8
ÂÙâ·à»‚ Utopia พระวันดี กนฺตวีโร (ปะวะเส) * พระครูสุตธรรมาภรณ ** ผศ.ดร.จรัส ลีกา *** . บทนํา เหตุผลของการที่ผูšเขียนไดšนํา หนังสือ ยูโทเปŘย (Utopia) มาวิจารณŤนีเนื่องดšวย หนังสือ เลŠมนี้มีแนวคิดทางปรัชญาที่ไดšรับการยอมรับใน วงวิชาการไปทั่วโลก โดยแนวคิดทางปรัชญาทีนŠาสนใจ ในเรื่องของสังคมอุดมคติ ที่ตั้งอยู Šบนพื้นฐาน ของศีลธรรม และเปŨนแนวคิดที่เกิดจากสภาวะทาง สังคมที่เปŨนจริงในชŠวงเวลาขณะนั้น ซึ่งโทมัส มอรŤ (Thomas More) ที่นําเสนอรูปแบบแนวคิดสังคม อุดมคติ เปŨนแบบแผนชีวิตในสังคมอันสวยงามทีไรšความขัดแยšง คนในสังคมมีความคิดไปไหนทิศทาง เดียวกันอีกทั้งยังใชšชีวิตอยŠางสงบสุข โทมัส มอรŤ นักปรัชญามานุษยนิยมชาวอังกฤษเขียนขึ้นเมื่อปŘ ..๑๕๑๖ ในยุคสมัยของพระเจšาเฮนรีทีแหŠง ราชวงศŤทิวดอรŤ (สมัยเดียวกับกรุงศรีอยุธยาตอนตšน) มอรŤ เปŨนนักการศาสนาที่เครŠงครัดจนไดšรับการ สถาปนาเปŨนนักบุญเมื่อปŘ . . ๑๙๓๕ และ เปŨนนักการเมืองมือสะอาด แตŠมอรŤตšองเสียชีวิตจาก การถูกประหารชีวิตดšวยการตัดศีรษะเมื่อวันทีกรกฎาคม . . ๑๕๓๕ สืบเนื่องจากความเห็น ขัดแยšงทางการเมืองตŠอพระเจšาเฮนรี่ทีโทมัส มอรŤ เขียนขึ้นเปŨนภาษาละตินและ ตŠอมาไดšรับการแปลเปŨนภาษาอังกฤษในปŘ . . ๑๕๕๑ ฉบับที่ผูšเขียนนํามาวิจารณŤนี้เปŨนฉบับแปล เปŨนภาษาไทยโดยสมบัติ จันทรวงศŤ เปŨนฉบับที่มี เนื้อหาการแปลอยŠางลึกซึ้งและมีเนื้อหาที่ชัดเจน โทมัส มอรŤ ไดšนําเสนอแนวคิดเรื่องยูโทเปŘย ในขณะ ที่เขาดํารงตําแหนŠงเปŨนตัวแทนจากรัฐไปเจรจาการ คšาที่แฟลนเดอรŤ หลังจากที่พระเจšาชารŤลสแหŠง เนเธอรŤแลนดŤขึ้นภาษีนําเขšาขนสัตวŤในอัตราที่สูงลิ่ว * อาจารยŤมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตรšอยเอ็ด ** อาจารยŤ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย *** อาจารยŤมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกŠน สมบัติ จันทรวงศŤ, ยูโทเปŘย (Utopia), (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพŤไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๖), หนšา -๒๓๒.

ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

ÂÙâ·à»‚ÂUtopia

พระวันดี กนฺตวีโร (ปะวะเส)*

พระครูสุตธรรมาภรณ**

ผศ.ดร.จรัส ลีกา***

๑. บทนํา เหตุผลของการท่ีผูเขียนไดนํา หนังสือยูโทเปย (Utopia) มาวิจารณนี้ เน่ืองดวย หนังสือเลมน้ีมีแนวคิดทางปรัชญาที่ไดรับการยอมรับในวงวิชาการไปท่ัวโลก โดยแนวคิดทางปรัชญาท่ีนาสนใจ ในเร่ืองของสังคมอุดมคติ ทีต่ัง้อยบูนพ้ืนฐานของศลีธรรม และเปนแนวคดิทีเ่กิดจากสภาวะทางสังคมท่ีเปนจริงในชวงเวลาขณะนั้น ซึ่งโทมัส มอร (Thomas More) ที่นําเสนอรูปแบบแนวคิดสังคมอุดมคติ เปนแบบแผนชีวิตในสังคมอันสวยงามที่ไรความขดัแยง คนในสงัคมมคีวามคดิไปไหนทศิทางเดียวกันอีกท้ังยังใชชีวิตอยางสงบสุข โทมัส มอร นักปรัชญามานุษยนิยมชาวอังกฤษเขียนขึ้นเมื่อป ค.ศ.๑๕๑๖ ในยุคสมัยของพระเจาเฮนรีที่ ๘ แหงราชวงศทวิดอร (สมัยเดียวกบักรงุศรีอยธุยาตอนตน)

มอร เปนนักการศาสนาท่ีเครงครัดจนไดรับการสถาปนาเปนนักบุญเม่ือป ค.ศ. ๑๙๓๕ และเปนนกัการเมอืงมอืสะอาด แตมอรตองเสียชวีติจากการถูกประหารชีวิตดวยการตัดศีรษะเมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๕๓๕ สืบเน่ืองจากความเห็นขัดแยงทางการเมืองตอพระเจาเฮนรี่ที่ ๘ โทมัส มอร เขียนขึ้นเปนภาษาละตินและตอมาไดรับการแปลเปนภาษาอังกฤษในป ค.ศ. ๑๕๕๑ ฉบับที่ผูเขียนนํามาวิจารณนี้เปนฉบับแปลเปนภาษาไทยโดยสมบัติ จันทรวงศ๑ เปนฉบับที่มีเนื้อหาการแปลอยางลึกซึ้งและมีเนื้อหาท่ีชัดเจน โทมัส มอร ไดนาํเสนอแนวคดิเรือ่งยโูทเปย ในขณะทีเ่ขาดาํรงตาํแหนงเปนตัวแทนจากรฐัไปเจรจาการคาท่ีแฟลนเดอร หลังจากที่พระเจาชารลสแหงเนเธอรแลนดขึน้ภาษีนาํเขาขนสัตวในอตัราท่ีสงูล่ิว

* อาจารยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตรอยเอ็ด** อาจารย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย*** อาจารยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน

๑ สมบัติ จันทรวงศ, ยูโทเปย (Utopia), (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๖), หนา ๑-๒๓๒.

Page 2: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

248 ¸ÃÃÁ·ÃÃȹ � ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

เขาเห็นความลําบากยากแคนของประชาชน ความไมเทาเทียมกันระหวางขุนนางกับชาวนา ดงัขอความวา “ตราบใดทีท่รพัยสนิสวนตัวยังมอีย ูและตราบเทาที่เงินเปนมาตรฐานของทุกสิ่งทุกอยางอยูแลว ขาพเจาไมเช่ือวา จะมีรฐัใดท่ีปกครองอยางยุติธรรม หรือยางมีความสุขได” และการที่มอรไดรับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากหนังสือ Republic ของเพลโตทีว่าดวยการปกครองทีด่ ีและเมื่อยอนนึกถึงความทุกขยากของอังกฤษในเวลานั้น มอรจึงเขียนถึงสังคมในอุดมคติท่ีมีชื่อวา “ยูโทเปย (Utopia)” ขึ้น โดยตั้งใจเขียนเปนวรรณกรรมเสียดสีลอเลียนความโงเขลาและความเลวรายของสังคมในสมัยนั้น สังเกตจากการตั้งชื่อตางๆ อาทิ ยูโทเปย มาจากภาษากรีก หมายถึงเมืองที่ดีหรือเมืองที่ไมมี ณ แหงหนใด โครงสรางของเนือ้หาของยโูทเปย (Utopia) แบงออกเปน ๔ ตอนทีผ่เูขยีนไดสรปุออกมาใหเหน็แกนของเน้ือหาในแตละตอนดังนี้ ตอนที่ ๑ ลักษณะเปนความเรียงเขียนในรปูแบบจดหมายท่ีเขยีนถงึเพือ่นของเขาคือ ปเตอร ไจลส ท่ีมีกลาวถึงการเขียนหนังสอื ยโูทเปย (Utopia) ตอนที่ ๒ ลักษณะเปนความเรียงเขียนในรูปแบบจดหมายที่ปเตอร ไจลส เขียนถึงบูสลิเด็นเพือ่นของคือคือ ปเตอร ไจลส ท่ีมกีลาวถึงการเขียนหนังสือ ยูโทเปย (Utopia) ตอนที่ ๓ มีเนื้อหาที่กลาวถึงสถานการณของสังคมในยุคศตวรรษที่ ๑๕ โดยสมมติตัวละครโดยใชชื่อเดียวกับผูแตงไดมีนักคิดชาวอังกฤษชื่อ โทมัส มอรทีม่พีืน้ฐานมาจากตระกลูผดูรีะดบัสงู ในยุคน้ันระบอบทุนนิยมในอังกฤษนับไดวามีความ

กาวหนาที่สุด การผลิตสินคาโดยเฉพาะผาขนสัตวเปนทีต่องการของตลาดเปนอยางมากทาํใหนายทนุเจาของกิจการส่ิงทอ (โรงหัตถกรรม) ไดกําไรมหาศาล ประกอบกบัการลาอาณานคิมเพือ่แสวงหาวตัถดุบิมาปอนกิจการและการขยายตลาดเพือ่ขายสินคาของตน บรรดานายทนุเจาของกจิการสวนมากไดแกเจาท่ีดินศักดินาซ่ึงถือครองที่ดินที่ใช ในการเกษตรกรรมเปนจํานวนมากไดยกเลกิการผลติดานเกษตรกรรมในระบอบศักดินาแบบเดิม โดยเรียกคืนที่ดินจากเกษตรกรผูเชาเปลี่ยนมาเปนทุงหญาเลี้ยงแกะเพื่อตัดขนปอนโรงงานของพวกเขา ทําใหชาวนาผูเชา ไพรนับลานคนตองสูญเสียทีดิ่นทํากนิลมละลาย พากนัอพยพเขาเมอืงเพือ่หางานทํา แตโรงงานตางๆ ก็ไมสามารถสนองแหลงงานได ผทูีโ่ชคดีไดงานทําจําเปนตองรักษางานของตนไวอยางสุดชีวิตแมจะถูกกดขี่แรงงานอยางหนักหนวงก็ตาม สภาพสังคมเชนน้ีกระทบกระเทือนความรูสึกของโทมัส มอร เปนอยางมาก ทานเห็นวาการปกครองแบบกษัตริยเปนใหญนั้นเปนรากฐานของความยากจน เพราะกษัตริยและราชวงศถือครองทีดิ่นกันเปนจํานวนมาก เปนเจาชวีติของประชาชนทัง้ปวงโดยไมมขีอบเขตจาํกดั มลูเหตสุาํคญัทีท่าํใหเกิดความยากจนอีกประการหนึ่งก็คือในสังคมมีอภิสิทธิ์ชนมากเกินไป ตั้งแตกษัตริยลงมาจนถึงพวกขุนนาง เจาที่ดิน ทหาร ขาราชการ คนพวกนี้ยังชีพอยูดวยการอาศัยแรงงานของผูอื่น นอกจากปญหาตางๆ ในสังคมแลว ทานยังไดมองเห็นวาสงัคมแบงออกเปนชนชัน้ ความคดิของทานในการจะขจัดความเลวรายเหลานี้ใหหมดส้ินไป จําเปน

Page 3: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

249¸ÃÃÁ·ÃÃȹ �ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

ตองชักจูงใจชนชั้นสูงและอภิสิทธิ์ชนท้ังหลายใหกลับใจมาทํานุบํารุงเอาใจใส ดูแลประชาชนแทนการเอารัดเอาเปรียบและการกดข่ี ประหน่ึงวาเปนการเสนอแนวคดิของทานตอกษตัรยิและชนชัน้สูงใหปรับเปลี่ยนทาทีของตนตอพลเมืองเสียใหม มีหลักการสําคัญๆไดแกการยกเลิกกรรมสิทธิ์สวนบุคคล ทุกอยางเปนกรรมสิทธิ์ของสวนรวมเปลีย่นแปลงความสมัพนัธทางการผลติเสยีใหมโดยจัดการดํารงชีวิตเปนหนวยที่มีลักษณะครอบครัวแตละหนวยจะประกอบดวยชายหญิง ๒๐ คู และมีทาสสองคน ทาสในความหมายของทานไมไดมีลักษณะชนช้ัน หากแตมาจากผูกระทําความผิดรายแรงถงึขัน้ประหารชวีติ และใหทาํงานทีม่รีะดบัตํา่กวาสมาชกิของชมุชน การผลติดานเกษตรกรรมเปนหลัก ซึ่งจะเปนการผลิตรวมกัน แตสมาชิกชุมชนท่ีมีความถนัดทางดานอื่นๆ เชน ชางฝมือแขนงตางๆ สามารถผลิตผลงานของตนออกมาไดดวย ผลิตผลทั้งหมดจะนําไปยังตลาดกลางใครตองการสิ่งใดก็สามารถนําเอาไปได ทางดานการปกครอง คณะผูปกครองของรัฐยโูทเปยมาจากการเลอืกตัง้จากมหานครท้ัง ๕๔ แหง ทาํหนาท่ีบริหารควบคมุชีวติทางเศรษฐกจิท้ังหมด จดัสรรการผลติและการบริโภคอยางมีโครงการ ดังนั้น ในสังคมของรัฐยูโทเปยจึงมีความเปนประชาธิปไตย ไมมีวิกฤตเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากไมมีการผลิตที่ลนเกิน ไมมกีารวางงาน ไมมคีวามรุนแรง และไมมีสงคราม แนวคิดของทานจะยงัคงหวงัพึง่พากษตัรยิและชนชั้นปกครองที่มีคุณธรรมอยู เปนแนวคิดที่กาํหนดจากชัน้บนลงมา โดยยงัมองไมเหน็บทบาททางการเมืองของชนชั้นลาง

ตอนที่ ๔ เปนความเรียงเชิงบรรยายของลักษณะทางภูมิศาสตรและสังคมการเมืองของยูโทเปย (Utopia) มีเนื้อหาที่กลาวถึง เมืองที่สมบูรณและสันติสุข ซึ่งกอตั้งโดยกษัตริยยูโทปส โดยการตัดที่ดินสวนท่ีเชื่อมกับทวีปออกไปกวาง ๑๕ ไมล จนกลายเปนเกาะกลางนํ้าขนาดใหญ มีแมนํ้าลอมรอบและมีแผนดินลอมรอบอีกชั้นเพื่อปองกันพายแุละการบกุรกุของผคูนจากดินแดนอืน่ อีกทั้งยูโทเปยใชการปกครองแบบสาธารณรัฐ มีทั้งหมด ๔๔ นคร แตละเมืองมีระยะการเดินทางใชเวลาไมเกิน ๑ วัน อาคารบานเรือนในยูโทเปยมีความสวยงามเรยีบงาย มขีนบธรรมเนยีมประเพณี และกฎหมายอยางเดียวกัน มีนครหลวงชื่อ อโมโรเปนศูนยกลางเปนเมืองศูนยกลางแหงยูโทเปย ก็แปลวาเมืองแหงความมืดมัว สวนตัวละครที่เปนผูถายทอดเร่ืองราวของยูโทเปยก็ชื่อ ราฟาเอล ไฮโธลเดย (Hytholday) ซึ่งแปลวาผูที่พูดแตเรื่องไรสาระ หรือประเทศขางเคียงอยางชาวโพลีเลอไรทส (Polylerites) กแ็ปลวาคนเหลวไหล ซึง่ลวนแลวแตแสดงถึงเจตนาของผูเขียนท่ีจะช้ีใหเห็นวายูโทเปย (Utopia) นี้เปนเพียงเร่ืองท่ีสมมุติขึ้นเทาน้ัน รูปแบบบ านเ รือนของชาวยูโทเป ย (Utopia) ดานหลงัของทุกบานเปนสวนปลูกดอกไม ผลไมหรือพืชผัก และมีถนนอยูดานหลังของสวนอีกดวย ประตูบานมีสองทาง เปดปดไดโดยงาย ปราศจากกลอน เพราะไม จําเปน เน่ืองจากทรัพยสินเปนของสวนรวม จึงไมมีอะไรตองปดบังหรือปดกั้นไมใหคนอื่นใชดานหลังของทุกบานเปนสวนปลูกดอกไม ผลไมหรือพืชผัก และมีถนนอยู

Page 4: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

250 ¸ÃÃÁ·ÃÃȹ � ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

ดานหลังของสวน ประตูบานมีสองทาง ปราศจากกลอนเพราะไมมีความจําเปน เนื่องจากทรัพยสินในยูโทเปย (Utopia) เปนของสวนรวมทั้งหมด จึงไมมีอะไรตองปดบังหรือปดกั้นไมใหผูอื่นใชถือเปนการเอ้ือเฟอเผ่ือแผ นอกเมืองมีการทําอาชีพเกษตรกรรมอยางเฟองฟู ชาวยูโทเปย (Utopia) มีชีวิตความเปนอยูที่ดี หรืออาจเรียกไดวา กินดีอยูดี ไมมกีารแกงแยงกัน มกีารแบงสนัปนสวนใหแกกนัอยางเปนระบบระเบียบ ชาวเมืองทุกคนมีหนาที่การงานเปนของตนเอง ไมมใีครสักคนท่ีเกยีจครานแทบไมมใีครมีเวลาวางแตก็ใชวาจะทาํงานจนหามรุงหามคํ่า พวกเขาทํางานเพียงสามชั่วโมงตอนเชา พกัรบัประทานอาหารกลางวัน แลวทาํงานอีกสามชั่วโมงตอนบาย เขานอนตอนสองทุม โดยนอนไมตํา่กวาวนัละแปดชัว่โมง อกีทัง้ทีย่โูทเปย (Utopia) ก็ไมมีสิ่งอบายมุขยั่วยุแตอยางใดไมวาจะเปนการพนันหรือรานเหลารานสุรา สําคัญที่สุดคือชาวยโูทเปย (Utopia) ชอบทีจ่ะคนควาหาความรู เพ่ิมความชํานาญตางๆ ใหแกตนเอง รักการอานและการถกเถียงกันเพื่อเพิ่มพูนความรูใหมๆ พวกเขาไมใหความสําคญักบัวตัถ ุนัน่เพราะมคีานิยมในเร่ืองการรักษาคุณธรรมและความพงึพอใจในการใชชวีติพืน้ทีบ่รเิวณนอกเมืองมท่ีีทาํการเกษตรจํานวนมาก ชาวยูโทเปย (Utopia) จะคัดเลือกชาวเมืองปละสามสิบครอบครัวไปอยูทีฟ่ารมหรือสวนเพ่ือทาํงานสรางผลผลิตใหเมอืงเปนเวลาสองป คนทีก่ลบัมาก็จะสอนชาวเมอืงอืน่ๆ ใหทาํการเกษตรเปน แลวพอถึงเวลาก็ไปผลัดเปลี่ยน ทุกสามสิบฟารมหรือสวนจะมีผูดูแลปกครองหน่ึงคนท่ีคัดเลือกข้ึนกันเอง

เรยีกวา ไซโฟแกรนท (เทยีบไดกบัสมาชิกสภา) อยูภายใตการดูแลของทารนิบอร (เทียบไดกับรัฐมนตรี) ซึ่งแตละคนดูแล สิบไซโฟรแกรนท เจาผูครองนครและทารนบิอรไมสามารถออกกฎหมายโดยไมผานพิจารณาของสภา และกฎหมายฉบับหนึง่ตองผานการอภิปรายหรือถกเถียงในสภาไมตํา่กวาสามคร้ัง การเปล่ียนแปลงส่ิงใดใดในรัฐจึงทําไดยาก หากคนสวนใหญในเมืองไมเห็นดวยวาเปนไปเพ่ือประโยชนของสวนรวม ชาวยูโทเปยจงึปกครองกันเองดวยกฎหมายเพียงไมกี่ขออยางเหมาะสม แตถงึกระนัน้ทกุส่ิงทกุอยางกม็กีารแบงปนกนัอยางเทาเทียม และทุกคนมีชีวิตที่สมบูรณ จงึเหน็ไดวา ยโูทเปย (Utopia) เปนสงัคมในฝนเพราะการสรางคานิยมในเร่ืองการรักษาคุณธรรมและความพึงพอใจในการใชชีวิต ชาวยูโทเปยไมใหความสําคัญกับวัตถุ โดยเห็นวาเงินและทองเปนสิ่งหยาบชา ไมมีคา มีไวสําหรับทําโซสําหรับทาส หรือจางคนช่ัวไปทําสงครามแทน (เปนการกําจัดสิ่งชั่วรายไปในตัว) (Utopia) ไมมีกฎหมายออกมาบงัคบัประชาชนมากมาย พวกเขาอยรูวมกันดวยการใหเกยีรติซึง่กันและกัน ใสเส้ือผาเรียบงายคลายคลึงกัน เสื้อผาแตละชุดใชทนทานนานถึงเจ็ดป และผูคนในระดับผูปกครองก็ไมมีสิ่งบงบอกดวยวัตถุใดใดไมวาจะเปนเสื้อผาอาภรณหรือสิง่ประดบัท่ีชีใ้หเหน็วาแตกตางจากประชาชนอื่นๆ

๒. ทัศนะวิจารณ แนวคิดยูโทเปยเปนการนําเสนอผาน

Page 5: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

251¸ÃÃÁ·ÃÃȹ �ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

รปูแบบสงัคมในเชิงอดุมคตใินครสิตศตวรรษท่ี ๑๖ ยุคเรเนซองส (Renaissance)๒ ไดเกดิแนวคดิตางๆ เก่ียวกบัยโูทเปยไดปรากฏตัวข้ึนมาพรอมกบัความกาวหนา จุดมงุหมายกเ็พือ่ปรบัปรงุสงัคมในหนทางที่สุดขั้ว คนแรกๆ ของบรรดานักคิดยูโทเปยคือ โทมัส มอร ซึ่งเขานําเสนอแนวคิดในเชิงอุดมคติเก่ียวกบัยูโทเปย (Conceptual island of Utopia) มนัเปนการวิพากษวจิารณถงึสังคมรวมสมัยของเขาในประเทศอังกฤษ และยังเปนการนําเสนอรูปแบบซึง่เปนทางเลือกอีกทางหน่ึงของสังคมท่ีสมบูรณแบบดวย โทมัส มอร ไดรับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากหนังสือ Republic ของเพลโตที่วาดวยการปกครองทีด่ ีเพลโตไดวางหลกัการ รฐัมคีวามสาํคญัเหนืออื่นใด พลเมืองทุกคนจะตองชวยกันสรางรัฐใหอดุมสมบูรณ มคีวามม่ังค่ังท้ังภายในและภายนอกแมจะเสยีผลประโยชนสวนตวัไปบาง เพือ่ประโยชนของรัฐก็ตองยินยอม เพราะรัฐเปนหลักประกันทุกดานใหกับพลเมือง๓ เพลโตเชื่อวา รัฐที่มีความยุติธรรมสถิตเปนหลัก ความยุติธรรมคือ การแบงแยกชนช้ันและการแบงหนาที่๔ ความยุติธรรมมีความสัมพันธกับลักษณะสังคมที่มีรูปแบบตางกัน

จะอธิบายเนือ้หาของความยติุธรรมตางกนั รฐัเปนเครือ่งมอืของมนษุยในการใชความยตุธิรรม ซ่ึงหลกัของความยุติธรรมจะถูกรองรับดวยกฎหมาย๕ ความเสมอภาคไมไดหมายถึงการมีสิทธิในทางทรัพยสินหรืออํานาจทางการเมือง แตเสมอภาคตามทัศนะของเพลโต คอืทกุคนมีความเทาเทียมกันในการปฏิบัติหนาท่ีของแตละบุคคลที่พึงมีตอรัฐ สิทธิเสมอภาคกันในหนาที่ลักษณะนี้บุคคลจะเกิดความยุติธรรมขึ้นในการทําหนาที่ของตน๖

ยโูทเปย จงึเปนสงัคมอดุมคตทิีม่พีืน้ฐานแนวคดิของทฤษฎีจิตนิยม (Idealism) ไดแกพวกท่ีถือวา จิตเทานัน้เปนความแทจรงิ สสารเปนเพยีงปรากฏการณของจติเทานัน้ ชาวจิตนยิมเชือ่วา จิต เปนอมตะ ไมสญูสลาย รางกายของมนษุยเปนเพยีงปรากฏการณชัว่ขณะหน่ึงของจิต เปนท่ีอาศัยชัว่คราวของจิตเม่ือรางกายดับลง จิตก็ยังคงอยู ไมแตกดับไปตามรางกาย พวกจิตนยิมพยายามท่ีจะหาคําตอบใหกบัตัวเองวาจิตคืออะไร มีบอเกิดมาจากอะไร มีแหลงท่ีมาอยางไร มีธรรมชาติเปนอยางไร มีจุดมุงหมายอยางไร เปนการศึกษาโลกในลักษณะท่ีเปนนามธรรม เพราะพวกเขาเชื่อวา จิตเทานั้นที่เปน

๒ เจษฎา ทองรงุโรจน, พจนานุกรมองักฤษ-ไทย ปรชัญา, (กรงุเทพมหานคร : สาํนักพมิพแสงดาว, ๒๕๕๗), หนา ๗๖๙.

๓ ฟน ดอกบัว, ปวงปรัชญากรีก, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพศยาม, ๒๕๔๔), หนา ๑๔๕.๔ เอม็. เจ. ฮารมอน, ความคดิทางการเมอืงจากเพลโตถงึปจจบุนั, เสนห จามรกิ (ผแูปล), (กรุงเทพมหานคร

: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๒๒), หนา ๔๑.๕ พรพิพา บรรทมศิลป, “การวิเคราะหเร่ืองความยุตธิรรมในอุตมรัฐของเพลโต”, วทิยานพินธอกัษรศาสตร

มหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย), ๒๕๒๓.๖ ไพฑูรย พัฒนใหญยิ่ง และคณะ, จริยศาสตร, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, ๒๕๕๑),

หนา ๑๔๑-๑๔๒.

Page 6: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

252 ¸ÃÃÁ·ÃÃȹ � ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

ความแทจริง สสารเปนแตเพียงสิ่งท่ีปรากฏ หรือเปนปรากฏการณของจิต ไมสามารถดํารงอยูชัว่กาลนาน หรือสสารจะตองมกีารแตกสลาย แตจิตหรือวิญญาณไมมีการแตกสลายเปนอมตะ ดังนั้น ลักษณะของจิตหรือวิญญาณ จึงมีลักษณะตางๆ ตามทัศนะหรือแนวความคิดของนักปรัชญาแตละทาน๗

ดงัน้ัน ยโูทเปยจงึมแีนวคดิทางอภปิรชัญาในกลมุจตินยิม โดยไดรบัอทิธพิลมาจาก Republic ของเพลโต จึงเปนสังคมอุดมคติท่ีเหมือนกันของอตุมรฐัหลายดาน ซึง่แนวคิดโดยใหความสาํคญักบัคุณธรรม จริยธรรม เชน ปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นเพราะการมีทรัพยสินสวนตัว เขาจึงไดเสนอสังคมที่ทรัพยสินสวนกลางไมใหมีทรัพยสินสวนตัว เนนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมตามกฎธรรมชาติ และปกครองกันอยางดีดวยกฎหมายเพียงไมกี่ขอ ทกุสิง่ทกุอยางมกีารแบงปนกนัอยางเทาเทียม และทุกคนมีชีวิตที่สมบูรณ๘ และในขอแตกตางกันกับอุตมรัฐของเพลโตก็คือ ยูโทเปยเปนสังคมแบบในจินตนาการ แตสังคมในอุตมรัฐเปนการคิดคนเพื่อแสวงหาการกระทํา จากแนวคิดของแบบจิตนิยมนี้เอง จึงมีอทิธพิลตอปรัชญาเชิงจริยศาสตร ท่ียนืยันถึงความสงางามและคณุคาของมนษุยทกุคน โดยอาศยัหลกัความสามารถของบุคคลนั้นในการบงชี้ไดดวยตนเองวาสิ่งใดถูกสิ่งใดผิด โดยไดการยอมรับโดย

มนุษยทั่วไปท่ีมีคุณภาพ โดยเฉพาะคุณภาพเชิงตรรกะหรอืเชงิเหตผุล มนษุยนยิมเปนองคประกอบเฉพาะหลายๆ ตัวของระบบปรัชญาและไดรับการผนวกไวในหลายสาํนกัคดิทางศาสนา เชน กฎหมายทีจ่ะใชควบคุมประชาชนจะตองสมเหตุสมผล โทษทีก่าํหนดจะตองคํานงึถึงมนุษยธรรมกฎหมายมีขึน้เพ่ือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน ชาวยูโทเปยจะตองปองกันการทําผิดมากกวาลงโทษคนผิด พวกเขาเห็นวาการพยายามกระทําผิดน้ันเลวเทาๆ กับการทําผิด และโทษสําหรับความผิดที่รายแรงคือเอาตัวไปเปนทาส ชาวยูโทเปยมีกฎหมายไมกีฉ่บบั และเห็นวากฎหมายท่ีออกมามีวตัถุประสงคเดียวคือ สั่งสอนบุคคลใหทําหนาท่ีของตน๙ โทมัส มอร คิดเร่ืองยูโทเปยขึ้นมาเพื่อใหเปนสังคมแหงคุณธรรม ชาวยูโทเปยถือวาความเมตตตากรุณา และความดีตามธรรมชาติเปนความรูสึกท่ีดีที่สุดที่ติดตัวเขามาต้ังแตเกิดตองถูกทําลายไปโดยการฆาสัตวตัดชีวิต และธรรมชาติไมเคยสอนใหตัวเองลดทอนความสุขของผูอื่น ดวยเหตุนี้ชาวยูโทเปยจงึมหีลกัมนุษยธรรมเปนหลักการปฏิบติั ทีใ่หความสําคญักบัเพ่ือนมนุษยมากกวาส่ิงอืน่ใด ดงันัน้ สรปุไดวาจริยศาสตรทีป่รากฏอยูในยูโทเปยจึงมแีนวคิดมนุษยนิยม ซ่ึงเนนความมีเมตตากรุณาตอมนุษยและสัตว ใหความสําคัญการปฏิบัติตอมนุษยในสังคมดวยกัน

๗ เจษฎา ทองรุงโรจน, พจนานกุรมอังกฤษ-ไทยปรัชญา, (กรงุเทพมหานคร : สาํนกัพมิพแสงดาว, ๒๕๕๗), หนา ๔๓๑.

๘ ทอมัส มอร (Thomas More), ยูโทเปย (Utopia), แปลโดย สมบัติ จันทรวงศ, พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๖), หนา ๔๓.

๙ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๑๐๓.

Page 7: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

253¸ÃÃÁ·ÃÃȹ �ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

อยางไรก็ตามแมยูโทเปยจะเปนสังคมอุดมคติ แตสังคมใหคาหรือคุณคาตอสิ่งนั้นนอยมาก แลวไปกําหนดคุณคาใหกับสิ่งอื่นอยางสูงสง เชน ใหคุณคากับเรื่องรูปแบบการปกครอง ผูนํา เปนตน การพิจารณาใหคณุคาทีไ่มถกูจดุ จงึเปนตนเหตุของปญหาตางๆ แมแตการใหคุณคาในเรื่องลึกๆ อยางความดีกับความชั่วการยึดถือเชนนี้ไมสามารถทาํใหมนษุยกาวพนสิง่ดงักลาวได การหลดุพนที่แทจริงคือ การมีสภาพจิตปกติอยูเหนือความแตกตางของสองสิ่งน้ี ทุกปญหาของโลกจึงเปนปญหาของกิเลสตัณหา ชีวิตและสังคมจึงไมสามารถคงความปกติตามกฎธรรมชาติได ระบบการเมืองที่เปนไปเพื่อการกอบโกย เปนการทําใหทุกระบบในสังคมผิดปกติไปหมด โทมัส มอร จึงมีแนวคิดใหคนเราถือครองทรัพยากรเทาท่ีจําเปน และเหลือทรัพยากรสวนกลางไว เพื่อปองกันการขาดแคลน แมโทมัส มอร จะนําเสนอไวรอยรอยปแลว แตเนื้อหามีความเหมาะสมกับสถานการณในปจจุบันอยางมาก และคาดวาจะเหมาะสมกับสถานการณทางการเมืองทุกชวงเวลา เพราะหนังสือเก่ียวกับแนวคิดทางสังคมอุดมคตินั้น แตกตางจากหนังสือประเภทอื่น ตรงที่สามารถแสดงความจรงิขามกาลเวลาได เพราะไมวาเวลาใดกฎธรรมชาติหรือสัจธรรมก็ยังประกาศตัวเอง วามีการคงสภาพแหงการเปนอยางนั้น คือยังคงสภาพเปนไปตามกฎธรรมชาติ แมโทมัส มอร จะมีจดุมงุหมายของการนําเสนอที่ใหความสําคัญกับระบบการเมือง แตแทที่จริงแลว ยูโทเปยเปนการจัดระบบของมนุษยดวยกนัเสยีมากกวา แตในหลายตอนของหนังสอืนี ้ทาน

แสดงใหเห็นวา แมเราจะเรียกกิจกรรมนี้วาเปนเรือ่งการเมือง แตกจิกรรมการเมืองท่ีถกูตอง กเ็ปนอยางอื่นไปไมได ตองทําไปตามเกณฑ ตามท่ีธรรมชาติกาํหนดไววาทุกชวีติจะอยูรอดไดอยางไร ทั้งในแงของรางกายและจิตวิญญาณ เนื้อหาในหนังสือจึงแสดงกฎธรรมชาติที่ชี้ทางเอาไวอยางตายตัว กฎธรรมชาติในหนังสือดังกลาว ยังตองคงเดิมไวเสมอ เน้ือหาดังกลาวจึงขามกาลเวลาได เพราะเวลาไหนๆ มนุษยก็มีปญหา คือมีปญหาวาชีวิตคืออะไร การไมเขาใจวาชีวิตคืออะไร เปนตนเหตขุองปญหาตางๆ รวมท้ังปญหาการเมอืงดวย นี่คือลักษณะเดนของหนังสือที่เปนแนวคิดทางปรัชญาของโทมัส มอรคือ อางอิงไดโดยไมมีขอบเขตของเวลา ดงันัน้ตราบใดท่ีมนษุยยงัมคีวามเห็นแกตัว และความรูสึกดังกลาวนี้กําลังสรางปญหาใหกับสังคม หนังสือเลมนี้สามารถหยิบมาอานทบทวนไดตลอดเวลา ถงึแมจะสรางขึน้มาจากจินตนาการ แตเนือ้หาไดชีไ้ปท่ีความเห็นแกตวัของมนษุยโดยตรง โดยขอรองใหเปล่ียนไปเหน็แกสงัคมเสียบาง ไมเชนนั้นจะเดือดรอนกันไปท้ังหมด เพราะเราอยูในโลกใบเดียวกัน ยูโทเปยที่ทานนําเสนอนั้น ทานไดเนนวามนุษยเราไดละท้ิงระเบียบทางศีลธรรมและศาสนาในบทแรกทานจึงการนําเสนอใหมีการถอยหลังเขาคลอง โดยฟงแลวอาจเขาใจวาเปนการลาหลงั แตเปนการสงความหมายวาแตเดิมเราไมมีปญหาการเมือง เพราะมีความละอายตอบาปแตในระยะหลังนีเ้ราเห็นแกปากทองอยางเขมขนพรอมที่จะทําชั่วไดทุกเมื่อ คุณธรรมความดี และความสํานึกดีของมนุษยจึงจําเปนในการปองกันไมใหเกิดความขัดแยง และเปนการ

Page 8: ÂÙâ·à» ‚Â Utopiamcuaad.mcu.ac.th/ac/currlncharge/BO/write/82b27807e9.pdf · Utopia พระวันดีกนฺตวีโร (ปะวะเส)* พระครูสุตธรรมาภรณ

254 ¸ÃÃÁ·ÃÃȹ � ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม - เมษายน ๒๕๖๐

สรางสันติภาพไปในตัวบรรณานุกรม

๑. ภาษาไทย (๑) หนังสือ :เจษฎา ทองรุงโรจน. พจนานุกรมอังกฤษ-ไทยปรัชญา. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแสงดาว, ๒๕๕๗. ทอมัส มอร (Thomas More). ยูโทเปย (Utopia). แปลโดย สมบัติ จันทรวงศ. พิมพคร้ังที่ ๓.

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๖.ไพฑูรย พัฒนใหญยิ่ง และคณะ. จริยศาสตร. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, ๒๕๕๑.ฟน ดอกบัว. ปวงปรัชญากรีก. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพศยาม, ๒๕๔๔.สมบัติ จันทรวงศ. ยูโทเปย (Utopia). กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๖.เอม็. เจ. ฮารมอน. ความคิดทางการเมืองจากเพลโตถึงปจจบุนั. เสนห จามริก (ผแูปล). กรงุเทพมหานคร

: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๒๒. (๒) วิทยานิพนธ/ดุษฎีนิพนธ/สารนิพนธ/รายงานการวิจัย :พรพพิา บรรทมศลิป. “การวเิคราะหเรือ่งความยุตธิรรมในอุตมรฐัของเพลโต”. วทิยานพินธอกัษรศาสตร

มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๒๓.