษรไทยท่ีเกาแกท่ีสุดท่ีมีหลักฐาน คือ A Grammar of the Thai ของ

กัปตันเจมส โลว James Low พิมพท่ีโรงพิมพในกัลกัตตา อินเดีย เขียนเปนภาษาอังกฤษอธิบายไวยากรณไทย บางหนาเปนตัวเขียนลายมืออักษรไทย มีการใชบล็อกโลหะก็มี พิมพดวยตัวเรียงพิมพท่ีนางจัดสันหลอขึ้นในพมาก็ม ี(เจมส โลว ยายไปอินเดียหลังผลัดแผนดินในกรุงอังวะ และนําตัวพิมพไทยไปอินเดียดวย)

พ.ศ. 2371 รอเบิรต เบิรน มิชชันนารีคณะลอนดอน ขอซื้อแทนพิมพและตัวพิมพไทยชุดนี้ไปรับจางพิมพหนังสือไทยท่ีสิงคโปร

พ.ศ. 2378 มิชชันนารีอเมริกันซื้อตัวพิมพไทยจากสิงคโปรโดยหมอบรัดเลย Dan Beach Bradley และคณะนําตัวพิมพไทยและแทนพิมพเขามามืองไทย

3 มิถุนายน พ.ศ.2379 บาทหลวงชารลส โรบินสัน พิมพหนังสือไทยในเมืองไทยคร้ังแรก เปนคําสอนศาสนา พ.ศ. 2382 กฎหมายหามสูบฝน เปนเอกสารราชการฉบับแรกท่ีจัดพิมพขึ้น พ.ศ.2384 เมื่อตัวพิมพท่ีซื้อจากสิงคโปรสึกหรอ คณะมิชชันนารีอเมริกันจึงหลอตัวพิมพไทยขึ้นใชเอง มีรูปราง

สวยงามกวาเดิม เชน คัมภีรครรภทรักษา ซึ่งแปลโดยหมอบรัดเลย ตัวอักษรพิมพจากคัมภีรเลมนี้เปนตนแบบตัวพิมพท่ีเรียกวา “ตัวเหลี่ยม” ซึ่งดัดแปลงจนไดรับความนิยม

ในสมัยนี้ เจาฟามงกุฎ (รัชกาลท่ี 4) ทรงตั้งโรงพิมพท่ีวัดบวรนิเวศระหวางผนวช พิมพไดท้ังหนังสือไทย บาลี และโรมัน มีโรงหลอตัวพิมพไทยเอง นับเปนโรงพิมพโรงแรกของคนไทย

พ.ศ. 2387 หนังสือพิมพฉบับแรกในเมืองไทย บางกอกรีคอรเดอร ซึ่งออกไดเพียงปเดียว รัชกาลท่ี 4 พ.ศ. 2394 รัชกาลท่ีสี่ทรงตั้งโรงพิมพอักษรพิมพการขึ้นในพระบรมมหาราชวัง พิมพหนังสือพิมพออกขาว

ราชการ เรียกวา ราชกิจจานุเบกษา เปนหนังสือพิมพราชการฉบับแรกและยังออกตอเนื่องมาจนปจจุบันนี ้พ.ศ. 2404 ตัวพิมพไทยเร่ิมมีหลายขนาด รูปหนังสือชัดเจน เสนสม่ําเสมอขึ้น เชน หนังสือของหมอมราโชทัย

(กระตาย) พิมพโดยโรงพิมพมิชชั่นของหมอบรัดเลย มีการเขาเลมแบบใหม เรียกวาสมุดฝร่ัง พ.ศ. 2407 มีการตั้งโรงพิมพและออกหนังสือพิมพ หนังสือเลม ซึ่งเปนบทกลอน สุภาษิตสอนใจตางๆ รัชกาลท่ี 5 พ.ศ. 2417 เกิดวารสารฉบับแรกของคนไทย ดรุโณวาท รายสัปดาห โดยพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาเกษม

สันตโสภาคย กรมหลวงพรหมวรานุรักษ (เจาของและบรรณาธิการ) มีการออกหนังสือพิมพถึง 59 ฉบับ

Page 5: 210 printing

พ.ศ. 2418 หนังสือพิมพรายวันฉบับแรกของคนไทย ซึ่งเจานายหลายพระองครวมกันจัดตั้งขึ้น ชื่อวา Court หรือตอมาเปลี่ยนเปน ขาวราชการ มียอดจําหนายสูงจนเกิดระบบจัดสงซึ่งนําไปสูกิจการไปรษณีย

พ.ศ. 2436 การพิมพพระไตรปฎกสําเร็จเปนคร้ังแรก ๓๙ เลม พ.ศ. 2445 เร่ิมมีธนบัตรออกใชคร้ังแรก โดยจางบริษัทอังกฤษจัดพิมพ เรียกวา "ธนบัตรแบบ ท่ี 1" เปน

ธนบัตรชนิดพิมพหนาเดียว มีท้ังหมด 5 ชนิด คือ 5 บาท, 10 บาท, 20 บาท, 100 บาท และ 1,000 บาท พ.ศ. 2457 เกิดตัวอักษรพิมพท่ีเรียกวาตัวฝร่ังเศส มีเสนหนาบาง เลียนแบบการเขียนดวยปากกาคอแรงผสม

การวาดบนกระดาษ ดูสวยขึ้นและมีเสนดํากวาตัวไทยธรรมดา นอกจากนี้ยังมีการสรางตัวจิ๋วขึ้นดวย พ.ศ. 2468 การพิมพเจริญขึ้นเร่ือยๆ มีการพัฒนาตัวอักษรแบบตางๆ เชน ตัวเอน ตัวหนา เพ่ือพิมพบทละคร รัชกาลท่ี 6 ถือเปนยุคทองของวงการสื่อสิ่งพิมพและวรรณกรรมไทย แมจะไมมีหนังสือพิมพออกใหม แตมี

นิตยสารเกิดขึ้นมากมาย นิตยสารยุคนี้เปนสื่อแสดงความคิดเห็นทางการเมือง ท้ังของคนไทยและตางชาติ รวมท้ังนิตยสารเกี่ยวกับนวัตกรรมใหมๆ มีนิตยสารกวา ๑๒๐ ฉบับ หนังสือพิมพรายวันกวา ๒๐ ฉบับ และเร่ิมมีการแยกงานระหวางโรงพิมพกับสํานักพิมพดวย

รัชกาลท่ี 7-8 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ําสมัยรัชกาลท่ี 7 และสงครามโลกในสมัยรัชกาลท่ี 8 การพิมพและการผลิตหนังสือซบเซาลงเนื่องจากปญหาเศรษฐกิจและราคากระดาษ รวมท้ังปญหาการเมืองภายในประเทศ

รัชกาลท่ี 9 การพิมพคอยๆฟนตัวขึ้นราวชวงทศวรรษ 2520 และพัฒนาขึ้นตามกระแสเทคโนโลยีในชวงทศวรรษ 2540 ขณะเดียวกัน ก็เกิดการศึกษาดานการพิมพในราวป 2476 โดยเร่ิมมีการสอนวิชาการพิมพในระดับอาชีวศึกษาและสถาบันตางๆ จากนั้นการพิมพไทยก็เร่ิมเขาสูยุคพัฒนาและขยายตัว โรงพิมพขนาดใหญ กลาง เล็ก มีมากขึ้น โดยพัฒนาการจากธุรกิจครอบครัวเปนธุรกิจท่ีเปนระบบมากขึ้น

พัฒนาท่ีเห็นไดชัดในธุรกิจการพิมพไทยมีท้ังสามดาน คือ ดานบุคลากร (ชางฝมือและนักวิชาการพิมพ) ดานเทคโนโลยีและเคร่ืองจักรเคร่ืองมือ (ปจจุบันมูลคาการสงออกสื่อสิ่งพิมพมีอัตราการขยายตัวเพ่ิมขึ้นกวารอยละ 20) และดานองคกรความรวมมือเอกชนผูประกอบการ มีสมาคมผูประกอบการดานการพิมพหลายแหง เชน กลุมอุตสาหกรรมการพิมพ สมาคมการพิมพไทย สมาคมสงเสริมวิชาชีพการพิมพ สมาคมแยกสีและทําแมพิมพเพ่ืออุตสาหกรรมการพิมพ เปนตน

3. ระบบการพิมพ

• ในการผลิตยุคใหม การพิมพหมายถึงการใชเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาชวยในกระบวนการผลิต การจัดการ และการบริหาร เพ่ือใหสอดคลองกับสภาพสังคมและเศรษฐกิจยุคไรพรมแดน และการแขงขันของธุรกิจ

• การพิมพ printing มีความสัมพันธกับ การจัดพิมพ publishing (ผูจัดพิมพตองมีความรูดานการพิมพ แตชางพิมพไมจําเปนตองรูเร่ืองการจัดพิมพ) รวมท้ังอุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวของอื่นๆ เชน กระดาษ หมึก บรรจุภัณฑ การโฆษณา การสื่อสาร การขนสง เทคโนโลยีดิจิทัล เปนตน

ปจจัยท่ีมีผลตอการพิมพ วัตถุประสงคในการพิมพ การบันทึกเร่ืองราว การถายทอดความรู ความคิด และความตองการในการ

สื่อสาร หรือตองการเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมผูอื่น การออกแบบทางการพิมพ คํานึงถึงวัตถุประสงคและตัวแปรท่ีเกี่ยวของ เชน งบประมาณ รูปแบบ

ความสมดุล เอกภาพ เพ่ือแปรความคิดหรือดีไซนออกเปนงานพิมพ การผลิตส่ิงพิมพ การถายทอดขอความและภาพในตําแหนงท่ีถูกตองลงบนแมพิมพและวัสดุพิมพ

ตามลําดับ รวมถึงกระบวนการหลังการพิมพ โดยคํานึงถึงปจจัยตางๆ อาทิ วัสดุ คุณภาพ จํานวนพิมพ จํานวนและประเภทของสี ระยะเวลาท่ีตองใช และงบประมาณ

การเผยแพรส่ิงพิมพ การนําสิ่งพิมพท่ีผลิตแลวออกสูผูบริโภค ในสมัยกอน การถายทอดตนฉบับสูวัสดุพิมพจะตองอาศัยแมพิมพ โดยแมพิมพอาจมีลักษณะเปนแผนแบน

เปนทรงกระบอก หรือพ้ืนฉลุก็ได • ผิวแมพิมพมีสองบริเวณ คือ บริเวณพิมพหรือบริเวณภาพ image area เปนสวนท่ีรับหมึก และ

บริเวณท่ีไมพิมพ หรือบริเวณไรภาพ non-image area เปนสวนไมรับหมึก หรือพ้ืนท่ีวางบนวัสดุพิมพ • การจําแนกประเภทการพิมพทําไดหลายแบบ แตท่ีนิยมจําแนกท่ัวไป คือจําแนกตามลักษณะการสัมผัส

ระหวางแมพิมพไปยังตัวพาภาพพิมพ (image carrier) กับวัสดุพิมพ

Page 6: 210 printing

3.1 การพิมพระบบสัมผัสหรือการพิมพพ้ืนฐาน

• การพิมพจากแมพิมพพ้ืนนูน Relief Printing/Letter Press Printing • การพิมพจากแมพิมพพ้ืนราบ Planographic Printing • การพิมพจากแมพิมพรองลึก Gravure หรือ Intaglio • การพิมพจากแมพิมพพ้ืนฉลุ Stencil

ระบบการพิมพพ้ืนนูน Letter Press Printing • เปนระบบการพิมพเกาแกท่ีสุด โดยมีหลักฐานวาชาวจีนเร่ิมพิมพหนังสือจากแมพิมพท่ีทําดวยไมตั้งแตป

ค.ศ. 864 สวนแทนพิมพดวยมือแทนแรกประดิษฐขึ้นในยุโรปเมื่อศตวรรษท่ี 15 เปนแมแบบของการพิมพในปจจุบัน มีรากฐานจากการแกะไมทําแมพิมพ โดยชางจะแกะสวนท่ีไมตองการพิมพออกเหลือแตรอยนูนออกมา

• เกิดจากกระบวนการสรางแมพิมพใหมีระดับแตกตางกันระหวางตัวภาพกับพ้ืนแมพิมพ โดยใหตัวภาพมีความนูนสูงขึ้นมาจากบริเวณไรภาพ เมื่อทาหรือกลิ้งหมึกพิมพบนแมพิมพ หมึกจะติดเฉพาะผิวภาพท่ีนูนขึ้นมาเทานั้น เมื่อนําไปกดกับวัสดุพิมพ จะเกิดภาพพิมพบนช้ินงาน เปนการพิมพโดยตรง

• นอกจากนี้ การสรางภาพบนแมพิมพพ้ืนนูนจะตองใหภาพหรือตัวอักษรมีลักษณะเปนดานกลับ reverse ซึ่งจะถายทอดใหมีลักษณะเปนดานตรงในชิ้นงาน เร่ิมตนจากการถูดวยสีหรือหมึกดานหลังของกระดาษและผา สวนการพิมพท่ีใชระบบนี้ไดแก การพิมพเลตเตอรเพรสและเฟล็กโซกราฟ

• การพิมพพ้ืนนูนตองอาศัยตัวเรียงพิมพ (ตัวอักษร) และบล็อก (ภาพ) o ตัวเรียงพิมพ typesetting คือการนําอักษรตะกั่ว (โลหะผสม) มาเรียงเปนขอความตามท่ีออกแบบ

มีท้ังการเรียงพิมพดวยมือและเคร่ืองจักร (ไลโนไทป/โมโนไทป) แลวจึงนําไปพิมพ นํามาใชใหมได o บล็อก block ตัวบล็อกอาจเปนไม ยาง โลหะ มีลักษณะนูนสูงจากพ้ืน ภาพท่ีปรากฏในบล็อกจะ

กลับดาน และบล็อกท่ีใชงานแลวไมสามารถนํามาใชใหมได

Page 7: 210 printing

เครื่องพิมพหรือแทนพิมพระบบแมพิมพพ้ืนนูน – เพลตเทนเพรส platen press เปนการพิมพท่ีเกาแกท่ีสุด

ดัดแปลงจากแทนพิมพมือ (hand press) แมพิมพจะตั้งในแนวระนาบหรือแนวดิ่ง แลวใชแผนกดแนบลงมาดวยแรงอัด

– ไซลินเดอรเพรส flatbed cylinder press แมพิมพท่ีมีลูกโม

ทรงกลม แทนรองรับแมพิมพอยูในแนวนอน มีลูกกลิ้งสงหมึก (ink roller) และลูกกลิ้งแรงกดหรือลูกโม (cylinder) อยูดานบน แทนพิมพจะเคลื่อนไปรับหมึกและรับกระดาษเขามา ลูกกลิ้งแรงกดจะกดหมึกบนแมพิมพ พิมพงานขนาดใหญไดดีกวา

– โรตารีเลตเตอรเพรส rotary letter press แมพิมพยาง ติดกับลูกกลิ้งทรงกลม วัสดุพิมพจะผานกลางระหวางลูกกลิ้งแมพิมพกับลูกกลิ้งแรงกด ซึ่งหมุนไปเร่ือยๆ พิมพไดสองหนา และพิมพไดรวดเร็ว นิยมใชกับกระดาษเปนมวนและการพิมพตอเนื่อง เชน หนังสือพิมพรายวัน

ขอดีของการพิมพระบบเลตเตอรเพรส – เหมาะกับงานพิมพจํานวนนอยและมี

ขั้นตอนหรือรายละเอียดนอย แกไขงาย ทําไดเร็ว

– การบรูฟทําไดงายและเสียคาใชจายนอย – การพิมพสอดสีทําไดยากและไมสวยเทา

ออฟเซต – กระบวนการพิมพไมยุงยากซับซอนเร่ือง

การปรับสมดุลของภาพ

ขอเสียของการพิมพระบบเลตเตอรเพรส – ไดภาพพิมพท่ีขาดความสม่ําเสมอของเสนและสี ขาด

รายละเอียดของภาพ – ไมเหมาะกับงานพิมพท่ีมีบริเวณพ้ืนทึบขนาดใหญ – ไมเหมาะกับงานท่ีตองการรายละเอียดของภาพสูงหรือมี

ลายเสนประกอบจํานวนมาก – เกิดรอยนูนดานหลังกระดาษท่ีไดรับแรงกดพิมพ – ไมเหมาะกับงานพิมพสอดสีจํานวนมากเพราะตัวพิมพ

โลหะจะสึกงาย ตองเปลี่ยนบอย

ระบบการพิมพพ้ืนราบ Planographic Printing กระบวนการสรางแมพิมพพ้ืนราบมีลักษณะผิดจากระบบการพิมพพ้ืนนูนและการพิมพพ้ืนลึก ภาพและสวนท่ีไมใชภาพอยูบนระนาบเดียวกันหรือเทากันหมด แตบริเวณภาพมีลักษณะเปนไข ซึ่งรับหมึก ไมรับน้ํา สวนบริเวณไรภาพจะรับน้ํา ไมรับหมึก เมื่อน้ําผานแมพิมพ น้ําจะติดบริเวณพ้ืน เมื่อผานหมึกบนแมพิมพ หมึกพิมพจะติดเฉพาะบริเวณภาพ เมื่อใชแรงกด หมึกจะถายทอดจากแมพิมพสูโมยาง กอนจะลงวัสดุพิมพ เปนการพิมพทางออมท่ีแมพิมพไมสัมผัสวัสดุพิมพโดยตรง

ระบบการพิมพนี้ไมใชการพิมพโดยตรง เปนการพิมพทางออม แมพิมพไมสัมผัสวัสดุพิมพโดยตรง เปนการถายทอดจากแมพิมพสูผายางแบล็งเก็ต หรือลูกโมท่ีหุมผายางกอน จากนั้นจึงถายทอดลงบนกระดาษโดยผานแรงกดของลูกกลิ้งแรงกด ภาพหรือตัวอักษรบน แมพิมพจึงไมจําเปนตองกลับดาน แมพิมพจะเปนโลหะท่ีรับน้ําไดดี สวนตัวรับภาพตองรับหมึกไดดี รับน้ําไดยาก เคลือบผิวท่ีไมใชภาพดวยน้ําเพ่ือไมใหหมึกจับติด

Page 8: 210 printing

ขอดีของการพิมพระบบออฟเซต – พิมพสีพ้ืนทึบบริเวณกวางๆไดเรียบเมื่อเปรียบเทียบ

กับระบบอื่น หมึกติดสม่ําเสมอท่ัวท้ังภาพ คมชัด – พิมพไดละเอียดสวยงาม ความละเอียดสูง

โดยเฉพาะพิมพสี – แมพิมพมีความทนทาน พิมพงานไดจํานวนมากๆ – แมพิมพจัดเก็บและหาพ้ืนท่ีเก็บไดงายเพราะเปน

แผนแบนราบ – ความนุมของผายางทําใหพิมพบนวัสดุพิมพ

ท่ีมีพ้ืนผิวหยาบได – มีจุดบริการแพรหลาย หาไมยาก

ขอเสียของการพิมพระบบออฟเซต – การควบคุมการผลิตมีความยุงยากซับซอน

เร่ืองน้ํากับหมึกบนแมพิมพ ตองมีทักษะ – การสูญเสียกระดาษมากกวาการพิมพ

ระบบอื่นๆ เนื่องจากปญหาการปรับสมดุลในการปอนหมึกและน้ํา

– การควบคุมอุณหภูมิหองพิมพตองระมัดระวัง เพราะระบบพิมพมีน้ําเปนสวนประกอบ ทําใหความชื้นสัมพัทธในหองสูง สงผลทําใหกระดาษยืดหดตัวไดสูง

ระบบการพิมพรองลึก/พ้ืนลึก Gravure • กระบวนการสรางภาพบนแมพิมพทองแดงทรงกระบอกเปนการพิมพทางตรง ภาพและตัวอักษรบน

แมพิมพจะกลับดาน (reverse) โดยโลหะทองแดงจะถูกกัดลึกเปนรองหรือเปนบอลงไปจากผิวหนาของแมพิมพ หมึกพิมพท่ีใชมีความหนืดต่ํา ลักษณะเหลวคลายน้ํา โมแมพิมพจะหมุนรอบตัวเองเพ่ือรับหมึกพิมพตลอดเวลา หมึกพิมพจะไหลเขาขังตัวอยูตามรองลึก (บอหมึก) ซึ่งเปนเนื้อภาพ มากนอยตามขนาดและความลึกของแตละบอ บริเวณไรภาพจะไมมีหมึกติดอยู เพราะมีใบปาดหมึก doctor blade คอยปาดหมึกออก

• เมื่อนําวัสดุพิมพวางทาบบนแมพิมพและใชแรงกด หมึกจะถายทอดจากแมพิมพลงบนวัสดุพิมพ ใหคุณภาพงานพิมพสวยงาม แตมีตนทุนทําแมพิมพสูง เหมาะกับงานพิมพจํานวนมากๆ

• ระบบการพิมพนี้แบงออกเปนสองประเภทหลัก คือ การพิมพแบบอินทาลิโอ Intaglio แมพิมพจะถูกกัดเปนรองลึก หมึกพิมพเหนียวขน ภาพท่ีไดจะนูนขึ้นมาเพราะหมึกพิมพจับหนา ใชในสิ่งพิมพท่ีปลอดการปลอมแปลง security printing เชน ธนบัตร อากรแสตมป การพิมพกราวัวร gravure ซึ่งแมพิมพถูกกัดเปนรองหรือบอเล็กๆจํานวนมาก หมึกพิมพมีลักษณะเหลว ไหลไดดีใชพิมพสิ่งพิมพจํานวนมากๆ เชน หอบรรจุภัณฑตางๆ และสามารถพิมพไดดีบนวัสดุพิมพท่ีหลากหลาย ท้ังกระดาษ พลาสติก ไวนิล และฟอยล

Page 9: 210 printing

ขอดีของการพิมพกราวัวร – ใหภาพท่ีมีคุณภาพดี ความละเอียดสูง แมจะเปนกระดาษ

บางและคุณภาพต่ํา – ความเร็วสูง แมพิมพมีอายุการใชงานยาวนาน เหมาะกับ

การพิมพจํานวนมากๆ – ใหคุณภาพสีท่ีมีน้ําหนักตอเนื่อง แมบนวัสดุพิมพท่ีมี

คุณสมบัติคอนขางต่ํา – ใชวัสดุพิมพไดหลายชนิด เชน กระดาษ พลาสติก

อะลูมิเนียมเปลว (Aluminium foil) และวัสดุเคลือบลามิเนต – นิยมพิมพบรรจุภัณฑท่ัวไป สิ่งพิมพ และการพิมพพิเศษ

เอกสารปลอดการปลอมแปลง เชน ธนบัตร อากรแสตมป และปริญญาบัตร ใชระบบการพิมพอินทาลิโย (Intaglio) ซึ่งหมึกจะเหนียวกวาระบบกราวัวรมาก

ขอเสียของการพิมพกราวัวร – การทําแมพิมพมีความซับซอน

มากกวาในระบบการพิมพอื่นๆ – โมแมพิมพมีน้ําหนักมากและทําให

สิ้นเปลืองเนื้อท่ีในการจัดเก็บ – คาใชจายคอนขางสูงในการทํางาน

พิมพแตละคร้ัง – ตัวทําละลายของหมึกพิมพมีความ

ไวไฟสูงตองใชอยางระมัดระวัง – ไมเหมาะกับการพิมพภาพตัวอักษร

หรืองานลายเสน เพราะเห็นรองรอยของบอหมึก

ระบบการพิมพพ้ืนฉลุ stencil ใชหลักการของพ้ืนฉลุ (stencil) โดยใหหมึกไหลผานชองแมพิมพสกรีนท่ีทําดวยเสนใยละเอียด (เชน ไนลอน คาดรอน เหล็ก) ตามลวดลายลงไปบนวัสดุพิมพและปดบริเวณท่ีไมตองการพิมพเพ่ือไมใหหมึกไหลผาน แมพิมพจะขึงตึงอยูบนกรอบสีเหลี่ยม การพิมพประเภทนี้สามารถปรับแรงกดใหพิมพลงบนวัสดุไดแทบทุกประเภท เชน แกว ไม โลหะ พลาสติก ผา กระดาษ แตตองเลือกชนิดหมึกใหถูกตองกับวัสด ุเชน การพิมพซิลกสกรีนและการพิมพโรเนียว การพิมพโรเนียว mimeograph duplicating

• เร่ิมใชอยางกวางขวางในป ค.ศ. 1885 คําวาโรเนียว เปนชื่อเรียกเคร่ืองผลิตสําเนาเอกสารดวยวิธีการโรเนียวของบริษัท เอบีดิก A-B Dick Co. ปจจุบัน โรเนียวใชสําหรับการผลิตสําเนาท่ีไมตองการคุณภาพงานพิมพสูงนัก มีงบประมาณจํากัด และตองการสําเนาจํานวนไมมาก

• หลักการ พิมพขอความดวยเคร่ืองพิมพดีดหรือเคร่ืองพิมพอื่นบนกระดาษไขท่ีมีคุณสมบัติไมใหหมึกซึมผาน หรือวาดลวดลายบนกระดาษไขดวยของแหลมหรือคมจนกระดาษทะลุเปนลายตามตองการ เมื่อผานหมึกลงไป หมึกจะไหลผานรองรอยท่ีทะลุขาด และถายทอดขอความหรือภาพบนวัสดุพิมพ

การพิมพพ้ืนฉลุหรือซิลกสกรีน silk screen printing

• การพิมพพ้ืนฉลุมีชื่อเรียกหลายชื่อ เชน stencil printing, screen printing, silk screen, serigraphy, mitography, selectine

• ปจจุบัน ใชพิมพสิ่งพิมพท่ีมีจํานวนพิมพและงบประมาณนอย แตคุณภาพสูง สามารถพิมพภาพลวดลายละเอียดและภาพฮาลฟโทนบนวัสดุพิมพเกือบทุกชนิด หลากพ้ืนผิว ลวดลาย และรูปทรง เพียงแตมีขนาดจํากัดตามกรอบสกรีนเทานั้น

Page 10: 210 printing

• นอกจากนี้ยังพิมพหมึกพิมพหลายชนิดท่ีเปนหมึกทึบแสงไดดวย เชน หมึกพิมพวาวแสง(fluorescent ink) หรือหมึกโลหะ (metallic ink)

• แมพิมพทําดวยผาเนื้อโปรง หรือตะแกรงละเอียด screen ซึ่งหมึกพิมพสามารถทะลุผานได โดยถายตนฉบับลงบนฟลม อัดฟลมบนแผนสกรีนท่ีเคลือบสารไวแสง จากนั้นฉายกแสงอัลตราไวโอเลตความเขมสูง เมื่อนําแผนสกรีนไปลาง สวนท่ีเปนภาพจะมีลักษณะเปนรูโปรง เมื่อนําหมึกพิมพปาดลงไป สีของหมึกจะทะลุผานไปติดวัสดุพิมพเฉพาะสวนท่ีตองการ ใชในงานท่ีตองการจํานวนไมมาก เชน โปสเตอร แผนพับ เสื้อยืด แผนโฆษณา พิมพกี่สีก็ได

หลักการทํางาน • การเลือกหมึกในการพิมพสกรีนตองใชหมึกท่ีทําจากผงสีและสิ่งนําท่ีไหลผานรูเปดของผาสกรีนไดดี

ใหชั้นหมึกท่ีมีคาความเขม density ตามตองการ โดยพิจารณาลักษณะและขอจํากัดของสิ่งพิมพเมื่อนําไปใชงาน เชน บิลบอรดตองทนตอทุกสภาพอากาศ กลองหรือขวดผงซักฟอกตองทนสารเคมี ฯลฯ

• พ้ืนฉลุสามารถใชในการพิมพไดหลายคร้ัง จนกวาจะขาดหรือเสียรูป กอนนําไปพิมพตองตรวจหารูร่ัว หรือตามด pinhole กอนทุกคร้ัง ถาพบใหอุดดวยน้ํายา และอุดรอยตอระหวางกรอบและผาสกรีนดวยเทปกาวประเภททนน้ํา สวนการผานหมึกบนวัสดุพิมพทําไดโดยใชท่ีปาดสีท่ีหยุนตัว

• การปาด ควรปาดเพียงคร้ังเดียว ท่ีปาดจึงควรใหญกวาภาพเสมอ – การปาดสีเพ่ือคลุมแบบ (ลอยตัว ไมมีชิ้นงานรองรับ) ปาดออกจากตัว โดยมีมุมปาด 45 องศา – การพิมพ เปนการปาดหมึกเขาหาตัว โดยมีชิ้นงานรองรับผาสกรีนดานลาง หมึกจะทะลุผาน

ลวดลายลงสูชิ้นงาน เปนภาพเหมือนตนฉบับท่ีสวยงาม เมื่อปาดหมึกพิมพแลว ตองปาดสีเพ่ือคลุมแบบทุกคร้ัง เพ่ือไมใหผาสกรีนแหงและเกิดการอุดตัน

ขอดีของการพิมพพ้ืนฉล ุ

• ราคาถูก • เหมาะกับงานพิมพจํานวนนอย • พิมพบนวัสดุไดเกือบทุกชนิด • สามารถใชหมึกท่ีการพิมพอื่นใชไมได • เหมาะกับการพิมพงานลายเสน ตัวอักษร

ท่ีรายละเอียดนอย

ขอเสียของการพิมพพ้ืนฉล ุ• ไมเหมาะกับการพิมพภาพสกรีน (ไล

โทน) • ไมเหมาะกับงานพิมพจํานวนมาก เชน

หนังสือพิมพ นิตยสาร • พิมพสกรีนหลายสีควรเปนการสกรีนคน

ละตําแหนง สีจะสดใสกวา

สรุปการพิมพพ้ืนฐาน • เลตเตอรเพรส

– มีจํานวนไมเกิน 2,000-3,000 ชุด – ขนาดไมใหญ ภาพประกอบนอย – ไมเปนงานพิมพหลายส ี

– มีเวลาทํางานพอสมควร – มีงบประมาณการพิมพจํากัด

Page 11: 210 printing

• ออฟเซต – จํานวนพิมพ 3,000 ขึ้นไป – ตองการความรวดเร็ว – ความประณีต งดงาม

– ตองการพิมพหลายสี – ตนฉบับมีภาพประกอบและรายละเอียด

มาก

• กราวัวร – จํานวนพิมพสูงมาก – ตองการพิมพบนวัสดุพิเศษ เชน

กระดาษ พลาสติก และฟอยล – มีความละเอียดของภาพสูงมาก

– ตองการสีแจม (กระดาษหอ ของขวัญ) หรือความแนนอนของสี (โฆษณา บรรจุภัณฑ เคร่ืองสําอาง)

• ซิลกสกรีน – โฆษณา (โปสเตอร) ขนาดใหญ

จํานวนพิมพไมมาก – พิมพบนวัสดุพิเศษ เชน ขวดแกว

พลาสติก ผา หนัง โลหะ เซรามิก

– พิมพแผงวงจรไฟฟา – พิมพงานท่ีเนนความงามทางศิลปะ

พิเศษ และพิมพจํานวนนอยชิ้น

3.2 ระบบการพิมพไรแรงกด/ไมสัมผัส

• หากยังจําได นิยามการพิมพเดิมกําหนดใหการพิมพมีองคประกอบอยางนอยสามอยาง คือ แมพิมพ การลงหมึก และแรงกดพิมพ ซึ่งเปนท่ีมาของระบบพิมพตางๆ แตการพิมพยุคใหมองคประกอบบางอยางอาจขาดไป เชน การพิมพระบบดิจิทัลท่ีไมตองใชแมพิมพหรือแทนพิมพอีกตอไป เรียกวา plateless process และเมื่อเชื่อมตอกับระบบเครือขาย ก็จะเกิดการพิมพบนอินเทอรเน็ตท่ีอํานวยประโยชน รองรับความตองการใหมๆของผูบริโภคท่ีตองการ ท้ังสื่อสิ่งพิมพและสื่ออินเทอรเน็ต

• การพิมพดิจิทัลเกิดขึ้นเมื่อมีการประดิษฐคิดคนคอมพิวเตอรจนแพรหลายและมโีปรแกรมรองรับการทํางานตางๆ รวมถึงเทคโนโลยีปรินเตอรดวย แนวโนมความเปลี่ยนแปลงนี้เกิดจากธุรกิจการพิมพสมัยใหมท่ีทําทุกอยางไดดวยคอมพิวเตอร ตั้งแตการเตรียมพิมพ การจัดหนา การสงงานผานเครือขาย

• ขอดีของระบบการพิมพนี้คือสามารถแกขอมูลไดทันที ไมเสียเวลาในการพิมพ และพิมพงานจํานวนนอยๆไดโดยคาใชจายถูกกวา ประกอบกับความตองการสิ่งพิมพของผูบริโภคเร่ิมเปลี่ยนไป มีลักษณะส่ังจํานวนนอยและตองการเร็ว (on-demand printing) มากขึ้น ทําใหการพิมพระบบดิจิทัลไดรับความนิยม นอกจากนี้ เครื่องพิมพดิจิทัลรุนใหมๆยังพัฒนาความสามารถพิมพงานประเภทอื่นๆ ท้ังฉลาก จดหมายขาว การด แผนโปรงใส ไดดีขึ้น

การพิมพไรแรงกดหรือไรสัมผัส non-impact printing/digital printing เปนระบบท่ีพัฒนาขึ้นใหม ยังไมถือเปนมาตรฐานเหมือนการพิมพพ้ืนฐาน การพิมพไมไดเกิดจากการถายหมึกจากแมพิมพสูชิ้นงาน แตเปนการทําปฏิกิริยาระหวางแสงกับปฏิกิริยาเคมีบนชิ้นงาน จึงผลิตงานไดนอยชิ้นและคุณภาพไมคงทนนัก • การพิมพระบบพนหมึก inkjet printing

ใชสัญญาณคอมพิวเตอร (ไฟฟา) ปอนขอมูลภาพหรืออักษรไปสูอุปกรณท่ีใชพิมพ ซึ่งจะแปลงเปนสัญญาณความรอน เมื่อไดรับสัญญาณไฟฟาจากคอมพิวเตอรท่ีแปลงเปนสัญญาณความรอน คร่ืองพิมพซึ่งประกอบดวยหนวยแรงอัดหมึกและหัวพน nozzle จะพนหมึกเหลวเขาสูระบบจายไฟฟาเพ่ือสรางประจุใหหยดหมึก โดยควบคุมและหักเหทางเดินของหยดหมึกใหตกบนวัสดุพิมพเปนภาพหรืออักษรท่ีตองการ – พัฒนาจากการพิมพฉลากหรือรหัสสินคาลงบนกลองหรือขวด ภาพพิมพท่ีออกมาในลักษณะท่ีเห็นเปน

จุดๆ ปจจุบันสามารถพนหมึกไดหลายสีโดยใชการถายทอดขอมูลจากคอมพิวเตอร • การพิมพโดยการถายโอนความรอน thermal transfer printing

ใชแถบริบบอน ribbon เคลือบหมึกท่ีมีลักษณะคลายขี้ผ้ึงหรือหมึกท่ีหลอมดวยความรอน hot-melt ink เมื่อไดรับความรอน หมึกจะละลายติดวัสดุพิมพ เกิดจากการเชื่อมสัญญาณคอมพิวเตอร (ไฟฟา) ไปท่ีหัวพิมพ เมื่อสัญญาณไปถึงหัวพิมพ จะเกิดความรอนประมาณ 500 ฟาเรนไฮต (260 เซลเซียส) เมื่อถายเทความรอนจากหัวพิมพไปยังฟลมท่ีเคลือบดวยหมึก หมึกจะหลอมเหลวติดวัสดุพิมพจนเกิดเปนภาพในเวลาเพียงเศษหนึ่งในพันของวินาทีเทานั้น ระบบนี้พิมพไดท้ังสีและขาวดํา สวนมากใชกับระบบการพิมพปรูฟส ี

Page 12: 210 printing

• เครื่องถายเอกสาร xerography/electrostatic printing (xero = แหง graphos = การเขียน) เปนการสรางภาพลายเสนท่ีใกลเคียงตนฉบับในเวลารวดเร็วและราคาไมแพง ใชหมึกผง (toner) หรือเหลว ทําใหเกาะติดกระดาษท่ีเคลือบดวยชั้นไวแสงท่ีมีประจุไฟฟา (photoconductive layer) โดยอาศัยหลักการถายภาพดวยไฟฟาสถิต เมื่อกดปุมพิมพ หลอดสรางไฟฟาสถิตจะทําใหบริเวณท่ีเปนภาพเกิดไฟฟาขั้วตรงขามกับผงหมึก ดูดผงหมึกวิ่งเขามาติดบริเวณนั้นและเกิดเปนภาพ แตเนื่องจากผงหมึกสามารถลบและหลุดออกได จึงตองผานเคร่ืองทําความรอนเพ่ือใหหมึกละลายติดกระดาษ การสรางภาพสอดสีทําไดในราคาต่ํา โดยในเคร่ืองถายเอกสารจะมีหมึกผงสี 3 หนวยตามแมพิมพท่ีใชพิมพ

• เครื่องพิมพเลเซอร laser (light amplification by stimulated emission of radiation) ผสมผสานเทคโนโลยีไฟฟาสถิตกับคอมพิวเตอร ทํางานเหมือนเคร่ืองถายเอกสาร ยกเวนระบบฉายแสง นั่นคือใชแหลงกําเนิดแสงเปนเลเซอรในการถายทอดภาพบนหนวยบันทึกภาพโดยตรง ไมตองอาศัยการสะทอนแสงจากตนฉบับ ไมตองใชตนฉบับจริงในการสรางภาพ แตใชขอมูลดิจิทัลจากคอมพิวเตอรไดเลย

ความแตกตางของระบบพิมพอยูท่ีเทคโนโลยีในการสงและการแปรสัญญาณไฟฟาจากหนวยความจํา:

เปรียบเทียบการพิมพไมสัมผัสกับการพิมพพ้ืนฐานท่ัวไป

• ประสิทธิภาพในการผลิต เคร่ืองพิมพในระบบพิมพไมสัมผัสยังมคีวามเร็วต่ํากวาการพิมพพ้ืนฐาน เคร่ืองพิมพออฟเซตสีเดียวมีความเร็ว 8,000-120,000 แผนตอชม. สวนเคร่ืองพิมพเลเซอรมีความเร็ว 200 แผนตอนาทีสําหรับกระดาษ A3

• นิยมใชในงานสํานักงานถึงงานพิมพท่ัวไป แตถาเปนอุตสาหกรรม จะใชการพิมพพ้ืนฐานเปนหลัก • คุณภาพดี อาจจัดทําหนังสือสั่งทําพิเศษ เชน หนังสือทํามือ คือเปนงานท่ีเนนคุณภาพ ทําปริมาณ

นอย โดยอาจมีราคา (ตอช้ิน) สูงกวาปกต ิ

พัฒนาการของระบบการพิมพ DTP (desktop publishing) • อุปกรณนําเขา กลองดิจิทัล เคร่ืองบันทึกวีดิทัศน แผนบันทึกหรือดิสก

เก็บขอมูล สแกนเนอร กลองวีดิทัศนนิ่ง still video เคร่ืองบันทึกเสียง audio source ฐานขอมูล data base

• อุปกรณสงออก จอภาพ อินเทอรเน็ต ลําโพง เคร่ืองพิมพดิจิทัล ซีดีรอม เคร่ืองบันทึกวีดิทัศน เคร่ืองสรางภาพบนฟลม เคร่ืองสรางภาพบนแมพิมพ รวมไปถึงโปรแกรมซอฟตแวรจัดการสีและภาพและกราฟก สถานีไฮเอนด เครือขายเชื่อมตอ และเคร่ืองสรางภาพบนแผนฟลม (image setter) เคร่ืองสรางภาพบนแมพิมพ (plate setter)

• เทคโนโลยีดิจิทัลมีการพัฒนาอยางรวดเร็ว ขั้นตอนการพิมพตางๆ ทํางานรวมกันผานระบบเครือขายไดท้ังหมด ตั้งแตการออกแบบ การจัดการขอมูล การสั่งพิมพ และการนําขอมูลมาใชซ้ํา

• ขอดขีองเทคโนโลยีดิจิทัล เชน อุปกรณแตละชิ้นมขีนาดไมใหญมาก ผูปฏิบัติการไมตองสัมผัสสารเคมีหรือน้ํายาหรือหมึกพิมพท่ีเกิดมลพิษ แตเคร่ืองไมเคร่ืองมือมีราคาสูง ตองอาศัยผูชํานาญการเร่ืองเทคโนโลยี การใชงาน และการบํารุงรักษาอุปกรณ

ประเภทของส่ือท่ีเปลี่ยนจากแอนะล็อกเปนดิจิทัล

• ส่ิงพิมพท่ัวไป (Traditional Print) • ส่ืออิเล็กทรอนิกส (Electronic and digital media) แผนซีดี-รอม และคอมแพ็กตดิสกท่ัวไป • ส่ือสิงพิมพผานระบบเครือขาย (Network) คอมพิวเตอร-ทู-ปรินต การพิมพตามสั่ง • ส่ือบริการขอมูลผานเครือขาย (Network information) ไดแก ขอมูลผานเคเบิลทีวี Interactive TV • ส่ือผานอินเทอรเน็ตและอินทราเน็ต

Page 13: 210 printing

เปาหมายของ DTP: Desktop Publisher – ลดขั้นตอนการผลิตใหสั้นลง – ใชคนนอยลง ใชเคร่ืองจักรแทนท่ีมากขึ้น – มีระบบควบคุมคุณภาพดีขึ้น

– นําไปสูระบบและโรงงานอัตโนมัติมากขึ้น – สงขอมูลไปพิมพไดทุกแหงในโลก

ปรากฏการณใหมในโลกส่ิงพิมพยุคดิจิทัล

• การนําเทคโนโลยีใหมเขามาผนวกในส่ิงพิมพท่ัวไป เชน การใชภาพสามมิตใิน บางกอกโพสต • หนังสือพิมพและนิตยสารออกฉบับออนไลนควบคูกับฉบับปกติ (หรือออกฉบับออนไลนอยางเดียว)

โดยมีท้ังบริการฟรีและเก็บเงิน • เกิดส่ือใหมท่ีมีการผสมผสานภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว • หนังสืออิเล็กทรอนิกส อานในเน็ต หรือเคร่ืองมืออานพิเศษของคายตางๆ เชน อะเมซอน (คินเดิล)

4. กระบวนการผลิตส่ิงพิมพ

• กระบวนการผลิตสิ่งพิมพประกอบดวยสามขั้นตอนหลักซึ่งปจจุบันดําเนินการหรือแกไขดวยคอมฯ ได กอนพิมพ prepress process การเตรียมตนฉบับ เขียน ถายภาพ (แปลงเปนดิจิทัล) ออกแบบจัด

หนา ทํารูปเลม แยกสี ตรวจปรูฟ ทําแมพิมพ พิมพ press/priting process พิมพ (หมึก สี กระดาษ) หลังพิมพ post-press process ตกแตงผิว เคลือบผิว พับ ตัด เก็บเลม เขาเลม บรรจุหีบหอเพ่ือจัดสง ขั้นเตรียมการ preparation วางแผนผลิตจนถึงตนฉบับเสร็จ ประกอบดวย การวางแผน การประสานงาน

การทําตนฉบับ การตรวจตนฉบับ ขั้นกอนพิมพ prepress ประกอบและปรับแปลงตนฉบับ ประกอบดวย การเรียงพิมพ การออกแบบจัด

หนา การทําดิจิทัลปรูฟ การทําแมพิมพ (plate) ขั้นพิมพ press คากระดาษ เนื้อในและปก คาพิมพ จากจํานวนพิมพ เงื่อนไขการพิมพ (สี/ขาว

ดํา) สเปกงานอื่นๆ ขั้นหลังพิมพ postpress/finishing เชน การปรับแตงผิวกระดาษ เคลือบปก (ลามิเนต สปอตยูวี) พิมพนูน

หรืออื่นๆ การแทรก ใบปลิว สายคาด ของแถมของสมนาคุณ การเก็บเลม