8
วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร� 94 * ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน ปการศึกษา 2556 ** รองศาสตราจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน การพัฒนาบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 DEVELOPMENT OF WEB-BASED INSTRUCTION ON USING SCRATCH PROGRAM FOR PRATOMSUKSA 6 STUDENTS สุดารัตน ลิ้มเศรษฐานุวัต* Sudarat Limsedthanuwat รองศาสตราจารย ดร. ณรงค สมพงษ** Assoc. Prof. Dr. Narong Sompong บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2) เปรียบเทียบ คะแนนกอนเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนดวยบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช 3) ประเมินผลงานที่สรางดวยโปรแกรมสแคช และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียน บนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช กลุมตัวอยางคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนวัดดอนยอ โดยการสุมแบบกลุมไดจํานวน 25 คน เครื่องมือที่ใชในการ วิจัย ไดแก บทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช แบบประเมินคุณภาพสําหรับผูเชี่ยวชาญ แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน แบบประเมินผลงาน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช ในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Dependent t-test พบวา 1) บทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช ที่ประเมินโดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหามีคุณภาพ อยูในระดับดีมาก และดานเทคนิคมีคุณภาพอยูในระดับดี มีประสิทธิภาพ 88.28/84.25 เปนไปตาม เกณฑที่กําหนดไว 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากเรียนดวยบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรม สแคช สูงกวาคะแนนกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลงานของนักเรียนที่สรางดวย โปรแกรมสแคชมีคุณภาพอยูในระดับดี และ 4) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีความพึงพอใจตอการ ใชบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช อยูในระดับมากที่สุด คําสําคัญ: บทเรียนบนเว็บ, โปรแกรมสแคช, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, ความพึงพอใจ, นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

การพัฒนาบทเรียนบน ... · PDF fileการพัฒนาบทเรียน ... wbi ได นําคุณสมบัติของไฮเปอร

  • Upload
    buicong

  • View
    225

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การพัฒนาบทเรียนบน ... · PDF fileการพัฒนาบทเรียน ... wbi ได นําคุณสมบัติของไฮเปอร

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร�94

* ศกึษาศาสตรมหาบณัฑติ สาขาวชิาเทคโนโลยแีละสือ่สารการศกึษา มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร วทิยาเขตบางเขน ปการศกึษา 2556** รองศาสตราจารยประจาํภาควชิาเทคโนโลยกีารศกึษา คณะศกึษาศาสตร มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร วทิยาเขตบางเขน

การพัฒนาบทเรียนบนเว็บเรื่อง

การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

DEVELOPMENT OF WEB-BASED INSTRUCTION ON

USING SCRATCH PROGRAM FOR PRATOMSUKSA 6 STUDENTS

สุดารัตน ลิ้มเศรษฐานุวัต*Sudarat Limsedthanuwat

รองศาสตราจารย ดร. ณรงค สมพงษ**Assoc. Prof. Dr. Narong Sompong

บทคัดยอ การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2) เปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนดวยบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช 3) ประเมินผลงานที่สรางดวยโปรแกรมสแคช และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช กลุมตัวอยางคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนวัดดอนยอ โดยการสุมแบบกลุมไดจํานวน 25 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก บทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช แบบประเมินคุณภาพสําหรับผูเชี่ยวชาญ แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน แบบประเมินผลงาน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Dependent t-test พบวา 1) บทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช ที่ประเมินโดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหามีคุณภาพอยูในระดับดีมาก และดานเทคนิคมีคุณภาพอยูในระดับดี มีประสิทธิภาพ 88.28/84.25 เปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากเรียนดวยบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สูงกวาคะแนนกอนเรยีนอยางมนียัสาํคญัทางสถติทิีร่ะดบั .05 3) ผลงานของนกัเรยีนทีส่รางดวยโปรแกรมสแคชมีคุณภาพอยูในระดับดี และ 4) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีความพึงพอใจตอการใชบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช อยูในระดับมากที่สุดคําสําคัญ: บทเรียนบนเว็บ, โปรแกรมสแคช, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, ความพึงพอใจ, นักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

Page 2: การพัฒนาบทเรียนบน ... · PDF fileการพัฒนาบทเรียน ... wbi ได นําคุณสมบัติของไฮเปอร

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร� 95

ABSTRACT The objectives of this research were: 1) to development of multimedia web-based instruction using scratch program at the quality has 80/80 standard criteria, 2) to compare pre-test and achievement scores after studied by interactive multimedia web-based instruction using scratch program, 3) to evaluation product with scratch program, and 4) to study the students satisfaction on the development of multimedia web-based instruction using scratch program. The research samples in this study consisted of 25 Prathomsuksa 6 students at Watdonyo School. The study was done in 2013 academic year. The research tools utilized in this study were multimedia web-based instruction using scratch program, quality evaluation form, pretest and achievement test, and the questionnaire. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and dependent t-test. The research result show that:1) the efficiency of were development of multimedia web-based instruction using scratch program was evaluated by content experts as “good” and technical experts as “good” quality and 80/80 standard criteria, 2) the students achievement scores after studying through multimedia web-based instruction using scratch program were statistically significantly higher than the students pre-test scores at .05, 3) product creating with scratch program is good quality, and 4) students most satisfied on multimedia web-based instruction using scratch program.Keywords: multimedia web-based instruction, Scratch program, achievement,

satisfaction, Prathomsuksa 6 students.

บทนํา ปจจุบันมีการจัดการเรียนการสอนผานระบบเครือขายคอมพิวเตอรหลากหลายรูปแบบ แต Web-Based Instruction: WBI ไดนําคุณสมบัติของไฮเปอรมีเดีย (hypermedia) มาเชื่อมตอกับเครือขาย World Wide Web ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545) กลาววา World Wide Web เปนบริการบนเครือขายอินเทอรเน็ตซึ่งไดรับความนิยมอยางแพรหลายในปจจุบัน เร่ิมเขามาเปนท่ีรูจักในวงการศึกษาในประเทศไทยตั้งแต พ.ศ. 2538 มีบทบาทสําคัญทางการศึกษาและกลายเปนคลังแหงความรูที่ไรพรมแดน ผูสอนใชเปนทางเลือกใหมในการสงเสริมการเรียนรูเพื่อเปดประตูการศึกษาจากหองเรียนไปสูโลกแหงการเรียนรูอันกวางใหญ รวมท้ังนําการศึกษาไปสูผูท่ีขาดโอกาสดวยขอจํากัดทางดานเวลาและสถานที่ ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเองในทุกแหง ทุกชวงเวลา ควบคุมทุกสิ่ง

Page 3: การพัฒนาบทเรียนบน ... · PDF fileการพัฒนาบทเรียน ... wbi ได นําคุณสมบัติของไฮเปอร

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร�96

ดวยตนเอง เลือกลําดับเน้ือหาและเรียนตามเวลาที่สะดวกและผูเรียนสามารถสรางองคความรูไดดวยตนเอง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544) กลุ มงานอาชีพและเทคโนโลยี กําหนดใหใชคอมพิวเตอรชวยสรางชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทําในชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ โดยกําหนดใหนักเรียนสรางชิ้นงานอยางสรางสรรค รวมทั้งมีความยืดหยุน สนองความตองการของผูเรียน ชุมชน สังคม ผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกเวลา ทุกสถานท่ี โดยใหเรียนรูไดจากสื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรูทุกประเภท รวมทั้งจากเครือขายการเรียนรูตาง ๆ ที่มีอยูในทองถิ่น ชุมชน และแหลงอื่น เนนสื่อที่ผูเรียนใชศึกษาคนควาหาความรูดวยตนเอง ลักษณะของสื่อการเรียนรูที่จะนํามาใชในการจัดการเรียนรูควรมีความหลากหลาย ทัง้สือ่ธรรมชาต ิสือ่สิง่พมิพ สือ่เทคโนโลย ีและสือ่อืน่ ๆ ซึง่สงเสรมิใหการเรยีนรูเปนไปอยางมีคุณคา นาสนใจ ชวนคิด ชวนติดตาม เขาใจงายและรวดเร็ว รวมทั้งกระตุนใหผูเรียนรูจักการแสวงหาความรู เกิดการเรียนรูอยางกวางขวาง ลึกซึ้ง และตอเนื่องตลอดเวลา เพื่อใหการใชสื่อการเรียนรูเปนไปตามแนวการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียนใหเกิดการเรียนรูอยางแทจริง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดกําหนดตัวชี้วัดหลังการเรียนรูในสาระการเรียนรูการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยีของผูเรียนใหใชคอมพิวเตอรชวยสรางชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทําในชีวิตประจําวัน ดังนั้นนักเรียนตองสามารถสรางชิ้นงานท่ีมีความสรางสรรคได แตปจจุบันนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดดอนยอ ยังไมผานเกณฑของตัวชี้วัดหลังการเรียนรูในสาระการเรียนรูการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยีในเรื่องการใชคอมพิวเตอรเพื่อสรางสรรคชิ้นงานจากจินตนาการอยูเปนจํานวนมาก อาทิ ในการทํา e-Book ในวิชาคอมพิวเตอร พบวาผลงานการทํา e-Book ของนักเรียนยังมีการคัดลอกรูปแบบและผลงานของผูอื่น นักเรียนจึงจําเปนที่จะตองเรียนรูและพัฒนาความคิดสรางสรรคใหมากยิ่งขึ้น โปรแกรม Scratch เปนโปรแกรมที่สงเสริมทักษะความคิดสรางสรรคและทักษะไอซีที โดยจะปลูกฝงดานกระบวนการและทักษะในการพัฒนาความคิดสรางสรรค ซึ่งจะนําไปสูการคิดแกปญหาท่ีแปลกใหม หรือประดิษฐสิ่งคิดคนที่แปลกใหม โดยการใชโปรแกรมภาษางาย ๆ กระตุนใหผูเรียนมีความตองการเรียนวิชาโปรแกรมในขั้นสูง และเหมาะสําหรับการสรางผลงานตาง ๆ เชน การทําแอนิเมชัน การจําลองทางวิทยาศาสตร เกม ดนตรี ศิลปะ การสรางสื่อแบบมีปฏิสัมพันธ โดยมีวิธีการใชโปรแกรมท่ีไมตองพิมพคําสั่งที่ซับซอนยุงยาก เหมาะกับการสอนหลักการโปรแกรมที่สงเสริมความคิดริเริ่มสรางสรรค การคิดอยางมีระบบ และการทํางานรวมกัน โดยการเผยแพรและแลกเปลี่ยนผลงานผานทางเว็บไซต จากปญหาและความสาํคญัขางตน ผูวจิยัจงึเลง็เหน็วาโปรแกรม Scratch เหมาะสมกบันกัเรยีนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย ในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Page 4: การพัฒนาบทเรียนบน ... · PDF fileการพัฒนาบทเรียน ... wbi ได นําคุณสมบัติของไฮเปอร

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร� 97

พุทธศักราช 2551 ไดกําหนดใหผูเรียนใชคอมพิวเตอรชวยสรางชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําในชีวิตประจําวันอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ อีกทั้งยังเปนการสงเสริมกระบวนการคิดอยางเปนระบบของผูเรียน และเสริมสรางจินตนาการของผูเรียนไดอีกดวย

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. เพือ่เปรยีบเทียบคะแนนกอนเรยีนและผลสมัฤทธิท์างการเรยีนทีเ่รยีนดวยบทเรยีนบนเวบ็เรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 3. เพื่อประเมินผลงานที่สรางดวยโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 4. เพื่อสํารวจความพึงพอใจของผูเรียนท่ีมีตอบทเรียนบนเว็บเร่ือง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

กรอบแนวคิดในการวิจัย

บทเรียนบนเว็บเรื่องการใชโปรแกรมสแคช

1. โครงงานที่สรางดวยโปรแกรมสแคช ผานตามเกณฑที่ผูวิจัยกําหนด2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน3. ความพึงพอใจ

ตัวจัดกระทํา ผลของตัวจัดกระทํา

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

วิธีดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนขยายโอกาสในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดนครนายก จํานวน 8 โรงเรียน มีนักเรียนทั้งหมด 162 คน กลุมตัวอยางคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนขยายโอกาสในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก สุมแบบกลุมโดยวิธีการจับสลากมา 1 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนวัดดอนยอ มีชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 1 หองเรียน มีนักเรียน 25 คน

Page 5: การพัฒนาบทเรียนบน ... · PDF fileการพัฒนาบทเรียน ... wbi ได นําคุณสมบัติของไฮเปอร

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร�98

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก 1. บทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 3. แบบประเมนิสือ่โดยผูเชีย่วชาญเพือ่ประเมนิคณุภาพบทเรยีนบนเวบ็เรือ่ง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 4. แบบประเมินผลงานที่สรางดวยโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โดยใชเกณฑรูบริค 5. แบบประเมินความพึงพอใจบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 การวิเคราะหขอมูล มีดังนี้ 1. การวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ไดตามเกณฑ 80/80 โดยใชสูตร E1/E2 ของชัยยงค พรหมวงศ (2526 อางถึงใน มนตรี แยมกสิกร, ออนไลน, 2551) 2. การประเมินผลงานที่สรางดวยโปรแกรมสแคช ใหคะแนนตามเกณฑรูบริคตามท่ีผูวิจัยกําหนด 3. การหาคาความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนบนเว็บเร่ือง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โดยการหาคาเฉลี่ยจากการใชโปรแกรมสําเร็จรูป 4. การทดสอบสมมติฐานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรยีนวดัดอนยอ เมือ่เรยีนดวยบทเรยีนบนเวบ็เรือ่ง การใชโปรแกรมสแคช จะมคีะแนนสงูกวาคะแนนกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยการหาคา Dependent t-test

ผลการวิจัย 1. ประสทิธภิาพของบทเรยีนบนเวบ็เรือ่ง การใชโปรแกรมสแคช มคีะแนนรอยละของคะแนนแบบฝกหัดระหวางเรียนและคะแนนหลังเรียน 88.28 และ 84.25 ซึ่งเปนไปตามเกณฑ 80/80 2. คะแนนทดสอบหลังเรียนท่ีเรียนจากบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สูงกวาคะแนนทดสอบกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการประเมินผลงานที่สรางดวยโปรแกรมสแคช พบวาผลงานของนักเรียนที่สรางดวยโปรแกรมสแคชมีคะแนนรวมเทากับ 420 คะแนน และมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.36 ซึ่งคะแนนอยูในระดับดี 4. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช อยูในระดับพึงพอใจมากที่สุด

Page 6: การพัฒนาบทเรียนบน ... · PDF fileการพัฒนาบทเรียน ... wbi ได นําคุณสมบัติของไฮเปอร

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร� 99

อภิปรายผล 1. การหาประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 พบวามีประสิทธิภาพเทากับ 88.28 และ 84.25 ซึ่งสูงกวาเกณฑ 80/80 ที่ตั้งไว เปนเพราะนกัเรยีนเกดิองคความรูไดดวยตนเองเมือ่เรยีนจากบทเรยีนบนเวบ็เรือ่ง การใชโปรแกรมสแคช และผูวจิยัไดดาํเนนิการสรางบทเรยีนบนเวบ็แบบปฏสิมัพนัธ ดังนี ้1) สรางแรงจงูใจดวยการใหนกัเรยีนดูชิ้นงานที่สรางดวยโปรแกรมสแคช 2) บอกขั้นตอนการเรียนแกนักเรียน เพื่อจะไดไมสับสนในการใชบทเรยีน 3) เชือ่มโยงความรูเกาเขากบัความรูใหม ทาํใหนกัเรียนเขาใจเนือ้หาและสามารถนาํไปใชไดจริง 4) นาํเสนอเนือ้หาใหม โดยใหนกัเรยีนสรางองคความรูของตนเองจากเนือ้หาของบทเรียนทีไ่ดนาํเสนอ 5) สรางความกระตือรือรนของนักเรียน โดยใหทําแบบฝกหัดทายบท ซึ่งนักเรียนจะไดมีปฏิสัมพันธกับบทเรยีนทาํใหเขาใจเนือ้หาไดมากขึน้ 6) ใหขอเสนอแนะและขอมลูยอนกลับ ทาํใหนกัเรียนไดประเมนิตนเองระหวางการเรยีนและตอบขอสงสยัของนกัเรียน 7) การทดสอบ เพ่ือวดัวานกัเรียนเกดิการเรียนรูตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไม และ 8) การใหขอมูลเพิ่มเติมแกนักเรียน โดยเพิ่มลิงคของเว็บไซตทีเ่กีย่วกบัเนือ้หาของบทเรยีน เพือ่ใหนกัเรยีนไดคนควาความรูเพ่ิมเติม ทัง้นีใ้นขัน้ตอนการสรางบทเรียนบนเว็บเรือ่ง การใชโปรแกรมสแคช ไดรบัการตรวจสอบและปรับปรุงจากผูเชี่ยวชาญ จึงทําใหบทเรยีนบนเว็บมีประสิทธิภาพ และทําใหนักเรียนมีความสนใจในการเรียนรูมากยิ่งขึ้น 2. ผลของการเปรยีบเทยีบคะแนนทดสอบกอนเรยีนกบัคะแนนทดสอบหลงัเรยีนของนกัเรยีนทีเ่รยีนจากบทเรยีนบนเวบ็เรือ่ง การใชโปรแกรมสแคช สาํหรบันกัเรยีนชัน้ประถมศกึษาปที ่6 มคีะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกวาคะแนนทดสอบกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงใหเห็นวา การเรยีนจากบทเรยีนบนเวบ็ทาํใหนกัเรยีนเกดิความรูความเขาใจในเนือ้หามากกวาเดมิ เปนเพราะนกัเรยีนมคีวามสนใจในบทเรยีนเนือ่งจากมกีารใชวดิีทศันในการอธบิายเนือ้หา ในเนือ้หามรีปูภาพสสีนัสดใส มีการอธิบายเนื้อหาใหนักเรียนเขาใจไดงาย และมีการซักถามขอสงสัยหรือขอแลกเปล่ียนกันในกระดานสนทนา ทําใหนักเรียนเกิดองคความรูดวยตนเองไดงายขึ้น สอดคลองกับงานวิจัยของ หนึง่ฤทยั โสภา (2549) และ ปญชล ีเวยีงยิง่ (2554) ทีพ่บวา บทเรยีนบนเวบ็มกีารจดักจิกรรมการเรยีนการสอนที่เนนใหนักเรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียนและเนนการสรางองคความรูไดดวยตนเอง ชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูดวยตนเอง เปนการสรางองคความรูโดยวิธีปฏิบัติ ทําความเขาใจจนไดขอสรุป ไดความรูโดยผานกระบวนการมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม 3. การประเมินผลงานที่สรางดวยโปรแกรมสแคชไดผลการประเมินอยูในระดับดี เพราะนักเรียนเกิดองคความรูดวยตนเองและนําองคความรูท่ีไดนั้นมาประยุกตใชในการสรางผลงาน การท่ีผูวจิยัใหนกัเรยีนฝกการใชโปรแกรมสแคชควบคูกบัการเรียนในบทเรียน จึงทาํใหผลงานทีไ่ดอยูในเกณฑที่ดี และผูวิจัยออกแบบเนื้อหาบทเรียนโดยยึดหลักการนําเสนอเนื้อหาและจัดกิจกรรมการเรียนรูจากการมปีฏิสมัพนัธของบทเรยีน มผีลปอนกลบัของการทาํแบบฝกหดัและผลปอนกลับของการสงผลงาน ทําใหนักเรียนไดประเมินตนเองหลังจากการเรียนดวย

Page 7: การพัฒนาบทเรียนบน ... · PDF fileการพัฒนาบทเรียน ... wbi ได นําคุณสมบัติของไฮเปอร

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร�100

4. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ไดผลแตละดานอยูในระดับมากและมากที่สุด ทั้งนี้เปนเพราะนักเรียนชอบการเรยีนบนเวบ็ซึง่รวมถงึการเรยีนรูจากวดีทิศันดวย เนือ่งจากการเรยีนบนเวบ็สามารถใชวดีทิศันมาประกอบในการเรียนได และสามารถใหผลปอนกลับของการทําแบบทดสอบไดอยางรวดเร็ว และวีดิทัศนที่ใชมีภาพและเสียงชัดเจนจึงทําใหนักเรียนเขาใจเนื้อหาบทเรียนไดงายขึ้น

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการนําผลวิจัยไปใช 1. การพัฒนาบทเรียนบนเว็บเรื่อง การใชโปรแกรมสแคช จะเนนการใชวีดิทัศนที่มีภาพและเสียงชัดเจน และการทําแบบฝกหัดที่ใหผลปอนกลับแกนักเรียน ทําใหนักเรียนไดมีปฏิสัมพันธกับบทเรียนและเกิดองคความรูไดดวยตนเอง เพราะการเรียนโดยใชวีดิทัศนจะทําใหนักเรียนเขาใจในเนื้อหาของบทเรียนไดงายกวาการอานเพียงอยางเดียว และทําใหนักเรียนเกิดความกระตือรือรนในการเรียนมากขึ้นอีกดวย 2. การใชบทเรยีนบนเวบ็ในรายวชิาอืน่ จะตองคาํนงึถงึการเรยีบเรยีงเนือ้หาใหนกัเรยีนเขาใจไดงาย และสามารถนําวีดิทัศนหรือสื่ออื่นมาประกอบในบทเรียนเพ่ือใหนักเรียนเกิดองคความรูไดดวยตนเอง สวนการใหนักเรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียนทําไดโดยการใหนักเรียนทําแบบทดสอบและแบบฝกหัดในบทเรียน ควรมีผลปอนกลับใหนักเรียนทราบภายหลังจากที่สงแบบทดสอบและแบบฝกหัดในบทเรียนบนเว็บแลว จะทําใหนักเรียนเกิดองคความรูไดดวยตนเองและสามารถนําองคความรูที่ไดมาประยุกตใชใหเกิดประโยชนตอไปได ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวแปรดานอื่น เชน เพศ รูปแบบการเรียน ทั้งนี้เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบปฏิสัมพันธใหนาสนใจมากขึ้น 2. ควรวจิยัโดยใชกลุมนกัเรยีนทีม่แีรงจงูใจใฝสมัฤทธิต์างกนัมาศกึษาเปรยีบเทยีบผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรูดวยการเรียนบนเว็บแบบปฏิสัมพันธ

บรรณานุกรมกระทรวงศกึษาธกิาร. (2544). คูมอืครู กลุมสาระการเรยีนรูการงานอาชพีและเทคโนโลย.ี กรงุเทพฯ:

กระทรวงศึกษาธิการ. . (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ

คุรุสภาลาดพราว.

Page 8: การพัฒนาบทเรียนบน ... · PDF fileการพัฒนาบทเรียน ... wbi ได นําคุณสมบัติของไฮเปอร

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร� 101

ถนอมพร เลาหจรสัแสง. (2545). Designing e-learning หลกัการออกแบบและการสรางเวบ็เพือ่การเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพอรุณการพิมพ.

ปญชลี เวียงยิ่ง. (2554). การพัฒนาบทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ตเรื่อง การเขียนบทรายการวิทยแุละโทรทศันการศกึษา สาํหรบันสิติระดบัปรญิญาตร ีสาขาเทคโนโลยสีือ่สารการศกึษา มหาวทิยาลยัศรนีครนิทรวโิรฒ. วทิยานพินธการศกึษามหาบณัฑิต สาขาวชิาเทคโนโลยส่ืีอสารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

มนตรี แยมกสิกร. (2551). เกณฑประสิทธิภาพในงานวิจัยและพัฒนาสื่อการสอน ความแตกตาง 90/90 Standard และ E1/ E2 (ออนไลน). เขาถึงไดจาก: http://www.edu.buu.ac.th/journal/Journal%20Edu /19-1/1.pdf [2556, 30 กันยายน].

สุวิทย มูลคํา. (2550). กลยุทธการสอนคิดสรางสรรค (พิมพครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ.หนึ่งฤทัย โสภา. (2549). การออกแบบและหาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บเพื่อทบทวนวิชาการ

ออกแบบบรรจุภัณฑสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วิทยานิพนธครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบณัฑติ สาขาวชิาเทคโนโลยเีทคนคิศกึษา, บณัฑิตวทิยาลัย สถาบนัเทคโนโลยพีระจอมเกลาพระนครเหนือ.

Caldwell, Elvira Rebecca. (2006). A comparative study of three instructional modalities in a computer programming course: Traditional instruction, web-based instruction, and online instruction. Doctoral Dissertation of Philosophy, The University of North Carolina at Greensboro (UNCG).

Stanley, Scott A. (2006). A study of web-based instructional strategies in post secondary sciences. Doctoral Dissertation of Education, University of Massachusetts Lowell.