81
การพัฒนา กศน.ตําบลและศูนยการเรียนชุมชน โดยให ภาคีเครือขายมีสวนรวมใน การจัดการศึกษาตลอดชีวิต ณัฐกฤตา พึ่งสุข กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

การพัฒนา กศน.ตําบลและศูนยการเรียนชุมชน โดยให

ภาคเีครือขายมีสวนรวมใน การจัดการศึกษาตลอดชีวิต

ณัฐกฤตา พ่ึงสุข

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

Page 2: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

คูมือการพัฒนา กศน.ตําบลและศูนยการเรียนชุมชน โดยใหภาคีเครือขายมีสวน

รวมในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต

เรียบเรียงโดย นางณัฐกฤตา พ่ึงสุข

พิมพครั้งท่ี 1 2555

จํานวนพิมพ 500 เลม

จัดพิมพโดย ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี

โทรศัพท 02-019-5955

โทรสาร 02-501-1967

E-mail: [email protected]

Website www.Muangpathum nfe.ac.th

สงวนลิขสิทธิ์

Page 3: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแนวทางการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง

(ทศ. 2552-2561) โดยมุงหวังให กศน. ตําบลเปนกลไกในการสรางโอกาสทางการเรียนรูตลอดชีวิต แก

ประชาชน ซ่ึงประชาชนสวนใหญอยูในชนบทและยังเขาไมถึงโอกาสการเรียนรูท่ีมีคุณภาพ และเนื่องจากการ

จัดการศึกษาตามอัธยาศัย เปนการจัดการศึกษาท่ียึดหลักการศึกษาตลอดชีวิตใหกับประชาชน ดังนั้นทุกภาค

สวนของสังคมจึงมีสวนรวมในการจัดการศึกษาเพ่ือใหสามารถพัฒนาการศึกษาและคุณภาพชีวิตของประชาชน

ไดอยางตอเนื่องประกอบกับพระราชบัญญัติสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.

2551 ไดบัญญัติไวใหมีการกระจายอํานาจแกสถานศึกษาและใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัดการเรียนรู

โดยการสรางแรงจูงใจใหเครือขายมีความพรอมในการมีสวนรวมในการจัดการศึกษา การจัดการศึกษารวมกับ

ภาคีเครือขายจึงมีความสําคัญ สําหรับหนวยงาน และสถานศึกษา กศน.

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กําหนดเปนนโยบายและ

ยุทธศาสตร การดําเนินงานในปงบประมาณ 2552 ใหหนวยงาน และสถานศึกษา กศน. ประสานและสราง

ความรวมมือกับเครือขายทุกระดับ ทุกประเภท ใหเขามามีบทบาทในการจัดการความรู แลกเปลี่ยนเรียนรู

และรวมดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี ไดตระหนักถึงนโยบายในการพัฒนา กศน.ตําบล จึงไดจัดทําโครงการ การ

พัฒนาศักยภาพ กศน.ตําบล และศูนยการเรียนชุมชน โดยใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

ตลอดชีวิตเพ่ือความเขมแข็งและยั่งยืน โดยสงเสริมสนับสนุนใหทุกภาคสวนในชุมชน/สังคม เขามามีสวนรวม

เปนภาคีเครือขายในการดําเนินการจัดกิจกรรม กศน.ตําบล มีการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูและจัด

ประสบการณการเรียนรูใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของผูเรียนและชุมชน พัฒนาครูใหมีความรู มีทักษะในการ

จัดการเรียนรูและมีการวัดผลประเมินผลท่ีมีคุณภาพ รวมท้ังมีการสรางเครือขายการทํางานท่ีกอใหเกิดการ

รวมตัวกัน ระหวางหนวยงาน สถานศึกษา กศน.และหนวยงานเครือขาย ตลอดจนชุมชนโดยรวม กศน.ตําบล

เพ่ือรวมมือกันจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีมีเปาหมายสําคัญคือ การพัฒนาคุณภาพ

ชีวิตใหกับประชาชนและรวมจัดการศึกษาท่ียึดหลักการศึกษาตลอดชีวิตใหกับประชาชน รวมท้ังรวมสงเสริม

สนับสนุน ติดตามดูแลและรวมประเมินผลการดําเนินงานของ กศน.ตําบล

คูมือการพัฒนา กศน.ตําบล โดยใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต จัดทําข้ึน

เพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนา กศน.ตําบล ใหมีศักยภาพในการบริการประชาชน เพ่ือใหไดรับการศึกษาตลอด

ชีวิตอยางท่ัวถึงและมีคุณภาพ

ณัฐกฤตา พ่ึงสุข

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

คํานํา

Page 4: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

เรื่อง หนา

คํานํา ...................................... ............................................................................ ........ ข

สารบัญ ........................................................................................................................ ค

ตอนที่ 1 บทนํา ............................................................................................................ 1

ความเปนมา ...................................................................................................... 1

ความหมาย ....................................................................................................... 3

หลักการ .......................................................................................................... 3

วัตถุประสงค ...................................................................................................... 3

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวย แหลงเรียนรูราคาถูก 5

กศน.ตําบล พ.ศ.2553 ...................................................................................................

มาตรฐาน กศน.ตําบล .......................................................................................... 8

บทบาทหนาท่ี กศน.ตําบล และหนวยงานท่ีเกี่ยวของ .......................................... 8

ตอนที่ 2 การดําเนินกิจกรรมใน กศน.ตําบล .................................................................... 12

การจัดการศึกษาของ กศน.ตําบล ......................................................................... 12

แนวคิดเกี่ยวกับการสรางเครือขายการทํางาน กศน. ............................................. 14

การพัฒนาศักยภาพ กศน.ตําบล และศูนยการเรียนชุมชน โดยใหภาคีเครือขาย 29

มีสวนรวมในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อความเขมแข็งและย่ังยืน ................................

ตอนที่ 3 กลยุทธในการพัฒนา กศน.ตําบล ................................................................... 32

กลยุทธท่ี 1 การศึกษาความตองการของกลุมเปาหมาย ...................................... 32

สารบัญ

Page 5: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

เรื่อง หนา

กลยุทธท่ี 2 จัดการเรียนรูใหกับผูเรียน/ผูรับบริการอยางมีคุณภาพ 34

กลยุทธท่ี 3 จัดหาและพัฒนาแหลงการเรียนรูและภูมิปญญาทองถิ่น 36

มาใชในการจัดการเรียนรู ..............................................................................................

กลยุทธท่ี 4 แสวงหาภาคีเครือขายในการจัดการศึกษานอกระบบและการ 37

ศึกษาตามอัธยาศัย ...........................................................................................................

กลยุทธท่ี 5 พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ..................................................... 38

ตอนที่ 4 แนวทางการพัฒนา กศน.ตําบล ......................................................................... 40

ขั้นเตรียมการ ....................................................................................................... 40

ขั้นดําเนินการ ........................................................................................................ 42

ขั้นประเมิลผล ........................................................................................................ 50

ขั้นสรุป รายงานผล ................................................................................................ 51

ผนวก ............................................................................................................................... 53

ภาพกิจกรรม .......................................................................................................... 54

คณะผูจัดทํา ........................................................................................................... 71

ประวัติผูเขียนและเรียบเรียง ...................................................................................73

สารบัญ

Page 6: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

1

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ.2552 – 2561) รัฐบาลไดใหความสําคัญเรื่องการศึกษา

และการเรียนรูอยางเปนระบบโดยมุงเนนการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู และสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนเพ่ือใหคนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอยางมีคุณภาพในทุกระดับ และทุกประเภทการศึกษา ใหบรรลุวิสัยทัศนท่ีกําหนดไว “คนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอย างมีคุณภาพ”โดยเฉพาะ ไดดําเนินการจัดใหมีศูนยการเรียนรูตลอดชีวิตเพ่ือการเรียนรูท่ีเหมาะสมในทุกพ้ืนท่ี เติมเต็มระบบการศึกษาใหรองรับการเปนสังคมแหงการเรียนรูอยางแทจริง

กระทรวงศึกษาธิการไดใหความ สําคัญในเรื่องดังกลาวจึงไดมีนโยบายใหมีการจัดตั้ง กศน.ตําบลข้ึน

เปนศูนยการเรียนรูระดับ ตําบลยุคใหมท่ีมีเครื่องมือท่ีทันสมัยในการดําเนินงานโดยการผลักดันงบประมาณ

โครงการไทยเขมแข็งใหแกศูนยการเรียนชุมชน หรือ กศน.ตําบล และไดมอบหมายใหสํานักงาน กศน. เรงรัด

พัฒนาและเดินหนาไปสูความเปนศูนยการเรียนรูการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของชุมชน

เพ่ือใหประชาชนท่ัวประเทศไดมีพลังแหงการเรียนรูตลอดชีวิตไมมีท่ีสิ้นสุดตามนโยบายของ

กระทรวงศึกษาธิการอยางแทจริง โดยตั้งเปาหมายไววาในเดือนกันยายน 2553 จะมี กศน.ตําบลครบท้ัง

7,409 ตําบลท่ัวประเทศ

ในการพัฒนาตําบล กระทรวงศึกษาธิการกําหนดใหมี 8 นโยบายสําคัญ ซ่ึงนโยบาย ขอท่ี 5 เรื่อง

สรางแหลงเรียนรูราคาถูก พรอมกําหนดใหจัดตั้ง กศน. ตําบลเปนแหลงเรียนรูราคาถูกสําหรับประชาชน โดย

รวมมือกับองคการบริหารสวนตําบลในการสงเสริมใหมีโครงการอินเตอรเน็ตความเร็วสูงให กศน. ตําบล เปน

ศูนยการเรียนรู เชน ประชาชนในตําบลสามารถตรวจสอบราคาสินคาดานการเกษตร ราคาปจจัยดานการผลิต

ฯลฯ โดยใหครู กศน. ตําบล ดูแลและสงเสริมการอาน สรางเครือขายรักการอานแกบุตรหลานในชุมชน จัดทํา

มุมหนังสือ เพ่ือสงเสริมการอานท้ังท่ีบาน หองสมุด โรงพยาบาล หรือสถานท่ีตาง ๆ มีศูนย Fix it center

รวมท้ังมีการประสานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของในการขยายผลโครงการ Teacher TV และโครงการ Student

Channel ใหเปนแหลงเรียนรูราคาถูกเพ่ือสรางโอกาสการเรียนรูของผูเรียน ครู และประชาชนท่ัวไป มีมุม

วิทยาศาสตรเพ่ือการเรียนรูโดยประสานกับ สสวท . รวมสนับสนุนสื่อทางดานวิทยาศาสตรท่ี กศน.ตําบล

รวมกับกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสารสานเทศสนับสนุนเครื่องคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต

ความเร็วสูงในโครงการ ICT ตําบลมาจัดตั้งท่ี กศน.ตําบล เปนตน ซ่ึงไดทําพิธีเปด กศน.ตําบล แหลงเรียนรู

ราคาถูก ประเทศไทยรวมใจปฏิรูปการศึกษาเม่ือวันท่ี 17 พฤษภาคม 2553 ณ อิมแพค เมืองทองธานี

จังหวัดนนทบุรี

ความเปนมา

ตอนท่ี 1 บทนํา

Page 7: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

2

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เปนการจัดการศึกษาท่ียึดหลักการศึกษาตลอดชีวิตใหกับประชาชน ดังนั้น ทุกภาคสวนของสังคมจึงมีสวนรวมใน การจัดการศึกษา เพ่ือใหสามารถพัฒนาการศึกษาและคุณภาพชีวิตของประชาชนไดอยางตอเนื่อง ประกอบกับ พระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ไดบัญญัติไวใหมีการกระจายอํานาจแกสถานศึกษาและใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัดการเรียนรู โดยการสรางแรงจูงใจใหเครือขายมีความพรอมในการมีสวนรวมในการจัดการศึกษา การจัดการ ศึกษารวมกับภาคีเครือขายจึงมีความสําคัญสําหรับหนวยงานและสถานศึกษา กศน. อําเภอเมืองปทุมธานีไดกําหนด เปนนโยบายและ ยุทธศาสตรการดําเนินงานในปงบประมาณ 255 1 ใหหนวยงานและสถานศึกษา กศน.อําเภอเมืองปทุมธานีประสานและ สรางความรวมมือกับเครือขายทุกระดับทุกประเภทใหเขามามีบทบาทในการจัดการความรู การแลกเปลี่ยนเรียนรู และรวมดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ภาคีเครือขายในความหมายตามพระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 จึงหมายความวา บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองคกรอ่ืน รวมท้ังสถานศึกษาอ่ืนท่ีมิไดสังกัดสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย (พระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย, 2551)

ภาคีเครือขายหนวยงาน กศน. เปนเครือขายทางสังคมท่ีเกิดจากความสัมพันธระหวาง ผูคน องคกร ท่ีเก่ียวของกันในทุกระดับ มีเปาหมายในการทํางานรวมกันคือการสงเสริมการเรียนรู พัฒนาคุณภาพชีวิตใหกับประชาชน ซ่ึงในปจจุบันสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก มีการ เจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี การสื่อสาร การคมนาคม ประชาชนมีวิถีชีวิตท่ีเปลี่ยนแปลงไป ประชาชนสวนใหญยังมีฐานะยากจน ไมสามารถพ่ึงพาตนเองได มีหนี้สิน ขาดโอกาส พลาดโอกาสทางการศึกษา ขาดทักษะชีวิตในการคิด วิเคราะหสถานการณตางๆ อยางมีเหตุผล การแกปญหาเพ่ือ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจึงมีความซับซอน ยากตอการแกไขหรือพัฒนาโดยหนวยงานใดหนวยงานหนึ่ง

ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประชาชนวัยแรงงานท่ีอยูในเมืองและในชนบท จึงตองอาศัยความรวมมือจากหลายฝายรวมเปนภาคีเครือขายในการทํางาน กศน. ท้ังนี้เพ่ือตองการใหเกิดการผลักดันกระบวนการเรียนรูรวมกันทางสังคม ปจจุบันหนวยงาน และสถานศึกษา กศน. มีการประสานรวมมือกันจัดการเรียนรูกับภาคีเครือขายมาอยางตอเนื่อง ดังนั้นการถอดองคความรูเก่ียวกับการสรางภาคีเครือขายการทํางาน กศน. จึงเปนวิธีการหนึ่งของ การจัดการความรูเก่ียวกับการสรางภาคีเครือขายการทํางาน กศน. ซ่ึงผลของการสรางภาคีเครือขาย ในทุกระดับของหนวยงานและสถานศึกษา กศน. สะทอนถึงความสัมพันธและความรวมมือใน กระบวนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยรวมกัน การรวมคิด รวมวางแผน รวมปฏิบัต ิ รวมประเมินผล และรวมรับผลประโยชน จะทําใหตางฝายตางพึงพอใจซ่ึงกันและกัน

ดังนั้น สํานักงาน กศน. จึงไดกําหนดเปน นโยบายสําคัญเรงดวนให กศน. ตําบล จัดและสงเสริมการ

เรียนรูของประชาชนในชุมชนและพัฒนา กศน.ตําบล เปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชน

Page 8: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

3

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบล หมายความวา เปนหนวยจัดกิจกรรมการเรียนรูการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยท่ีตั้งอยูในระดับตําบล/แขวง

หลักการทํางาน กศน.ตําบล ยึดชุมชนเปนฐานในการดําเนินงานและการจัดการเรียนรูโดยใชตนทุนของชุมชน เชน อาคาร สถานท่ี แหลงวิทยาการ ภูมิปญญาทองถ่ิน วัฒนธรรม ประเพณี มีการประสานเครือขายในชมุชนรวมจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยสงเสริม สนับสนุนใหทุกภาคสวนในชุมชน /สังคมเขามามีสวนรวมเปนภาคีเครือขายในการดําเนินกิจกรรม กศน .ตําบล ท้ังในฐานะผูใหบริการ ผูรับบริการมีสวนรวมเปนเจาของ รวมคิด รวมทํา รวมแกปญหา บูรณการกระบวนการเรียนรู และจัดประสบการณการเรียนรูใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของชุมชน มีคณะกรรมการ กศน.ตําบล ท่ีเปนคนในชุมชน พรอมท้ังใหการสงเสริมสนับสนนุ ติดตามดูแลและรวมประเมินผลการจัดกิจกรรมและการดําเนินงานของ กศน.ตําบล

กศน. ตําบล จัดตั้งข้ึนโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือ 1. เปนศูนยกลางการเรียนรูและจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพ่ือให

ประชาชนไดรับการศึกษาตลอดชีวิตอยางท่ัวถึงและมีคุณภาพ 2. สรางและขยายภาคีเครือขายในการมีสวนรวมการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัยในชุมชน 3. สงเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของภาคี

เครือขาย

ความหมาย

หลักการ

วัตถุประสงค

Page 9: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

4

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

4. ประสานและเชื่อมโยงการดําเนินงานจัดการศึกษารวมกับ

หนวยงานท้ังภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน

Page 10: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

5

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

เพ่ือใหการดําเนินงานของแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง เปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิตมีบทบาทในการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชนในชุมชนโดยเนนการมีสวนรวมในการจัดการศึกษาของชุมชน มุงสรางโอกาสและใหบริการการเรียนรูอยางหลากหลายวิธี สนองความตองการและเสนอทางเลือกในการพัฒนาตนเองอันจะนําไปสูการพัฒนาชีวิตของประชาชนโดยยึดหลักการชุมชนเปนรากฐานของการพัฒนา กระทรวงศึกษาธกิาร จึงวางระเบียบไวดังนี้

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง พ.ศ.2553” ขอ 2 ระเบียบนี้ใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป ขอ 3 ในระเบียบนี ้ “ตําบล” หมายความวา ตําบลตามกฎหมายวาดวยลักษณะปกครองทองท่ี ท่ีอยูนอกเขตหนวยการบริหารราชการทองถ่ิน และในกรณีท่ีตําบลใดมีพ้ืนท่ีอยูท้ังในและนอกเขตหนวยการบริหารราชการสวนทองถ่ินใหหมายความถึงเฉพาะพ้ืนท่ีท่ีอยูนอกเขตหนวยการบริหารราชการสวนทองถ่ิน “แขวง” หมายความวา เปนเขตการปกครองระดับท่ี 3 รองลงมาจากเขตและจังหวัด แขวงไดรับการ

เปลี่ยนแปลงฐานะมาจากตําบลท่ีมีอยูเดิมในจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี

“กศน.ตําบลหรือแขวง” หมายความวา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตําบลหรือแขวง

ขอ 4 แหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง จัดตั้งข้ึนโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือ

(1) เปนศูนยกลางการเรียนรูและการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือใหประชาชนไดรับการศึกษาตลอดชีวิตอยางท่ัวถึงและมีคุณภาพ (2) สรางและขยายภาคีเครือขายในการมีสวนรวมการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน (3) สงเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษาในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของภาคีเครือขาย 4) ประสานและเชื่อมโยงการดําเนินงานจัดการศึกษารวมกับหนวยงาน ท้ังภาครัฐ เอกชนและภาคประชาชน ขอ 5 การจัดตั้งแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง ใหศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหรือเขต คัดเลือกมาจากศูนยการเรียนชุมชนในตําบลหรือแขวงหรือจัดตั้งข้ึนใหมตามความ

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ

วาดวยแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบล หรือแขวง

พ.ศ. 2553

Page 11: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

6

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

เหมาะสม โดยความเห็นชอบของสํานักงาน กศน.จังหวัดหรือกทม .และจัดทําเปนประกาศของจังหวัดโดยผูวาราชการจังหวัดมีอํานาจลงนามในประกาศจัดตั้ง ขอ 6 การยุบเลิกแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง ใหจัดทําเปนประกาศจังหวัด โดยความเห็นชอบ

ของสํานักงาน กศน. จังหวัดหรือกทม.

ขอ 7 ใหแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ดังนี้

(1) สงเสริมและจัดการศึกษานอกระบบ ไดแก การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาตอเนื่อง การศึกษาเพ่ือพัฒนา

อาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน และจัดกระบวนการเรียนรูตาม

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

(2) สงเสริมการเรียนรูตามอัธยาศัย

(3) ดําเนินการศูนยซอมสรางเพ่ือชุมชน

(4) สงเสริมการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

(5) จัดบริการศูนยติวเขมเติมเต็มความรู

(6) จัดบริการการเรียนรูโดยเครือขายอินเตอรเน็ต

(7) จัดกิจกรรมสงเสริมการอาน

(8) จัดกิจกรรมสงเสริมความเปนพลเมืองดวยวิถีประชาธิปไตย

(9) สงเสริมการนําภูมิปญญาและวัฒนธรรมทองถ่ินมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู

(10) เปนศูนยกลางเชื่อมโยงระหวางบาน วัด โรงเรียน และศาสนสถานอ่ืนในการจัดกระบวนการเรยีนรูของ

ชุมชน

(11) สงเสริมและสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

(12) สงเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต โดยจัดใหมีอาสาสมัครกศน .หาสิบหลังคาเรือนตอหนึ่งคน

(13) กิจกรรมอ่ืนๆ ตามนโยบายรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ

ขอ 8 ใหผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดหรือ

กรุงเทพมหานคร เปนผูแตงตั้งหัวหนาแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง

ขอ 9 ใหผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดหรือ

กรุงเทพมหานคร แตงตั้งคณะกรรมการแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน .ตําบลหรือแขวง ประกอบดวย

(1) กรรมการท่ีเปนตัวแทนจากหมูบานหรือชุมชนละ 2 คน ถาหากมีเกิน 10 หมูบานใหมีหมูบานละ 1 คน

ซ่ึงอาจมาจากผูแทนผูทรงคุณวุฒิ ผูแทนองคกรชุมชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูนําศาสนา เปนตน

(2) กรรมการท่ีเปนผูแทนองคกรนักศึกษา 2 คน

(3) กรรมการท่ีเปนอาสาสมัคร กศน. 1 คน

(4) ประธานกรรมการ เลือกจากตัวแทนคณะกรรมการในขอ (1)

(5) หัวหนาแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวงเปนกรรมการและเลขานุการ

ขอ 10 วาระการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการตามขอ 9 คราวละสี่ปนับจากวันท่ีไดรับแตงตั้ง

Page 12: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

7

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

ขอ 11 คณะกรรมการตามขอ 9 พนจากตําแหนงเม่ือตาย ลาออก ถูกคณะกรรมการดวยกันมีมติไมนอยกวา

ก่ึงหนึ่งมีมติใหออก

ขอ 12 คณะกรรมการแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง มีหนาท่ีดังตอไปนี้

(1) สงเสริม สนับสนุนการดําเนินงานแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง

(2) ประสานงานและเชื่อมโยงขอมูลเพ่ือจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกับศูนยการเรียน

ชุมชนตางๆ ในตําบล

(3) ประสานกับสวนราชการในตําบลและเครือขายการเรียนรูในชุมชน

(4) ประสานกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินในพ้ืนท่ีเพ่ือสนับสนุน สื่อ วัสดุ ครุภัณฑ อาคาร สถานท่ี และนํา

แผนชุมชนในสวนท่ีเก่ียวของกับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมาปฏิบัติ

(5) ปฏิบัติหนาท่ีตามท่ีกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กําหนดใหเปนบทบาทหนาท่ีของแหลงเรียนรูราคา

ถูก: กศน.ตําบลหรือแขวง

ขอ 13 แหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง ตองมีอาคาร สถานท่ีท่ีชัดเจนและเหมาะสมกับชุมชน

ขอ 14 แหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง จัดใหมีสื่อ วัสดุ ครุภณัฑ ท่ีจําเปนพ้ืนฐานในการจัด

กิจกรรมการเรยีนรูและเปนประโยชนตอชุมชน

ขอ 15 การกําหนดมาตรฐานแหลงเรียนรูราคาถูก: กศน.ตําบลหรือแขวง และแนวทางการดําเนินงานแหลง

เรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง ใหเปนไปตามท่ีสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัยกําหนด

ขอ 16 ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการใหเปนไปตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจ ตีความวินิจฉัยชี้ขาด

ปญหาเก่ียวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันท่ี 29 มีนาคม พ.ศ. 2553

นายชินวรณ บุณยเกียรติ

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ

Page 13: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

8

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

มาตรฐาน กศน.ตําบล ประกอบดวย 4 ดาน คือ

1. ดานการบริหารจัดการ มี 4 ตัวบงชี ้ไดแก 1.1 อาคาร สภาพเหมาะสม ม่ันคง แข็งแรง ปลอดภัย และมี

สภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการจัดการเรียนรู 1.2 สื่อ อุปกรณ ครุภณัฑ และสิ่งอํานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู 1.3 การบริหารงบประมาณ 1.4 บุคลากร ปฏิบัติงานครอบคลุมตามภารกิจท่ีกําหนด 2. ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู มี 4 ตัวบงชี้ ไดแก 2.1 เปนศูนยขอมูลขาวสารของชุมชน (Information Center) 2.2 เปนศูนยสรางโอกาสการเรียนรู (Opportunity Center) 2.3 เปนศูนยการเรียนชุมชน (Learning Center) 2.4 เปนศูนยชุมชน (Community Center) 3. ดานการมีสวนรวม มี 3 ตัวบงชี้ ไดแก 3.1 ชุมชนมีสวนรวมในการจัดกิจกรรม กศน.ตําบล 3.2 มีการเชื่อมโยงเครือขายการเรียนรูในตําบล และตางตําบล 3.3 ชุมชนมีสวนรวมในการสงเสริมการดําเนินงาน กศน.ตําบล 4. ดานการติดตาม ประเมินผลและรายงานผล มี 2 ตัวบงชี้ ไดแก 4.1 การติดตามและประเมินผล 4.2 การสรุปผลและการรายงานผล

กศน.ตําบล มีบทบาทสําคัญในการจัดและสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน และสรางสังคม

แหงการเรียนรูในชุมชน พรอมกันนี้ไดมีหัวหนา กศน.ตําบลเปนกลไกหลักในการขับเคลื่อนและมีหนวยงานท่ีเก่ียวของทําหนาท่ีสงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงาน กศน.ตําบล ดังนี้

มาตรฐาน กศน.ตําบล

บทบาทหนาที ่กศน.ตําบล และหนวยงานที่เกี่ยวของ

Page 14: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

9

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

1. การวางแผน

1.1 จัดทําฐานขอมูลชุมชน 1.2 จัดทําแผนพัฒนา กศน. ตําบล 1.3 จัดทําแผนปฏิบัติการประจําป

2. การจัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบ ดังนี้

2.1.1 การสงเสริมการรูหนังสือ 2.1.2 การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 2.1.3 การศึกษาตอเนื่อง

2.2 จัดและสงเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2.1 สงเสริมการอาน 2.2.2 จัดและพัฒนาแหลงเรียนรู 2.2.3 บริการขาวสารขอมูล และสื่อทุกประเภท 2.2.4 จัดและสงเสริมกิจกรรมหองสมุดประชาชนตําบล หองสมุดชุมชน มุมหนังสือ

3. บริการการเรียนรูในชุมชนรวมกับภาคีเครือขาย 3.1 ศูนยซอมสรางเพ่ือชุมชน (Fix it Center) รวมกับ (สอศ.)

3.2 ชมรมคุมครองผูบริโภค รวมกับ (สคบ.)

3.3 ศูนยการเรียนรู ICT ชุมชน รวมกับ (กระทรวงไอซีที)

3.4 มุมวิทยาศาสตรเพ่ือชีวิต รวมกับ (สสวท.) 3.5 หนวยแพทยเคลื่อนท่ี รวมกับโรงพยาบาล สถานีอนามัย 3.6 ธนาคารเคลื่อนท่ี 3.7 การปองกันบรรเทาสาธารณภัย รวมกับกรมปองกันบรรเทาสาธารณภัย 3.8 อําเภอเคลื่อนท่ี รวมกับอําเภอ

4. สรางและพัฒนาภาคีเครือขายการเรียนรูในชุมชน โดยการประสานขอความรวมมือจากภาคีเครือขายองคกรชุมชนผูรู ผูทรงคุณวุฒิ ตลอดจนภูมิปญญาทองถ่ิน เพ่ือรวมเปนอาสาสมัคร กศน. อาสาสมัครสงเสริมการอาน เปนตน

5. ประชาสัมพันธและเผยแพรแผนงาน โครงการ กิจกรรมและผลการดําเนินงานของ กศน.ตําบล ในรูปแบบตางๆ

6. รายงานผลการปฏิบัติงาน 6.1 รายงานขอมูลท่ีเก่ียวของตามแบบและระยะเวลาท่ีกําหนด 6.2 รายงานผลการปฏิบัติงานประจําปของ กศน.ตําบล

1. บทบาทหนาที่ของหัวหนา กศน. ตําบล

Page 15: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

10

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

1. สรางความรูความเขาใจในการจัดกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิตของคนในชุมชน ตั้งแตเด็กวัยกอนเรียนจนถึงวัยผูสูงอายุ 2. สรางความรูความเขาใจเก่ียวกับนโยบายจุดเนนของ สํานักงาน กศน. 3. สนับสนุนงบประมาณตามแผนปฏิบัตงิานประจําป ของ กศน. ตําบล 4. จัดซ้ือ จัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ ท่ีจําเปนตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูและการใหบริการ 5. พัฒนาหัวหนา กศน.ตําบล อาสาสมัคร กศน.ตําบล และคณะกรรมการ กศน. ตําบล 6. ประสานภาคีเครือขายเขารวมจัดกิจกรรมระดับตําบล 7. รวมกับ กศน. ตําบล จัดกิจกรรมการเรียนรู 8. จัดและพัฒนาระบบงานธุรการของ กศน.ตําบล 9. นิเทศ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน กศน.ตําบล 10. สรุป วิเคราะห ผลการดําเนินงาน กศน.ตําบล ในระดับอําเภอ รายงานสํานักงาน กศน. 11. เสริมสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ในรูปแบบตางๆ

1. ชี้แจงนโยบายจุดเนนการดําเนินงาน 2. สนับสนุนงบประมาณตามแผนปฏิบัตงิานประจําป ของ กศน. ตําบล 3. พัฒนาหัวหนา กศน.ตําบล อาสาสมัคร กศน.ตําบล และคณะกรรมการ กศน. ตําบล 4. ประสานภาคีเครือขายระดับจังหวัดเขารวมจัดกิจกรรมระดับตําบล 5. จัดและพัฒนาระบบงานธุรการของ กศน.ตําบล 6. กํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน กศน.ตําบล 7. เสริมสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ในรูปแบบตาง

2. บทบาทหนาที่ของ กศน. อําเภอ/เขต ที่มีตอ กศน.ตําบล

3. บทบาทหนาที่ของสํานักงาน กศน. จังหวัด/กทม.ที่มีตอ กศน. ตําบล

Page 16: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

11

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

1. สนับสนุนสื่อการเรียนรู 2. รวมพัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษานอกระบบ 3. จัดเวทีแสดงผลงานทางวิชาการระดับภาค 4. รวมพัฒนาครู กศน.ตําบล 5. วิจัยเพ่ือการพัฒนาการดําเนินงาน กศน.ตําบล

4. บทบาทหนาที่ของ สถาบัน กศน. ภาค ที่มีตอ กศน. ตําบล

Page 17: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

12

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบล เปนหนวยจัดกิจกรรมก ารเรียนรูการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีตั้งอยู

ในระดับตําบล หลักการทํางาน กศน.ตําบล ยึดชุมชนเปนฐานในการทํางานและการเรียนรู โดยใชตนทุนของชุมชน เชน อาคาร สถานท่ี แหลงวิทยาการ ภูมิปญญาทองถ่ิน วัฒนธรรมประเพณีมีก ารประสานเครือขายในชุมชนรวมจัดกิจกรรมก ารเรียนรู โดยสงเสริม สนับสนุนใหทุกภาคสวนในชุมชน/สังคม เขามามีสวนรวมเปนภาคีเครือขายในการดําเนินการจัดกิจกรรม กศน.ตําบล ท้ังในฐานะผูใหบริการ ผูรับบริการ และมีสวนรวมเปนเจาของ รวมคิด รวมทํา รวมแกปญหา บูรณาการกระบวนการเรียนรู และจัดประสบการณการเรียนรูใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของผูเรียนและชุมชน มีคณะกรรมการ กศน.ตําบล ท่ีเปนคนในชุมชนใหก ารสงเสริมสนับสนนุ ติดตามดูแลและรวมประเมินผลการดําเนินงาน

การจัดการศึกษา ของ กศน.ตําบล

กศน.อําเภอเมืองปทุมธาน ีไดกําหนดภารกิจท่ีสําคัญของ กศน.ตําบล ดังนี้

1. จัดกิจกรรมก ารศึกษานอกระบบและก ารศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประช าชนกลุมเป าหมาย ใน

ชุมชน โดยจําแนกเปนรายกิจกรรม ดังนี้

1.1 การศึกษานอกระบบ ประกอบดวย

1.1.1 การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

1.1.2 การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ

1.1.3 การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต

1.1.4 การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน 1.1.5 การสงเสริมการเรียนรูตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.2 การศึกษาตามอัธยาศัย

2. สรางและขยายภาคีเครือข าย เพ่ือการมีสวนรวมในก ารจัดกิจกรรมก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน

3. สงเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชนของภาคีเครือขาย ท้ังในแงของความเขมแข็งและความตอเนื่องในการมีสวนรวม และศักยภาพในการจัดการศึกษา

4. จัดทําระบบขอมูล สถิติ และสารสนเทศ เก่ียวกับประชากรกลุมเปาหมายและผลการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือใชในการวางแผนพัฒนาและแผนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

5. จัดทําแผนงานโครงการ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจําปงบประมาณ เพ่ือจัดกิจรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประชาชนกลุมเปาหมาย และชุมชน และ

ตอนท่ี 2 การดําเนินกิจกรรมใน กศน.ตําบล

Page 18: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

13

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามกรอบจุดเนนการดําเนินงานของ สํานักงาน กศน. สํานักงาน กศน.จังหวัด และ กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี เพ่ือการสนับสนุนงบประมาณจาก กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี โดยในกรณีของการจัดกิจกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ใหยึดคาใชจายรายหัวตามท่ีมติคณะรัฐมนตรีกําหนด สําหรับกิจกรรมอ่ืนๆ นั้นจัดทําแผนงานโครงการเพ่ือเสนอของบประม าณ ใหดําเนินการตามท่ีไดรับมอบหมายจาก กศน.อําเภอเมืองปทุมธาน ี

6. ประสานและเชื่อมโยงก ารดําเนินงาน การจัดกิจกรรมการศึกษ านอกระบบและก ารศึกษาตาม

อัธยาศัยของศูนยการเรียนชุมชน และภาคีเครือขายในตําบล โดยมีการประสานแผนการดําเนินงานภายใน

ตําบลท่ีรับผิดชอบและกับ กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี ตามกรอบจุดเนนการดําเนินงาน บนพ้ืนฐานของความ

เปนเอกภาพดานนโยบายและความหลากหลายในการปฏิบัติ

7. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในความรับผิดชอบ ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือรองรับการประกันคุณภาพภายนอกของ กศน.อําเภอเมืองปทุมธาน ี

8. รายงานผลการดําเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตอ กศน.อําเภอเมือง

ปทุมธาน ีตามแผนหรือขอตกลงท่ีกําหนดไว

Page 19: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

14

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

แนวคิดเกี่ยวกับการสรางเครือขายการทํางาน กศน.

นโยบายและจุดเนนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจําปงบประมาณ พ.ศ.2552

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดกําหนดนโยบาย และจุดเนนการดําเนินงานจัดสงเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในปงบประมาณ พ.ศ.2552 ใหสอดคลองกับเจตนารมณของพระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2551 – 2554 และแผนยุทธศาสตรสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ป (พ.ศ.2551 – 2554 ) โดยความเหน็ชอบของคณะกรรมการสงเสรมิ สนับสนุน และประสาน ความรวมมือการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงเก่ียวของกับการสงเสริม สนับสนุนเครือขาย ไว ดังนี้

นโยบายขอท่ี 7 ดานการสงเสริมสนับสนุนภาคีเครือขาย

จุดเนนการดําเนินงาน

7.1 การประสานงานกับคณะกรรมการ มุงเนนใหสถานศึกษาและหนวยงานตาง ๆ ประสานการทํางานรวมกับคณะกรรมการท่ีเก่ียวของตามบทบาทหนาท่ี เพ่ือสรางความเขาใจงาน ดานการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และเสริมสรางโอกาสและบทบาทในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

7.2 การสรางเสริมบทบาทของภาคีเครือขาย มุงเนนใหหนวยงานและสถานศึกษา กศน.ประสานงานและสรางความรวมมือกับภาคีเครือขายทุกระดับ ทุกประเภทใหเขามามีบทบาทในการ จัดการความรู การแลกเปลี่ยนเรียนรู และรวมดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เชน การจัดใหมีสมัชชาภาคีเครือขาย การยกยองเชิดชูเกียรติ ท้ังนี้โดยขจัดอุปสรรคตาง ๆในการทํางานและสรางเสริมบรรยากาศท่ีเอ้ือตอการทํางานรวมกัน

พระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551

ในพระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551

ไดใหความหมายเก่ียวกับภาคีเครือขายวา หมายถึง บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครอง

สวนทองถ่ิน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองคกรอ่ืน รวมท้ัง

สถานศึกษาอ่ืนท่ีมิไดสังกัดสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีสวนรวมหรือมี

วัตถุประสงคในการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย การสงเสริมสนับสนุน

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหยึดหลักเพ่ือดําเนินการจัดการศึกษารวมกับภาคีเครือขาย

ตามมาตราตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ ดังนี้

Page 20: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

15

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

มาตรา 6 การสงเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหยึดหลักดังตอไปนี้

(1) การศึกษานอกระบบ

(ก) ความเสมอภาคในการเขาถึงและไดรับการศึกษาอยางกวางขวาง ท่ัวถึง เปนธรรม และมีคุณภาพเหมาะสมกับสภาพชีวิตของประชาชน

(ข) การกระจายอํานาจแกสถานศึกษาและการใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการ จัดการเรียนรู

มาตรา 7 การสงเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบ ใหดําเนินการเพ่ือเปาหมายในเรื่องดังตอไปนี้

(1) ประชาชนไดรับการศึกษาอยางตอเนื่อง เพ่ือพัฒนาศักยภาพกําลังคนและสังคม ท่ีใชความรูและภูมิปญญาเปนฐานในการพัฒนา ท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม ความม่ันคง และคุณภาพชีวิต ท้ังนี้ตามแนวทางการพัฒนาประเทศ

(2) ภาคีเครือขายเกิดแรงจูงใจและมีความพรอมในการมีสวนรวมเพ่ือจัดกิจกรรม

การศึกษา

มาตรา 10 เพ่ือประโยชนในการสงเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย สวนราชการ หนวยงานของรัฐท่ีเก่ียวของกับภาคีเครือขาย อาจดําเนินการ สงเสริมและสนับสนุนในเรื่องดังตอไปนี้

( 1) สื่อและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาท่ีจําเปนสําหรับการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย และการชวยเหลือดานการเงินเพ่ือการจัดการศึกษานอกระบบ

(2) การจัดการศึกษา การพัฒนาวิชาการและบุคลากร การใชประโยชนจาก

ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา และการยกยองประกาศเกียรติคุณสําหรับผูจัดการเรียนรูการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

(3) สิทธิประโยชนตามความเหมาะสมใหแกผูสงเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบ

(4) การสรางและพัฒนาแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย เพ่ือใหผูเรียนการศึกษา ตามอัธยาศัยสามารถเขาถึงไดตามความเหมาะสม ทรัพยากรอ่ืนท่ีเก่ียวของกับการดําเนินการเพ่ือใหบุคคลและชุมชนไดเรียนรู ตามความสนใจ และความตองการท่ีสอดคลองกับความจําเปนในสังคมของการศึกษาตามอัธยาศัย

มาตรา 11 เพ่ือประโยชนในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ใหสวนราชการและหนวยงานของรัฐท่ีเก่ียวของรวมมือกับภาคีเครือขาย เพ่ือดําเนินการในเรื่องดังตอไปนี้

(1) จัดใหมีโครงสรางพ้ืนฐานเพ่ือการเรียนรู เชน แหลงเรียนรู ศูนยการเรียนชุมชน สื่อและเทคโนโลยีท่ีหลากหลายเพ่ือใหผูเรียนมีโอกาสเขาถึงการเรียนรู

(2) สงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานของภาคีเครือขาย เพ่ือใหเกิดความ รวมมือและการพัฒนาอยางตอเนื่อง

(3) สงเสริมและสนับสนุนใหภาคีเครือขาย ไดรับโอกาสในการจัดสรรทรัพยากรและเขาถึงแหลงเงินทุนเพ่ือการดําเนินงาน

Page 21: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

16

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

มาตรา 13 ใหคณะกรรมการแตงตั้งคณะอนุกรรมการข้ึนคณะหนึ่ง เรียกวา “คณะอนุกรรมการภาคีเครือขาย” ท่ีประกอบดวยภาคสวนตาง ๆ ของสังคม ท่ีเขามามีสวนรวมในการสงเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

มาตรา 16 คณะกรรมการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด มีอํานาจหนาท่ีดังตอไปนี้

(1) ใหคําปรึกษาและรวมมือในการพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยกับภาคีเครือขาย

(2) สงเสริมและสนับสนุนภาคีเครือขาย เพ่ือจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยใหสอดคลองกับนโยบายและมาตรฐานท่ีคณะกรรมการกําหนด

(3) ติดตามการดําเนินการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาและหนวยงานท่ีจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหมีคุณภาพและ มาตรฐานตามท่ีกําหนด และสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาของประเทศรวมท้ังความตองการเพ่ือการพัฒนาของทองถ่ิน

(4) ปฏิบัติงานอ่ืนตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย

มาตรา 18 ใหสถานศึกษาทําหนาท่ีสงเสริม สนับสนุน ประสานงาน และจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยรวมกับภาคีเครือขาย

การดําเนินงานของสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง อาจจัดใหมีศูนยการเรียนชุมชนเปนหนวยจัดกิจกรรมและสรางกระบวนการเรียนรูของชุมชนก็ได

มาตรา 20 ใหสํานักงานจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบ ซ่ึงเปน ระบบการประกันคุณภาพภายในสําหรับสถานศึกษาท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานสอดคลองกับ กฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ

ใหสถานศึกษาดําเนินการประกันคุณภาพภายในใหสอดคลองกับระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน โดยไดรับความรวมมือ สงเสริม และสนับสนุนจากภาคีเครือขายและสํานักงาน

การสรางเครือขายการทํางานการศึกษานอกโรงเรยีน

1. การสรางเครือขายการทํางานการศึกษานอกโรงเรียน

งานการศึกษานอกโรงเรียนก็มีธรรมชาติของงานเหมือนกับงานโดยท่ัวไปท่ีมีข้ันตอน และวิธีการ

ทํางานท่ีเกิดจากผูคนหลายหมูเหลา ในลักษณะชวยกันคิดชวยกันทํา และถาจะวาไปแลว งานการศึกษานอก

โรงเรียนจะมีข้ันตอนการทํางานท่ีสลับซับซอนมากกวางานโดยท่ัวไป ท้ังนี้ เพราะลักษณะงานจะกอตั้งจาก

สภาพปญหาและความตองการของชุมชนเปนหลัก แลวผานข้ันตอนของการวิเคราะห วิจารณ เพ่ือตกผลึก

แลวก็นําไปทดลอง พัฒนา ปรับปรุงและแกไขเพ่ือใหผลของงานบรรลุวัตถุประสงคท่ีวางไว เม่ือพิจารณาใน

องครวมแลว กิจกรรมงานการศึกษานอกโรงเรียนจากจุดเริ่มตน คือจุดคิดไปจนถึงจุดสุดทาย คือ การ

ประเมินผลจะพบวามีสวนเก่ียวของกับบุคคลหลายฝาย ท้ังฝายคน กศน.เอง ฝายคนในชุมชน ฝาย

นักวิชาการ หรือ แมแตหนวยงานภาคเอกชน และภาครัฐ ท่ีมีสวนสนับสนุนชวยเหลือ ใหงานมีความสมบูรณ

Page 22: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

17

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

มากยิ่งข้ึน ดังนั้น อาจกลาวไดวา รูปแบบการทํางานท่ีเหมาะสมท่ีสุดของงานการศึกษานอกโรงเรียน คือ

การทํางานในรูปของ เครือขาย

ในความหมายของการสรางเครือขายของ กศน. อยูบนพ้ืนฐานของหลักการงาย ๆ กลาวคือ

ถาเราตอบโจทย 3 ขอได เราก็จะสรางเครือขายพันธมิตรในการทํางานรวมกับโจทย ท้ัง 3 ขอ ไดแก

ผมทํางานอะไร ทําอยางไร และทําเพ่ือใคร

คุณทํางานอะไร ทําอยางไร และทําเพ่ือใคร

เรา (หมายถึงคุณและผม) จะทําอะไรรวมกัน

คําตอบของโจทยท้ัง 3 ขอ จะชวยใหหนวยงานเกิดความเขาใจในบทบาทหนาท่ีของ

กันและกัน และกอใหเกิดกิจกรรมรวมกัน ซ่ึงเปนสวนท่ีจะชวยใหเกิดเครือขายในการทํางาน

อยางไรก็ตามการสรางเครือขายการทํางาน มิใชเรื่องงายอยางท่ีคิด เพราะธรรมชาติของ คนมักมองวางานท่ีทําอยูก็ลนมืออยูแลว ไมจําเปนตองเสาะแสวงหางานใหมเขามาใหยุงยาก จึงพยายามปดโอกาสในการสรางเครือขายการทํางาน ซ่ึงโดยแทจริงแลวองคกรหรือหนวยงานใด สามารถดําเนินงานในรูปของเครือขายไดจะกอใหเกิดประโยชนอยางมากมายมหาศาล ดร.จรวยพร ธรณินทร ปลดักระทรวงศึกษาธิการ ไดบรรยาย เรื่อง การสรางความเขมแข็งในการบริหารจัดการ แบบเครือขายท่ีโรงแรมรามาการเดนส กทม. เม่ือวันท่ี 25 ตุลาคม 2551 ไดกลาวถึงประโยชนของ การทํางานในรูปของเครือขายไวดังนี้

1. ชวยใหองคกรตัดสินใจไดเร็ว สามารถแกปญหาไดอยางรวดเร็ว ทามกลางความ ไมแนนอน และ

ความสลับซับซอนของปญหา

2. ลดคาใชจายในการบริหารงาน รวมท้ังคาใชจายของผูใชบริการ 3. สามารถใหบริการแกกลุมเปาหมายไดตรงความตองการ

4. เปนการสรางทุนทางสังคมใหแกหนวยงานและประเทศชาติ

5. กอใหเกิดแหลงขอมูลเพ่ิมมากข้ึน

6. เกิดแหลงการแลกเปลี่ยนเรียนรูมากยิ่งข้ึน

7. ทําใหการทํางานเกิดความยืดหยุนโดยการอาศัยความชํานาญและประสบการณของ หลายๆฝาย

8. ทําใหไดรับองคความรูท่ีลึกซ้ึงท่ีเกิดจากผูเชี่ยวชาญโดยตรงจะเห็นไดวาการทํางานในรูปแบบเครือขาย กอใหเกิดประโยชนตอองคกรมากมาย และไมจําเปนตองใชงบประมาณในการใชจายเพ่ิมข้ึนเลย เพียงแตมุงเนนท่ีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทํางาน และสรางความเปนมิตรไวเพ่ิมข้ึน

Page 23: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

18

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

2. องคประกอบสําคัญในการทํางานแบบเครือขาย

ในความเปนจริงในการทํางานในรูปเครือขาย อาจจะไมมีรูปแบบหรือวิธีการท่ีตายตัว ท้ังนี้เพราะวัฒนธรรมในแตละองคกรมีความหลากหลาย ดังนั้น เพียงแตเราเปดใจใหกวาง ยอมรับรูเรื่องราวของคนอ่ืน และคิดเสมอวางานของคนอ่ืน จะประสานกับงานของเราไดอยางไร เทานี้เองก็จะชวยใหการกอตั้งของการทํางานในรูปแบบเครือขาย มีการเคลื่อนตัวไปในทิศทางท่ีพึงประสงคได อยางไรก็ตามในทางทฤษฎีอาจกลาวไดวา องคประกอบสําคัญของการทํางานในรูปเครือขาย ควรประกอบดวยหลักวิชาการและแนวปฏิบัติ ดังตอไปนี้

2.1 หลักการของการทํางานของเครือขาย

2.1.1 ตองถือวาทุกฝายมีเกียรติ / ศักดิ์ศรี / สิทธิ / โอกาสท่ีเทาเทียมกัน

2.1.2 การทํางานในรูปของเครือขาย เปนการทํางานในแนวราบ ไมมีการสั่งการจากฝายใด

2.1.3 จัดเปนกระบวนการเรียนรูท่ีผานการทํางานรวมกัน

2.2 ระดับของความรวมมือ

ในความรวมมือกับการทํางานในรูปของเครือขาย จําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองรูถึง ระดับของความรวมมือ เพราะระดับของความรวมมือจะเปนตัวกําหนดกิจกรรมในการทํางาน ไดมีการแบงระดับความรวมมือไวดังนี้

2.2.1 ระดับเครือขาย ( Networking) เปนความรวมมือในระดับต่ําสุด มีการแลกเปลี่ยนขอมูลตามอัธยาศัย เปนแหลงขอมูลซ่ึงกันและกัน ใชเวลาและความไวใจกันในความรวมมือนอย

2.2.2 ระดับประสานงาน ( Coordination) เปนความรวมมือท่ีสูงกวาระดับเครือขาย มีการแลกเปลี่ยนขอมูล จัดกิจกรรมตามเปาหมายรวมกัน มีกิจกรรมท่ีตองประสานตกลงกัน มีขอจํากัดในการทํางานและการบริหารท่ีไมซํ้าซอน

2.2.3 ระดับความรวมมือ ( Cooperation) มีการแลกเปลี่ยนขอมูลซ่ึงกันและกัน ใชทรัพยากรรวมกัน ซ่ึงตองใชเวลา และมีความไววางใจกันมาก จัดเปนความรวมมือในระดับคอนขางสูง

2.2.4 ระดับทํางานรวมกัน ( Collaboration) เปนระดับความรวมมือสูงสุด มีการทําทุกอยางตามขอตกลง แตมีการสรางศักยภาพของคนทํางานท้ังสองอยางใหบรรลุเปาหมายรวมกัน มีระบบบริหารท่ีตองพ่ึงพากันเพ่ือใหงานสําเร็จ มีการใชทรัพยากรและมีเง่ือนไขผูกพันเทากันท้ังสองฝาย

2.3 รูปแบบการรวมตัวของเครือขาย

ลักษณะการรวมตัวของเครือขาย เปนอีกเรื่องหนึ่งท่ีควรไดศึกษาไว เพราะรูปแบบการรวมตัวจะชวยใหหาระดับรวมกันบรรลุวัตถุประสงคไดคอนขางงาย ในทางปฏิบัติรูปแบบการรวมตัวมักข้ึนอยูกับลักษณะงานท่ีทํารวมกัน ซ่ึงมี 3 รูปแบบ คือ

2.3.1 รวมกลุมสนใจ ( Community of Practice) เปนการทํางานในรูปของเครือขายเฉพาะเรื่อง จะมีการรวมตัวกันในเรื่องท่ีสนใจรวมกัน และชวยกันผลักดันใหภารกิจของ เรื่องท่ีสนใจรวมกันบรรลุเปาหมาย

2.3.2 รวมกลุมหนวยงาน ( Network Organization) เปนการรวมกลุมในลักษณะ ของการนําเอาบทบาทหนาท่ีของหนวยงานเปนตัวตั้ง และรวมกันปฏิบัติภารกิจตามท่ีหนวยงาน รวมกันกําหนด

Page 24: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

19

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

2.3.3 รวมกลุมทางอินเตอรเน็ตไมเห็นตัวกัน ( Virtual Community) เปนการชวยเหลือกันในเชิงวิชาการเปนหลัก จัดเปนการรวมมือท่ีประหยัดเวลา และสะดวกในการทํางานท่ีสุด

2.4 ลักษณะของกระบวนการทํางานในรูปของเครือขาย

ลักษณะของการทํางานในรูปของเครือขาย จําเปนอยางยิ่งตองมีกฎกติกาในการ ทํางานรวมกัน อยาคิดวาเม่ือ เรารูเขารูเราแลวรบรอยครั้งชนะรอยครั้ง เพราะขอตกลงนี้ยังมีน้ําหนัก ไมมากพอท่ีจะใหการทํางานราบรื่นได ดังนั้นลักษณะของการทํางานในรูปแบบของเครือขายท่ีมี ควรมีลักษณะดังตอไปนี้

2.4.1 เครือขายท่ีเกิดข้ึนควรเปนเครือขายท่ีมีผลประโยชนรวมกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งเปนไปในลักษณะของผูผลิต เปนเครือขายท่ีรวมกับผูใชสินคา

2.4.2 การสื่อสารภายในเครือขายควรเปนการสื่อสารสองทาง

2.4.3 เครือขายมีการบริหารจัดการท่ีเปนอิสระของตนเอง

2.4.4 ผูรวมงาน กลุมผูสนใจและเครือขายมีเปาหมายรวมกัน

2.4.5 เครือขายเม่ือเกิดข้ึนแลว ยอมมีการเลิกไปเปนเรื่องธรรมดา

2.4.6 การติดตอประสานงานระหวางเครือขาย ตองมีกฎกติกามารยาทท่ีใชเปน แนวปฏิบัติรวมกัน

2.4.7 เครือขายขนาดใหญ ถาจะใหยั่งยืนตองมีความเปนเจาของ มีขอผูกพันและไดรับผลตอบแทนท่ีคุมคา

2.5 จุดเส่ียงของการทํางานในรูปเครือขาย

ขอแนะนําตอไปนี้เปนจุดเริ่มตนของการทํางานในรูปเครือขาย ท่ีองคกรหรือหนวยงานท้ังหลายตองพึงหลีกเลี่ยงและระมัดระวัง เพ่ือใหการดําเนินงานในรูปของเครือขายมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน

∗ เครือขายทํางานไประยะหนึ่ง อาจติดยึดไมอยากใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

∗ เครือขายอาจเริ่มเบี่ยงเบน ไมเปนท่ีสนใจของสมาชิก

∗ เครือขายอาจเริ่มกอตั้งโดยไมมีวิสัยทัศน ความตองการไมตรงกันทําใหภารกิจไมชัดเจน

ไมมีการกําหนดบทบาททุกฝายไวชัดเจน

∗ กลุมผูรูบางคน หรือบางหนวยงาน อาจมีความเขมแข็งทําใหอิทธิพลเหนือผูอ่ืน ซ่ึงอาจทําลายบรรยากาศของความรวมมือ

2.6 อุปสรรคของการจัดการความรวมมือ

นอกเหนือจากจุดเริ่มของการทํางานในรูปเครือขายแลว เรื่องของอุปสรรคในการ จัดการความรวมมือของเครือขาย ก็เปนเรื่องท่ีพึงระมัดระวังดวย ท้ังนี้ เพราะองคประกอบของการ ทํางานในรูปของเครือขายท่ีสําคัญท่ีสุด คือ “คน” และพฤติกรรมของคนเปนสิ่งท่ีทําใหเกิดอุปสรรคในการทํางานมากมาย ดังนั้นในการทํางาน เรามักจะพบกับปญหาและอุปสรรคดังตอไปนี้

2.6.1 ผูคนรูสึกวาเปนเรื่องยาก ไมมีแรงพลังพอท่ีจะทําใหเครือขายความรวมมือเปนไปอยางตอเนื่อง

Page 25: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

20

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

2.7 ลักษณะของหนวยงานท่ีมีความรวมมือท่ีดีกับหนวยงานอ่ืน

พฤติกรรมบางอยางท่ีผูคนในองคกรและนอกองคกร สังเกตเห็นไดโดยงาย เปนสิ่งท่ีบงบอกถึงลักษณะของหนวยงานอ่ืน พฤติกรรมเหลานั้นไดแกสิ่งเหลานี้แมจะเปนองคกรขนาดใหญแตก็ทําอะไรไดอยางรวดเร็ว

มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความรูอยางเปดเผย ซ่ือตรง เพ่ือเปนการขจัดความคิดเห็นท่ีไมเขาทา มีความคิ ดรวมกัน และยอมรับนับถือการทําดีของบุคคลในหนวยงาน

ปรัชญาของความรวมมือ

ภายใตผลงานท่ีปรากฏวาหนวยงานนั้นมีความรวมมือท่ีดีตอหนวยงานอ่ืน ถาเราจะหันกลับมามองถึงมูลเหตุของแรงจูงใจท่ีกอใหเกิดพฤติกรรมของความรวมมือท่ีดี จะพบวาหนึ่งในปจจัยท้ังหลายท่ีมีสวนชวยใหหนวยงานประสบความสําเร็จไดนั้น คือ การนําปรัชญาของความ รวมมือมาใชในหนวยงาน ซ่ึงปรัชญาของความรวมมือ ไดแก สงเสริมใหผูปฏิบัติงาน มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรูดานความคิด และขาวสารขอมูลซ่ึงกันและกันใหมากท่ีสุดลดเง่ือนไขและปจจัยปดก้ันการมีสวนรวมคิดรวมทําของคนทุกคนในหนวยงานใหขาวสารขอมูลแกผูปฏิบัติงานใหมากท่ีสุดสงเสริมและจูงใจใหผูปฏิบัติคิดคนนวัตกรรมใหม ๆ กระตุนใหผูปฏิบัติงาน เกิดความรูสึกเปนเจาของในผลลัพธของงานท่ีดี แมไมใชเปนเจาของตนความคิดก็ตาม

3. ข้ันตอนของกระบวนการสรางเครือขายการทํางาน

ดังคํากลาวท่ีวา หลายหัวดีกวาหัวเดียว เปนจริงเสมอในการทํางานทุกงาน ท้ังนี้ เพราะถาคน

หลายคนชวยกันคิด ชวยกันทํา ชวยกันวิเคราะหและทบทวน รวมท้ังชวยกันประเมินผล คําตอบสุดทายท่ีได

คือ ผลสัมฤทธิ์ของงานจะบรรลุวัตถุประสงคท่ีวางไวอยางแนนอน ในทาง ตรงกันขาม งานชิ้นหนึ่งมีผูคิด

ทํา วิเคราะห หรือข้ันตอนอ่ืน ๆ ของงานท่ีมีคนทําอยูเพียงคนเดียว โอกาสแหงความสําเร็จคงมีนอย ท้ังนี้

เพราะอาจคิดไมถึง ขาดข้ันตอนท่ีสําคัญ ตีความในโจทยบางขอไมออก หรือมีการประเมินท่ีผิดวิธี สิ่งเหลานี้

เกิดข้ึนไดเสมอ ถางานนั้นมีคนทําและรับผิดชอบเพียงคนเดียว ดังนั้น หลายหัวยอมดีกวาหัวเดียวเสมอ ใน

ความหมายนี้ การทํางานท่ีมีความรวมมือชวยเหลือจากหนวยงานอ่ืนในลักษณะกัลยาณมิตร ยอมมีนัย

เหมือนกับคําวา หลายหัวท่ีชวยกันคิดชวยกันทํางาน

ประเด็นสําคัญอยูท่ีวา แลวเราจะเริ่มสรางเครือขายการทํางานไดอยางไร อะไรคือจุดเริ่มตน และจะสรุป

สุดทายอยางไรจึงจะสรางเครือขายความรวมมือใหมีความสมบูรณท่ีสุด คําแนะนํา ตอไปนี้เปนคําแนะนําท่ี

สามารถนําไปสรางเครือขายความรวมมือไดอยางเปนรูปธรรมมากท่ีสุด

Page 26: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

21

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

3.1 ข้ันตอนของการสรางกระบวนการเครือขายความรวมมือ

3.1.1 ทําใหเกิดความรูสึกของคนในหนวยงาน ถึงความเรงดวนท่ีตองมีเครือขาย โดยการประเมินสถานการณตาง ๆ ท่ีมีผลกระทบตอความสําเร็จหรือลมเหลวตามวัตถุประสงค ภายใตเง่ือนไขมีหรือไมมีเครือขายความรวมมือ และชี้ใหเห็นวิกฤติและโอกาส ทางเลือกของความสําเร็จ

3.1.2 กอตั้งแกนนําเครือขายความรวมมือดวยการรวมตัวกันของคนใน หนวยงานตนเอง และกลุมตองมีพลังพอท่ีจะขับเคลื่อนความรวมมือในการทํากิจกรรมรวมกันของ แกนนํา

3.1.3 รวมกันสรางจินตภาพ / วิสัยทัศนของความรวมมือ และกําหนด กลยุทธไปสู

ความสําเร็จ

3.1.4 ขยายการรับรูและยอมรับในวิสัยทัศนใหม ดวยการใชทุกชองทาง ในการสื่อวิสัยทัศนใหมและกลยุทธของกลุมแกนนํา รวมท้ังลงมือกระทําใหเห็นเปนตัวอยาง

3.1.5 ขับเคลื่อนการกระทํากิจกรรมระหวางหนวยงาน ลดอุปสรรคเปลี่ยน ระบบและโครงสรางท่ีหม่ันทวนการเปลี่ยนแปลง สงเสริมใหเกิด “ความคิดใหม และการทําใหมท่ีด”ี

3.1.6 ชื่นชมความสําเร็จทีละเล็กละนอย กําหนดและชื่นชมการปรับปรุง ผลงานท่ีเริ่มเกิดข้ึนใหม ชื่นชมสรรเสริญคนท่ีปรับปรุงตนเอง สรางกระแสความเชื่อใน ความสําเร็จแมจะเปนเรื่องเล็กก็ตาม

3.1.7 ผนึกกําลังใหผลความสําเร็จกอตัวเปนคลื่นของการเปลี่ยนแปลง เม่ือความคิดเริ่มเคลื่อนเปลี่ยน รีบปรับระบบโครงสราง และนโยบายใหคลอยตาม ตอกย้ําความเชื่อม่ันดวยโครงสรางใหมและแกนนําการเปลี่ยนแปลงหนาใหม

3.1.8 ปลูกฝงแนวทางการทํางานแบบเครือขายใหเปนวัฒนธรรม ผลงานท่ีดีมาจากความรวมมือและการยึดจุดมุงหมายรวมกัน ผนวกกับการมีภาวะผูนําท่ีดีเชื่อมโยงใหเห็นวา พฤติกรรมความรวมมือระหวางหนวยงาน นําไปสูความสําเร็จของวัตถุประสงค รวมกันคิดดวยกลไกและหนทางท่ีพัฒนาภาวะผูนํา และการสรางผูนําเครือขายความรวมมือของคนรุนใหม

3.2 แนวทางการเสริมสรางความรวมมือระหวางหนวยงาน

นอกเหนือจาก 8 ข้ันตอนสําคัญในการสรางกระบวนการเครือขายความรวมมือแลว เพ่ือใหเกิดความสมบูรณของการสรางความรวมมือของเครือขายมากยิ่งข้ึน จึงไดพยายาม เสริมเติมเต็มในเรื่องของแนวทางการเสริมสรางความรวมมือระหวางหนวยงาน ดังนี้

∗ มีการบริหารแบบมีสวนรวมของผูปฏิบัติงาน

∗ ผูบริหารมีหนาท่ีในการเปนผูอํานวยความสะดวก

∗ สรางวิสัยทัศนของกลุมผูปฏิบัติงาน

∗ ผูปฏิบัติงานมีสวนรวมแข็งขันในกระบวนการทํางาน

∗ ทุกคนเปนกําลังสําคัญของกลุม

∗ ผูปฏิบัติงานเห็นและเขาใจความสัมพันธระหวางงาน

∗ มีการเปดโอกาสรับฟงและติชมผลงาน

Page 27: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

22

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

∗ งานท่ีทําสรางความรูสึกพอใจและความสําเร็จแกผูปฏิบัติ

∗ มีการทบทวนสะทอนความคิดตอสิ่งท่ีไดทําไปแลว

∗ มีการเรียนรูผลการทํางาน เพ่ือปรับปรุงทักษะและผลงานอยางตอเนื่อง

∗ สมาชิกกลุมทุกคนสามารถพัฒนาทักษะ และความเชี่ยวชาญของคนอยางตอเนื่อง

3.3 แนวโนมเครือขายทางการศึกษา

ปจจุบันสถานการณของโลกเปลี่ยนแปลงไปมาก สงผลใหเกิดการปรับตัวให

สอดคลองกับสถานการณทางสังคม ในแวดวงทางการศึกษาก็เชนกัน จําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองมีการปรับเปลี่ยนทิศทางการดําเนินงานใหสอดคลองกับบริบทท่ีเปลี่ยนไปทางสังคม ดังนั้นแนวโนมเครือขายทางการศึกษานาจะมีสถานการณดังตอไปนี้

3.3.1 สถานศึกษาแตละแหงมีอิสระและไดรับอํานาจในการจัดการมากข้ึน เพ่ือ ปรับปรุงคุณภาพการศึกษาใหพัฒนาอยางยั่งยืน

3.3.2 มีเสียงเรียกรองใหสถานศึกษาเรงมือสรางชุมชน โดยการดึงชุมชนมาเปน

เครือขาย

การสรางเครือขายทําใหความรวมมือกวางและลึก มีการทํางานในรูปแบบประชาธิปไตย ทุกฝายมีสวนรวมเสมอ มีการสรางแรงจูงใจมากกวาท่ีจะเปนฝายรับนโยบายท่ีสงมาอยางตอเนื่อง

การพัฒนาศักยภาพการทํางาน กศน.รวมกับภาคีเครือขาย

1. วิธีการสรางเครือขายการทํางาน กศน.

ตามพระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดบัญญัติ ให

หนวยงาน สถานศึกษาสังกัดสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจัด การศึกษา

รวมกับภาคีเครือขาย ไดแก บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน องคกร

เอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองคกรอ่ืน ๆ รวมท้ังสถานศึกษาอ่ืนท่ีมิได

สังกัดสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงในการจัดทําพระราชบัญญัติดังกลาว

ไดมีภาคีเครือขายเปนผูรวมคิดในการจัดทําพระราชบัญญัติสงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัยเปนการจัดการศึกษาท่ียึดหลักของการสงเสริมการสรางสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต

ดังนั้นงานการศึกษานอกโรงเรียนไมเพียง เปนการมองเฉพาะการใหบริการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

เทานั้น แตเปนการจัดการศึกษา เพ่ือสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตท่ีจะกอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ

ประชาชนและสอดคลองกับวิถีชีวิตความเปนอยูของชุมชน ในสภาพปจจุบันสภาพสังคมไทยไดเปลี่ยนแปลงไป

และบางสวนกําลังกาวเขาสูสังคมสารสนเทศท่ีเคลื่อนตัวไปอยางพลวัตในยุคโลกาภิวัตน ไมสามารถฉุดรั้งสังคม

ใหอยูกับท่ีได ทําใหเกิดปญหามากมายในสังคมเมืองและในสังคมชนบท ครอบครัวมีหนี้สิน ปญหายาเสพ

ติดแพรระบาด ชุมชนพ่ึงพาตนเองไมได การจัดการศึกษานอกระบบจึงมีรูปแบบท่ีหลากหลาย ยืดหยุน

ข้ึนอยูกับสภาพปญหาและความตองการของชุมชน กระบวนการจัดการ ศึกษานอกระบบจึงเนนกิจกรรมท่ี

กอใหเกิดกระบวนการเรียนรูเพ่ือสรางความเขมแข็งและ

Page 28: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

23

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

การ พ่ึงพาตนเองอยางยั่งยืนใหกับชุมชน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยท่ีนอกจากการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือเปนพ้ืนฐานชีวิตใหเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่องใหกับ

ประชาชนแลว การจัดการศึกษายังรวมถึงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต และพัฒนา

สังคมและชุมชน อีกดวย

การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยดวยบุคลากร กศน. ตามลําพัง ภายใต

ทรัพยากรท่ีมีอยางจํากัด จึงไมสามารถตอบสนองตอชุมชนใหเกิดการเรียนรูเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเอง

ไดอยางตอเนื่องได จากความหลากหลายของกลุมเปาหมายท่ีอยูในพ้ืนท่ี และมีสภาพปญหาในการดําเนินชีวิต

ท่ีซับซอนเก่ียวของกับบุคคลหลายฝาย ประกอบกับมีบุคลากรจาก หลายหนวยงานปฏิบัติงานเพ่ือการพัฒนา

ในพ้ืนท่ีอยูแลว และมีกลุมเปาหมายเดียวกันกับ กศน. ดังนั้นการเชื่อมสัมพันธกับภาคีเครือขายเพ่ือการ

ทํางานรวมกันอยางกัลยาณมิตร จึงเปนแนวทาง หนึ่งของการทํางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยใหประสบผลสําเร็จ ในการ ทํางานรวมกับภาคีเครือขายการยึดเปาหมายรวมกันและเรียนรูการ

ทํางานไปพรอมกัน มีอิสระในการทํางาน สงเสริมกระบวนการเรียนรูซ่ึงกันและกัน บนความไวเนื้อเชื่อใจกัน

จะทําใหหนวยงาน กศน.และหนวยงานภาคีเครือขาย ไดรับผลประโยชนท่ีเกิดจากความรวมมือกันท้ังสองฝาย

ท่ีผานมาองคกรเครือขายท่ีรวมจัดการศึกษานอกระบบสวนใหญเปนกลุมองคกรท่ีมี ประสบการณการทํางานในพ้ืนท่ีรวมกันมากอน มีความคุนเคยในฐานะปจเจกบุคคล ซ่ึงเปนความสนใจเฉพาะบุคคลมากกวาการเปนตัวแทนของหนวยงานหรือองคกรนั้น ๆ ในพ้ืนท่ี การเปนภาคีเครือขายเกิดจากการรวมเปนคณะทํางาน มีสวนรวมในการใหการสนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ บุคลากร รวมท้ังดานวิชาการเพ่ือการบรรลุเปาหมายการทํางานรวมกัน

ความเปนกัลยาณมิตรของภาคีเครือขาย จะกอใหเกิดกระบวนการมีสวนรวมในการ ทํางานท่ีสรางความกระจางในเรื่องท่ีอยูในความสนใจรวมกัน มีความคิดในเชิงบวกของการทํางานรวมกัน รวมกันสรางสรรคงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีจะกอใหเกิด สังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตรวมกัน ซ่ึงเปนการรวมกันทํากิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอประเทศชาติ เปนการเรียนรูจากการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีกอใหเกิดการเรียนรู ตลอดชีวิต หากภาคีเครือขายมีความรู ความเขาใจและเห็นความสําคัญของการจัดการศึกษานอกโรงเรียนแลว จะเกิดพลังในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษานอกโรงเรียนใหดําเนินการไปไดอยางมีประสิทธิภาพ

การสรางเครือขายการทํางาน กศน. ในระดับจังหวัด

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ทําหนาท่ี เปนผูนํานโยบาย และนําองคความรูสูการปฏิบัติ ประสานภาคีเครือขายในระดับองคกร แหลงเรียนรู ภูมิปญญา เพ่ือสรางฐานขอมูล และฐานความรูใหบริการแกศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ และรวมกับองคกรภาคีเครือขายในระดับจังหวัด ดําเนินการดังนี้

1. พัฒนาฐานขอมูลองคกรภาคีเครือขาย

2. กําหนดบทบาทหนาท่ีรวมกับองคกรภาคีเครือขาย

3. พัฒนาฐานความรูเชิงวิชาการท่ีสถาบัน กศน.ภาคพัฒนาจัดทําเปนองคความรู

Page 29: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

24

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

4. พัฒนาศักยภาพคนในองคกร กับภาคีเครือขายใหทัดเทียมกัน เพ่ือยกระดับ ความรู

5. กําหนดแนวทาง วิธีการติดตาม ประเมินผลการทํางานรวมกับภาคีเครือขายของศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ

6. รวมสรางงานและสงเสริมใหเกิดกิจกรรมใหม ๆ ในการทํางานรวมกับภาคีเครือขาย

การสรางเครือขายการทํางาน กศน. ในระดับอําเภอ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ และสถานศึกษาพิเศษ สังกัดสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เปนหนวยงานท่ีตอง ดําเนินการจัดการศึกษารวมกับภาคีเครือขาย ท้ังการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต การพัฒนาอาชีพ การพัฒนาสังคมและชุมชน รวมท้ังการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยใน รูปแบบตาง ๆ ใหกับชุมชน ในการดําเนินการจัดการศึกษารวมกับภาคีเครือขายท่ีผานมา สถานศึกษา กศน.มีการสํารวจขอมูลพ้ืนฐานของเครือขาย เพ่ือนํามาวิเคราะหหาแนวทางในการทํางานรวมกัน ซ่ึงในบางสถานศึกษามีการวิเคราะหจุดออนจุดแข็งรวมกับเครือขาย มีการหารือ แนวทางการทํางานรวมกัน ท้ังเปนทางการและไมเปนทางการ สรางความสัมพันธ สรางอุดมการณในการทํางานรวมกัน การสรางภาคีเครือขายเพ่ือการทํางานรวมกันข้ึนอยูกับวัตถุประสงค และ เปาหมายของแตละกิจกรรม ในการทํางานการสรางเครือขายการทํางาน กศน. สถานศึกษา กศน. ระดับอําเภอใชยุทธศาสตรของการทํางานในลักษณะการเปดตัวใหเครือขายเห็นความสําคัญของ งาน กศน. เม่ือเปาหมาย อุดมการณการทํางานตรงกัน ชัดเจน จะมีการจัดทําบันทึกขอตกลงการทํางานรวมกัน ( MOU) และมีการสรุปบทเรียนการทํางานในแตละโครงการ รายงานผลให สํานักงาน กศน.จังหวัดทราบ การทํางานรวมกับเครือขายในแตละโครงการจึงไดรับความรวมมือจากเครือขายในระดับท่ีแตกตางกัน ความรวมมือจากเครือขายจึงมีลักษณะท่ีหลากหลาย ข้ึนอยูกับวัตถุประสงคของโครงการและความสัมพันธของบุคคลเปนหลัก ซ่ึงการมีสวนรวมจะเปนลักษณะของการรวมคิด รวมวางแผน รวมปฏิบัติ รวมประเมินผล รวมรับผลประโยชน รวมท้ังการมีสวน รวมในการสนับสนุนงบประมาณ และทรัพยากรอ่ืนๆ เพ่ือเอ้ืออํานวยการจัดกิจกรรมใหบรรลุ วัตถุประสงคตามเปาหมายท่ีหนวยงาน สถานศึกษา กศน.และภาคีเครือขายกําหนดไว

การสรางเครือขายการทํางาน กศน. ในระดับตําบล

ศูนยการเรียนชุมชนเปนแหลงเรียนรูท่ีอยูในชุมชน มีครูประจํากลุมหรือครูศูนย การเรียนชุมชนเปนผูดูแล จัดกระบวนการเรียนรูรวมกับภาคีเครือขาย ครูจึงมีความสําคัญอยางมากในการประสาน เชื่อมโยงการทํางาน กศน.รวมกับภาคีเครือขาย ท้ังภาคีเครือขายท่ีเปนบุคคล ชุมชน องคกร ท้ังภาครัฐและเอกชนท่ีปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีอยูกอนแลว รวมท้ังเครือขายท่ีเปนองคกรสวนทองถ่ินท่ีมีหนาท่ีในการพัฒนาประชาชนท่ีอยูในพ้ืนท่ี การสรางภาคีเครือขายการ ทํางาน กศน.ท่ีผานมา ครูซ่ึงเปนผูจัดกิจกรรมการเรียนรูในชุมชนจึงตองมีทักษะ เทคนิค วิธีการ ทํางานกับเครือขาย ซ่ึงทักษะดังกลาวจากการถอดองคความรูการสรางเครือขายการทํางาน กศน. ทําใหทราบวา ครูตองเปนผูมีมนุษยสัมพันธและบุคลิกภาพท่ีดีจึงจะทําใหเครือขายมีความไววางใจ เ ชื่อม่ันในศักยภาพของครู และพรอมท่ีจะทํางานรวมกัน ใหการสงเสริมสนับสนุน และรวมมือในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียน การสรางเครือขายการทํางาน กศน. ครูจะตองมีคุณลักษณะ ดังนี้

Page 30: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

25

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

1) มีความรูความเขาใจในงาน กศน. ครูจะตองรูถึงเปาหมายของการทํางาน กศน. ในแตละโครงการหรือแตละกิจกรรมไดอยางชัดเจน มีทักษะของการเปนผูประสานงาน รูจัก แสวงหาความรูในชุมชน เปนวิทยากรกระบวนการหรือผูอํานวยความสะดวก ในการสงเสริมการจัดการเรียนรูใหกับประชาชน ซ่ึงจะทําใหเครือขายมีความเชื่อม่ันเห็นความสําคัญในงาน กศน. รวมท้ังเห็นศักยภาพในตัวครู กศน. อยากมีสวนรวมในกิจกรรมท่ีกอการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหกับประชาชนรวมกันกับ กศน.

2) บุคลิกลักษณะของครู กศน. ครูตองมีบุคลิกลักษณะท่ีนาเชื่อถือ สรางความม่ันใจใน การทํางานรวมกันใหกับภาคีเครือขายได มีจิตอาสาในการทํางาน กศน. มีมารยาททางสังคม ใหเกียรติกับเครือขายในการทํางานรวมกัน ออนนอมถอมตน มีความรักและศรัทธาในอาชีพครู มุงม่ันในการทํางาน ประสานงานเพ่ือใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูในการพัฒนางานอยางตอเนื่อง มีความเขาใจยอมรับในความแตกตางของวัฒนธรรมการทํางานของ กศน.และเครือขาย

2. ปญหาอุปสรรคในการสรางเครือขายการทํางาน กศน.

ในการสรางภาคีเครือขายการทํางาน กศน. จากการดําเนินงานจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีผานมา พบวา หนวยงาน สถานศึกษา กศน.ท่ีปฏิบัติงานในพ้ืนท่ี มี ขอจํากัดหลายประการท่ีสงผลใหการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไมบรรลุ เปาหมายไดอยางมีคุณภาพ การสรางเครือขายเพ่ือรวมมือในการจัดการศึกษา ยังคงมีความสําคัญในการผลักดันการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหบรรลุเปาหมายอยางมีคุณภาพ ปญหาอุปสรรค ในการสรางเครือขายการทํางาน กศน. จึงเปนขอมูลหนึ่งท่ี สะทอนผลการดําเนินงานในพ้ืนท่ีในระดับตาง ๆ ดังนี้

ปญหาอุปสรรคในการสรางเครือขายการทํางาน กศน.ระดับอําเภอ

ปญหาภายในองคกร

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเปนสถานศึกษาท่ี ใหบริการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในพ้ืนท่ี มีหนาท่ีประสานเครือขายเพ่ือรวมจัดการเรียนรู ผูบริหาร และครู กศน.เปนหัวใจสําคัญของการประสานงานเครือขายในการจัดการเรียนรู ในการดําเนินการจัดการศึกษาท่ีผานมามีปญหาอุปสรรคในการสรางเครือขาย การทํางาน กศน. คือ การขาดภาวะผูนํา ขาดบุคลิกภาพท่ีดี ขาดภูมิรู ภูมิฐาน และภูมิธรรม ขาดระบบการบริหารจัดการท่ีดี ไมกระจาย อํานาจใหอิสระในการตัดสินใจแกผูใตบังคับบัญชา ในสวนของบุคลากรซ่ึงเปนครูกศน. ขาดทักษะของการทํางานในลักษณะจิตอาสา รวมท้ังขาดทักษะในการสรางความสัมพันธอันดีกับเครือขาย

ปญหาภายนอกองคกร

จากปญหาภายในองคกรดังกลาว สงผลใหเครือขายไมใหความสําคัญในการ สงเสริม สนับสนุนการทํางานรวมกับ กศน. ซ่ึงบางครั้งตางฝายตางมองท่ีผลประโยชนของตนเองเปนหลัก เครือขายจะมีสวนรวมในกิจกรรมหรือโครงการโดยดูท่ีความชัดเจนในวัตถุประสงคหรือเปาหมายของงาน เม่ือการจัดกิจกรรมเสร็จสิ้นไมมีการสานตอความสัมพันธอยางตอเนื่อง เชน การถอดบทเรียนรวมกัน หรือการสรางความสัมพันธอ่ืนท่ีจะเปนการสงเสริมการสรางความสัมพันธท่ีดีรวมกัน ทําใหการดําเนินงานตามภารกิจของสถานศึกษา กศน.รวมกับเครือขายไมครอบคลุมทุกกิจกรรม

Page 31: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

26

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

ปญหาอุปสรรคในการสรางเครือขายการทํางาน กศน.ระดับตําบล

ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครู กศน.ตําบล และครูศูนยการเรียนชุมชน นอกจากการเปน ผูจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในพ้ืนท่ีแลว ครูยังมีภาระหนาท่ีใน การสรางความสัมพันธกับชุมชน และหนวยงานตาง ๆ ท่ีปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีเพ่ือรวมจัดกิจกรรมการเรียนรูใหกับประชาชน ปญหาอุปสรรคในการสรางเครือขายการทํางาน กศน.ในพ้ืนท่ี เกิดจากการท่ี ครูไมเขาใจบทบาทหนาท่ีของงานการศึกษานอกโรงเรียนอยางชัดเจน และไมเขาใจในวัฒนธรรม การทํางานของเครือขายในแตละพ้ืนท่ี ขาดความเขาใจในวิธีการทํางานในรูปแบบของ กศน. ขาดทักษะการประชาสัมพันธงานการศึกษานอกโรงเรียน วิธีการประสานงานกับผูนําชุมชน เพ่ือใหผูนําชุมชนเห็นความสําคัญของการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต ใหกับคนในชุมชน การประสานงานระหวางครูกับเครือขายไมเกิดความตอเนื่อง ครูไมไดอาศัย อยูในพ้ืนท่ีและตองมีคาใชจายในการเดินทางเขาพ้ืนท่ี นอกจากการสรางความสัมพันธท่ีดี รวมกันในการทํางานรวมกับเครือขายแลว เครือขายยังตองการขวัญกําลังใจ และสิ่งตอบแทนอีกดวย

3. การพัฒนาศักยภาพของเครือขายการทํางาน กศน.

การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เปนการจัดการศึกษาใหกับ ประชาชนกลุมเปาหมายท่ีมีความหลากหลาย ท้ังอายุ อาชีพ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตท่ีแตกตางกัน ตามสภาพบริบทสังคมท่ีอยูในแตละพ้ืนท่ีของประเทศไทย การจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย จึงตองรวมมือกับภาคีเครือขายในการจัดการเรียนรูใหกับประชาชนซ่ึงเปนกลุมเปาหมายรวมกัน การพัฒนาศักยภาพของเครือขาย จึงเปนยุทธศาสตรหนึ่งท่ีจะสรางพลังใน การขับเคลื่อนการจัดการศึกษานอกระบ บและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีคุณภาพมากยิ่งข้ึนได จากการถอด องคความรู ของหนวยงาน สถานศึกษา กศน.ในทุกระดับ ซ่ึงเกิดจากประสบการณการ ทํางานรวมกับภาคีเครือขายของผูรวมถอดบทเรียน ไดมีการเสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพของ เครือขายการทํางาน กศน. ไวในแตละระดับ ดังนี้

สํานักงาน กศน.จังหวัด

∗ สํารวจความพรอม ความตองการของภาคีเครือขายในการมีสวนรวมสงเสริมการจัดการเรียนรูตลอดชีวิต

∗ ประชาสัมพันธงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทุกรูปแบบเพ่ือใหเครือขายเขาใจ และมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

∗ กําหนดใหมีกิจกรรมสรางความสัมพันธรวมกันกับภาคีเครือขาย อยางนอย อําเภอละ 1 กิจกรรม

∗ กํากับ ติดตาม ประเมินผล โดยการถอดบทเรียนการทํางานรวมกันกับภาคีเครือขายในทุกกิจกรรมอยางตอเนื่อง

∗ การพิจารณาบุคลากรเขาทํางานในหนวยงาน กศน.ควรกําหนดคุณสมบัติเฉพาะในดานการประสานเครือขายไวพิจารณาดวย

Page 32: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

27

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

∗ มีการกําหนดมาตรการจูงใจ เพ่ือสรางขวัญกําลังใจกับหนวยงาน สถานศึกษาท่ีมีการประสานและรวมมือกับเครือขายจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียน และมีการถอดองคความรูการสรางเครือขายการทํางาน กศน. เพ่ือสรางความรูใหมในการพัฒนางาน กศน.

∗ กําหนดระดับความสําคัญกับภาคีเครือขาย เพ่ือประเมินผลการสรางเครือขายการทํางาน ของหนวยงาน สถานศึกษา กศน.ดังนี้

ระดับท่ี 1 มีฐานขอมูล รูวาใคร ทําอะไร อยูท่ีไหน

ระดับท่ี 2 มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู ถอดบทเรียนการทํางานรวมกัน

ระดับท่ี 3 มีกิจกรรมรวมกัน อยางนอย 1 ประเด็น

ศูนย กศน.อําเภอ

∗ ใหความสําคัญกับเครือขาย และรวมมือกับเครือขายจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหบรรลุเปาหมาย

∗ จัดทําฐานขอมูลของเครือขาย และกําหนดเปาหมายการทํางานใหชัดเจน ท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

∗ ผูบริหารและครู กศน.ตองรูจักการบูรณาการกิจกรรม กศน.ใหสอดคลองกับภารกิจของเครือขาย

∗ มีการจัดทําแผนและกําหนดกิจกรรมรวมกันระหวาง กศน.กับภาคีเครือขาย

∗ มียุทธศาสตรการทํางานในเชิงรุก โดยใชเครือขายเปนเครื่องมือในการทํางานใหบรรลุเปาหมาย

∗ ไววางใจครู โดยใหครู กศน.ปฏิบัติงานอยูประจําในพ้ืนท่ี เพ่ือจัดทําขอมูลเครือขายท่ีเปนประโยชนรวมกัน สรางความสัมพันธและประสานงานกับเครือขายอยางตอเนื่อง

∗ ผูบริหารตองทันเหตุการณ รูวากิจกรรมใดท่ีกําลังดําเนินการในชุมชน

∗ สรางอุดมการณการทํางานใหกับครู กศน. ซ่ึงตองมีจิตอาสาในการทํางานรวมกับเครือขายโดยมีบทบาทเปนผูเชื่อมประสานงานในทุกมิติในเกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหกับประชาชน

∗ พัฒนาศักยภาพครู กศน.ใหทํางานในชุมชนไดดวยตนเอง

∗ มีการยกยอง เชิดชูเกียรติ สรางขวัญกําลังใจใหกับครู และภาคีเครือขาย

กศน.ตําบลและศูนยการเรียนชุมชน

1) จัดทําฐานขอมูลเครือขายในระดับตําบล ชุมชน ทําความเขาใจในภารกิจงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหชัดเจน

2) จัดอบรมพัฒนาครู กศน. ใหมีทักษะในการทํางานรวมกับภาคีเครือขาย

3) จัดสรรงบประมาณใหกับครู กศน. เปนคาเดินทางในการประสานงานจัดกิจกรรมรวมกับภาคีเครือขาย

4) ผูบริหาร หรือขาราชการในศูนยฯอําเภอ ควรเปนพ่ีเลี้ยงใหกับครูในการสรางความเขาใจในการทํางานรวมกับเครือขายในพ้ืนท่ี

Page 33: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

28

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

5) ผูบริหารควรใหความสําคัญในการจัดกิจกรรมรวมกับภาคีเครือขาย เพ่ือสรางความสัมพันธอยางกัลยาณมิตรรวมกับเครือขายอยางตอเนื่อง และสรางภาพลักษณท่ีดีใหกับองคกร

6) สรางขวัญ กําลังใจ ใหกับภาคีเครือขาย โดยการใหเกียรติ ยกยอง เชิดชูภาคีเครือขาย

การสรางเครือขายการทํางาน กศน. เปนกระบวนการสรางเครือขายทางสังคมเพ่ือความ รวมมือในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามพระราชบัญญัติสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 รวมท้ังนโยบายและยุทธศาสตรการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในปงบประมาณ 2552 ไดเนนย้ําให หนวยงาน สถานศึกษา สังกัด กศน. สงเสริม สนับสนุน รวมมือกับภาคีเครือขายจัดการศึกษา รวมกัน จากการถอดองคความรูในประเด็นการสรางเครือขายการทํางาน กศน.จากการปฏิบัติจริง ของบุคลากร กศน.ในแตละพ้ืนท่ี พบวา การสรางเครือขายเริ่มกอเกิดจากความสัมพันธในระดับ ปจเจกบุคคล นั่นคือ ผูบริหาร ครูในหนวยงาน สถานศึกษาสังกัด กศน. มีการสรางความสัมพันธสวนบุคคลในการทํางานรวมกันในระดับพ้ืนท่ีมากอน กอใหเกิดความคุนเคย เกิดความสัมพันธ สวนบุคคลและเคยรวมจัดกิจกรรมในพ้ืนท่ีรวมกันมากอน มีความไววางใจในการทํางานซ่ึงกัน และกัน จากนั้นมีการพัฒนาความสัมพันธในระดับกลุม องคกร กระบวนการความรวมมือท่ี กอใหเกิดการทํางานรวมกันข้ึนอยูกับวัตถุประสงคและเปาหมายของการจัดกิจกรรมในแตละโครงการเปนหลัก เม่ือมีเปาหมายการทํางานในโครงการนั้น ๆ ตรงกัน ความรวมมือในการทํางานใน แตละครั้งจึงเกิดข้ึน

กระบวนการในการทํางานรวมกัน หนวยงาน สถานศึกษา กศน. มีการศึกษาขอมูลพ้ืนฐานเพ่ือทราบถึงบริบทของเครือขาย จากการพูดคุยเปนการสวนตัว และการรวมประชุมเพ่ือใหทราบถึง วัตถุประสงคของความรวมมือในการมีสวนรวมจัดการศึกษา ขอมูลท่ีเก่ียวกับตัวบุคคลท่ีเปน ผูประสานงานของภาคีเครือขาย ความรับผิดชอบในบทบาทหนาท่ีตางๆของภาคีเครือขาย วัฒนธรรมโครงสรางการบริหารงานของภาคีเครือขาย รวมท้ังขอมูลท่ีเปนประโยชนอ่ืน ๆ เชน หนวยงานท่ีองคกรเครือขายมีการเชื่อมโยงขอมูลเพ่ือทํางานรวมกันในขณะนั้น เม่ือมีขอมูลพ้ืนฐาน เก่ียวกับหนวยงานภาคีเครือขายแลว หนวยงาน สถานศึกษา กศน.จึงไดมีการประสานขอความ รวมมือในการทํางานรวมกันในแตละโครงการ/กิจกรรม

การสรางเครือขายการทํางาน กศน.ของสํานักงาน กศน.จังหวัด หลายแหงมีการจัดทํา ฐานขอมูล

ภาคีเครือขาย มีการจัดทําบันทึกขอตกลงรวมมือการทํางานรวมกันกับภาคีเครือขาย ใน แตละกิจกรรมหรือ

โครงการท่ีมีวัตถุประสงคเปาหมายการทํางานเดียวกัน รวมสรางงานกับ เครือขายเพ่ือใหเกิดการจัดการ

ความรูในกิจกรรมใหม ๆ รวมกัน การสรางความสัมพันธของภาคี เครือขายในระดับจังหวัดสวนหนึ่งเกิดจาก

การสัมพันธ คุนเคย ในการทํางานรวมกันมากอนกับ หัวหนาหนวยตาง ๆ และอีกสวนหนึ่งเกิดจากความ

รวมมือในบทบาทหนาท่ีของการเปนหัวหนา สวนราชการท่ีตองบูรณาการการทํางานรวมกันภายใตการกํากับ

ดูแลของผูวาราชการจังหวัด

Page 34: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

29

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

ในระดับอําเภอ สวนใหญมีการสรางเครือขายจากความสัมพันธในปจเจกบุคคล เพราะมีการรวมมือกันทํางานในพ้ืนท่ีจากหลายกิจกรรมภายใตการกํากับดูแลของนายอําเภอ ความสัมพันธ กอใหเกิดการสรางเครือขายอยางเปนธรรมชาติในระดับพ้ืนท่ี ประกอบกับอําเภอมีกิจกรรมท่ีตอง ดําเนินการรวมกันกับเครือขายอยางตอเนื่องท้ังป ทําใหความสัมพันธกับเครือขายเปนไปอยาง ราบรื่นไมกอใหเกิดความขัดแยง

การมีสวนรวมของภาคีเครือขายในการดําเนินการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยในพ้ืนท่ีนั้น ผูบริหารและครูการศึกษานอกโรงเรียนสวนใหญมีประสบการณในการ ทํางานในพ้ืนท่ีมานาน บางคนเปนคนในพ้ืนท่ีอยูแลวจึงรูจักเครือขายท่ีดําเนินกิจกรรมในพ้ืนท่ีเปน อยางดี โดยเฉพาะภาคีเครือขายซ่ึงเปนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ซ่ึงมีหนาท่ีในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนในทองถ่ิน มีความใกลชิดกับประชาชน การสรางภาคีเครือขายซ่ึงเปน องคกรปกครองสวนทองถ่ินจึงมีความสําคัญในการผลักดันงาน กศน. ใหเกิดการพัฒนาเพราะมีความสอดคลองในภารกิจเดียวกัน รวมท้ังภาคีเครือขายอ่ืน ๆ ก็มีความสําคัญในการจัดการศึกษา เพ่ือใหเกิดการเรียนรูดวยเชนกัน เชน ภูมิปญญาทองถ่ิน ครอบครัว องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองคกรอ่ืน ๆ ท่ีมิไดมีท่ีตั้งอยูในชุมชนแตมีภารกิจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหกับประชาชนในพ้ืนท่ี

จากการดําเนินการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพ่ือสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตรวมกับภาคีเครือขาย ทําใหเกิดการเรียนรูรวมกันในการทํางานของหนวยงาน สถานศึกษา กศน. กระบวนการกลุมเปนสิ่งสําคัญในการสราง รักษา และพัฒนาภาคีเครือขาย เพ่ือการทํางาน กศน.รวมกัน นั่นคือ ความสามัคคีในองคกร กศน.และภาคีเครือขาย การปฏิบัติงานในลักษณะเอ้ืออาทรถอยทีถอยอาศัยกัน การรูจักการใหและรับบนความเทาเทียม ไมพยายามครอบงําฝายใดฝายหนึ่งเกินไป แสวงหากิจกรรมท่ีสงเสริมความสัมพันธรวมกันอยางตอเนื่อง มีการสื่อสาร ถึงเปาหมายการทํางานรวมกันอยางชัดเจน การมอบหมายภารกิจการปฏิบัติงานรวมกัน เขาใจ วัฒนธรรมการทํางานของเครือขายดวยการแสวงหาจุดรวม สงวนจุดตาง เพ่ือรักษาความสัมพันธ และพัฒนาความสัมพันธกับภาคีเครือขายอยางตอเนื่อง หนวยงานสถานศึกษา กศน. จึงมีการ ทบทวนสรุปบทเรียนการทํางานรวมกัน จากการสรุปผลการดําเนินการในรอบป ติดตาม ประเมินผลอยางมีสวนรวมกับภาคีเครือขาย จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน จัดการความรูดวย การถอดองคความรู และพัฒนาเปนชุดความรูเพ่ือใชในการพัฒนางานรวมกันตอไป

การพัฒนาศักยภาพ กศน.ตําบล และศูนยการเรียนชุมชน โดยใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัด

การศึกษาตลอดชีวิต เพ่ือความเขมแข็งและย่ังยืน

ในการพัฒนาศักยภาพ กศน.ตําบล และศูนยการเรียนชุมชน โดยใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัด

การศึกษาตลอดชีวิต เพ่ือความเขมแข็งและยั่งยืนไดนั้น การสรางเครือขายการทํางานท่ีกอใหเกิดการรวมตัวกัน

ระหวางหนวยงาน สถานศึกษา กศน.และหนวยงานเครอืขาย ตลอดจนชุมชนโดยรอบ กศน.ตําบล เพ่ือรวมมือ

กันจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีมีเปาหมายสําคัญ คือการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหกับ

ประชาชน และรวมกันจัดการศึกษาท่ียึดหลักการศึกษาตลอดชีวิตใหกับประชาชนในพ้ืนท่ีอําเภอเมืองปทุมธานี

ท่ีมีจํานวน 14 ตําบล 9 เทศบาล 106 หมูบาน ซ่ึงมีจํานวนประชากรท้ังสิ้น 179,876 คน ดังนั้นภาครัฐ

และภาคเอกชนของอําเภอเมืองปทุมธานี จึงตองเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษาเพ่ือใหสามารถพัฒนา

การศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอําเภอเมืองปทุมธานีอยางตอเนื่อง ประกอบกับ

Page 35: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

30

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

พระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ไดบัญญัติไวใหมีการ

กระจายอํานาจแกสถานศึกษาและใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัดการเรียนรู โดยการสรางแรงจูงใจให

เครือขายมีความพรอมในการมีสวนรวมในการจัดการศึกษาภาคีเครือขายจึงมีความสําคัญสําหรับสถานศึกษา

กศน.เปนอยางยิ่ง จึงมีแนวทางท่ีจะพัฒนาศักยภาพ กศน.ตําบลและศูนยการเรียนชุมชน โดยใหภาคีเครือขาย

มีสวนรวมในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพ่ือความเขมแข็งและยั่งยืน ดังนี ้

1. พัฒนาความรวมมือท่ีเขมแข็งระหวางหนวยงานบังคับบัญชา หนวยงานในพ้ืนท่ี และชุมชนโดยรอบ

เพ่ือใหเกิดความรวมมืออยางเปนระบบ

2. พัฒนาดานความพรอมในการใหบริการท่ีครอบคลุมทุกภารกิจ และสอดคลองกับความตองการของ

กลุมเปาหมาย ซ่ึงจะตองพัฒนางานท่ีเก่ียวของดังนี ้

2.1 ดานอาคารสถานท่ี จะตองพรอมรับการใหบริการอยางเต็มรูปแบบ สามารถเปนแหลง

เรียนรูไดอยางแทจริง มีโครงสรางการใหบริการท่ีชัดเจน นอกจากนี้ชุมชนจะตองมีสวนรวมในความ

เปนเจาของ

2.2 ดานการบริหารจัดการ และพัฒนาคุณภาพการจัดทําแผนและกําหนดกิจกรรมรวมกัน

ระหวาง กศน.กับภาคีเครือขาย ท่ีจะตองมีโครงสรางการบริหารจัดการท่ีชัดเจนในรูปแบบของ

คณะกรรมการผูรับผิดชอบ โดยใหเครือขายและชุมชนเปนผูดําเนินการอยางแทจริง ประเด็นสําคัญคือตอง

พัฒนาศักยภาพการใหบริการท่ีเต็มรูปแบบ มีวัสดุ ครุภัณฑในการใหบริการท่ีครบครัน สนองความตองการ

การเรียนรูของประชาชนไดอยางดียิ่ง

2.3 ดานการพัฒนาบุคลากรของ กศน.และภาคีเครือขายใหมีความรู ความเขาใจในการจัด

กิจกรรมรวมกันและมีความพรอมในการดําเนินงานตามระบบการบริหารจัดการอยางมีคุณภาพ ซ่ึงจะตอง

สงเสริมและพัฒนาอยางเปนระบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งการสรางภาคีเครือขายท่ีเปนคนในพ้ืนท่ีหรือชุมชน

ใกลเคียง

2.4 ดานการระดมปจจัยในการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน

กศน.ตําบลและศูนยการเรียนรูชุมชน ซ่ึงจะตองอาศัย “พลังของคนในชุมชน” สําหรับเก้ือหนุนในรูปแบบ

ของงบประมาณ บุคลากร และการใหขอเสนอแนะการดําเนินงานอยางจริงจัง เพ่ือใหการดําเนินงาน

เปนไปอยางประสานสอดรับกับการพัฒนาคนในชุมชน

3. พัฒนาการมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพ่ือใหเกิด

แหลงเรียนรูตลอดชีวิตอยางเขมแข็งและยั่งยืน โดยปจจัยสําคัญคือการบูรณาการภารกิจและการสงตอ

ภารกิจการจัดการศึกษารวมกันระหวางหนวยงานของรัฐ และการสรางการมีสวนรวมของคนในพ้ืนท่ีท่ีตอง

สรางความเจาของในการดําเนินการ กศน.ตําบล และศูนยการเรียนชุมชน ซ่ึงจะตองเปน “แหลงเรียนรู

ของชุมชน” สามารถตอบสนองความตองการท่ีหลากหลายของคนในชุมชน และใชกิจกรรม กศน. เปน

เครื่องมือในการพัฒนาหรือแกปญหาบนพ้ืนฐานความตองการท่ีแทจริงของคนในชุมชน

Page 36: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

31

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

4. พัฒนาระบบการนิเทศติดตามและประเมินผลในการจัดกิจกรรมรวมกัน ซ่ึงจะตองทําในรูปแบบ

ของคณะกรรมการ โดยมีคนในชุมชนและหนวยงานภาคีเครือขายรวมกันทํางานอยางตอเนื่อง และจะตอง

นําขอเสนอแนะท่ีไดจากการติดตามและประเมินผลมาใชในการพัฒนางานอยางจริงจัง

เปาหมายในการพัฒนา

1. เปาหมายเชิงปริมาณ

1.1 ครู บุคลากรทางการศึกษา และภาคีเครือขายมีสวนมีสวนรวมในการพัฒนา กศน.ตําบล

และศูนยการเรียนชุมชน เปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต อยางเขมแข็งและยั่งยืน รอยละ 100

1.2 กศน. ตําบล และศูนยการเรียนชุมชน 19 แหง ไดพัฒนาเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต

อยางเขมแข็งและยั่งยืน รอยละ 100

1.3 เครือขายรวมจัดท้ังภาคประชาชน และหนวยงานราชการมีสวนรวมในการบริหาร

จัดการอยางเปนรูปธรรมในรูปแบบของคณะกรรมการ กศน.ตําบล โดยมีโครงสรางการ

บริหารงานครอบคลุมทุกกิจกรรมของ กศน.ตําบลและศูนยการเรียนชุมชน ตลอดจนมีหนาท่ีตาม

กรอบภารกิจ รอยละ 100

2. เปาหมายเชิงคุณภาพ

2.1 กศน.ตําบล และศูนยการเรียนรูชุมชนไดรับการพัฒนาใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต

อยาง เขมแข็งและยั่งยืน

2.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรูความเขาใจและสามารถทํางานรวมกับภาคี

เครือขายไดอยางมีคุณภาพตามหลักการมีสวนรวม

2.3 ประชาชนไดรับโอกาสและเขาถึงการใหบริการทางการศึกษาตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ

2.4 เครือขายในชุมชนท้ังหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูนําชุมชน ผูนําทองถ่ิน และปราชญ

ชาวบาน เขามามีสวนรวมในการดําเนินงานของ กศน.ตําบล และศูนยการเรียนชุมชนอยางจริงจัง

Page 37: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

32

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

ในการพัฒนา กศน.ตําบลและศูนยการเรียนชุมชนใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต โดยใหภาคีเครือขายมี

สวนรวมในการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือความเขมแข็งและยั่งยืน กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี ไดกําหนด

กลยุทธในการดําเนินงานดังนี้

กลยุทธท่ี 1 การศึกษาความตองการของกลุมเปาหมาย ตัวช้ีวัด

1. มีฐานขอมูลความตองการการเรียนรูของกลุมเปาหมายรายบุคคลและรายชุมชน 2. มีระบบการใหบริการขาวสารขอมูล สารสนเทศแกกลุมเปาหมาย 3. มีการจัดทําเวทีประชาคมหมูบานเพ่ือสํารวจความตองการท่ีแทจริงของกลุมเปาหมาย

แนวทางการดําเนินงาน

1. ประชาสัมพันธใหประชาชนในพ้ืนท่ีตระหนักและเห็นความสําคัญของการเรียนรูตลอดชีวิต 2. กําหนดหมูบานและกลุมเปาหมาย เพ่ือดําเนินการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัยใหเปนไปตามความตองการของผูเรียนและชุมชน 3. มีฐานขอมูลท่ีระบุความตองการในการเรียนรูของกลุมเปาหมายในพ้ืนท่ีดําเนินงาน

4. พัฒนาระบบใหบริการขาวสารขอมูลกับกลุมเปาหมายอยางรวดเร็วและท่ัวถึง

ตอนที่ 3 กลยุทธในการพัฒนา กศน.ตําบล

กลยุทธการดําเนินงาน

Page 38: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

33

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

Page 39: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

34

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กลยุทธท่ี 2 จัดการเรียนรูใหกับผูเรียน/ผูรับบริการอยางมีคุณภาพ ตัวช้ีวัด

1. มีหลักสูตร/กิจกรรมการเรียนรูท่ีหลากหลายท่ีสอดคลองกับความตองการของผูเรียน 2. จัดกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ 3. จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 4. มีระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน 5. มีการวัดผลประเมินผลท่ีหลากหลายเหมาะสมกับผูเรียน

แนวทางการดําเนินงาน

1. ประกันคุณภาพหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน / หลักสูตรการศึกษาตอเนื่อง

2. จัดกระบวนการเรียนรู กศน. ไดแก 2.1 การเรียนแบบพบกลุม 2.2 การเรียนรูดวยตนเอง

3. จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 3.1 กิจกรรมปรับพ้ืนฐาน 3.2 กิจกรรมพัฒนาวิชาการ 3.3 กิจกรรมพัฒนาความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) 3.4 กิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตย 3.5 กิจกรรมสงเสริมคุณธรรมจรยิธรรม 3.6 กิจกรรมรณรงคสิ่งเสพติด 3.7 กิจกรรมสงเสริมการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง

3.8 จัดหาสื่อ และวัสดุอุปกรณท่ีใชในการจัดการเรียนรู

4. จัดบริการแนะแนวและใหคําปรึกษาแกผูเรียน ดานการเรียน การประกอบอาชีพ และดานปญหาสวนตัว

Page 40: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

35

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

5. การวัดผลประเมินผลการเรียนรูดวยวิธีการท่ีหลากหลาย โดยมุงเนนการประเมินความรู ทักษะ

เจตคติ และคุณธรรม จริยธรรมของผูเรียน

Page 41: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

36

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กลยุทธที ่3 จัดหาและพัฒนาแหลงการเรียนรูและภูมิปญญาทองถิ่นมาใชในการจัดการเรียนรู ตัวช้ีวัด

1. กศน.ตําบล ไดรับการพัฒนาใหเปนศูนยกลางแหงการเรียนรูในทองถ่ิน 2. สงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูจากแหลงเรียนรูและภูมิปญญาทองถ่ิน 3. จัดการศึกษาตามอัธยาศัยผานสถานีวิทยุชุมชน 4. จัดกิจกรรมสงเสริมการอาน 5. จัดแหลงเรียนรู “ฟาหลังฝน” แหลงเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือชีวิต

แนวทางการดําเนินงาน

1. พัฒนา กศน.ตําบล ใหเปนแหลงการเรียนรู เพ่ือเสริมสรางโอกาสการเรียนรู ของประชาชน 2. จัดทําทําเนียบแหลงเรียนรูและภูมิปญญาทองถ่ิน 3. จัดใหมีอาสาสมัครสงเสริมการอาน เพ่ือจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน เชน เรือหองสมุดเคลื่อนท่ี

บานหนังสืออัจฉริยะ หองสมุดริมทาง จัดมุมหนังสือในชุมชน หนังสือสูประตูบาน ตะกราหนังสือสูชุมชน

Page 42: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

37

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กลยุทธที ่4 แสวงหาภาคีเครือขายในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ตัวช้ีวัด ภาคีเครือขายในพ้ืนท่ีท่ีรวมจัดกิจกรรม กศน. กับ กศน.ตําบล แนวทางการดําเนินงาน

1. จัดทําทําเนียบภาคีเครือขาย กศน. 2. สรางความเขาใจกับภาคีเครือขายเพ่ือรวมจัด กิจกรรม กศน. ตําบล 3. สรางความสัมพันธระหวางภาคีเครือขายเพ่ือรวมคิดรวมวางแผน รวมทํางาน รวมแกปญหา และ

รวมพัฒนา ปรับปรุง กิจกรรม กศน. ในพ้ืนท่ีและขยายผลการจัดกิจกรรม 4. สงเสริมใหมีการระดมการใชทรัพยากรรวมกันกับภาคีเครือขาย

Page 43: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

38

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กลยุทธท่ี 5 พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ

ตัวช้ีวัด

1. บุคลากร กศน.ตําบล ไดรับการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน 2. มีระบบการประสานงานท่ีมีประสิทธิภาพ กอใหเกิดประสิทธิผล 3. ผูเรียน / ผูรับบริการไดรับความสะดวกรวดเร็วและไดรับความพึงพอใจท่ีไดมาใชบริการ

Page 44: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

39

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

แนวทางการดําเนินงาน

1. บุคลากรทุกคนไดรับการพัฒนาในเรื่องท่ีเก่ียวกับการปฏิบัติงานในหนาท่ี อยางนอยปละ 20 ชั่วโมง 2. เสริมสรางวัฒนธรรมการทํางานใหแกบุคลากรโดยใชหลัก ธรรมาภิบาล พัฒนาระบบ การประสานงานท่ีดีให มีประสิทธิภาพ

3. นําเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใชในการปฏิบัติงาน

Page 45: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

40

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

การพัฒนาศักยภาพ กศน.ตําบล โดยใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ซ่ึง

เก่ียวของกับการจัดระบบการ บริหารจัดการภายในสถานศึกษาท่ีเอ้ือตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในการดําเนินงาน กศน.อําเภอเมืองปทุมธาน ีไดกําหนดยุทธศาสตรและกลไกในการดําเนินงานไวคือ

1. สรางความรูความเขาใจเก่ียวกับนโยบายจุดเนนของ กศน.อําเภอเมืองปทุมธาน ี2. สนับสนุนงบประมาณตามแผนปฏิบัตงิานประจําปของ กศน.ตําบล 3. จัดซ้ือ จัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ ท่ีจําเปนตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูและการใหบริการ 4. พัฒนาหัวหนา กศน.ตําบล อาสาสมัคร กศน.ตําบล และคณะกรรมการ กศน.ตําบล 5. ประสานภาคีเครือขายเขารวมจัดกิจกรรมระดับตําบล 6. รวมวางแผน ออกแบบ การจัดกิจกรรมการเรยีนรู 7. จัดและพัฒนาระบบงานธุรการ 8. นิเทศ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน 9. สรุป วิเคราะห ผลการดําเนินงาน 10. เสริมสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ในรูปแบบตางๆ

ดังนั้นในการดําเนินงานไดมีการจัดประชุม วางแผนแบบมีสวนรวมท้ังระบบรวมถึง การประชาสัมพันธใหชุมชน ผูปกครอง รวมถึงเครือขายไดตระหนักถึงสภาพปญหาสังคมในปจจุบัน เพ่ือเปนแกนนําในการขับเคลื่อนครั้งนี้ โดยการประเมินสภาพ กศน.ตําบล เพ่ือวางทิศทางการพัฒนา พรอมท้ังกําหนดยุทธศาสตร กลไก ข้ันตอน การขับเคลื่อนอยางเปนระบบท้ังดานการบริหารจัดการ การจดักิจกรรมการเรยีนการสอน การพัฒนาบุคลากร การพัฒนาครู คณะกรรมการ การมีสวนรวมของชุมชน และการประเมินผล เพ่ือการพัฒนาผูเรียน/ ผูรับบริการ ใหบรรลุเปาหมายรวมกัน ในฐานะผูบริหารสถานศึกษา กศน.อําเภอเมืองปทุมธานีไดบริหารจัดการเพ่ือพัฒนาศักยภาพ กศน.ตําบล โดยใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัดการศึกษาตลอดชีวิตดังนี้

1. ข้ันเตรียมการ

1) ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ กศน.ตําบล คณะกรรมการศูนยการเรียนชุมชน อาสาสมัคร กศน. เครือขาย ภูมิปญญาทองถ่ิน และศึกษาเอกสารหลักฐานตาง ๆ ไดแก แผนปฏิบัติราชการประจําป และรายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษาของ กศน.อําเภอเมืองปทุมธาน ีเพ่ือศึกษาขอมูลพ้ืนฐาน สภาพปญหา ความตองการ ความจําเปน ความสอดคลองเหมาะสมกับบริบทของชุมชน และความเปนไปไดในการดําเนินโครงการ รวมท้ังการศึกษาขอมูลเก่ียวกับความพรอมของบุคลากรและทรัพยากร ซ่ึงประกอบดวย วัสดุอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช อาคารสถานท่ีและงบประมาณวามีความเพียงพอและเหมาะสมในการดําเนินโครงการหรือไม พรอมกันนี้ไดกําหนดบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบในการดําเนินงาน เพ่ือใหเกิดความเหมาะสมกับลักษณะกิจกรรม กําหนดทีมงานรับผิดชอบแตละกิจกรรม กําหนดเปาหมาย และตัวชี้วัดของกิจกรรม

ตอนท่ี 4 แนวทางการพัฒนา กศน.ตําบล

Page 46: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

41

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

เพ่ือใหมีการดําเนินงานอยางมีทิศทาง สอดคลองกับเปาหมาย รวมท้ังการกําหนดตัวชี้วัด เพ่ือเปนสื่อในการสะทอนประสิทธิภาพของการดําเนินงาน

2) ใหความรูแกครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยการจัดกิจกรรมและบูรณาการการเรียนการสอน เรื่องแนวทางการดําเนินชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกกิจกรรมท้ังการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย

3) สํารวจความสนใจของผูเรียน / ผูรับบริการ และผูปกครอง ชุมชน เครือขาย ภูมิปญญาทองถ่ิน ในการพัฒนาศักยภาพ กศน.

4) การวางแผนจัดกิจกรรม เพ่ือกําหนดสิ่งท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตหรือกําลังจะเกิดข้ึนกับการพัฒนา

กศน.ตําบล เปนการเตรียมความพรอมสาหรับสิ่งนั้น และการวางแผนเพ่ือการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง สภาพท่ี

เกิดข้ึนในปจจุบันเพ่ือใหมีสภาพท่ีดีข้ึน

Page 47: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

42

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

2. ข้ันดําเนินการ 2.1 การบริหารจัดการ มีแนวทางในการดําเนินงาน ดังนี้

2.1.1 ดานอาคารสถานท่ี กศน.ตําบล ควรมีอาคารเปนเอกเทศเหมาะแกการจัดกิจกรรมและอยูในเขตชุมชน การคมนาคมสะดวกสบายมีความปลอดภัย เพ่ือการจัดกิจกรรมตางๆ สามารถตอบสนองความตองการและแกไขปญหาใหกับคนในชุมชนไดจริง ทําใหเกิดประโยชนกับนักศึกษา ประชาชน และชุมชนโดยตรง โดยมอบหมายใหหัวหนา กศน.ตําบลและครู กศน.รวมกันปรับปรุงอาคารสถานท่ีท้ังภายในและภายนอกใหมีความพรอมในการใหบริการ มีความสะอาด รมรื่น สวยงามปลอดภัย เหมาะสมและมีบรรยากาศเอ้ือตอการสงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู ตามหลัก กิจกรรม 5 ส.

2.1.2 ดานวัสด ุครุภัณฑ 1) จัดหา วัสดุ และครุภัณฑ พ้ืนฐานเพ่ือการเรียนรูท่ีทันสมัย เพียงพอกับความ

ตองการ เชน คอมพิวเตอรสาหรับบริการสืบคนขอมูล โปรเจกเตอร โทรทัศน เครื่องเลนดีวีดี อุปกรณรับสัญญาณดาวเทียม วิทยุ ฯลฯ

2) ดูแล บํารุงรักษาวัสดุ และครุภัณฑ ใหอยูในสภาพท่ีพรอมใชงาน 3) จัดหาสื่อการเรียนรูทุกประเภท เชน สื่อเอกสารสิ่งพิมพ หนังสือแบบเรียน สื่อ

อิเล็กทรอนิกส ชุดการเรียน หนังสือท่ัวไป ฯลฯ

(1) มุมตางๆ ท่ีจัดใหบริการ ใน กศน.ตําบล ประกอบดวย

- มุมหนังสือนาอาน

- มุมนิทานสําหรับนองๆ

- มุมสงเสริมสุขภาพ

- มุมสงเสริมความรูพ้ืนฐาน - มุมสงเสริมความรูดาน ICT - มุมสงเสริมดานเศรษฐกิจพอเพียง - มุมประชาสัมพันธ - มุม Relax Zone

ประเภทสื่ออุปกรณที่มีใหบริการ

- หนังสือแบบเรียนและวรรณกรรมตางๆ

- TV

- เครื่องเลนแผนซีดี

- เครื่องเลนเทปเสียง

- เครื่องคอมพิวเตอรสําหรับบริการอินเตอรเน็ต

Page 48: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

43

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

- เครื่องคอมพิวเตอรสาหรับการเรียนรู - เครื่องเลนวีดีโอเทป - เครื่องพิมพดีด - แผนซีดีเพ่ือบริการความรูและความบันเทิง

4) ดานบุคลากร บริหารจัดการ ดังนี้

(1) หัวหนา กศน.ตําบล (1.1) สงเสริมสนับสนุน และประสานการทํางานกับครู ศรช. ชุมชนและ

ภาคีเครือขาย (1.2) ปฏิบัติหนาท่ีประจํา ในพ้ืนท่ี กศน.ตําบล ท่ีรับผิดชอบ

(1.3) ไดรับการอบรมพัฒนาอยางเปนระบบและตอเนื่องตามแผนท่ี กศน.

อําเภอเมืองขอนแกน กําหนด เชน ดานการพัฒนากิจกรรม ดาน ICT ดานการจัด

กระบวนการเรียนรู ดานการวัดผลประเมินผล การจัดกิจกรรมสงเสริมเศรษฐกิจ

พอเพียง ฯลฯ

(2) คร ูกศน.

(2.1) จัดกิจกรรม กศน. ในหมูบาน/ชุมชน ท่ีรับผิดชอบ

(2.2) ประสานการทํางานรวมกับหัวหนา กศน.ตําบล ชุมชนและภาคี

เครือขาย

(3) คณะกรรมการ กศน.ตําบล

(3.1) สรรหาคณะกรรมการตามหลักเกณฑท่ีสํานักงาน กศน.กําหนด

(3.2) สรางความรูความเขาใจใหแกคณะกรรมการ กศน.ตําบล เก่ียวกับการ

ดําเนินงาน กศน.ตําบล

(3.3) เสริมสรางแรงจูงใจและความพรอมในการเขามามีสวนรวมในการจัด

กิจกรรม กศน.ตําบล

(3.4) ทําหนาท่ีเปนเลขานุการ ในการจัดประชมุคณะกรรมการ กศน. ตําบล (4) อาสาสมัคร กศน.ตําบล ดําเนินการสรรหาและเสริมสรางแรงจูงใจ ในการเขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรม กศน.ตําบล (5) ภาคีเครือขาย

(5.1) แสวงหา รวบรวมและจัดทําทําเนียบภาคีเครือขายในระดับตําบล (5.2) สรางความเขาใจใหแกภาคีเครือขายเก่ียวกับการดําเนินงาน กศน.

ตําบล

Page 49: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

44

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

(5.3) เสริมสรางแรงจูงใจและความพรอมในการเขามามีสวนรวมในการ

จัดกิจกรรม กศน.ตําบล

Page 50: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

45

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

2.2 การพัฒนาบุคลากร

เพ่ือพัฒนาครู คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ กศน.ตําบล อาสาสมัคร กศน. ภาคเครือขาย ภูมิปญญาทองถ่ิน ใหมีความเขาใจ มีความพรอมในการดําเนินงานตามระบบการบริหารจัดการของ กศน.ตําบล เพ่ือทําหนาท่ีสงเสริม สนับสนนุ จัดกิจกรรมการเรียนรูอยางหลากหลายและตอเนื่อง รูปแบบของการพัฒนาบุคลากร

1. การจัดฝกอบรม เปนกระบวนการท่ีมีระเบียบแบบแผนซ่ึงมุงหมายท่ีจะพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความชํานาญ เพ่ือวัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่ง ท่ีสามารถนํามาใชเพ่ือเปลี่ยนแปลงการกระทํา หรืพฤติกรรมในการปฏิบัติงานของบุคคล

2. การสงเสริมดานวิชาการ การประชุมทางวิชาการ การประชุมปฏิบัติการ (workshop) การสัมมนา และการจัดนิทรรศการ มีวัตถุประสงคเพ่ือใหไดรับความรูกวางขวางยิ่งข้ึน และสามารถทําไดหลายรูปแบบเนนในเรื่องของการใหความรู

3. การจัดทัศนศึกษาดูงาน เพ่ือเปนการเพ่ิมพูนใหมีความรูยิ่งข้ึน 4. การสงเสริมใหมีการศึกษาตอ เปนการพัฒนาบุคลากรอีกวิธีหนึ่ง ท่ีจะทําใหบุคลากรมีความรู

เพ่ิมข้ึน หรืออาจไดรับความรูใหม 5. พัฒนา คร ูกศน.ตําบลใหเปนนักจัดการความรูมืออาชีพสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

และประสิทธิผล กลาวคือ ใหเปนผูมีบุคลิกภาพท่ีดีมีจรรยาบรรณแหงวิชาชีพครู มีความรูความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรูนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและการสงเสริมการจัดการความรูของประชาชนและชุมชน การประสานงานภาคีเครือขาย การวิจัยปฏิบัติการ การดําเนินงานวิจัยและพัฒนาข้ันพ้ืนฐาน รวมท้ังสามารถทํางานเชิงรุก และพัฒนางานใหมีคุณภาพอยางตอเนื่อง

6. สรางความเขาใจและพัฒนาให ครู คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ กศน.ตําบล อาสาสมัคร กศน. ภาคีเครือขาย ภูมิปญญาทองถ่ิน ทํางานแบบมีสวนรวม คือ

6.1 การไวเนื้อเชื่อใจกัน ไดแก การยอมรับ ไววางใจ รับผิดชอบ ยินดีท่ีจะรวมมือ คบหาสมาคม เปดเผยขอมูลท่ีจะเปนประโยชนในการปฏิบัติงานรวมงาน

6.2 การติดตอสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูลท้ังแนวดิ่งและแนวขนาน เพ่ือจูงใจใหทุกภาคสวนท่ีเก่ียวของเขามามีสวนรวมในการกําหนดเปาหมายในการปฏิบัติงาน ปรับปรุงงาน และพัฒนางานดานตางๆ เพ่ือผลสําเร็จของงาน ไมใชยึดตัวบุคคลเปนหลัก

6.3 การมีสวนรวมในการตัดสินใจรวมกัน โดยยึดเปาหมายเปนหลัก และมีความรับผิดชอบรวมกันในผลของการตัดสินใจนั้นๆ

Page 51: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

46

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

6.4 การทํางานเปนทีม หมายถึง การทํางานโดยรวมเอาบุคคลหลายฝายหลายหนาท่ีซ่ึงจําเปน

จะตองอาศัยการรวมมือรวมใจ ท้ังการศึกษาวัตถุประสงคและเขาใจปญหา การแกปญหาความขัดแยงรวมกัน การตัดสินใจและการติดตอสื่อสารเพ่ือความมุงหมายรวมกัน

2.3 การพัฒนากิจกรรม

2.3.1 พัฒนา กศน.ตําบล ใหเปนศูนยขอมูลขาวสารของชุมชน

1) พัฒนาระบบฐานขอมูลและสารสนเทศระดับชุมชน ใหครบถวน ถูกตอง ทันสมัยโดยใชแบบเก็บขอมูลของสานักงาน กศน. จัดเก็บขอมูลใหครบถวน เปนปจจุบัน ประมวลผลเปนรายตําบล จัดทําระบบฐานขอมูลสารสนเทศ และนํามาใชในการบริหารจัดกิจกรรม

2) จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพ กศน.ตําบล และแผนปฏิบัติการประจําป นําเสนอแผน ตอคณะกรรมการ กศน.ตําบล และภาคีเครือขาย และเสนอแผนให กศน.อําเภอเมืองปทุมธาน ีพิจารณาอนุมัติ

3) เสนอความรู ขอมูลขาวสาร สารสนเทศของชุมชนใหถูกตองและทันสมัยโดยเสนอขอมูลสารสนเทศท่ีมีความจําเปนตอการดํารง ชีวิตประจําวัน เชน ขอมูลเก่ียวกับแหลงเรียนรูในชุมชน การตลาดชุมชน สินคาชุมชน การพัฒนาอาชีพในชุมชน ฯลฯ จัดทําขอมูลสารสนเทศเผยแพรในรูปแบบตางๆ เชน เอกสาร แผนภูมิ แผนปายประชาสัมพันธ สื่ออิเล็กทรอนิกส เว็บไซต ฯลฯ

2.3.2 พัฒนา กศน.ตําบล ใหเปน ศูนยสรางโอกาสการเรียนรู

1) ประสานความรวมมือกับภาคีเครือขาย โดยประสานงาน /วางแผนรวมกันในชุมชน เชน คณะกรรมการชุมชน อบต. พัฒนาท่ีดิน สถานีอนามัย พัฒนากรตําบล ธนาคารการเพ่ือเกษตรและสหกรณ (ธกส.) ปศุสัตวประมง ตํารวจ กํานัน ผูใหญบาน อสม. อาสาสมัครสงเสริมการอาน วัด โรงเรียน ฯลฯ เพ่ือจัดกิจกรรมบริการชมุชน พรอมท้ังรวบรวมและเผยแพรองคความรูของภาคีเครือขาย ในการจัดการเรียนรู

Page 52: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

47

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

2) เชื่อมโยงรูปแบบการใหบริการของหนวยงานภาคีเครือขาย กับ กศน.ตําบล (1) สงเสริมและหรือจัดกิจกรรมรวมกับภาคีเครือขาย เชน ศูนยซอมสรางเพ่ือชุมชน (Fix it

center) (สอศ.) ชมรมคุมครองผูบริโภค (สคบ.) ศูนยการเรียนรู ICT ชุมชน (กระทรวงไอซีที) บริการหนวยแพทยเคลื่อนท่ี ธนาคารเคลื่อนท่ี การปองกันบรรเทาสาธารณภัย รวมกิจกรรมอําเภอเคลื่อนท่ี ฯลฯ กิจกรรมนี้จึงเปนเสมือนท่ีนัดพบระหวางประชาชนกับหนวยงานบริการตางๆ ของรัฐหรือองคกรอ่ืนๆ เพ่ือสรางโอกาสการเรียนรูของประชาชน

(2) พัฒนารูปแบบกิจกรรมใหหลากหลายและสอดคลองกับความตองการของกลุมเปาหมายในชุมชน 3) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

(1) จัดทาเว็บไซด กศน.ตําบล (2) ใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกส เพ่ือการติดตอกับผูเรียน/ผูรับบริการ ท่ีอยูตางหมูบาน/ชุมชน (3) สืบคน รวบรวมและการเผยแพรขอมูลทางอินเตอรเน็ต และแหลงขอมูลอ่ืนๆ เชน ราคากลางของวัตถุดิบ ราคาผลผลิตทางการเกษตร ราคาสินคา เปนตน

2.3.3 พัฒนา กศน.ตําบล ใหเปน ศูนยการเรียนรูในชุมชน

1) ออกแบบกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับกลุมเปาหมายโดย กศน. ตําบล ออกแบบกิจกรรมใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของกลุมเปาหมายและชุมชน กิจกรรมมีลักษณะท่ีบูรณาการระหวางวิถีชีวิต การทํางาน

2) จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหแกประชาชน กลุมเปาหมายในชุมชน

(1) สงเสริมการรูหนังสือ โดยจัดทําแผนการแกปญหาผูไมรูหนังสือสําหรับกลุมเปาหมาย ในตําบลท่ีชัดเจน พรอมท้ังจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ ในกลุมอายุ 15 – 59 ป เปนลําดับแรก

(2) การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จัดทําแผนยกระดับการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยจําแนกกลุมเปาหมายชัดเจน เชน ผูเรียนท่ีออกกลางคัน เด็กเรรอน ผูสูงอายุ ผูดอยโอกาส ผูพิการ กลุมผูยายถ่ิน ผูนาทองถ่ิน และกลุมอาชีพประชากรวัยแรงงาน เปนตน วางแผนการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานรวมกับภาคีเครือขาย จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และรายงานผลการดําเนินงาน

(3) การศึกษาตอเนื่อง ไดแก - การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ ใหความสําคัญและดําเนินการ จัดการศึกษาตอเนื่องประเภทการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพเปนลําดับแรกโดย จัดทําแผนจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ /หลักสูตรอาชีพระยะสั้น ท่ีสอดคลองกับความตองการของผูเรียนและชุมชนโดยเนนการเพ่ิมทักษะทางดานเทคโนโลยีสมัยใหมและอาชีพใหมท่ีสอดคลองกับสภาวการณปจจุบัน โดยผูเรียนสามารถพัฒนาอาชีพ ดวยการใชหลักการแบบเกษตรอินทรีย เพ่ือลดตนทุนการผลิต การปลูกผักปลอดสารพิษ ใชแรงงานคนในครอบครัวในการทําเกษตรกรรม รวมถึงใชปุยจากธรรมชาติ เชน การทําปุยน้ํา ปุยหมัก ปุยพืชสด การทําฮอรโมนบํารุงพืช การทําสมุนไพรไลแมลง เพ่ือลดรายจาย เพ่ิมรายได

Page 53: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

48

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

- การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต ในการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต ผูเรียนสามารถดําเนินชีวิตตาม

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท้ังดาน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม และศาสนา จัดทําแผนการเรียนรูใหสอดคลองกับปญหา ความตองการ ความจําเปนของผูเรียนและชุมชน เชน การประกอบอาชีพ การปองกันสาธารณภัย สุขภาพอนามัย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน การมีคุณธรรมจริยธรรม ความรักความสามัคคี การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การสงเสริมการออม การจัดทําบัญชีครัวเรือน เปนตน

- การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน จัดทําแผนการเรียนรูโดยใชหลักสูตรบูรณาการ เพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน ใชรูปแบบท่ีเหมาะสมกับกลุมเปาหมายเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการฝกอบรม การประชุมสัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู และรูปแบบอ่ืนๆท่ีเหมาะสม เชน จัดกิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตย จัดกระบวนการเรียนรูในการเปนพลเมืองดีของชุมชน สังคม และรวมท้ังของประเทศ เพ่ือนาไปสูความปรองดองสมานฉันท ในการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน ผูเรียนมีจิตสํานึกในการชวยเหลือชุมชน การสรางจิตสานึกในการรักษทองถ่ิน การใชภูมิปญญาทองถ่ิน การสรางจิตสํานึกการใชเทคโนโลยีอยางประหยัด ชวยอนุรักษและเห็นคุณคาของทรัพยากรธรรมชาติ

(4) การศึกษาตามอัธยาศัย จัดกิจกรรมสงเสริมการอาน โดยจัดทําแผนการจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน ในรูปแบบตางๆ เชน

หนังสือแซบ หนังสือติดลอ มุมสงเสริมการอานในชุมชนเคลื่อนท่ี อาสาสมัครสงเสริมการอาน กระเปาความรูสูชุมชน จุดบริการการอานชุมชน มุมอานหนังสือท่ีสถานีขนสง รานอาหาร รานเสริมสวย รานตัดผม สถานีอนามัย พรอมกันนี้ไดจัดบริการสื่อประเภทตาง ๆ ท่ีเหมาะสมและหลากหลาย และเก่ียวของกับการปฏิบัติตนแบบพอเพียง การสงเสริมเศรษฐกิจพอเพียง เชน สื่อสิ่งพิมพ (นสพ.),ขาวสาร “บอกขาวเลา” กศน.อําเภอเมืองปทุมธานีจัดบริการสื่อ จัดบริการสื่อประเภทตางๆ ท่ีเหมาะสมและหลากหลาย เชน สื่อ สิ่งพิมพ (นสพ.) สื่ออิเล็กทรอนิกส สื่อสาธิต สื่อทดลอง วิทยุชุมชน หอกระจายขาว เปนตน บริการการศึกษาทางไกล (ETV) ใหกับนักศึกษา กศน. และประชาชนท่ัวไป

2.3.4 พัฒนา กศน.ตําบล ใหเปน ศูนยชุมชน จัดและสงเสริมให กศน.ตําบล เปนศูนยกลางการจัดกิจกรรมของชุมชน เชน เวทีชาวบาน สถานท่ี

พบปะเสวนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลาดนัดอาชีพ กิจกรรมศาสนา วัฒนธรรม เวทีประชาธิปไตย กีฬา ฯลฯ

Page 54: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

49

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

โดยครู เปนผูดําเนินการรวมกับภาคีเครือขายตางๆ ท้ัง อบต. อบจ. เทศบาล ตลอดจนภาครัฐ

ภาคเอกชน รวมท้ังอาสาสมัคร ในชุมชน เชน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) อาสาสมัคร กศน. อาสาสมัครสงเสริมการอาน ภูมิ-ปญญาทองถ่ิน ขาราชการบํานาญ เยาวชน ผูนําทองถ่ิน ในการจัดกิจกรรม ทําใหเกิดกระบวนการเรียนรูอยางตอเนื่องไปสูสังคมแหงการเรียนรู

Page 55: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

50

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

2.4 การพัฒนาการมีสวนรวมของชุมชน ดานการมีสวนรวมของชุมชน มีแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้

2.4.1 ประชาสัมพันธเพ่ือสรางกระแสใหประชาชนและทุกภาคสวนของชุมชนเห็นความสําคัญและเขารวมในการดําเนินกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพ กศน.และจัดใหมีการยกยองเชิดชูเกียรติ ผูใหการสนับสนุนกิจกรรมพัฒนา กศน.ตําบล

2.4.2 สงเสริมใหทุกภาคสวนของสังคมเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษา ตลอดชีวิต อยางตอเนื่องและมีสวนรวมในการนิเทศ ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดําเนินงาน 2.4.3 เสริมสรางและพัฒนาระบบเครือขายการเรียนรู ภายในตําบล และระหวางตําบล เชน แหลงเรียนรู ภูมิปญญาทองถ่ิน โรงเรียนดีประจาตําบล ศูนย ICT ตําบล

2.5 การพัฒนาการนิเทศ ติดตามและรายงานผล

2.5.1 การนิเทศ ติดตามผลการจัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจําป โดยจัดทําแผนการนิเทศ ติดตามผลการจัดกิจกรรมในพ้ืนท่ี ประสานภาคีเครือขายรวมนิเทศติดตามผล จัดใหมีประชานิเทศการจัดกิจกรรมในพ้ืนท่ี

2.5.2 การรายงานผลการจัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจําป โดยจัดทําปฏิทินการรายงานผลการจัดกิจกรรมจัดเก็บขอมูลและรวบรวมผลการจัดกิจกรรม จัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน รายงานขอมูลท่ีเก่ียวของตามแบบและระยะเวลาท่ีกําหนด และรายงานผลการปฏิบัติงานประจาปของ กศน.ตําบล 3. ข้ันประเมินผล โดยการนิเทศติดตามประเมินผล ดังนี้

3.1 ใชแบบสอบถามเก่ียวกับ การพัฒนา กศน.ตําบลโดยใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต

3.2 ใชแบบประเมินความพึงพอใจ ของครู บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผูเรียน / ผูรับบริการ และประชาชน เครือขาย ชุมชน เก่ียวกับการพัฒนาศักยภาพ กศน.ตําบล โดยใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต 3.3 ประเมินผลท่ีไดจากการพัฒนาศักยภาพ กศน.ตําบล โดยใหภาคีเครือขายมีสวนรวมในการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ท้ังกอนดําเนินการ ระหวางดําเนินการและหลังการดําเนินการ

Page 56: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

51

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

4. ข้ันสรุป รายงานผล

4.1 ประเมินกิจกรรมและสรุปผลการดําเนินงาน 4.2 เสนอแนะแนวทางแกไขปรับปรุง 4.3 รายงานผลการดําเนินงานตามโครงการ

Page 57: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

52

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

จากการท่ี กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี ไดดําเนินโครงการการพัฒนาศักยภาพ กศน.ตําบล โดยใหภาคี

เครือขายมีสวนรวมในการจัดการศึกษาตลอดชีวิตอยางยั่งยืน ไดนําผลงานไปประชาสัมพันธ ดังนี้ 1. จัดการประชาสัมพันธกิจกรรมทาง http://muangpathumnfe.ac.th 2. จัดการประชาสัมพันธทางขาวสาร “บอกขาวเลาเรื่อง” กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี 3. จัดทําแผนพับประชาสัมพันธ กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี 4. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธในหมูบานโดยเสียงตามสาย 5. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธในโรงเรียนประถม, โรงเรียนมัธยม, มหาวิทยาลัย 6. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธในการประชุมผูนําชุมชน/สวนราชการ 7. จัดทําแผนปายประชาสัมพันธกิจกรรม ท้ังในสํานักงาน และภายในหมูบาน 8. ประชาสัมพันธทางวิทยุชุมชนรวมกับเทศบาล 9. ประชาสัมพันธทาง วีดีทัศน CD ,VCD 10. ประชาสัมพันธทางคณะท่ีมาศึกษาดูงาน

การประชาสัมพันธกิจกรรม กศน.ตําบล

Page 58: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

53

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

ผนวก

Page 59: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

54

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

ภาพกิจกรรม

Page 60: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

55

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลบางคูวัด

Page 61: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

56

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลบางเดื่อ

Page 62: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

57

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลบางปรอก

Page 63: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

58

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลบางพูน

Page 64: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

59

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลบางพูด

Page 65: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

60

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลหลักหก

Page 66: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

61

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลบางกระด ี

Page 67: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

62

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลบางขะแยง

Page 68: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

63

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลบานกลาง

Page 69: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

64

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลบานใหม

Page 70: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

65

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลสวนพริกไทย

Page 71: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

66

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลบานกระแชง

Page 72: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

67

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบลบานฉาง

Page 73: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

68

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

กศน.ตําบางหลวง

Page 74: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

69

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

ศูนยการเรียนชุมชนไทยคอนเทรนเนอร SCG

(โรงเรียนในโรงงาน)

Page 75: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

70

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน

Page 76: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

71

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

คณะผูดําเนินการจัดทํา

นางณัฐกฤตา พ่ึงสุข ผูอํานวยการ กศน.อําเภอเมืองปทุมธาน ีคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา กศน.อําเภอเมืองปทุมธาน ี

บรรณาธิการ นางสาวสิริพร สุภวิรีย ครูชํานาญการพิเศษ

ออกแบบรูปเลม / ปก นางณัฐกฤตา พ่ึงสุข ผูอํานวยการ กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

คณะผูจัดทํา

Page 77: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

72

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

นางณัฐกฤตา พึ่งสุข

ผูอํานวยการ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองปทุมธานี

ผูเขียนและเรียบเรียง

Page 78: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

73

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

ช่ือ

นางณัฐกฤตา พ่ึงสุข

วันเกิด วันท่ี 11 กันยายน 2507 สถานท่ีเกิด อําเภอเมือง จังหวัดสิงหบุรี สถานท่ีอยูปจจุบัน บานเลขท่ี 108/11 หมู 3 ต.บางพูน

อําเภอเมืองปทุมธาน ีจังหวัดปทุมธาน ี ตําแหนงปจจุบัน ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบ

และการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอเมืองปทุมธาน ีจังหวัดปทุมธาน ี

สถานท่ีทํางานปจจุบัน ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอําเภอเมืองปทุมธาน ี จังหวัดปทุมธาน ี

การศึกษา -ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม)สาขาวิชาการศึกษาผูใหญ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

-หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภฏัเทพสตร ีสถานท่ีทํางาน ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัยอําเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธาน ี

ประวัติผูเขียนและเรียบเรียง

Page 79: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

74

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

1. ไดรับรางวัลขาราชการครูผูปฎิบัติหนาที่ดีเดน ระดับประเทศ ป พ.ศ.2557 จาก

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ

2. ไดรับรางวัลศูนยบริการศึกษานอกโรงเรียนดีเดน ระดับประเทศ ป พ.ศ.2549

3. ไดรับรางวัลศูนยการเรียนชุมชนดีเดน ระดับภาคกลาง ป พ.ศ.2549

4. ไดรับรางวัลศิษยเกาดีเดนระดับประเทศ ป พ.ศ.2551

5. ไดรับรางวัลผูบริหารดีเดน ระดับประเทศ ป พ.ศ.2551

6. ไดรับรางวัลภาคีเครือขายรวมจัดกิจกรรม กศน.ประเภทหนวยงานเอกชนดีเดน

ระดับประเทศ ป พ.ศ.2554

7. ไดรับรางวัลภูมิปญญา ดีเดน ระดับประเทศ ป พ.ศ.2554

8. ไดรับรางวัล จัดมุมหนังสือเพื่อสงเสริมการอาน ดีเดน ระดับประเทศประเภทใน

บาน และสถานที่ราชการ ป พ.ศ.2554

9. ไดรับรางวัลผูบริหารผูบริหารดีเดน ระดับประเทศ ป พ.ศ.2555

10. ไดรับรางวัลคนดีศักด์ิศรี แหง สป. ระดับประเทศ ป พ.ศ.2555

11. ไดรับรางวัล หน่ึงแสนครูดี ระดับประเทศ ป พ.ศ.2555

รางวัลและผลงานดีเดนท่ีไดรับ

Page 80: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

75

กศน.อําเภอเมืองปทุมธานี

Page 81: คู่มือการพัฒนา กศน เมืองปทุมธานี

พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียงเปนเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของ แผนดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มท่ีถูกตอกรองรับบานเรือนตัวอาคารไวน่ันเอง สิ่งกอสรางจะมัน่คงไดก็อยูท่ีเสาเข็ม แตคนสวนมากมองไมเห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียดวยซ้ําไป

พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหัว จากวารสารชัยพัฒนา“เศรษฐกิจพอเพียง....จะทําความเจริญใหแกประเทศได แตตองมคีวามเพียร แลวตอง อดทน ตองไมใจรอน ตองไมพูดมาก ตองไมทะเลาะกัน ถาทําโดยเขาใจกัน เช่ือวาทุก

คนจะมีความพอใจได...”พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหัว พระราชทาน ณ วันท่ี 4 ธันวาคม 2541

ทางสายกลาง

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

พอประมาณ

มีเหตุผลมีภูมิคุมกันใน

ตัวท่ีดี

เงื่อนไขความรู (รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง)

เงื่อนไขคุณธรรม(ซื่อสัตยสุจริต สติปญญา ขยันอดทนแบงปน)

นําไปสู

ชีวิต / เศรษฐกิจ / สังคม / สิ่งแวดลอม

สมดุล / ม่ันคง / ยั่งยืน