1
แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปที่สําเร็จการศึกษา 2552 A thesis Submitted in Partial fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Public Adiministration School of Management Sciences Sukhothai Thammathirat Open University 2009 ความสําคัญของการวิจัย 1. กระทรวงการคลังไดออกกฎกระทรวง ฉบับที่ 89 (พ.ศ. 2534) กําหนดใหทาเรือแหลมฉบัง อําเภอศรีราชา จังหวัด ชลบุรี เปนเขตศุลกากรและเปนทาหรือที่สําหรับนําเขาหรือสงออกสินคาซึ่งของทุกประเภท ซึ่งกรมศุลกากร ได อาศัยอํานาจตามกฎกระทรวงฉบับดังกลาว ประกาศตั้งดานศุลกากรขึ้นชื่อวา “ดานศุลกากรแหลมฉบัง” หลังการปฏิรูประบบราชการไดรับการยกฐานะใหเปน “สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง” สํานักงานศุลกากร ทาเรือแหลมฉบัง ตั้งอยูใน จังหวัดชลบุรี มีเขตรับผิดชอบในพื้นที่จังหวัดชลบุรี ยกเวนอําเภอสัตหีบ 2. สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ไดเผชิญกับปญหาในการบริหารจัดการหลายประการ ตัวอยางเชน (1) ปญหา ภายนอกที่เกี่ยวกับการใหบริการประชาชน คือ การใหบริการประชาชนผูมาติดตอขอรับบริการบางสวนยังไมมี ประสิทธิภาพตามที่ประชาชนคาดหวัง (2) ปญหาภายใน หรือปญหาการบริหารงานทั่วไป คือ บุคลากรบางสวน งานไมเหมาะสมเพียงพอกับปริมาณงานการใหบริการ (3) ปญหาการเรียนรูและการเจริญเติบโต คือ ยังมิได พัฒนาใหเปนองคการแหงการเรียนรู หรือฝกอบรมบุคลากรมากเทาที่ควร ทําใหบุคลากรขาดการเรียนรู เทคโนโลยีที่ทันสมัย กฎหมายที่เกี่ยวของ และ (4) ปญหาการเงิน คือ การติดตามตรวจสอบการใชจายงบประมาณ ของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังวาคุมคามากนอยเพียงใด เหลานี้ เปนตน 3. จากเหตุผลที่แสดงถึงความสําคัญของปญหาและการพัฒนาการบริหารจัดการ อํานาจหนาที่ของสํานักงาน ศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง จึงทําใหผูศึกษาเห็นถึงความสําคัญและความจําเปนอยางยิ่งที่จะศึกษา เรื่อง ปญหาและ การพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง โดยใชแนวทางการบริหารจัดการหนวยงาน แบบสมดุล (Balanced Scorecard) เปนกรอบแนวคิดหลักในการศึกษา วัตถุประสงคการวิจัย 1. ปญหาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง 2. การพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง 3. ปจจัยที่มีสวนสําคัญทําใหการพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังประสบผลสําเร็จ 4. เปรียบเทียบความคิดเห็นของกลุมตัวอยางบางกลุมตอภาพรวมการพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงาน ศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง กรอบแนวคิดที่ใชในการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดนําแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการหนวยงานแบบสมดุลที่เรียกวา Balanced Scorecard มาเปนเครื่องมือที่ใชในการวัดและประเมินผล เปนเครื่องมือทางดานการจัดการที่ชวยในการ นํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ (strategic implementation) โดยอาศัยการวัดหรือประเมิน (measurement) ทําใหองคการเกิดความสอดคลอง เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และมุงเนนในสิ่งที่มีความสําคัญ ตอความสําเร็จขององคการ (alignment and focused) เปนเครื่องมือดานการจัดการที่สามารถ วัดผลการปฏิบัติงานไดครอบคลุม ผูศึกษาไดกําหนดให ปญหาและการพัฒนาการบริหาร จัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังที่จัดกลุมและวิเคราะหตาม แนวทางการการบริหารจัดการหนวยงานแบบสมดุล 4 ดานเปนตัวแปร อิสระหรือเปนเหตุขณะที่ “การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง” เปนตัวแปรตามหรือเปนผล ระเบียบวิธีวิจัย 1. การวิจัยเปนการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใชในการศึกษา คือ ผูที่ทําการลงทะเบียนในระบบทะเบียน ผูมา ติดตอเพื่อเปนผูผานพิธีการศุลกากรหรือดําเนินในกระบวนการศุลกากรที่ฝายบริหารงานทั่วไป สํานักงาน ศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ตั้งแตวันที่ 14 มิถุนายน 2549 ถึง วันที่ 31 มีนาคม 2552 จํานวน 3,961 คน/บริษัท กลุมตัวอยาง 1,140 คน ซึ่งไดมาจากการคํานวณโดยใชสูตรของ ทาโร ยามาแน (Taro Yamane) ในการ คํานวณ หาขนาดของกลุมตัวอยางนี้ผูศึกษาใชระดับความเชื่อมั่น 97.5 % 2. ตัวแปรอิสระ คือ ปญหาและการพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ตามแนวทาง การบริหารจัดการหนวยงานแบบสมดุล 4 ดาน ประกอบดวย ดานภายนอกองคกร ดานภายในองคกร ดานการ เรียนรูและการเจริญเติบโต และดานการเงิน ตัวแปรตาม คือการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของ สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง 3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ผูศึกษาไดใชการสรางแบบสอบถาม มีคาน้ําหนักเปรียบเทียบกัน 3 ระดับ สรุปผลการวิจัย 1. ความคิดเห็นของกลุมตัวอยางตอปญหาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ตามกรอบ แนวคิดแนวทางการบริหารจัดการหนวยงานแบบสมดุล 4 ดาน ในภาพรวมกลุมตัวอยางลวนเห็นดวยในระดับ ปานกลางทั้ง 4 ดาน 2. การพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังตามแนวทางการบริหารจัดการหนวยงาน แบบสมดุล 4 ดาน กลุมตัวอยางลวนเห็นดวยในระดับปานกลางทั้ง 4 ดาน 3. ปจจัยที่มีสวนสําคัญทําใหการพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังประสบ ผลสําเร็จ ตามกรอบแนวคิด 3M กลุมตัวอยางลวนเห็นดวยในระดับปานกลางทั้ง 3 ดาน ขอเสนอแนะ 1. สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังควรกําหนดเปนนโยบายและแผนที่ชัดเจนในเรื่องการหาขอมูลขาวสาร หรือขอเท็จจริงจากประชาชนผูรับบริการกอนวางแผนและลงมือดําเนินงานเพื่อตอบสนองความตองการ ของประชาชน พรอมทั้งอบรมผูบริหารทุกระดับในเรื่องดังกลาวดวย 2. สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังควรฝกอบรมผูบริหารทุกระดับใหมีความรูความเขาใจเรื่องประโยชน ของการประชาสัมพันธ และดําเนินการประชาพันธอยางจริงจังและตอเนื่อง เชน การลดขั้นตอนการ ใหบริการ 3. สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ควรสนับสนุนใหมีการพัฒนาหรือฝกอบรมบุคลากรทุกระดับในเรื่อง การปรับเปลี่ยนทัศนคติหรืออุดมการณเพื่อประโยชนของสวนรวม เชน การใหบริการที่ซื่อสัตยสุจริต และ รวดเร็ว 4. สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ควรมีการทบทวนภารกิจใดที่มีความจําเปนที่ตองมุงเนนใหความสําคัญ ภารกิจใดควรยกเลิกหรือภารกิจใดจําเปนตองปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือแมกระทั่งการปรับปรุงโครงสราง อํานาจหนาที่และอัตรากําลังใหเหมาะสมเพื่อใหเกิดความสอดคลองกับการบรรลุเปาหมาย ประธานกรรมการที่ปรึกษา รศ.ดร. วิรัช วิรัชนิภาวรรณ กรรมการที่ปรึกษา อาจารย พลเอกศิรินทร ธูปกล่ํา ผูวิจัย นายสุริวัฒน สงวนสิน [email protected] สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ประเภทงานวิจัย การวิจัยเชิงสํารวจ

15suriwat poster 24mar 53 - wiruch.com€¦ · Title: Microsoft PowerPoint - 15suriwat_poster_24mar_53 Author: Administrator Created Date: 3/24/2010 9:42:19 AM

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 15suriwat poster 24mar 53 - wiruch.com€¦ · Title: Microsoft PowerPoint - 15suriwat_poster_24mar_53 Author: Administrator Created Date: 3/24/2010 9:42:19 AM

แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปท่ีสําเร็จการศึกษา 2552A thesis Submitted in Partial fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Public Adiministration School of Management SciencesSukhothai Thammathirat Open University 2009

ความสําคัญของการวิจัย

1. กระทรวงการคลังไดออกกฎกระทรวง ฉบับท่ี 89 (พ.ศ. 2534) กําหนดใหทาเรือแหลมฉบัง อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุร ีเปนเขตศุลกากรและเปนทาหรือท่ีสําหรับนําเขาหรือสงออกสินคาซึ่งของทุกประเภท ซึ่งกรมศุลกากร ไดอาศัยอํานาจตามกฎกระทรวงฉบับดังกลาว ประกาศต้ังดานศุลกากรข้ึนช่ือวา “ดานศุลกากรแหลมฉบัง”หลังการปฏิรูประบบราชการไดรับการยกฐานะใหเปน “สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง” สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ต้ังอยูใน จังหวัดชลบุร ีมีเขตรับผิดชอบในพื้นท่ีจังหวัดชลบุร ี ยกเวนอําเภอสัตหีบ

2. สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ไดเผชิญกับปญหาในการบริหารจัดการหลายประการ ตัวอยางเชน (1) ปญหาภายนอกท่ีเก่ียวกับการใหบริการประชาชน คือ การใหบริการประชาชนผูมาติดตอขอรับบริการบางสวนยังไมมีประสิทธิภาพตามท่ีประชาชนคาดหวัง (2) ปญหาภายใน หรือปญหาการบริหารงานท่ัวไป คือ บุคลากรบางสวนงานไมเหมาะสมเพียงพอกับปริมาณงานการใหบริการ (3) ปญหาการเรียนรูและการเจริญเติบโต คือ ยังมิไดพัฒนาใหเปนองคการแหงการเรียนรู หรือฝกอบรมบุคลากรมากเทาท่ีควร ทําใหบุคลากรขาดการเรียนรูเทคโนโลยีท่ีทันสมัย กฎหมายท่ีเก่ียวของ และ (4) ปญหาการเงิน คือ การติดตามตรวจสอบการใชจายงบประมาณของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังวาคุมคามากนอยเพียงใด เหลาน้ี เปนตน

3. จากเหตุผลท่ีแสดงถึงความสําคัญของปญหาและการพัฒนาการบริหารจัดการ อํานาจหนาท่ีของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง จึงทําใหผูศึกษาเห็นถึงความสําคัญและความจําเปนอยางยิ่งท่ีจะศึกษา เรื่อง ปญหาและการพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง โดยใชแนวทางการบริหารจัดการหนวยงานแบบสมดุล (Balanced Scorecard) เปนกรอบแนวคิดหลักในการศึกษา

วัตถุประสงคการวิจัย

1. ปญหาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง 2. การพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง 3. ปจจัยท่ีมีสวนสําคัญทําใหการพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังประสบผลสําเร็จ 4. เปรียบเทียบความคิดเห็นของกลุมตัวอยางบางกลุมตอภาพรวมการพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงาน

ศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง

กรอบแนวคิดท่ีใชในการศึกษา

ในการศึกษาครั้งน้ี ผูศึกษาไดนําแนวคิดเก่ียวกับการบริหารจัดการหนวยงานแบบสมดุลท่ีเรียกวา Balanced Scorecard มาเปนเครื่องมือท่ีใชในการวัดและประเมินผล เปนเครื่องมือทางดานการจัดการท่ีชวยในการ

นํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ (strategic implementation) โดยอาศัยการวัดหรือประเมิน (measurement) ทําใหองคการเกิดความสอดคลอง เปนอันหน่ึงอันเดียวกัน และมุงเนนในสิ่งท่ีมีความสําคัญ

ตอความสําเร็จขององคการ (alignment and focused) เปนเครื่องมือดานการจัดการท่ีสามารถวัดผลการปฏิบัติงานไดครอบคลุม ผูศึกษาไดกําหนดให “ปญหาและการพัฒนาการบริหาร

จัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังท่ีจัดกลุมและวิเคราะหตามแนวทางการการบริหารจัดการหนวยงานแบบสมดุล 4 ดาน” เปนตัวแปร

อิสระหรือเปนเหตุขณะท่ี “การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง” เปนตัวแปรตามหรือเปนผล

ระเบียบวิธีวิจัย

1. การวิจัยเปนการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรท่ีใชในการศึกษา คือ ผูท่ีทําการลงทะเบียนในระบบทะเบียน ผูมาติดตอเพื่อเปนผูผานพิธีการศุลกากรหรือดําเนินในกระบวนการศุลกากรท่ีฝายบริหารงานท่ัวไป สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ต้ังแตวันท่ี 14 มิถุนายน 2549 ถึง วันท่ี 31 มีนาคม 2552 จํานวน 3,961 คน/บริษัท กลุมตัวอยาง 1,140 คน ซึ่งไดมาจากการคํานวณโดยใชสูตรของ ทาโร ยามาแน (Taro Yamane) ในการคํานวณ หาขนาดของกลุมตัวอยางน้ีผูศึกษาใชระดับความเช่ือมั่น 97.5 %

2. ตัวแปรอิสระ คือ ปญหาและการพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ตามแนวทางการบริหารจัดการหนวยงานแบบสมดุล 4 ดาน ประกอบดวย ดานภายนอกองคกร ดานภายในองคกร ดานการเรียนรูและการเจริญเติบโต และดานการเงิน ตัวแปรตาม คือการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง

3. เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ผูศึกษาไดใชการสรางแบบสอบถาม มีคานํ้าหนักเปรียบเทียบกัน 3 ระดับ

สรุปผลการวิจัย

1. ความคิดเห็นของกลุมตัวอยางตอปญหาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ตามกรอบแนวคิดแนวทางการบริหารจัดการหนวยงานแบบสมดุล 4 ดาน ในภาพรวมกลุมตัวอยางลวนเห็นดวยในระดับปานกลางท้ัง 4 ดาน

2. การพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังตามแนวทางการบริหารจัดการหนวยงาน แบบสมดุล 4 ดาน กลุมตัวอยางลวนเห็นดวยในระดับปานกลางท้ัง 4 ดาน

3. ปจจัยท่ีมีสวนสําคัญทําใหการพัฒนาการบริหารจัดการของสํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังประสบผลสําเร็จ ตามกรอบแนวคิด 3M กลุมตัวอยางลวนเห็นดวยในระดับปานกลางท้ัง 3 ดาน

ขอเสนอแนะ

1. สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังควรกําหนดเปนนโยบายและแผนท่ีชัดเจนในเรื่องการหาขอมูลขาวสาร หรือขอเท็จจริงจากประชาชนผูรับบริการกอนวางแผนและลงมือดําเนินงานเพื่อตอบสนองความตองการ ของประชาชน พรอมท้ังอบรมผูบริหารทุกระดับในเรื่องดังกลาวดวย

2. สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบังควรฝกอบรมผูบริหารทุกระดับใหมีความรูความเขาใจเรื่องประโยชน ของการประชาสัมพันธ และดําเนินการประชาพันธอยางจริงจังและตอเน่ือง เชน การลดข้ันตอนการใหบริการ

3. สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ควรสนับสนุนใหมีการพัฒนาหรือฝกอบรมบุคลากรทุกระดับในเรื่อง การปรับเปลี่ยนทัศนคติหรืออุดมการณเพื่อประโยชนของสวนรวม เชน การใหบริการท่ีซื่อสัตยสุจริต และรวดเร็ว

4. สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง ควรมีการทบทวนภารกิจใดท่ีมีความจําเปนท่ีตองมุงเนนใหความสําคัญ ภารกิจใดควรยกเลิกหรือภารกิจใดจําเปนตองปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือแมกระท่ังการปรับปรุงโครงสราง อํานาจหนาท่ีและอัตรากําลังใหเหมาะสมเพื่อใหเกิดความสอดคลองกับการบรรลุเปาหมาย

ประธานกรรมการที่ปรึกษา รศ.ดร. วิรัช วิรัชนิภาวรรณ กรรมการที่ปรึกษา อาจารย พลเอกศิรินทร ธูปกลํ่าผูวิจัย นายสุริวัฒน สงวนสิน [email protected]

สํานักงานศุลกากรทาเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี

ประเภทงานวิจัย การวิจัยเชิงสํารวจ