6
1 อ.ชูศักดิ์ ยาทองไชย วัตถุประสงค 1. อธิบายองคประกอบของระบบคอมพิวเตอรได 2. อธิบายหนาที่ของฮารดแวร ซอฟตแวร และบุคลากรทางคอมพิวเตอรได 3. อธิบายขั้นตอนการประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอรได 4. อธิบายภาษา และตัวแปลภาษาคอมพิวเตอรได เนื้อหา 1. องคประกอบของระบบคอมพิวเตอร 2. หนาที่ของฮารดแวร ซอฟตแวร และบุคลากรทางคอมพิวเตอร 3. การประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอร 4. ภาษา และตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร 2 ระบบคอมพิวเตอรมีองคประกอบ 3 สวน 1. ฮารดแวร (Hardware) อุปกรณตาง ๆ ของคอมพิวเตอร 2. ซอฟตแวร (Software) โปรแกรม หรือชุดคําสั่งที่ใชควบคุมการทํางานของฮารดแวร 3. บุคลากร (Peopleware) ผูที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร 3 4

ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ðblog.bru.ac.th/.../uploads/bp-attachments/6686/Lesson1.pdf · 2019. 8. 30. · í ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ð ð ü êë ðø ÿÜÙ d ð í ï ÷ ÜÙ

  • Upload
    others

  • View
    17

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ðblog.bru.ac.th/.../uploads/bp-attachments/6686/Lesson1.pdf · 2019. 8. 30. · í ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ð ð ü êë ðø ÿÜÙ d ð í ï ÷ ÜÙ

1

อ.ชูศักด์ิ ยาทองไชย

วัตถุประสงค

1. อธิบายองคประกอบของระบบคอมพิวเตอรได

2. อธิบายหนาท่ีของฮารดแวร ซอฟตแวร และบุคลากรทางคอมพิวเตอรได

3. อธิบายข้ันตอนการประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอรได

4. อธิบายภาษา และตัวแปลภาษาคอมพิวเตอรได

เน้ือหา

1. องคประกอบของระบบคอมพิวเตอร

2. หนาท่ีของฮารดแวร ซอฟตแวร และบุคลากรทางคอมพิวเตอร

3. การประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอร

4. ภาษา และตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร

2

ระบบคอมพิวเตอรมีองคประกอบ 3 สวน

1. ฮารดแวร (Hardware)

อปุกรณตาง ๆ ของคอมพิวเตอร

2. ซอฟตแวร (Software)

โปรแกรม หรือชุดคําสั่งท่ีใชควบคมุการทํางานของฮารดแวร

3. บุคลากร (Peopleware)

ผูท่ีเกี่ยวของกับคอมพิวเตอร

3 4

Page 2: ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ðblog.bru.ac.th/.../uploads/bp-attachments/6686/Lesson1.pdf · 2019. 8. 30. · í ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ð ð ü êë ðø ÿÜÙ d ð í ï ÷ ÜÙ

2

อปุกรณตาง ๆ ของคอมพิวเตอร แบงออกเปน 4 สวน

1. หนวยรับขอมูล (Input Unit)

ทําหนาที่รับคําสั่ง หรอืขอมูลเพ่ือนําไปประมวลผล

2. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)

ทําหนาที่ประมวลผลขอมูล และควบคุมการทํางานของสวนอื่น ๆ

3. หนวยแสดงผล (Output Unit)

ทําหนาที่แสดงผลลัพธจากการประมวลผลขอมลู

4. หนวยความจํา (Memory Unit)

ทําหนาที่จัดเก็บขอมูลของคอมพิวเตอร

5 6

Intel Celeron Dual Dual Core Core 2 Duo i3 i5 i7 Amd Sempron Athlon II X2, X3, X4 Phenom II X2,X4 FX A4 A6 A8 A10 7 8

Page 3: ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ðblog.bru.ac.th/.../uploads/bp-attachments/6686/Lesson1.pdf · 2019. 8. 30. · í ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ð ð ü êë ðø ÿÜÙ d ð í ï ÷ ÜÙ

3

ประเภทของหนวยความจาํ แบงออกเปน 2 ประเภท

1. หนวยความจําหลัก (Primary memory) เปนหนวยความจาํท่ีติดตอกับ CPU โดยตรง (CPU จะประมวลผลโปรแกรม และขอมูลจากหนวยความจาํหลักเทาน้ัน) แบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก

1. รอม (Read Only Memory : ROM) ใชเก็บโปรแกรมสัน้ ๆ ท่ีไมตองการแกไขแลว เชน โปรแกรมบตูเครื่อง เปนตน สามารถเก็บขอมูลไดโดยไมตองใชไฟเลีย้ง

2. RAM (Random Access Memory : RAM) ใชเก็บโปรแกรม หรือขอมูลที ่CPU จะประมวลผลในขณะใชเคร่ือง

3. แคช (Cache) การทํางานคลายกบั RAM แตมคีวามเร็วสูงกวา และแพงกวา ท้ัง Cache และ RAM จะเก็บขอมูลไดตองใชไฟฟาเลีย้งตลอดเวลา

2. หนวยความจําสํารอง (Secondary Memory) ใชสําหรับเก็บขอมูล หรือโปรแกรมตาง ๆ ของคอมพิวเตอร มรีาคาถูกและสามารถเก็บรักษาขอมลูไดโดยไมตองใชไฟฟาเล้ียง เมื่อตองการประมวลผลจะทําการอานขอมูลไปเก็บไวท่ี RAM

9 10

หนวยนับขอมูลที่จัดเก็บไวในหนวยความจํา

1 Bit = Binary Digit คือ 0 และ 1

8 Bits = 1 Byte = 1 ตัวออักษร เชน 01000001 = ‘A’

1024 Bytes = 1 KB (Kilo Byte)

1024 KB = 1 MB (Mega Byte)

1024 MB = 1 GB (Giga Byte)

1024 GB = 1 TB (Terra Byte)

1024 TB = 1 PB (Peta Byte)

1024 PB = 1 EB (Exa Byte)

1024 EB = 1 ZB (Zetta Byte)

1024 ZB = 1 YB (Yotta Byte)

11

CACHE

12

Page 4: ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ðblog.bru.ac.th/.../uploads/bp-attachments/6686/Lesson1.pdf · 2019. 8. 30. · í ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ð ð ü êë ðø ÿÜÙ d ð í ï ÷ ÜÙ

4

ซอฟตแวร หมายถึง โปรแกรมคอมพวิเตอรท่ีสรางข้ึนเพื่อควบคุมการทํางานของ

ฮารดแวรของคอมพิวเตอร แบงได 4 ประเภท ดังนี ้

1. ซอฟตแวรระบบ (System Software) เปนโปรแกรมท่ีใชจดัระบบการทํางานของ

คอมพิวเตอร เชน DOS, Windows 7, Windows10, Unix, Linux, OS X ฯลฯ

2. ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) เปนโปรแกรมท่ีใชเฉพาะงานตามความ

ตองการของหนวยงาน เชน โปรแกรมระบบงานทะเบยีน, โปรแกรมระบบงานหองสมุด โปรแกรมฝาก-ถอนเงินธนาคาร โปรแกรมขายสินคา ฯลฯ

3. ซอฟตแวรสาํเร็จรปู (Package Software) เปนโปรแกรมท่ีใชกับงานท่ัวๆ ไป เชน

MsOffice, Photoshop ฯลฯ

4. ซอฟตแวรส่ังระบบงาน (Utility Software) เปนโปรแกรมสําหรับชวยงานบางอยางหรอื

โปรแกรมอํานวยความสะดวกกบัผูใช เชน โปรแกรมตรวจไวรัส, โปรแกรมตรวจหา

ขอบกพรองของเครือ่ง ฯลฯ

13

1. ผูบริหารระบบคอมพิวเตอร (System Manager) คือ ผูมีหนาที่บรหิารทรัพยากรทุก

ชนดิท่ีเกี่ยวกับคอมพิวเตอรใหเกดิประโยชนสูงสุดแกองคกร

2. นักวิเคราะหระบบ (System Analyst) คือ ผูที่ศึกษาระบบงานเดมิหรอืงานใหมและทํา

การวิเคราะหความเหมาะสม ความเปนไปไดในการใชคอมพวิเตอรกับระบบงาน เพื่อให

โปรแกรมเมอรเปนผูเขียนโปรแกรมใหกับระบบงาน

3. นักเขียนโปรแกรม (Programmer) คือ ผูเขียนโปรแกรมส่ังงานเคร่ืองคอมพิวเตอร

เพื่อใหทํางานตามความตองการของผูใช โดยเขียนตามแผนผังท่ีนักวิเคราะหระบบได

ออกแบบไว

4. ผูใช (User) คือ ผูใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป ซ่ึงตองเรียนรูวิธีการใชเครื่อง และวิธีการใช

งานโปรแกรม เพื่อใหโปรแกรมท่ีมีอยูสามารถทาํงานไดตามท่ีตองการ

14

1. รับขอมูล (Input) จากหนวยรับขอมูลไปเก็บในหนวยความจําหลัก

2. ประมวลผล (Process) ขอมูลในหนวยความจําหลักโดย CPU

3. แสดงผล (Output) ผลลัพธจากการประมวลผลไปยังอุปกรณแสดงผล

4. จัดเก็บขอมูล (Storage) ไวในหนวยความจําสํารอง

ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรโดยท่ัวไปจะเขียนคําสั่งท่ีเก่ียวของกับกจิกรรมท้ัง 4 กิจกรรมนี้ ซ่ึงในการเขียนโปรแกรมนั้นจะตองใชภาษาคอมพิวเตอรภาษาใดภาษาหนึ่ง เชน Pascal, C, Basic, Assembly ฯลฯ แตละภาษาจะมีรูปแบบและโครงสรางไวยากรณที่แตกตางกัน

Input Process Output Storage

15

ภาษาคอมพิวเตอรเปนภาษาท่ีมนุษยคิดคนขึน้มาเพ่ือใชในการเขยีนโปรแกรม

สั่งงานคอมพิวเตอร โดยคอมพิวเตอรจะทํางานกับภาษาเครื่องเทานั้น ซึ่งจะถูกแทน

ดวยระบบตัวเลขฐานสอง ทาํใหยากตอการเขียนโปรแกรม จึงไดมกีารพัฒนา

โปรแกรมภาษาตาง ๆ ขึ้นมาเพ่ือชวยใหการเขียนโปรแกรมทําไดงายและสะดวก

รวดเร็วขึ้น

16

Page 5: ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ðblog.bru.ac.th/.../uploads/bp-attachments/6686/Lesson1.pdf · 2019. 8. 30. · í ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ð ð ü êë ðø ÿÜÙ d ð í ï ÷ ÜÙ

5

1. ภาษาเครื่อง (Machine Language)

2. ภาษาระดับตํ่า (Low Level Language)

3. ภาษาระดับสูง (High Level Language)

4. ภาษาระดับสูงมาก (Very High Level Language)

17

1. เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องไดโดยตรง

2. ไมตองใชตัวแปลภาษา

3. ใชระบบตวัเลขฐานสอง (0, 1)

4. เขียนโปรแกรมยาก

5. ตองรูโครงสรางการทํางานของเครื่อง

18

1. ใชสัญลักษณแทนเลขฐานสอง

2. เขียนโปรแกรมไดงายขึ้น

3. ตองมีตัวแปลภาษา เพ่ือแปลเปนภาษาเครื่อง

4. ภาษาแอสเซมบลี้ (Assembly Language) ใชแอสเซมเบลอร (Assembler)

แปลภาษาใหเปนภาษาเครื่อง

19

1. ใกลเคียงกับภาษาของมนุษยมากข้ึน

2. งาย และสะดวกในการเขียนโปรแกรม

3. ตองใชตัวแปลภาษา

4. Cobol, C, Pascal, Basic, Java, Fortran ฯลฯ

20

Page 6: ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ðblog.bru.ac.th/.../uploads/bp-attachments/6686/Lesson1.pdf · 2019. 8. 30. · í ß ý Öé ð÷ ì Ü ß÷ ð ð ü êë ðø ÿÜÙ d ð í ï ÷ ÜÙ

6

1. เปนภาษาในยุคที่ 4 (Fourth Generation Language) : 4 GL

2. คําสั่งตาง ๆ เขียนไดสั้น กะทัดรัด และงาย

3. SQL (Structure Query Language)

4. QBE (Query By Example)

21

1. คําศัพท (Vocabulary) เปนคําเฉพาะของแตละภาษา เชน main, void, int

2. ไวยากรณ (Syntax) เปนรปูแบบการนาํคําศัพทตาง ๆ มาเรียงใหเปนรูปประโยค

(Statement)

3. โครงสรางภาษา (Structure) เปนรูปแบบและโครงสรางในการเขียนโปรแกรม

4. ตัวแปลภาษา (Translator) เปนโปรแกรมแปลภาษานั้น ๆ ใหเปนภาษาเครื่อง

22

1. อินเตอรพรีเตอร (Interpreter)

จะทําการแปลโปรแกรมทลีะคําสั่งแลวสั่งใหคอมพิวเตอรทํางานตามคําสั่งนั้น

ทันที ถาพบขอผิดพลาดจะหยุดการทาํงานของโปรแกรม เพื่อใหแกไขขอผดิพลาดนั้นกอน

ขอเสียคือจะตองแปลโปรแกรมทุกครั้งที่มีการใชงานทําใหการทํางานลาชา

2. คอมไพเลอร (Compiler)

จะทําการแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมใหเสร็จกอน (โปรแกรมที่แปลไดเรียกวา

ออบเจ็กตโคด (Object Code)) จึงจะสามารถสั่งใหคอมพิวเตอรทํางานไดถาพบ

ขอผิดพลาดในระหวางการแปลจะหยุดแปลเพ่ือใหแกไขขอผิดพลาดกอน ขอดีคือเวลาใช

งานโปรแกรมไมตองแปลใหมทุกครั้งทาํใหโปรแกรมทํางานไดเร็ว

23

1. ฮารดแวรของคอมพิวเตอรมีสวนประกอบอะไรบาง แตละสวนทําหนาท่ีอะไร

2. หนวยความจําประเภทรอม และแรม มีคุณสมบัติ การทํางาน และการใชงานตางกัน

อยางไร

3. หนวยความจําหลัก และหนวยความจําสํารอง มคีุณสมบัติ การทํางาน และการใชงาน

ตางกันอยางไร

4. ตัวแปลภาษาคอมพวิเตอรมีก่ีประเภท แตละประเภทมีการทํางานตางกันอยางไร

24