38
1 The Will to be Good กับดักจินตนาการทางเลือกที่สามของเอ็นจีโอ 1 อัจฉรา รักยุติธรรม 2 และ Thai Social Movement Watch คําอุทิศ แด ชีวิตที่สูญเสีย ซึ่งใครหลายคนตีคาเปนแค เบี้ยทางการเมือง คําขอบคุณ บทความฉบับนี้เรียบเรียงโดยอาศัยขอมูลจากการที่สมาชิกผูกอตั้งกลุThai Social Movement Watch ไดชวยกันเสนอ ความคิด แลกเปลี่ยนความรู และการสรางบรรยากาศถกเถียงอยางเขมขนภายใน วงเอ็นจีโอตามวาระโอกาสและ พื้นที่ตาง หากบทความฉบับนี้จะมีคุณประโยชนอยูบาง ขอมอบคําชื่นชมนั้นแกสมาชิกกลุThai Social Movement Watch ทุกทาน สวนคําวิพากษวิจารณในความบกพรองใด ผูเขียนขอนอมรับไวแตเพียงผูเดียว 1. คําปรารภ ชอบเสื้อเหลืองหรือเสื้อแดงฉันเดินถามปกากญอหลายคนในหมูบานแหงนี้ดวยคําถามเดียวกัน เหลืองสิ บานนี้เหลืองหมดแหละ มี...คนเดียวที่แดงหลายคนก็ใหคําตอบในลักษณะเดียวกัน นองละ สีอะไรฉันถูกถามกลับบาง ฉันนั่งอมยิ้มและบายเบี่ยงดวยการถามตอ ทําไมสีเหลืองชอบอภิสิทธิพอเขาเปนนายกฯ ( เจาหนาที) ปาไมไมคอยมากวนเราหลายคนตอบคลายกันจน แทบไมมีใครแตกแถว ทําไมอาย...จึงแดงฉันซักไมลดละ บฮู...มันมักจะอั้นหลายคนตอบแบบนีแตบางคนก็บอกวาเปนเพราะเขาสนิทกับพรรคพวกของ นักการเมืองสีแดง ชาวปกากญอที่นี่ไมไดอยู ไกลปนเที่ยงตามที่ใครหลายคนเขาใจ หรือที่ถูกสรางภาพลักษณทีตายตัววาเปน ชาวเขาทีไมรูเรื่องเพราะ ไรการศึกษาอยางนอยพวกเขาก็ติดตามขาวสารทาง โทรทัศนผานจานรับสัญญาณดาวเทียมที่เรียกวา จานดําอยางสม่ําเสมอ พวกเขารูเรื่องการเมืองเทาทีทีวีแตละชองจะปอนขาวสารมาให และเทาที่จะมีชองทางรับขอมูลขาวสารจากเครือขายทางสังคมอื่น แมวาในหมูบานนี้จะไมมีใครเสื้อแดง แตฉันก็พอจะเขาใจจากสื่อตาง วาชาวบานที่เลือกเสื้อ แดงในที่อื่น พูดเรื่องสองมาตรฐาน ความเหลื่อมล้ําทางการเมือง ความตองการประชาธิปไตย หรือ แมแตความเจ็บช้ําน้ําใจที่ตัวแทนที่เขาเลือกเลือกถูกกระทําอยางไมเปนธรรม เปนการเลือกขางบน ฐานขอมูลและการตีความตามประสบการณอีกชุดหนึ่งของพวกเขาดวยเชนกัน 1 บทความนําเสนอในเวทีเสวนาทางวิชาการ ทบทวนขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในประเทศไทย” 17 กันยายน 2553 หองประชุมจุมภฏ-พันธุทิพย อาคารประชาธิปก-รําไพพรรณี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2 อาจารยประจําภาควิชาสังคมศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

  • Upload
    -

  • View
    217

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

1

The Will to be Good กับดักจินตนาการทางเลอืกที่สามของเอ็นจีโอ1

อัจฉรา รักยุติธรรม2 และ Thai Social Movement Watch

คําอุทิศ

แด ชีวิตที่สูญเสีย ซึ่งใครหลายคนตีคาเปนแค “เบ้ีย” ทางการเมือง

คําขอบคุณ

บทความฉบับนี้เรียบเรียงโดยอาศัยขอมูลจากการที่สมาชิกผูกอต้ังกลุม Thai Social Movement Watch ไดชวยกันเสนอความคิด แลกเปล่ียนความรู และการสรางบรรยากาศถกเถียงอยางเขมขนภายใน “วงเอ็นจีโอ” ตามวาระโอกาสและพ้ืนที่ตาง ๆ หากบทความฉบับนี้จะมีคุณประโยชนอยูบาง ขอมอบคําชื่นชมนั้นแกสมาชิกกลุม Thai Social Movement

Watch ทุกทาน สวนคําวิพากษวิจารณในความบกพรองใด ๆ ผูเขียนขอนอมรับไวแตเพียงผูเดียว

1. คําปรารภ

“ชอบเส้ือเหลืองหรือเส้ือแดง” ฉันเดินถามปกากญอหลายคนในหมูบานแหงนี้ดวยคําถามเดียวกัน “เหลืองสิ บานนี้เหลืองหมดแหละ มี...คนเดียวที่แดง” หลายคนก็ใหคําตอบในลักษณะเดียวกัน “นองละ สีอะไร” ฉันถูกถามกลับบาง ฉันนั่งอมย้ิมและบายเบี่ยงดวยการถามตอ “ทําไมสีเหลือง” “ชอบอภิสิทธิ์ พอเขาเปนนายกฯ (เจาหนาที่) ปาไมไมคอยมากวนเรา” หลายคนตอบคลายกันจน

แทบไมมีใครแตกแถว “ทําไมอาย...จึงแดง” ฉันซักไมลดละ “บฮู...มันมักจะอั้น” หลายคนตอบแบบนี้ แตบางคนก็บอกวาเปนเพราะเขาสนิทกับพรรคพวกของ

นักการเมืองสีแดง

ชาวปกากญอที่น่ีไมไดอยู “ไกลปนเที่ยง” ตามที่ใครหลายคนเขาใจ หรือที่ถูกสรางภาพลักษณที่ตายตัววาเปน “ชาวเขา” ที่ “ไมรูเร่ือง” เพราะ “ไรการศึกษา” อยางนอยพวกเขาก็ติดตามขาวสารทางโทรทัศนผานจานรับสัญญาณดาวเทียมที่เรียกวา “จานดํา” อยางสม่ําเสมอ พวกเขารูเร่ืองการเมืองเทาที่ทีวีแตละชองจะปอนขาวสารมาให และเทาที่จะมีชองทางรับขอมูลขาวสารจากเครือขายทางสังคมอื่น ๆ

แมวาในหมูบานนี้จะไมมีใครเสื้อแดง แตฉันก็พอจะเขาใจจากสื่อตาง ๆ วาชาวบานที่เลือกเสื้อแดงในที่อ่ืน ๆ พูดเรื่องสองมาตรฐาน ความเหลื่อมล้ําทางการเมือง ความตองการประชาธิปไตย หรือแมแตความเจ็บช้ําน้ําใจที่ตัวแทนที่เขาเลือกเลือกถูกกระทําอยางไมเปนธรรม เปนการเลือกขางบนฐานขอมูลและการตีความตามประสบการณอีกชุดหนึ่งของพวกเขาดวยเชนกัน 1 บทความนําเสนอในเวทีเสวนาทางวิชาการ “ทบทวนขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในประเทศไทย” 17 กันยายน 2553 ณ หองประชุมจุมภฏ-พันธุทิพย อาคารประชาธิปก-รําไพพรรณี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2 อาจารยประจําภาควิชาสังคมศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

2

ชาวบานไมตองครุนคิดใหยุงยากมากเรื่องวาจะเลือกขาง “สีเหลือง” หรือ “สีแดง” หรือสีอ่ืน ๆ หากจะมีขึ้นมาอีก เพราะพวกเขาไมไดเลือกแทนใคร พวกเขาทําความเขาใจการเมืองผานผลประโยชนและเครือขายทางสังคมของตนเอง ใครดีดวยก็ดีตอบ ดูจะเปนตรรกะงาย ๆ ในการตัดสินใจทางการเมืองในครั้งน้ีหรือครั้งไหน ๆ ก็ตาม ตางกับฉันที่ไมยอมตอบคําถามของพี่นองชาวบานที่ถามซ้ําแลวซํ้าอีกวาตัวเองเลือกสีอะไร มันเปนความรูสึกก้ํากึ่ง ดานหนึ่งก็พยายามรักษาความเปนกลางทางการเมืองตอหนาชาวบาน ดวยเขาใจมาตลอดวา “แอ็คตีวิสต” ควรจะทําเชนนั้น แตอีกดานหนึ่งเปนเพราะฉันยังคิดไมเสร็จวาจะทําความเขาใจกับการเมืองที่เปนอยูอยางไรดี จึง “ไมกลา” ที่จะเอยปากประกาศสี จะตอบออกไปก็กลัวเสียเชิง สูไมตอบดีกวาจะทําใหตัวเองดูฉลาดเหนือชั้นกวาใคร ๆ และอยูเหนือความขัดแยงทั้งปวง ที่รายไปกวานั้น ฉันถึงกับเคยเขียนบทความเผยแพรวาฉันไม “อิน” กับความขัดแยงทางการเมือง เพราะเห็นวามันเพียงนําไปสูการเปลี่ยนขั้วอํานาจที่ไมไปตอบปญหาปากทองของชาวไรชาวนา (ดู โลคัลทอลค 7 ก.ย.51) เม่ือคิดยอนไปก็นาละอายและสมเพชตัวเอง ความเขาใจทางการเมืองของฉันวางอยูบนบรรทัดฐานแบบใดฤา ? เหตุใดมันจึงซับซอนยุงยากจนทําใหฉันยังคงไมมีปญญาและความกลาหาญพอที่จะเลือกขางทางการเมืองเหมือนเชนเคย ฉันยังคงออกตัวทุกครั้งวาฉันไมใช “แดง” และไมใช ”เหลือง” เม่ือเริ่มตนพูดถึงการเมือง 2. The Will to be “Good”

บทบาทของตัวแทนการพัฒนา (Development Agencies) โดยเฉพาะองคกรพัฒนาเอกชนระหวางประเทศ เปนประเด็นที่มีการศึกษาและถกเถียงกันอยางกวางขวาง ทั้งน้ี เน่ืองจากตัวแทนเหลานั้นมีอิทธิพลตอการกําหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนาของรัฐมากขึ้นเรื่อย ๆ ขณะเดียวกัน ก็มีบทบาทในการนํานโยบายของรัฐและองคกรเหนือรัฐไปดําเนินการในระดับทองถิ่น ตัวแทนการพัฒนามักอางวาตนทําหนาที่เสริมสรางอํานาจ ความเขมแข็ง และปกปองสิทธิของชุมชน/องคกร/เครือขายภาคประชาชน แตก็มีงานศึกษามากมายที่สะทอนวานักพัฒนามักสวมบทบาทเปนตัวแทนของชาวบานโดยการพูดแทน หรือแมแตคิดและตัดสินใจแทน แตการอางการเปนตัวแทน รวมถึงการอางคําอ่ืน ๆ ในการทํางาน เชน “การมีสวนรวมของประชาชน” “สิทธิทองถิ่น” “สิทธิชุมชน” ฯลฯ น้ันไมไดรับประกันวาจะทําใหผลของมันตอบสนองตอความตองการของ “ประชาชน” และที่สําคัญไมไดรับประกันวาผูที่อางตนเชนนั้นจะไมใชอํานาจในการควบคุมหรือสรางแรงกดดันตอประชาชนที่เปนเปาหมายในการทํางานของพวกเขา (ดู Li 2007, Agrawal 2005, Mosse 2005)

ผูเขียนใชคําวา “The Will to be Good” โดยมีแรงบันดาลใจมาจาก “The Will to Improve: Governmentality, Development, and the Practice of Politics” ของ Tania Li (2007) ที่กลาวถึงกลุมคนที่แสดงบทบาทเปนตัวแทนการพัฒนาในประเทศอินโดนีเซียตั้งแตสมัยที่ประเทศยังตกอยูภายใตอํานาจอาณานิคม ซ่ึงตัวแทนการพัฒนามีทั้งเจาหนาที่รัฐ มิชชันนารี ผูเชี่ยวชาญดานการเกษตร เจาหนาที่สาธารณสุข นายทุน และนักเคลื่อนไหวทางการเมือง หลังยุคอาณานิคมมีนักพัฒนาที่รับทุนมา

Page 3: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

3

จากธนาคารโลก เขามาดําเนินโครงการตาง ๆ ในนามของการมีสวนรวมโดยชุมชน การพัฒนาจากลางขึ้นบน ฯลฯ มีเปาหมายที่จะยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบานดวยการอบรมใหพวกเขามีพฤติกรรมที่เหมาะสม และมีความมุงมาดปรารถนาที่จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตนเอง Li ชี้วานักพัฒนาเหลานั้นสถาปนาตนเองเปน “ผูดูแล” (trustees) ซ่ึงเปนตําแหนงที่อางวาเปนผูที่ “รูวาคนอื่นควรอยูอยางไร รูวาอะไรดีที่สุดสําหรับพวกเขา รูวาอะไรที่พวกเขาตองการ” (Li 2007:4) พวกเขาอางวาพยายามที่จะเสริมสรางศักยภาพชาวบานในทองถิ่นโดยจะไมครอบงําชาวบาน แตไมวาผลตอบรับจะเปนอยางไรก็ตามการอางวามีความเชี่ยวชาญในการจัดการชีวิตคนอื่นใหเหมาะสมมันก็คือแสดงอํานาจ เรื่องน้ีจึงควรพิจารณาอยางรอบคอบ: “…the claim to expertise to optimizing the lives of others is a claim to power…” (Li 2007:5)

“The Will to Improve” ของ Li ใชแนวคิด Governmentality ของมิเชล ฟูโกตวาดวย เพ่ือพิจารณาปฏิบัติการทางอํานาจของนักพัฒนาในลักษณะ “conduct of conduct” ซ่ึงไดแกการปกครองที่ดําเนินการโดยการทําใหผูถูกปกครองเปลี่ยนแปลงความมุงมาดปรารถนาของตนเองอยาง “มีเหตุมีผล” อันนําไปสูการปรับปรุงพฤติกรรม ความตองการ และความเชื่อ โดยที่พวกเขาก็จะไมตระหนักวาตนเองถูกควบคุม จึงไมตั้งคําถามวาพวกเขาทําเชนน้ันเพราะสยบยอมตออํานาจหรือถูกครอบงําหรือไม สําหรับ “The Will to be Good” ผูเขียนไมไดมุงตรวจสอบความสัมพันธเชิงอํานาจระหวางผูปฏิบัติงาน “เอ็นจีโอ” 3 กับกลุมเปาหมายในการทํางานของพวกเขาวาจะเปน “conduct of conduct” ดังที่ Li พบในอินโดนีเซียหรือไม แตบทความฉบับน้ีพยายามรวบรวมขอถกเถียงตาง ๆ เกี่ยวกับการกําหนดบทบาทและทาทีของ “เอ็นจีโอ” บางสวนตอสถานการณความขัดแยงทางการเมืองที่ผานมา ทามกลางการเลือกสีเลือกขางเราพบวามีเอ็นจีโอจํานวนหนึ่งที่อางตนวาเปนพวก “สองไมเอา” หรือ “ไมเลือกขางทาง” ดวยเหตุผลหลัก 2-3 ประการดวยกัน และหนึ่งในเหตุผลเหลานั้นก็คือการไมเลือกขางเพื่อสรางทางเลือกใหม

บทความนี้มิไดตองการที่จะเรียกรองใหเอ็นจีโอเลือกสีเลือกขางที่ชัดเจน หากพยายามทําความเขาใจถึงเบื้องหลังวิธีคิดชุดหนึ่งของเอ็นจีโอ สิ่งที่นาพิจารณายิ่งไปกวาการไมเลือกสี (ซ่ึงถูกแปลความหมายวาเปนการเลือกเขาขางฝายการเมืองฝายหนึ่งฝายใด) คือการเลือกที่จะน่ิงเฉยไมวิพากษวิจารณรัฐบาลที่ใชกองกําลังเขา “กระชับพ้ืนที่” จนทําใหมีผูเสียชีวิตและบาดเจ็บเปนจํานวนมาก แตตอมากลับพบวาเอ็นจีโอเหลานั้นเลือกเขารวมการปฏิรูปประเทศไทย ทั้งโดยการรวมเปนคณะกรรมการปฏิรูปฯ และโดยการผลักดันขอเสนอใหเขาไปบรรจุอยูในแผนปฏิรูปฯ ดวยเชื่อวาเปนการดําเนินงานอันเกิดจากกระบวนการมีสวนรวมของตัวแทนประชาชนภาคสวนตาง ๆ ภายใตการนําของบรรดาผูอาวุโสที่ขึ้นชื่อวาเปน “คนดี” และเปน “ปญญาชน” ของสังคมจะชวยลดปญหาความเหลื่อมล้ําเชิงโครงสรางและแกปญหาสังคมไดดีกวาการเขาไปเกี่ยวพันกับความขัดแยงทางการเมืองที่สับสนอลหมาน

3 เอ็นจีโอ ในที่นี้หมายถึงผูทํางานพัฒนาในองคกรพัฒนาเอกชน ซึ่งเปนคําที่ใชกันในบริบทสังคมไทย ที่ถูกใหความหมายแตกตางไปจาก NGO - Non Government Organization ที่ใชเปนการทั่วไปในตางประเทศ ผูเขียนเคยพูดถึงการทบทวนประวัติศาสตรของคําและความหมายของคํานี้ไวแลวในบทความฉบับอื่น ๆ โปรดดูอางอิงทายบทความฉบับนี้

Page 4: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

4

บทความพยายามชี้ใหเห็นวาการกระทําของเอ็นจีโอเหลานั้นวางอยูบน “The Will to be Good” (ความมุงมาดปรารถนาที่จะเปนคนดี) ซ่ึงเปนจินตนาการที่เอ็นจีโอเหลานั้นมีตอตนเองและสงผลตอการกําหนดทาทีและบทบาทของพวกเขาตอกลุมทางสังคมตาง ๆ ตลอดจนเปนที่มาของการกําหนดทาทีของตนเองวาจะไมยุงเกี่ยวกับการเมืองที่ “สกปรก” จึงสรางความ “เปนอ่ืน” ใหแก “ประชาชน” เสื้อแดง และพยายามสรางทางเลือกใหมใหแกสังคม The Will to be Good ในที่น้ียังหมายถึงการที่เอ็นจีโอเชื่อม่ันใน “คนดี” และ “ความดี” (ของตนเอง) จึงอางความดีดังกลาวสถาปนาตนเปนผูเชี่ยวชาญในการจัดการสังคมแทน “ประชาชน” หรือในนาม “ภาคประชาชน” หรือการเลือกเฟน “คนดี” มาทําหนาที่ น้ัน เชนเดียวกันกับที่เอ็นจีโอไดสถาปนาตนเองเปนผูเชี่ยวชาญในการทํางาน “พัฒนา” และผลิต “องคความรู” เกี่ยวกับงานพัฒนา พรอม ๆ กับการพยายามรักษาภาพลักษณของตนเองวา “บริสุทธิ์” ปลอดจากการเมืองสกปรกมาโดยตลอด

“ความดี” น้ัน แทที่จริงเปนคุณคาที่คนในสังคมมีความเขาใจอยางแตกตางหลากหลาย จึงยากที่จะหาความหมายที่ลงตัวหรือแกนสารของสิ่งที่เรียกวา “ดี” ใหเปนขอสรุปลงไปได บทความฉบับน้ีไมไดตองการถกเถียงวาเอ็นจีโอนั้น “ดี” หรือไม แตมุงพิจารณาถึงความอันตรายที่เอ็นจีโอกําลังใชอํานาจผานการอางความเปน “คนดี” ของตนเองเพ่ือผลิตซํ้าลําดับชนชั้นทางสังคม (hierarchy) ที่กดให “ประชาชน” บางกลุมจําตองสยบยอมอยูภายใตการเปนตัวแทนของตนเองและเบียดขับ “ประชาชน” อีกบางกลุมที่ไมสยบยอมใหหลุดออกไปจากขอบเขตการเปน “พลเมืองดี” หรือแมแตถูกละเมิดสิทธิพ้ืนฐานของการเปนพลเมืองสามัญ

การผลิตซ้ําลําดับชนชั้นทางสังคมทําใหเอ็นจีโอไมแตกตางไปจากกลุมชนชั้นนําอนุรักษนิยมซ่ึงพยายามทําเชนน้ันมาโดยตลอด เพ่ือใหประชาชนเปนพลเมืองเชื่อง ๆ ที่ไมกระดางกระเดื่องตอผูปกครองและชนชั้นนํา การกระทําดังกลาวทําใหประชาธิปไตยไทยไมเทากับความเสมอภาคและเทาเทียมของประชาชนไดอยางแทจริง (ภัควดี ไมมีนามสกุล, บทสัมภาษณ ในประชาธรรม 25 ส.ค. 53) สวนการอาง “ความดี” หรือสรรหา “คนดี” มาจัดการสังคมทําใหประชาธิปไตยไทยเปน “ประชาธิปไตยแบบนักศีลธรรม” (ธงชัย 2548:17) ซ่ึงเกี่ยวพันกับการสรางคุณคาความดี ความสะอาด มากกวาจะสนใจการจัดความสัมพันธทางอํานาจของพลังการเมืองตาง ๆ จนเกิดเปนขอสรุปที่เปนที่รูกันวานักการเมืองลวนฉอฉล เขามาตักตวงผลประโยชนใสตัว “บุคคลหรือกลุมการเมืองที่ทําตัวลอยเหนือความสกปรกทางการเมืองได จึงเปนรัฐบุรุษหรือนักประชาธิปไตยที่ยิ่งใหญ” (ธงชัย 2548:17)

บทความชิ้นนี้เสนอวาทางเลือกของเอ็นจีโอผูน่ิงเฉยตอการบาดเจ็บลมตายของคนเสื้อแดงอางวาเปนทางเลือกใหมเพื่อขามพนความขัดแยงทางสังคมในปจจุบันนั้น ทําใหเอ็นจีโอกลายเปนจักรกลตอตานการเมือง (anti-politic machine) (Ferguson 1990) ที่ทําหนาที่ชวยรัฐลดทอนความเปนการเมือง (de-politicization) ของความขัดแยงในสังคมใหกลายเปนเพียงเร่ืองทางเทคนิค ซ่ึงตองอาศัยผูเชี่ยวชาญที่ถูกฝกฝนมาอยางดีในการจัดการแกไข (Li 2007:7) และเอ็นจีโอจํานวนหนึ่งก็สวมบทบาทเปนผูเชี่ยวชาญในการจัดการความขัดแยงน้ันเสียเอง ทั้งโดยการอาง trusteeship ความดีงาม และความตั้งใจดีของตนเอง โดยมองขามวาการกระทําของตนเองนั้นแทที่จริงก็เปนสวนหนึ่งของการเมืองดวยเชนกัน บทความยังเสนออีกวาจินตนาการวาดวยทางเลือกที่สามนี้ไมใชเรื่องใหมหรือเปนทางเลือกใหม

Page 5: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

5

แตอยางใด แตมันคือมรดกทางความคิดในการทํางานของเอ็นจีโอไทยซึ่งตกทอดมานานกวาสามทศวรรษ ยิ่งไปกวานั้นจินตนาการดังกลาวนี้อาจมิไดชวยใหเราไปพนจากปญหาความขัดแยง หากมันเปนเพียงการเดินครอมวิกฤติปญหาที่มีอยู ซ่ึงในที่สุดมันก็กลายเปนกับดักที่ทั้งตอกย้ําปญหาเดิม ๆ และสรางปญหาใหม ๆ ใหเกิดขึ้นตามมาอีกมากมาย

การทบทวนจินตนาการของเอ็นจีโอและการชวงชิงความหมายของคําวา “ภาคประชาชน” มีความสําคัญมากไปกวาการทําความเขาใจความขัดแยง หรือความแตกแยกของบรรดา “เอ็นจีโอ” ที่กลายเปนประเด็นอันนาจับตามองในสังคมขณะนี้ หากแตมันเปนการตรวจสอบทบทวนปฏิบัติการทางอํานาจของกลุมบุคคลและองคกรสถาปนาตนเองขึ้นมากําหนดวิถีชีวิตของผูอ่ืนในนามของ “การสรางทางเลือก” (โดยไมเลือกขาง) ดวยความเสียสละ (เขามาแกไขปญหาของผูอ่ืน) ความดี (โดยใชสันติวิธี) และความสะอาด (ไมยุงเกี่ยวกับการเมือง) ทวา กระบวนการดังกลาวกลับนําไปสูการขีดเสนแบงความเปน “ประชาชน” ซ่ึงทําให “ประชาชน” บางกลุมหรือบางลักษณะเทานั้นที่ถูกผนวกเขากับกระบวนการพัฒนาและไดรับการปกปองคุมครองสิทธิอันพึงมีพึงได ขณะที่บางกลุมถูกเบียดขับ กีดกัน และถูกละเมิดสิทธิโดยไมไดรับการเหลียวแล

ตลอดระยะเวลาหลายเดือนที่ผานมา ดวยความไมคอยจะรูอะไร ผูเขียนพยายามเรียนรูชุดคําอธิบายตาง ๆ เกี่ยวกับเหตุการณบานเมืองที่แพรสะพัดอยางสับสนอลหมาน เน่ืองจากผูเขียนเคยเปนผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอและจัดไดวาคลุกคลีอยูใน “วงการ” พอสมควรทําใหเสียงที่ไดยินชัดเปนพิเศษคือขอถกเถียงและวิพากษวิจารณเกี่ยวกับบทบาททาทีของเอ็นจีโอไทยตอสถานการณการเมือง ขอถกเถียงหรือขอวิพากษวิจารณหลายอยางเปนเรื่อง “ภายใน” ที่มีผูเก็บเอามาเลาใหฟง ในฐานะนักวิชาการผูเขียนพยายามทําความ “เขาใจ” เง่ือนไขที่มาของขอถกเถียงเหลานั้น

เน้ือหาของบทความนี้ไปแบงออกเปน 6 สวนดวยกัน ถัดจากบทเกริ่นนํา นําเสนอภาพความเขาใจคําเรียกทาทีของ “เอ็นจีโอ” ตอสถานการณ

การเมืองนับตั้งแตชวงกอนการรัฐประหารป 2549 ที่ผานมา สวนที่สาม นําเสนอวา “เอ็นจีโอ” นิยามและแบงแยก “ประชาชน” อยางไร สวนที่สี่ ทําความเขาใจวาเอ็นจีโอมีความเขาใจ “การเมือง” อยางไร สวนที่หา นําเสนอจินตนาการและภาพลกัษณที่เอ็นจีโอสรางใหแกตนเอง และสวนสุดทายเปนบทสรุป

3. “เอ็นจีโอ” กับการไมเลือกขางทางการเมือง “เอ็นจีโอ” เปนคําที่ใชกันมานานจนแทบไมมีใครตั้งคําถามถึงความหมายของมัน แตเอ็นจีโอในบริบทสังคมไทยมีความหมายเฉพาะ ในเอกสารฉบับน้ีเม่ือกลาวถึง “เอ็นจีโอ” ผูเขียนหมายถึงทั้งองคกรสาธารณะประโยชนและผูปฏิบัติงานในองคกรสาธารณะประโยชนที่มีทัศนะและแนวทางการทํางานที่วิพากษวิจารณรัฐ เปนสวนหนึ่งของประชาสังคมที่เคลื่อนไหวเพื่อใหประชาชนมีสวนรวมในการตัดสินใจ

Page 6: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

6

กําหนดทิศทางการพัฒนาและกําหนดอนาคตตนเอง และมีสวนรวมในการะบวนการตรวจสอบอํานาจรัฐและการใชอํานาจทางการเมือง

ตั้งแตปลายทศวรรษ 2510-ตนทศวรรษ 2540 เอ็นจีโอมักทํางานใกลชิดกับคนรากหญา โดยจัดตั้งและเคลื่อนไหวรวมกับองคกรประชาชน (POs-People Organization) ซ่ึงในการทํางานและเคลื่อนไหวจะแยกแยะบทบาทของ NGOs กับ POs ออกจากกันอยางชัดเจน ผาสุก พงษไพจิตร (Pasuk 2002) ชี้วาบทบาทและศักยภาพหลักของเอ็นจีโอเกิดจากการสั่งสมประสบการณการปฏิบัติการทางการเมืองซึ่งทําใหเอ็นจีโอทําหนาที่เปนที่ปรึกษาที่มีประสิทธิภาพในการวางยุทธศาสตรและกลยุทธตาง ๆ ลักษณะเดนที่สําคัญของการทํางานของเอ็นจีโอคือการทํางานใกลชิดกับชาวบาน จึงทําใหชาวบานไดเรียนรูจากเอ็นจีโอในการจัดตั้งกลุมตาง ๆ การจัดการประชุม การเดินขบวน ในฐานะที่เปนวิถีทางแหงการสื่อสารและกอเกิดความรูใหม ๆ เอ็นจีโอไดชวยชาวบานในการสรางเครือขายและเสริมสรางความเขมแข็งและความเชื่อม่ันในการแกไขปญหาของตนเอง เอ็นจีโอไมเพียงสรางการเชื่อมโยงระหวางกลุมคนตาง ๆ ในขบวนการประชาชน แตยังเชื่อมโยงระหวางชาวบานกับนักวิชาการ และในบางกรณีก็ชวยประสานงานกับหนวยงานรัฐ ทําใหประเด็นตาง ๆ ที่สงผลกระทบตอคนดอยอํานาจไดถูกหยิบยกขึ้นมาในเวทีสาธารณะ ผานสื่อ การประชุม สัมมนา โครงการวิจัยทางวิชาการ และอ่ืน ๆ และหากปราศจากการหนุนชวยของเอ็นจีโอเสียแลว ขบวนการเคลื่อนไหวมากมายจะออนแอและบรรลุผลนอย

นับตั้งแตกลางทศวรรษ 2540 เปนตนมา มีองคกรสาธารณะประโยชนเพ่ิมขึ้นมากมาย และมีแนวทางทํางานในลักษณะแตกตางหลากหลายกันไป หลายบุคคล/องคกรเรียกตนเองวา “ภาคประชาสังคม” แทนที่จะใชคําวา “เอ็นจีโอ” ชลิตา (อางใน Atchara and Chalita 2010) ยกตัวอยางนักกิจกรรมทางสังคมที่ทํางานอยางแข็งขันในภาคใตในปจจุบันเรียกตัวเองวา “ภาคประชาสังคม” พวกเขามีองคกรของตัวเองเปนการเฉพาะ ซ่ึงเปนองคกรที่ เชื่อมโยงกับหนวยงานรัฐหรือสถาบันทางวิชาการ ตัวอยางเชน ศูนยศึกษาและพัฒนาสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), สถาบันชุมชนทองถิ่นพัฒนา, สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน), สํานักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสรางสุขภาพ (สสส.), และศูนยเฝาระวังสถานการณภาคใต กลุมเหลานี้ไดรับการสนับสนุนทางการเงินจากหนวยงานของรัฐ พวกเขาไมคอยทาทายการควบคุมทางการเมืองโดยรัฐ แตเนนการรวมมือกับภาครัฐและหนวยงานทางทหาร ในบริบทนี้ เอ็นจีโอแบบที่เขาใจกันทั่วไปไดกลายมาเปนสวนหนึ่งของภาคประชาสังคม และไมไดดําเนินการเคลื่อนไหวแบบสุดขั้วเพ่ือผลักดันขอเรียกรองของคนทองถิ่นสูหนวยงานรัฐอีกตอไป ในเอกสารฉบับน้ี ผูเขียนเนนพิจารณา “เอ็นจีโอ” ที่เคยมีบทบาทตรวจสอบทาทายอํานาจรัฐและเสริมสรางอํานาจและความเขมแข็งของประชาชน ในการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ผานมา หากแบงหยาบ ๆ ตามทาทีทางการเมือง อาจแบงเอ็นจีโอในกลุมที่ผูเขียนรูจักเปนสามกลุมใหญ กลุมหน่ึงแสดงจุดยืนชัดเจนในการเขารวมหรือสนับสนุนการชุมนุมของคนเสื้อแดง ตอตานและประณามการกระทําของรัฐบาลที่ใชกองกําลังเขาปราบปรามผูชุมนุม กลุมที่สอง เลือกสวมเสื้อเหลืองมาตั้งแตครั้งมีการชุมนุมขับไลทักษิณ ชินวัตร ออกจากการเปนนายกรัฐมนตรี และหลายคนในจํานวนนี้มีทาทีสนับสนุนหรือเห็นดี

Page 7: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

7

เห็นงามกับการกระทําของรัฐบาลดังกลาว สวนอีกกลุมหน่ึง วางเฉยไมแสดงทาทีหรือทัศนะใด ๆ ในทางสาธารณะอยางนอยก็ในชวงตนของการชุมนุมไปจนถึง 1-2 เดือนแรกหลังจากเหตุการณวันที่ 10 เมษายน และ 19 พฤษภาคม 2553 และโดยเฉพาะอยางยิ่ง เอ็นจีโอกลุมน้ีเลี่ยงที่จะวิพากษวิจารณรัฐบาลในทางสาธารณะ

อันที่จริงความแตกตางในการแสดงทาทีตอการเมืองน้ันเกิดขึ้นมาตั้งแตชวงหลังวันที่ 19 กันยายน 2549 เม่ือครั้งที่มีการรัฐประหารรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร และมีการจัดตั้งคณะกรรมการยกรางรัฐธรรมนูญภายใตรัฐบาลทหารที่นําโดยพลเอกสรยุทธ จุลานนท ซ่ึงปรากฏวามีเอ็นจีโอเขารวมกระบวนการดังกลาว ขณะที่มีกลุมที่ออกมาคัดคานกระบวนการยกรางและรณรงคใหประชาชนลงมติไมรับรางรัฐธรรมนูญ ดวยเหตุผลที่วากระบวนการยกรางรัฐธรรมนูญเกิดขึ้นภายใตรัฐบาลที่ขาดความชอบธรรมตามระบอบประชาธิปไตย นอกจากนั้นก็แนนอนวามีกลุมเอ็นจีโออีกเปนจํานวนมากที่เงียบเฉยไมแสดงความเห็นและทาทีใด ๆ ตอกระบวนการดังกลาว

จนกระทั่งในชวงที่มีการลงมติรางรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการประสานงานองคกรพัฒนาเอกชน (กป.อพช.) ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค ก็คอยทยอยกันออกมาออกแถลงการณซ่ึงมีเน้ือหาที่ขัดแยงกัน กลาวคือ วันที่ 15 กรกฎาคม 2550 กป.อพช. นําโดยนายจอน อ้ึงภากรณ ประธาน กป.อพช.ขณะนั้น แถลงจุดยืนไมยอมรับรางรัฐธรรมนูญ เน่ืองจากมีเน้ือหาที่ “ไมเอ้ือตอการปฏิรูปสังคมการเมือง และละเลยอํานาจทางการเมืองที่ชอบธรรมของประชาชนหลายดาน” (ดูรายละเอียดแถลงการณ ใน ประชาธรรม 15 ก.ค. 50) แตตอมา กป.อพช.เหนือ นําโดยนายบุญยืน คงเพชรศักดิ์ ประธาน กป.อพช.ขณะน้ันไดออกมาแถลงขาววาเปดกวางใหสมาชิกฟรีโหวต “เปนสิทธิของสมาชิกแตละเครือขาย ที่จะแสดงมติเห็นชอบหรือไมเห็นชอบก็ไดอยางอิสระ” (ดู ประชาธรรม 21 ก.ค. 50)

ทาทีและจุดยืนทางการเมืองของเอ็นจีโอในชวงเวลาดังกลาวไมเพียงแตทําใหเกิดการวิพากษวิจารณภายในวงการเอ็นจีโอ แตยังรวมถึงมีเสียงวิพากษวิจารณจากนักกิจกรรมทางสังคมกลุมตาง ๆ ตัวอยางเชน นักวิชาการกลุมมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนไดออกมาวิพากษวิจารณการแสดงจุดยืนทางการเมืองของเอ็นจีโออยางเผ็ดรอน โดยเฉพาะอยางยิ่ง เม่ือมีการชุมนุมของคนเสื้อเหลืองเพ่ือขับไลรัฐบาลและผูนํารัฐบาลจากพรรคไทยรักไทยซึ่งมีเอ็นจีโอจํานวนหนึ่งเขาไปรวมเปนแกนนําของกลุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธป.) และมีเอ็นจีโออีกจํานวนมากที่แสดงทาทีสนับสนุนการเคลื่อนไหว พธป. ทั้งโดยเปดเผยและไมเปดเผย

กระแสการวิพากษวิจารณและ “การแตกกัน” ทั้งภายในวงการและระหวางเอ็นจีโอกับนักกิจกรรมทางสังคมในสถานภาพอื่น ๆ มีมากขึ้นเรื่อย ๆ ปรากฏตามพื้นที่สาธารณะตาง ๆ โดยเฉพาะเวบไซท สื่อสาธารณะ และเวทีสัมมนา ขณะที่การแสดงทาทีของเอ็นจีโอกลุมตาง ๆ ตอการชุมนุมของคนเสื้อแดง และตอรัฐบาลภายหลังเหตุการณวันที่ 19 กันยายน 2549 ยิ่งเปนการย้ํารอยราวที่มีมาแตเดิมใหชัดเจนมากขึ้นไปอีก

สาธารณชนอาจทําความเขาใจจุดยืนและทัศนะทางการเมืองของเอ็นจีโอกลุมที่เขารวมหรือสนับสนุนขบวนการเสื้อเหลืองหรือขบวนการเสื้อแดงไดไมยาก เพราะมีการประกาศและอรรถาธิบายตัวตนและเหตุผลของตนเองกันอยางชัดเจนตามเวทีสาธารณะตาง ๆ ซ่ึงทําใหการวิเคราะหวิจารณกลุม

Page 8: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

8

เหลานั้นเปนไปอยางเปดเผยและชัดเจนดวยเชนกัน แตสําหรับเอ็นจีโอกลุมที่ “ไมเหลือง ไมแดง” หรือ “สองไมเอา” หรือ “ไมเลือกขาง” น้ันกลายเปนกลุมที่ถูกตั้งขอสงสัยและทวงถามถึงการแสดงจุดยืนทางการเมืองมากกวาสองกลุมที่ผานมา

ในฐานะพลเมือง ผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอมีสิทธิอยางสมบูรณที่จะคิดและแสดงหรือไมแสดงความคิดเห็นของตนเอง แตเหตุที่ผูเขียนตองนํามาวิเคราะหวิจารณก็เพราะวามันคือแนวความคิดชุดหนึ่งของนักกิจกรรมทางสังคมที่มีบทบาทหรือพยายามเขาไปมีบทบาทในการกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศไทย โดยอางความชอบธรรมบนสถานภาพ (อันคลุมเครือ) ของตนเอง ในฐานะเอ็นจีโอที่ (เคย) มีบทบาทและตําแหนงแหงที่สําคัญในประชาสังคม และมักอางวาการแสดงออกทางการเมืองของตนเองเปนการแสดงออกในฐานะ “ภาคประชาชน” หรือทําหนาที่สะทอนเสียงของ “ภาคประชาชน” การแสดงและไมแสดงจุดยืนทางการเมืองของเอ็นจีโอนําไปสูการตั้งคําถามในเชิงตรวจสอบ เพ่ือทําความเขาใจตอเบื้องลึกเบื้องหลังของวิธีคิดเหลานั้น ซ่ึงไมเพียงสะทอนถึงความกาวหนา (หรือลาหลัง) ทางความคิดของพวกเขา แตยังทําใหสังคมตระหนักถึงบทบาทและความสําคัญ (หรือความอันตราย) ของพวกเขาในการกระทําทางสังคมที่กําลังเกิดขึ้นและกําลังจะเกิดขึ้นในอนาคต ตลอดจนนําไปสูการตรวจสอบความชอบธรรม และความสําคัญของการมีสถาบันที่เรียกวา “เอ็นจีโอ” ในสังคม

จากการติดตามขอถกเถียงของบรรดาเอ็นจีโอปจจุบัน และคนเคยเปนเอ็นจีโอ ตามพื้นที่สาธารณะตาง ๆ (ซ่ึงอาจไมครอบคลุมประเด็นขอถกเถียงทั้งหมด) อาจประมวลเหตุผลที่เอ็นจีโอจํานวนมากหยิบยกขึ้นมาเปนเหตุผลของการไมเลือกขางทางการเมืองได 3 ประเด็นหลัก

ประเด็นแรก การชุมนุมของกลุมคนเสื้อแดงนั้นเปนการชุมนุมเคลื่อนไหวที่ “ไมชอบธรรม” ประเด็นที่สอง เอ็นจีโอตองจัดวางตําแหนงแหงที่ของตนเองและกําหนดตัวตนวาเปนนัก

กิจกรรมทางสังคมที่ปลอดจากการถูกแทรกแซงโดยนักการเมืองหรือกลุมผลประโยชน และประเด็นสุดทาย เอ็นจีโอไมเลือกขางทางการเมืองก็เพ่ือสรางทางเลือกใหมใหแกสังคมไทย คําอธิบายทั้งสามนี้มีความนาสนใจอยางมาก เพราะมันทําใหเขาใจวาเอ็นจีโอพยายามสรางอัต

ลักษณของตนเอง หรือจัดวางตําแหนงแหงที่ของตนเองในสังคมอยางไร ซ่ึงอัตลักษณดังกลาวเกี่ยวพันกับการนิยาม “ประชาชน” และการวางบทบาทของตนเองตอ “การเมือง” ที่จะสะทอนวาความเขาใจตอดังกลาวมีความลุมลึก รอบดาน และเทาทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมมากนอยเพียงใด

4. ม็อบที่ “ไมชอบธรรม” การชวงชิงนิยาม “ประชาชน”

“เราก็เคยทํามาหมดแลว ไปชุมนุมกับ คกน. ก็ไปมาไมรูกี่ครั้ง เรารูวาม็อบจริง ๆ เปนยังไง พวกเราไปตอสูเรียกรองเพราะเดือดรอนจริง แตพวกนั้น (เส้ือแดง) เขาถูกจางไป ที่หมูบานใกล ๆ นี่ก็มี เห็นวามีคนเอาเงินมาจางใหไป”

“การถูกจางมา” เปนขอกลาวหาตอการชุมนุมเดินขบวนของประชาชนที่ไดยินกันมานานในสังคมไทย โดยสวนใหญมันจะออกมาจากปากเจาหนาที่รัฐ กลุมผลประโยชน หรือชนชั้นกลางในเมืองที่ไมเคยสนใจจะพิสูจนหาขอเท็จจริง แตผูเขียนคิดถึงไมถึงวาตนเองจะมาไดยินขอกลาวหาแบบเดียวกัน

Page 9: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

9

จากปากของ “ประชาชน” ผูคุนเคยกับยุทธวิธีการตอรองทางอํานาจแบบน้ีดวยเชนกัน มันคือคํากลาวของพอบานและผูเฒาหลายคนในหมูบานแหงหน่ึงที่เคยรวมกิจกรรมกับเครือขายกลุมเกษตรกรภาคเหนือ (คกน.) เม่ือสิบกวาปกอน คํากลาวนี้สะทอนวาการรวมขบวนการเคลื่อนไหวของประชาชนที่ผานมาไดสรางและไมไดสรางความเขาใจอะไรบางเกี่ยวกับ “ม็อบ” ที่ “จริง” และ “ไมจริง”

สําหรับผูเขียนและเพื่อนซ่ึงเปนหรือเคยเปนเอ็นจีโอมากอน เปนเรื่องไมนาแปลกใจนักหากจะพบวาเอ็นจีโอรุนใหญที่มีชวงวัยหาสิบขึ้นไมสนใจที่จะแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในเวทีสาธารณะ เพราะแตไหนแตไรมาเปนที่เขาใจกันวาคาถาของเอ็นจีโอรุนน้ีคือ “คําตอบอยูที่หมูบาน” ซ่ึงถูกอธิบายวาอยูภายใตกรอบคิดวัฒนธรรมชุมชนที่หวังสรางชุมชนอุดมคติที่ปลอดจากการครอบงําโดยรัฐและทุน สวนเอ็นจีโอรุนใหมหากจะยังคงงงงวยกับจุดยืนทางการเมืองของตนเองก็เปนเรื่องที่พอจะเขาใจได เพราะความที่เปนนองใหมซ่ึงเพ่ิงเรียนรูวิธีคิดและการทํางานพัฒนาในองคกรเอกชน4 วัยและประสบการณการทํางานสะทอนกรอบความคิดในการทํางานไดระดับหน่ึง เพราะบริบททางสังคมการเมืองในแตละยุคสมัยที่เอ็นจีโอเหลานั้นมีบทบาทสงอิทธิพลตอแนวทางการทํางานของพวกเขาอยางมีนัยยะสําคัญ (ดู Atchara and Chalita 2010 และ อัจฉรา 2551)

แตทาทีของเอ็นจีโอรุนกลางที่มีชวงวัยใกลสี่สิบปขึ้นไปที่นิ่งเงียบไมสงเสียงวิพากษวิจารณใด ๆ ตอรัฐบาลและสถานการณทางการเมืองในเวทีสาธารณะ5 เปนทาทีที่นาสงสัยอยางยิ่ง ทั้งน้ี เน่ืองจากเอ็นจีโอรุนกลางโดยสวนใหญมีประสบการณการทํางานที่คุนเคยกับขบวนการเคลื่อนไหวของประชาชน และเกี่ยวของกับการเจรจาตอรองและผลักดันนโยบายตอภาคการเมืองมาโดยตลอด พวกเขามีสวนสําคัญในการฟนฟูขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่เคยซบเซาไปดวยเง่ือนไขทางการเมืองตั้งแตปลายทศวรรษ 2510 ใหกลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้งดวยการเปดศักราชการผลักดันการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายดวยยุทธวิธีการชุมนุมเดินขบวนนับครั้งไมถวนมาตั้งแตปลายทศวรรษ 25206

จากประสบการณการทํางานของเอ็นจีโอรุนกลางที่ผานมาทําใหเขาใจไดวาพวกเขาโดยสวนใหญเชื่อม่ันในพลังประชาชนและยุทธวิธีการสรางพลังอํานาจ (empower) ของประชาชนดวยการชุมนุมเดินขบวน ดังน้ัน ทาทีน่ิงเฉย (หรือเพิกเฉย) ตอความเปนไปทางการเมืองและการชุมนุมของเอ็นจีโอรุนกลางจึงทําใหเกิดคําถามวาเหตุใดพวกเขาจึงสนับสนุนการเมืองบนทองถนนของประชาชนบางกลุม แตกลับไมแยแสกับการเมืองบนทองถนนของประชาชนบางกลุม คําถามนี้นําไปสูการทบทวนวาเอ็นจีโอรุนกลางซึ่งมีบทบาทหลักในการกุมสภาพและกําหนดทิศทางองคกรพัฒนาเอกชนในปจจุบันนั้นมีความ

4 วากันวาเอ็นจีโอรุนเล็กนี้มีความเชี่ยวชาญในการใชเครื่องไมเครื่องมือและเทคโนโลยีสมัยใหม แตมีความสับสนในการแสวงหากรอบคิดในการทํางานของตัวเองเพราะตองประสบกับความแตกตาง (และแตกแยก) ทางความคิดของเอ็นจีโอทั้งรุนใหญและรุนกลาง 5 ในที่นี้เนนถึงการแสดงออกในเวทีสาธารณะ เชน การจัดอภิปราย แถลงขาว ออกแถลงการณ ฯลฯ เพ่ือแสดงความคิดเห็นทางการเมือง ไมนับรวมการพูดคุยกลุมยอย หรือการจัดเสวนากันเปนการภายใน 6 ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมและการชุมนุมเดินขบวนของหลายเครือขายไดรับการสนับสนุนและใหคําแนะนําเปนอยางดีจากเอ็นจีโอรุนใหญหลายทาน เพียงแตกลุมคนที่เปนกลไกหรือ “คนทํางาน” หลักคือเอ็นจีโอรุนกลาง

Page 10: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

10

เชื่อม่ัน “พลังประชาชน” เพียงใด และพวกเขาการตีกรอบความเปน “ประชาชน” และการกําหนดตําแหนงแหงที่ของเอ็นจีโอในประชาสังคม7 อยางไร

ผูเขียนพยายามประมวลคําอธิบายตาง ๆ ของเอ็นจีโอเทาที่พอจะทําได ทําใหพอสรุปไดคราว ๆ วาเงื่อนไขที่ทําใหเอ็นจีโอเหลานั้นเห็นวาการชุมนุมของคนเสื้อแดงมีความไมชอบธรรมมีอยูดวยกัน 3 ประเด็น ไดแก หน่ึง ที่มาที่ไปของมวลชนที่เกี่ยวพันกับนักการเมืองและพรรคการเมือง สอง เปาหมายของการชุมนุมที่ไมไดนําไปสูการแกไขปญหาของประชาชน และสาม การกําหนดยุทธวิธีในการเคลื่อนไหวที่ทําใหเกิดความรุนแรง โดยเฉพาะอยางยิ่งเม่ือแกนนํากลุมผูชุมนุมไมยอมยุติการชุมนุม หลังจากที่รัฐบาลยื่นขอเสนอที่จะใหมีการเลอืกตั้งใหมในเดือนพฤศจิกายน 25538

พวกเราเคารพการชุมนุมอยูแลว เพราะเปนเครื่องมือแสดงพลังสูงสุดของประชาชน ถาเพียงแตการชุมนุมนั้นมีความชอบธรรม... โดยพื้นฐานการชุมนุมเปนสิทธิของประชาชน แตตองสันติวิธี ไมใชความรุนแรง และสรางผลกระทบตอคนทั่วไปใหนอยที่สุด ดูไดต้ังแตการเลือกสถานที่ ถาเลือกที่มัฆวาน ไมไปราชประสงคก็อาจจะไมเกิดเหตุการณอยางนั้น นี่เปนหลักพ้ืนฐานที่จะนําไปสูชัยชนะของประชาชนได

ประยงค ดอกลําไย

(การอภิปรายในเวที 23 ก.ค.53)

ประยงค ดอกลําไย เอ็นจีโอรุนกลางจากภาคเหนือ เรียกการชุมนุมของคนเสื้อแดงวา “การ

ชุมนุมเรียกรองทางการเมือง” ตางจากการชุมนุมที่เขาใหการสนับสนุนมาโดยตลอดซึ่งเปน “การชุมนุมเรียกรองความเปนธรรม” ของ “ชาวบาน” ที่ถูกละเมิดสิทธิ เชน “ชาวบาน” ที่ถูกรัฐประกาศเขตปาทับพ้ืนที่อยูอาศัยและที่ทํากิน เปนตน เขามองวาการชุมนุมของคนเสื้อแดงเกิดจากการจัดตั้งมวลชนโดยอาศัยรสนิยมทางการเมืองที่มีรวมกัน และหยิบยกเอาความเหลื่อมล้ําทางสังคมมาเปนประเด็นในการสรางจุดรวมเพื่อชักชวนและจัดตั้งมวลชน ซ่ึงเปนเรื่องที่ทําไดไมยากเนื่องจากความเหลื่อมล้ํานั้นมีอยูแลวมากมายในสังคม (การอภิปรายในเวที, 23 ก.ค.53)

สุมิตรชัย หัตถสาร เลขาธิการคณะกรรมการประสานงานองคกรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ (กป.อพช.เหนือ) แสดงทัศนะวาการเคลื่อนไหวของชาวบานและการเคลื่อนไหวทางการเมืองตางก็เปน “การเมืองภาคประชาชน” เพราะใชพ้ืนที่ภาคประชาชนผลักดันการมีสวนรวมในการแกไขปญหาหรือผลักดันการมีสวนรวมทางการเมือง แตการเมืองเร่ืองสียึดโยงกับกลุมชนชั้นนําของประเทศโดยไมไดเอาปญหาดานลางไปใหรัฐแกไขปญหา “มันแตกตางจากการเคลื่อนไหวของชาวบาน เพราะชาวบานเขาจะเอาประเด็นของเขาเปนตัวขับเคลื่อน แลวเปาหมายของเขาไมไดไปลมอํานาจรัฐ แตใหรัฐแกปญหาของเขา จึงเปนการเคลื่อนคนละชุด” (บทสัมภาษณใน ประชาธรรม 1 ก.ย.53)

7 ในที่นี้ใชในความหมายของกรัมชี่ที่หมายถึง “ปริมณฑลของทุกส่ิงทุกอยางที่รัฐไมมีอํานาจผูกขาด...เปนแหลงรวมแหงความสัมพันธระหวางอุดมการณ-วัฒนธรรม เปนศูนยที่มาของกิจกรรมทาง ศีลธรรม และ ปญญา เปนที่มาของจิตสํานึกและอุดมการณตลอดจนเปนแหลงกําเนิดของปญญาชน รวมท้ังเปนเวทีการตอสูในระดับอุดมการณระหวาง ชนชั้นหลัก (fundamental class) ที่มุงครองความเปนใหญในสังคม..” (สุรพงศ 2525:164) 8 ทัศนะของเอ็นจีโอทานหนึ่งในเฟสบุควันที่ 23 ก.ค.53

Page 11: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

11

เอ็นจีโอจํานวนมากที่ไมแสดงจุดยืนและความคิดเห็นตอสถานการณความขัดแยงทางการเมืองที่ผานมาใหเหตุผลในทํานองเดียวกันวาความขัดแยงดังกลาวเปนเพียงความขัดแยงและตอสูกันของนักการเมืองซึ่งเปนกลุมผลประโยชน “ระดับบน” ซ่ึงไมวาผลที่ตามมาจะเปนอยางไรก็ไมตอบสนองความตองการหรือนําไปสูการแกไขปญหาของประชาชนอยางแทจริง โดยเฉพาะอยางยิ่งไมเกิดผลใด ๆ ที่เปนประโยชนตอประชาชน และ “ทองถิ่น” ซ่ึงเปนขอบเขตการทํางานของพวกเขา ตางจากการชุมนุมเคลื่อนไหวหรือการรณรงคผลักดันขอเสนอเชิงนโยบายตาง ๆ ที่พวกเขามีประสบการณรวมและกําลังดําเนินการอยู

“ศูนยกลางอํานาจหรือโครงสรางอํานาจกับโครงสรางอํานาจขัดแยงกันเอง ตอนนี้เลยกลายเปนปรากฏการณสีเหลืองสีแดง ไมใชความขัดแยงระหวางประชาชนกับรัฐ แตวามันคือการตอสูเพ่ือลมลางอํานาจรัฐ ระหวางผูนําของแตละฝายโดยดึงมวลชนเขามารวม” (สวิง ตันอุด 2553:23-24) “ประเด็นความขัดแยงในสังคมไทยตอนนี้ เปนความขัดแยงของการเมืองระดับบน การพูดถึงการเมืองระดับบน คนมองไมออกวาเปนผลประโยชนของใคร มันไมชัด...” (ชัชวาลย ทองดีเลิศ 2553:62)

การอางความไมชอบธรรมของการชุมนุม หรือการใหความหมายวาเปนการชุมนุมที่ไมใชขบวนการประชาชนที่แทจริง เปนเหตุผลที่สอดคลองกับการที่เอ็นจีโอพยายามกําหนดบทบาทของตนเองเปนนักกิจกรรมทางสังคมที่ทํางานโดยไมมีผลประโยชนทางการเมืองแอบแฝง ซ่ึงผูเขียนจะอภิปรายในหัวขอถัดไป

สิ่งที่นาประหลาดใจมากไปกวาไมแสดงความคิดเห็นทางการเมืองดังกลาว คือการที่เอ็นจีโอสวนใหญเพิกเฉยตอการที่รัฐใชกําลังเขาสลายการชุมนุมจนมีประชาชนผูเสียชีวิตและบาดเจ็บเปนจํานวนมาก ผูเขียนติดตามขาวการประชุมของเอ็นจีโอหลายครั้งหลังเหตุการณวันที่ 10 เมษายน และ 19 พฤษภาคม 2535 จนกระทั่งลาสุดการประชุมของ “ขบวนองคกรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ” ที่จังหวัดเชียงใหมในวันที่ 26 สิงหาคม 25539 พบวามีการอภิปรายเกี่ยวกับความตายของประชาชนเสื้อแดงนอยมาก และแทบไมมีการวิพากษวิจารณรัฐบาลที่ใชกําลังสลายการชุมนุมและไลลาคุกคามแกนนําเสื้อแดง สวนการเรียกรองใหยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินก็เปนเสียงที่ไดยินอยางแผวเบามาก

9 “เวทีเสวนาการจัดการตนเองของขบวนองคกรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ” ตัวโครงการระบุในยอหนาแรกถึงความสูญเสียวา “...จนนํามาสูการใชความรุนแรงตอกันเมื่อเดือนเมษายนและพฤษภาคม พ.ศ.2553 จนทําใหมีผูเสียชีวิตและสูญเสียทรัพยสินเปนจํานวนมาก” ผูเขียนไมไดรับเชิญใหเขารวมการประชุมดังกลาว แตผูที่เขารวมเลาใหฟงวาในเวทีไมไดพูดถึงความสูญเสียดังกลาวแตอยางใด ไมมีการวิพากษวิจารณการกระทําของรัฐบาลในเหตุการณดังกลาว แตพยายามเดินหนาระดมขอเสนอของเอ็นจีโอในเครือขายตาง ๆ เพ่ือผลักดันการทํางานของตนเอง ซึ่งอางวา “จะไมเขารวมกับจะไมเขารวมกับขบวนปฏิรูปที่มีนายอานันท ปนยารชุน เปนประธาน แตจะสรางกระบวนการของตนเองที่เปนอิสระ โดยสังเคราะหงานที่แตละเครือขายแตละพ้ืนที่เพ่ือยกระดับเปนขอเสนอเพื่อการเปลี่ยนแปลงตั้งแตระดับรากหญา ไปจนถึงการเปลี่ยนแปลงในระดับโครงสราง...” ซึ่งแทที่จริงหมายถึงการผลักดันขอเสนอของตนเองใหบรรจุอยูในแผนปฏิรูปประเทศไทยนั่นเอง

Page 12: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

12

เอ็นจีโอบางทานแสดงทัศนะในเฟสบุคและในวงประชุมตาง ๆ วาการชุมุนมของคนเสื้อแดงเปนเพียงเกมการเมืองที่ผูมีอํานาจฉวยใชปญหาและพลังประชาชนในการตอรองทางการเมือง และแมแตการมีผูเสียชีวิตจากการชุมนุมก็เปน “การพาคนไปตาย”10 ซ่ึงเปนสถานการณที่กําหนดไวลวงหนาแลว เพ่ือหวังผลใหมีการประณามรัฐบาลและเคลื่อนไหวขับไลรัฐบาลซึ่งเปนไปตามความตองการของกลุมการเมืองบางกลุม11 ดวยมุมมองดังกลาวทําใหเอ็นจีโอเหลานี้ไมเพียงแตเพิกเฉยตอความสูญเสียของประชาชนเสื้อแดงแตยังวิพากษวิจารณกลุมคนที่ออกมาเรียกรองความเปนธรรมใหแกประชาชนเสื้อแดงภายหลังเหตุการณวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 วาเหตุใดจึงไมวิจารณแกนนําขบวนการเสื้อแดงที่ทําใหเกิดความรุนแรงบาง12

สิ่งที่นาตกใจยิ่งกวาการที่มีเอ็นจีโอเพิกเฉยตอการสังหารประชาชน คือการที่มีเอ็นจีโอบางคนสนับสนุนใหใชความรุนแรงปราบปรามผูชุมนุม ทั้งน้ี มีตัวอยางที่ชัดเจนตัวอยางหนึ่งวากอนเหตุการณวันที่ 10 เมษายน 2553 เอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่งที่เขารวมกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธป.) เขียนบทกวีเรียกรองใหรัฐบาลสลายการชุมนุม และใชคําที่มีความหมายในแงลบเพ่ือหมายถึงประชาชนเสื้อแดง เชน “ม็อบอันธพาล” “คนชั่วชา” และ ”หมูมาร” และใชคําในทํานองเดียวกันเพ่ือหมายถึงการกระทําของกลุมผูชุมนุม เชน “กอการราย” “ขึงพืดประเทศไทย” “ปวนเมือง” ซ่ึงไมตางจากวาทกรรมที่รัฐบาลใชกับประชาชนเสื้อแดงในชวงกอนและหลังปราบปรามผูชุมนุม

รบเถิด ! อภิสิทธ์ิ

กี่วัน กี่คืนแลว ! อภิสิทธิ์ แผนดินตองมืดมิดทั้งแปดดาน ระเบิดปวนผสมม็อบอันธพาล กฎมารอยูเหนือกฎหมายนาอายนัก กี่คํา กี่ครั้งแลว ที่ประกาศ คนในชาติรอชวยดวยใจรัก แอบแบงใจแอบเชียรกลัวเสียหลัก แมอกหักก็ยังเชียรไมเสียใจ แตตอนนี้ ไมไหวแลว พระเจา !!! ขา คนชั่วชากอการรายเพื่อนายใหญ ยึดกรุงเทพฯ ขึงพืด ประเทศไทย พรอมใสรายหมายลมองคสยมภู รบเถิด ! อภิสิทธิ์ ทุกชีวิตจักยืนเคียงเพียงหยัดสู ลมอันธพาลปวนเมืองที่เฟองฟู นําบานเมืองคืนสูเนื้อนาบุญ รบเถิด ! อภิสิทธิ์ กอนมวลมิตรอิดหนาไมมาหนนุ กอนสังคมไมชวยเหลือมาเกื้อคุณ กอนตนทุนจะไมพอขอทํางาน รบเถิด ! อภิสิทธิ์ ไมตองอิทธิฤทธิ์อภินิหาร แคประสานรวมพลลมหมูมาร โลกจะพรอมอภิบาลชวยทานเอง

ภารดร-ภาพ 7 เมษายน 2553

http://www.oknation.net/blog/mataharee/2010/04/07/entry-1

10 คํากลาวของเอ็นจีโอรุนใหญและรุนกลาง 2-3 ทาน ในการเสวนาของ “ขบวนองคกรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ” วันที่ 26 ส.ค. 53 11 ทัศนะของเอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่ง โพสในเฟสบุค วันที่ 23 ก.ค. 53 12 ทัศนะของเอ็นจีโอระดับผูบริหารทานหนึ่งที่พูดคุยแบบไมเปนทางการกับ TSMW ผูเขียนไดรับการบอกเลามาอีกทอดหนึ่งในวันที่ 11 ก.ย.53

Page 13: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

13

จากทัศนะและทาทีของเอ็นจีโอที่กลาวมาทั้งหมดสะทอนใหเห็นไดอยางชัดเจนวามีการจัดประเภท “ประชาชน” จนทําใหเสียงรองทุกข การบาดเจ็บ และความสูญเสียของประชาชนเสื้อแดงไมอยูในสายตาของเอ็นจีโอ ขณะที่การชุมนุมเดินขบวนที่เรียกกันทั่วไปในสังคมไทยวา “ม็อบ” ถูกตีคาและจัดประเภทดวยบรรทัดฐานบางอยาง จนทําใหการลอมปราบและสังหารประชาชนใน “ม็อบเสื้อแดง” กลายเปนสิ่งที่ทําได ควรทํา หรือควรเพิกเฉย ไมจําเปนตองวิพากษวิจารณ หรือควรลืมมันไปเสีย จนกระทั่งอดีตเอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่งตั้งกระทูในเฟสบุคเชิงเสียดสีประชดประชันวาคงเปนเพราะคนเสือ้แดงไมใช “กลุมชาติพันธุ ชนกลุมนอย ผูดอยโอกาส’” พวกเขาจึงไมไดรับการเหลียวแลจากเอ็นจีโอโดยสวนใหญ

สวนตัวผูเขียนก็เกิดความสงสัยเชนกันวาความตายของ “ประชาชน” แบบใดกันจึงจะไดรับการใสใจจากเอ็นจีโอที่อางตัวเสมอมาวาเปนตัวแทนในการสะทอนเสียงและปกปองผลประโยชนของ “ภาคประชาชน” มาตรวัด “ความชอบธรรม” หรือ “ความบริสุทธิ์” ของการชุมนุมเคลื่อนไหวของประชาชนนั้นเกี่ยวพันอยางมีนัยยะสําคัญกับการใหคุณคาและความหมาย “การเมืองภาคประชาชน” “ภาคประชาชน” และ “ประชาชน” ในสนามของการชวงชิงความหมายที่มีทั้งการฉวยใชและตีความใหมของคํา ๆ น้ี

“ภูมิปญญา” ที่นาฉงน การหลอหลอมทางความคิดในการทํางานพัฒนาของเอ็นจีโอรุนกลางเกิดขึ้นทามกลาง

สถานการณการชวงชิงทรัพยากรระหวางภาคเมืองกับภาคชนบท ระหวาง “การพัฒนา” กับ “การอนุรักษ” ระหวางทุนนิยมกับเศรษฐกิจแบบพออยูพอกิน และระหวางรัฐและนายทุนกับชาวบาน ในการตอสูตอรองกับฝายแรกที่มีพลังอํานาจมากกวาเอ็นจีโอจึงอยูรวมในกระบวนการสรางวาทกรรมและสรางภาพแทนตาง ๆ เชน “ภูมิปญญาทองถิ่น” “ความรูพ้ืนบาน” หรือ “ปราชญชาวบาน” ฯลฯ กระบวนการสรางภาพแทนและวาทกรรมตานเหลานี้เปนสวนหนึ่งของยุทธวิธีและกระบวนการในการตอสูกับกระแสความคิดที่ครอบงําคนในสังคมซึ่งนําไปสูการกีดกันและเบียดขับความรูและตัวตนของประชาชนในชนบทผูถูกอธิบายวาเปน “คนชายขอบ” หรือ “คนดอยอํานาจ” ของสังคม ถึงแมวาเอ็นจีโอรุนกลางจะพยายามหลุดออกมาจากกรอบคิด “คําตอบอยูที่หมูบาน” ของเอ็นจีโอรุนพ่ี แตก็ปฏิเสธไมไดวาพวกเขายังสืบทอดมรดกทางความคิดดังกลาวมาอยูไมนอย

ความเชื่อม่ันใน “ความรู” หรือ “ภูมิปญญา” ชาวบานเปนประเด็นที่จําเปนตองตรวจสอบอยางยิ่ง เพราะในดานหนึ่งเอ็นจีโอก็มักผลิตซ้ําชุดความคิดดังกลาววาชาวบานในชนบท หรือประชาชนทองถิ่นมีองคความรูที่สามารถพึ่งพาและจัดการตนเองได ทั้งในดานการเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ การบริหารจัดการองคกรประชาชน การปกครองทองถิ่น ฯลฯ แตในอีกดานหนึ่ง กลับพบวาเอ็นจีโอจํานวนไมนอยเห็นวาการชุมนุมของประชาชนเสื้อแดงเกิดจากการความตื้นเขินของคนชนบท ไมวาจะเปนการถูกลอลวง ชักชวน จางวาน หรือแมแตสั่งการโดยนักธุรกิจการเมืองระดับทองถิ่นและระดับชาติซ่ึงเปนผูอุปถัมภพวกเขา หรือการเห็นแกผลประโยชนทางเศรษฐกิจจากนโยบายประชานิยม หรือเพียงแคการมี

Page 14: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

14

รสนิยมการเมืองรวมกันบางอยาง กลาวอยางถึงที่สุดก็คือพวกเขาไมไดนับประชาชนเสื้อแดงเปน “ชาวบาน” ผูมี “ภูมิปญญา” แตเปนเพียง “เบี้ย”13 ของนักการเมืองเทานั้น

ชัชวาลย ทองดีเลิศ เอ็นจีโอรุนใหญผูรณรงคเรื่องภูมิปญญาทองถิ่นมาโดยตลอด เห็นวาขบวนการประชาชนไมวาจะเปนขบวนการเสื้อเหลืองหรือเสื้อแดง เปนกระบวนการที่สะทอนการเติบโตของประชาชน เพราะประชาชนไดตื่นตัวและสนใจอยากจะมีสวนรวมกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ พวกเขากําลังเสนอขอเรียกรอง ขับเคลื่อนและผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในอนาคต ดีกวาการที่ประชาชนทํามาหากินไปวัน ๆ โดยไมยุงเกี่ยวกับการเมืองซึ่งเปนภาวะออนแอ ทวา ชัชวาลยกลับเห็นวาประชาชนตองมีการพัฒนาความคิดในขั้นตอไป ซ่ึงจะทําใหพวกเขามีความคิด มีเหตุผล และมีความเปนตัวของตัวเองมากขึ้น และกลายเปนพลังประชาชนที่แทจริงในอนาคต

“คนไมมีทางถูกใครหลอกไดยาว ๆ ไมมีทางที่ใครจะหลอกเราไดตลอดชีวิต แตเมื่อเวลาผานไปเราตองรูวาเราถูกหลอก... ตอนนี้ความขัดแยงจะทําใหคนคิดจากคิดเฉย ๆ แลวเขาไปมีสวนรวมกับฝงใดฝงหนึ่ง...ตอไปจะเริ่มมีความคิดเปนของตัวเอง ไมถูกดึงไปฝงใดฝงหน่ึง...แลวในที่สุดจะเขาใจอํานาจตัวเอง พบกับความคิด สิทธิ และอํานาจของตัวเองดวย” (ชัชวาลย ทองดีเลิศ 2553:61-62)

น่ันหมายความวาการฝกใฝฝายการเมืองไมวาฝายใดสะทอนวาประชาชนยังไมมี “ความคิดเปน

ของตนเอง” อยางแทจริง ขณะที่ความเขาใจ “สิทธิและอํานาจ” ของประชาชนกับความเขาใจเรื่อง “การเมือง” ถูกอธิบายวาเปนคนละเรื่องกัน ดังน้ัน จึงเกิดคําถามวาความรูความเขาใจทางการเมือง สิทธิ และอํานาจ แบบใดจึงจะนับเปน “ภูมิปญญาชาวบาน” แบบเอ็นจีโอแสวงหาและใหการยอมรับ

ประชาชนผูนารัก หลังปฏิบัติการกระชับพ้ืนที่ของรัฐบาลในวันที่ 19 พฤษภาคมผานมาไดระยะหน่ึง ผูเขียนไดมี

โอกาสสนทนากับเอ็นจีโอรุนพ่ีสองคนที่กําลังขับเคี่ยวกับการล็อบบี้รัฐบาลเพ่ือผลักดันนโยบายและการแกไขปญหาบางอยาง ผูเขียนถามวาเธอคิดวาอยางไรกับขอวิพากษวิจารณรัฐบาลในขณะนั้นที่วารัฐบาลหมดความชอบธรรมที่จะบริหารประเทศตอไป เธออธิบายวาพวกเธอและเอ็นจีโอหลายคนก็ไมอยากจะเจรจาตอรองกับรัฐบาลอีกแลวเพราะเห็นดวยวารัฐบาลหมดความชอบธรรม แต “เราตัดสินใจตามอําเภอใจไมไดแตเราตองฟงเสียงพ่ีนอง” เน่ืองจากชาวบานที่พวกเธอกําลังทํางานดวยก็กําลังเผชิญกับสถานการณหนาสิ่วหนาขวาน มีชาวบานคนหนึ่งในเครือขายถูกลอบสังหาร และมีชาวบานจํานวนมากถูกจับกุมดําเนินคดี ยังตองอาศัยการล็อบบี้กับรัฐบาลเพื่อชวยใหพวกเขาผานพนสถานการณอันเลวรายเหลานั้นไปได

13 คําที่เอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่งใชเรียกคนเสื้อแดงที่เสียชีวิตจากการชุมนุมวาพวกเขาเปน “เบ้ีย” ของนักการเมือง จากเฟสบุค 23 ก.ค.53

Page 15: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

15

ทามกลางเสียงวิพากษวิจารณรัฐบาลวาหมดความชอบธรรมในการบริหารประเทศ เอ็นจีโอจํานวนมากไมเพียงไมวิพากษรัฐบาลแตกลับเขารวมกระบวนการปฏิรูปประเทศไทยดวยความเบิกบาน ทั้ง ๆ ที่กระบวนการดังกลาวจะถูกวิจารณวาเปนเคร่ืองมือที่รัฐบาลใชซ้ือเวลาเพื่ออยูในอํานาจตอไป อยางไรก็ตาม สุมิตรชัย หัตถสาร เลขาธิการ กป.อพช.เหนือ กลาววาการเขารวมกระบวนการปฏิรูปประเทศไทยเปนความตองการของ “ประชาชน” โดยที่เอ็นจีโอไมอาจคิดแทนหรือตัดสินใจแทน

...ผมหรือเอ็นจีโอจึงไมมีสิทธิที่จะไปตัดสินแทนเขา ในการที่เขาจะเอาประเด็นของตัวเองไปเขารวมขับเคล่ือนในการปฏิรูประเทศ เพ่ือบรรลุเปาหมายในการแกไขปญหาของเขา อันนี้เราไมสามารถไปปฏิเสธแทนเขาได ถาคณะกรรมการปฏิรูปตอบโจทยปญหาหรือความตองการของภาคประชาชนไดเปนสวนใหญ

(บทสัมภาษณ ในประชาธรรม 1 ก.ย.53)

กระนั้นก็ตาม เสียงเรียกรองของ “ประชาชน” เสื้อแดง และความสูญเสียของพวกเขา ไมอาจ

กลายเปนประเด็นที่ทําใหเอ็นจีโอใชเปนเหตุผลเพ่ือการกระทําใด ๆ ไมวาจะเปนการประทวงหรือคว่ําบาตรรัฐบาล การเรียกรองใหมีการพิสูจนสะสางหาผูสังหารประชาชน การวิงวอนใหรัฐเลิกไลลาและจับกุมพวกเขาอยางไมเปนธรรม ทั้งน้ี ไมนับรวมเสียงวิพากษวิจารณรัฐบาลที่มาจากประชาชนสวนอ่ืน ๆ ของสังคมอีกมากมาย เชน ในกรณีการละเมิดสิทธิในการรับฟงขอมูลขาวสารและแสดงความคิดเห็นในพ้ืนที่สาธารณะ การคุกคามเยาวชนที่ออกมาแสดงความคิดเห็นที่แตกตางไปจากรัฐบาล ฯลฯ เสียงของ “ประชาชน” เหลานี้ไมอาจแทรกเขาไปสงผลผลักดันใหเกิดปฏิบัติการใด ๆ ของเอ็นจีโอเหลานั้นไดเลย

เอ็นจีโอสวนใหญมีอุดมคติวาพลังประชาชนจะตองเปนพลัง “บริสุทธิ์” ซ่ึงหมายความวาขบวนการประชาชนจะตองไมถูกครอบงําหรือแทรกแซงโดยนักการเมืองหรือพรรคการเมืองที่เปนกลุมผลประโยชนที่ฉอฉล สวนการที่เอ็นจีโอสนับสนุนการเคลื่อนไหวของขบวนการประชาชนนั้นเปนสิ่งที่ทําไดและ “ชอบธรรม” ซ่ึงที่ผานมาเอ็นจีโอมีบทบาทสําคัญในการเคลื่อนไหวของขบวนการประชาชนจํานวนมาก ทั้งในการจัดตั้ง การสนับสนุนงบประมาณ การกําหนดยุทธศาสตรและเปาหมาย รวมทั้งการเปนตัวแทนเจรจาตอรองกับผูมีอํานาจ อยางไรก็ตาม การที่เอ็นจีโอแสดงบทบาทสนับสนุนและเปน “ตัวแทน” เครือขาย/องคกรประชาชนถูกตั้งขอสงสัยทั้งจากผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอดวยกันเอง และนักกิจกรรมทางสังคมอื่น ๆ มาโดยตลอดวาความสัมพันธเชิงอํานาจระหวางเอ็นจีโอกับชาวบานในขบวนการเคลื่อนไหวหนึ่ง ๆ น้ันเปนเชนไร ชาวบานมีอิสระและมีอํานาจในการกําหนดการเคลื่อนไหวมากนอยเพียงใด และแทที่จริงเอ็นจีโอเชื่อม่ันในภูมิปญญาชาวบานและพลังประชาชนมากเพียงใด (ดู Atchara and Chalita 2008)

หากเปรียบเทียบระหวางขบวนการประชาชนเสื้อแดง กับขบวนการประชาชนอื่น ๆ ที่เอ็นจีโอใหการสนับสนุนมาโดยตลอด พบวาขบวนการประชาชนทั้งสองลักษณะไมมีความแตกตางกันมากนักทั้งในเชิงขอเรียกรอง ยุทธศาสตร หรือแมแตยุทธวิธีที่ใชในการชุมนุมเคลื่อนไหว ตัวอยางเชน การเรียกรองใหยุบสภา การชุมนุมในที่สาธารณะอยางตอเน่ืองนานหลายวัน การปะทะกับกองกําลังเจาหนาที่ การใชสัญลักษณในการเคลื่อนไหว รวมถึงการสูญเสียอันถูกเจาหนาที่รัฐหรือผูมีอิทธิพลใช

Page 16: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

16

ความรุนแรงเขาปราบปรามหรือลอบสังหาร ฯลฯ14 ขอแตกตางที่สําคัญมีเพียงประการเดียวคือประชาชนเสื้อแดงไมไดมาจากการจัดตั้งและสนับสนุนของเอ็นจีโอ ดังน้ัน จึงอาจเปนเรื่องที่อันตรายอยางมากหากพบวาเกณฑที่เอ็นจีโอใชจัดประเภท “ประชาชน” และ”ขบวนการประชาชน” ที่ชอบธรรมหรือไมชอบธรรมนั้นอยูที่ “สังกัด” ของประชาชน เพราะเกณฑน้ีจะไปลบลางอุดมคติของเอ็นจีโอวาดวยภูมิปญญาชาวบานและพลังอันบริสุทธิ์ของประชาชน และบทบาทที่เหมาะสมเอ็นจีโอซึ่งไมไดครอบงําชาวบาน

ประชาชนผูนาชัง ปญหาความทุกขยากเดือดรอนของประชาชนเปนเกณฑหน่ึงที่เอ็นจีโอบางกลุมใชจัดจําแนก

ประเภท “ประชาชน” ในทัศนะของเอ็นจีโอสวนใหญประชาชนชายขอบหรือผู “ดอยอํานาจ” เปนผูที่ถูกรัฐหรือนายทุนผูมีอิทธิพลละเมิดสิทธิจนประสบความยากลําบากในการดําเนินชีวิต เชน ถูกจับกุมคุมขัง ถูกดําเนินคดี ถูกอพยพออกจากพื้นที่อันเนื่องมาจากนโยบายการอนุรักษหรือการพัฒนาตาง ๆ ฯลฯ ผูที่ประสบปญหาเชนนั้นมักถูกมองวาเปนประชาชนที่ออนแอและรอคอยการชวยจากเอ็นจีโอ และหากเปน “ชาวบาน” ที่ใสซื่อบริสุทธิ์ ไมมีวิถีชีวิตแบบวัตถุนิยมและบริโภคนิยม อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หรือทําการเกษตรปลอดสารพิษดวยแลว ก็ยิ่งจะไดรับความเห็นอกเห็นใจมากเปนพิเศษ

อยางไรก็ตาม เอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่งที่เคยมีประสบการณการเคลื่อนไหวรวมกับสมัชชาคนจน ตั้งขอสังเกตวาเอ็นจีโอมีความเขาใจบทบาทของตนเองอยางผิดพลาด เพราะเอ็นจีโอไมไดมีหนาที่ “แกปญหา” แทนประชาชน แตมีบทบาทในการสนับสนุนใหประชาชนรวมตัวกันสรางพลังอํานาจในการตอรองเพื่อแกไขปญหาและกําหนดอนาคตตนเอง ดังนั้น การรวมพลังของประชาชนเสื้อแดงก็ควรจะไดรับการสนับสนุนจากเอ็นจีโอดวย การเพิกเฉยตอการชุมนุมและความตายของคนเสื้อแดงสะทอนวาเอ็นจีโอเหลานั้นไมเชื่อม่ันในพลังประชาชนอยางแทจริง15 ทัศนะดังกลาวทําใหเกิดคําถามวา “ประชาชน” และ “ขบวนการประชาชน” ตามความหมายของเอ็นจีโอนั้นจํากัดอยูเพียงใด

ประชาชนเสื้อแดงไมใช “ประชาชน” ตามอุดมคติของเอ็นจีโอ เพราะพวกเขาแลดูไม “ยากจนขนแคน” จนนาสงสารนาเห็นใจ พวกเขาไมไดพูดถึงการทําเพื่อ “สวนรวม” เชน การกูชาติ การปกปองอธิปไตยของชาติ การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ การรักษาไวซ่ึงภูมิปญญาทองถิ่นวัฒนธรรมประเพณี ฯลฯ ยิ่งเม่ือมีคําอธิบายวาพวกเขาไมใชคน “รากหญา” แตเปนคน “ยอดหญา” หรือเปน “ชนชั้นกลางระดับลาง” ที่ตองการทุนนิยมและชื่นชอบนโยบายประชานิยมของรัฐบาลทักษิณซ่ึงตอบสนองความตองการทางเศรษฐกิจของตนเองดวยแลว จึงยิ่งทําใหพวกเขาไมไดรับความสนใจจากเอ็นจีโอ

ภัควดี ไมมีนามสกุล นักกิจกรรมทางสังคมแสดงทัศนะวาประชาชนเสื้อแดงเปนประชาชนที่อยูในโลกความเปนจริงซ่ึงระบบเศรษฐกิจของครัวเรือนเกี่ยวพันกับระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมของประเทศและโลกอยางแยกไมออก พวกเขาไมอาจกักขังตนเองใหอยูในบรรทัดฐานความดีงามตาม

14 ไมนับรวมเรื่องการใชอาวุธสงครามซึ่งยังไมมีขอพิสูจนที่ยอมรับไดวาเปนการกระทําของกลุมผูชุมนุม 15 แลกเปล่ียนสวนตัวกับเอ็นจีโอรุนพ่ีคนหน่ึงที่ทํางานอยูในสํานักงานองคกรพัฒนาเอกชนแหงหนึ่งในกรุงเทพฯ 10 ก.ค.53

Page 17: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

17

จินตนาการของเอ็นจีโอ พวกเขาจึงถูกมองเปน “เหยื่อที่รับเงินทักษิณ” แทนที่จะถูกนับรวมเปน “ประชาชน” (บทสัมภาษณ ในประชาธรรม 25 ส.ค.53) ขณะที่ปญหา“ความเหลื่อมล้ําทางการเมือง” ซ่ึงเปนประเด็นการตอสูเรียกรองของประชาชนเสื้อแดง ก็ไมถูกนับเปนปญหาความทุกขยากเดือดรอนหรือการถูกละเมิดสิทธิ ดังน้ัน การลุกฮือขึ้นมาเรียกรองสิทธิและความเปนธรรมทางการเมืองของประชาชนเสื้อแดงจึงถูกเอ็นจีโอจํานวนมากลดทอนคุณคาและความหมายใหกลายเปนเพียง “เกม” ที่ควบคุมโดยนักการเมืองและพรรคการเมืองเทานั้น16

อานันท กาญจนพันธุ นักมานุษยวิทยาเศรษฐกิจจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม และ Philip Hirsch นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยซิดนียชี้วา ปจจัยที่ทําใหคนเสื้อแดงออกมาชุมนุมเคลื่อนไหวมีความซับซอนเกินกวาที่จะทําความเขาใจโดยอาศัยกรอบคิดเชิงอรรถประโยชนหรือวัตถุนิยม เน่ืองจากคนเสื้อแดงไมไดออกมาเคลื่อนไหวเพราะมีความยากจนในเชิงวัตถุเพียงอยางเดียว แมวาความยากจนแบบนั้นจะยังคงมีอยูก็ตาม แตสิ่งที่พวกเขาใชอางถึง “ความยากจน” น้ันมีความซับซอนกวาเดิม หมายรวมถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษยและอะไรอีกหลายอยาง Philip Hirsch เห็นวาการเคลื่อนไหวของคนเสื้อแดงเกี่ยวของกับการชวงชิงความหมายของ “สิทธิ” ไดแก สิทธิที่จะไดเลือกตั้ง สส.ของตนเอง สิทธิที่จะบอกวาพวกเขาไมไดเลือกผิด ซ่ึงโยงไปกับการบอกวาพวกเขามีความรู หรือตอสูกับการที่คนอ่ืนบอกวาพวกเขามีสิทธิเลือกนอยกวาคนอื่นเพราะพวกเขาไมมีความรู รวมถึงการตอสูเพื่อสรางความหมายของตัวตนวาแมจะเปนคนชนบทหรือคนตางจังหวัดก็มีความหมายมีศักดิ์ศรี ดังน้ัน การอางถึงความทุกขยากเดือดรอนหรือ “ความยากจน” ในที่น้ีจึงเปนวาทกรรมในการถกเถียงและใชสรางความชอบธรรมหรือทําลายความชอบธรรมของประชาชนที่ออกมาชุมนุมเคลื่อนไหว (ประชาธรรม 23 ส.ค. 53)

อยางไรก็ตาม การทําความเขาใจการพูดถึงความเหลื่อมล้ําทางการเมืองในฐานะตอสูเชิงความหมายดังกลาวมีความซับซอนเกินขอบเขตความเขาใจของเอ็นจีโอจํานวนมาก พวกเขาจึงตัดสินวาการชุมนุมของคนเสื้อแดงไมใช “การชุมนุมเรียกรองความเปนธรรม” ซ่ึงเปนการตีคาเพื่อลดทอนความชอบธรรมในการเคลื่อนไหวของประชาชนเสื้อแดง สิ่งที่นาจะตั้งคําถามในประเด็นนี้ไมไดอยูที่วาการชุมนุมอยางไรจึงจะมีความชอบธรรม แตอยูที่วาใครกันที่มีสิทธิและอํานาจในการบอกวาการชุมนุมเคลื่อนไหวอยางไรที่มีความชอบธรรม การที่เอ็นจีโอบางคนอางตนวาเปนผูที่มีประสบการณเกี่ยวกับการชุมนุมเคลื่อนไหวของประชาชนมาโดยตลอดมิไดหมายความวาพวกเขาจะมีความชอบธรรมในการสถาปนาตนเองขึ้นมาเปน “ผูเชี่ยวชาญ” ในดานดังกลาวจนผูกขาดการนิยามความหมายของ “ประชาชน” และ “การชุมนุมเคลื่อนไหวอันชอบธรรม” ในทางตรงกันขาม การจําแนกแยกแยะประเภท “ประชาชน” และ “การชุมนุมเคลื่อนไหวของประชาชน” กลายเปนเรื่องที่ควรพิจารณาตรวจสอบในฐานะปฏิบัติการทางอํานาจของเอ็นจีโอเหลานั้นเองวามันนําไปสูการบอนทําลายความชอบธรรมและกีดกันเบียดขับประชาชนและขบวนการประชาชนนอกสังกัดของพวกเขาเพื่อผลประโยชนใด และทําใหเกิดผลกระทบอยางไรตอประชาชนที่ถูกเบียดขับเหลานั้น

16 ทัศนะของเอ็นจีโอและนักวิชาการ พบทั่วไปในเฟสบุค และการอภิปรายในพื้นที่สาธารณะ

Page 18: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

18

5. ความเขาใจ “การเมือง” ที่คับแคบ และการลดทอนความเปนการเมือง เอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่งแสดงทัศนะวาความขัดแยงในการแสดงออกทางการเมืองของบรรดา

เอ็นจีโอเกิดจากการตีความและใหความหมายปรากฏการณทางสังคมการเมืองอยางแตกตางกัน อันเน่ืองมาจากฐานความคิด ความเชื่อ ประสบการณและผลประโยชน ซ่ึงสงผลใหผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอแตละบุคคล/กลุมจัดวางตําแหนงแหงที่ของตนเองไปตามการตีความนั้น17 จากการรวบรวมทัศนะและขอถกเถียงตาง ๆ ในแวดวงเอ็นจีโอ ผูเขียนตั้งขอสังเกตวาที่มาที่ไปของขอถกเถียงและความขัดแยงในบรรดาผูปฏิบัติงานเอ็นจีโออยูที่การใหความหมาย “การเมือง” ที่แตกตางกัน และขอจํากัดของกระบวนการเรียนรูที่ทําใหเอ็นจีโอขาดกรอบคิดที่จะใชเปนเคร่ืองมือในการวิเคราะหและทําความเขาใจระบบโครงสรางการเมืองและสังคมที่เทาทันและรอบดาน

หลังปฏิบัติการกระชับพ้ืนที่ของรัฐบาล ขณะที่ผูคนในสังคมกําลังถกเถียงเร่ืองการหาผูรับผิดชอบตอการตายและการบาดเจ็บของประชาชนมากมายจากเหตุการณวันที่ 10 เมษายน และ 19 พฤษภาคม 2553 ก็ปรากฏวาผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอหลายทาน และเอ็นจีโอหลายองคกร (หรือกลาวไดวาสวนใหญ) ไมวิพากษวิจารณรัฐบาลในการใชความรุนแรงตอผูชุมนุม การปกปดบิดเบือนขอมูลขาวสาร และการคุกคามประชาชนผูแสดงความคิดเห็นทางการเมืองที่แตกตางไปจากรัฐบาล แตกลับไปเขารวมกระบวนการกลบเกลื่อน เบี่ยงเบนประเด็น และสรางความชอบธรรมใหรัฐบาลอยูในอํานาจตอไป จนทําใหเกิดขอถกเถียงทั้งในและนอกวงการเอ็นจีโอวาเอ็นจีโอมีความเขาใจ “การเมือง” อยางไร และจัดวางสถานะของตนตอ “การเมือง” อยางไร

สองเรื่องสําคัญที่รัฐบาลทําภายหลังการสลายการชุมนุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 คือการพูดถึงนโยบายการปฏิรูปที่ดินดวยการออกโฉนดชุมชนและมาตรการอื่น ๆ และการปฏิรูปโครงสรางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อแกไขปญหา “ความเหลื่อมล้ํา” ของสังคมไทย แมวากอนหนานี้รัฐบาลจะพูดและทําเกี่ยวกับเรื่องเหลานี้อยูบาง แตจะสังเกตไดวากระบวนการ18หลายอยางถูกเรงดําเนินการอยางเปนรูปธรรมมากขึ้นโดยแสดงใหสาธารณะชนเห็นอยางชัดเจนวาเปนกระบวนการจากการมีสวนรวมของ “ภาคประชาชน” ซ่ึงกระบวนการที่วานั้นก็ไดรับการขานรับอยางดีจากเอ็นจีโอเปนจํานวนมาก

ตัวอยางเชน ในวันที่ 24-25 มิถุนายน 2553 สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี จัดเวทีเสวนาประชาชน “การจัดการที่ดินเพ่ือการทํากิน: ปญหาและทางออก” โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานในงาน เวทีดังกลาวมีวัตถุประสงคเพ่ือรับฟงขอเสนอจากภาคประชาชนและเครือขายตางๆ อันจะนําไปสูการหามาตรการแกไขปญหาที่ดิน เครือขายปฏิรูปที่ดินแหงประเทศไทย (คปท.) ตอบรับคําเชิญเขารวมเวทีเสวนาดังกลาวพรอมยื่นขอเสนอวาจะสราง “กระบวนการปรองดอง” ที่เปนธรรมและลดความเหลื่อมล้ําไดอยางไร โดยที่ขอเสนอนั้นไมไดเกี่ยวของกับการสูญเสียของประชาชนเสื้อแดง แตเปนการผลักดันให

17 จากขอความของเอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่งในเฟสบุค 21 มิ.ย.53 18 ผูเขียนอยากใชคําวา “event” ตามแบบที่ภาคธุรกิจชอบจัดแลวเชิญนักแสดงในวงการบันเทิงมาโชวตัวมากกวาคําวา “กระบวนการ”

Page 19: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

19

รัฐบาลแกไขปญหาชาวบานในเครือขายที่ถูกดําเนินคดี รวมถึงการเรียกรองใหรัฐบาลออกโฉนดชุมชนและทําใหเกิดผลในทางปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม (สถาบันอิศรา 23 มิ.ย.53)

กระบวนการกลบเกลื่อนและสรางความชอบธรรมในการรักษาอํานาจของรัฐบาลที่โดดเดนที่สุดและถูกวิพากษวิจารณอยางกวางขวางคือกระบวนการปฏิรูปประเทศไทย ซ่ึงเอ็นจีโอทั่วทุกภูมิภาคของประเทศขานรับที่จะเขารวมสมัชชาปฏิรูปประเทศไทยที่นําโดยนายแพทย ประเวศ วะสี ไมวาจะในฐานะคณะกรรมการปฏิรูปฯ หรือโดยการผลักดันขอเสนอใหเขาไปอยูในแผนปฏิรูปฯ ดวยเหตุผลที่วาพวกเขากําลังสรางทางเลือกใหมที่ขามพนไปจากทั้งสองขั้วขัดแยงทางการเมือง19 และเปนโอกาสที่จะผลักดันการปฏิรูปเชิงโครงสรางซึ่งเปนประเด็นที่เอ็นจีโอรณรงคทํางานและผลักดันมาโดยตลอด

สุมิตรชัย หัตถสาร เลขาธิการ กป.อพช. เหนือ แสดงทัศนะวา เขาเห็นดวยที่จะเขารวมการปฏิรูปประเทศไทย หากวาการปฏิรูปจะตอบโจทยปญหาหรือความตองการของภาคประชาชนสวนใหญได ทั้งนี้ควรจะพิจารณาเนื้อหาของการปฏิรูปฯมากกวาการพิจารณาเฉพาะที่มาและโครงสรางคณะกรรมการฯ

...ขบวนการปฏิรูปประเทศไทยมันเกิดขึ้นมากอนหนานี้แลว มันทํามาตลอด เพียงแตไมสามารถไปตอกรกับรัฐที่รวมศูนยอํานาจได รัฐที่รวมศูนยอยู คิดแบบเดิมอยูมันเปนอุปสรรคใหญที่ทําใหปญหาของชาวบานไมสามารถแกไขไดสักที...” (บทสัมภาษณ ในประชาธรรม 1 ก.ย.53)

ดวยแนวคิดในลักษณะดังกลาว นอกเหนือจากการเขารวมเปนคณะกรรมการปฏิรูปประเทศไทยอยางออกหนาออกตาของเอ็นจีโอจํานวนหนึ่ง จึงพบวาเอ็นจีโออีกเปนจํานวนมากก็พยายามการล็อบบี้ผลักดันขอเสนอของตนเองใหเขาไปบรรจุอยูในแผนปฏิรูปฯ แมวาจะมีการประกาศตอสาธารณะวาจะไมเขารวมกระบวนการปฏิรูปประเทศไทยก็ตาม

ในสวนของขบวนองคกรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ ไดมีการจัดประชุมกรรมการและตัวแทนเครือขายเพ่ือวิเคราะหสถานการณที่เกิดขึ้น...เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เห็นวาการขับเคล่ือนไปอยางคอยเปนคอยไป แตมีความชัดเจนในแนวทางการพัฒนา ดีกวาเรงรีบแลวตองถูกสวนตางๆดึงไปเปนกําลังโดยที่ไมไดนําเสนอส่ิงที่ทํามา และไดขอสรุปเบ้ืองตนวาจะไมเขารวมกับขบวนปฏิรูปที่มีนายอานันท ปนยารชุน เปนประธาน แตจะสรางกระบวนการของตนเองที่เปนอิสระ โดยสังเคราะหงานที่แตละเครือขายแตละพ้ืนที่เพ่ือยกระดับเปนขอเสนอเพ่ือการเปลี่ยนแปลงตั้งแตระดับรากหญา ไปจนถึงการเปลี่ยนแปลงในระดับโครงสรางโดยในเวทีไดใหความสําคัญรวมกันในเรื่องการกระจายอํานาจ การจัดการตนเอง การสรางความเปลี่ยนแปลงซึ่งเปนคําที่ภาคประชาสังคมใชแทนคําวาการปฏิรูป เปนตน

สวนหนึ่งของหลักการและเหตุผลของ โครงการเวทีเสวนา การจัดการตนเองของขบวนองคกรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ

วันที่ 26 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมฮอลิเดย การเดน จ.เชียงใหม

19 จากขอความที่เอ็นจีโอรุนกลางทานหนึ่งในเฟสบุค 21-22 มิ.ย.53

Page 20: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

20

ทวิลักษณการเมืองในระบบ VS การเมืองภาคประชาชน ขอเรียกรองใหรัฐบาลยุบสภาฯแลวเลือกตั้งใหมไมอยูในประเด็นการพิจารณาของเอ็นจีโอโดย

สวนใหญ เน่ืองจากเห็นวาการเลือกตั้งไมชวยใหบานเมืองเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น แมวาเอ็นจีโอโดยสวนใหญไมไดปฏิเสธการมีอยูของการเมืองในระบบรัฐสภา แตพวกเขาก็กําลังพยายามสรางระบบการเมืองทางเลือกอ่ืน ๆ โดยเฉพาะ “การเมืองภาคประชาชน” ที่เนนการสรางอํานาจใหภาคประชาชนสามารถตอรองผลักดันใหนักการเมืองในระบบมีนโยบายหรือปฏิบัติตามความตองการของประชาชน

จากทัศนะของผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอจํานวนมากสะทอนความเขาใจวา “การเมืองในระบบ” เปนเพียงเร่ืองที่เกี่ยวของกับ นักการเมือง พรรคการเมือง และระบบหยอนบัตรเลือกตั้ง ขณะที่นักการเมืองไมวาระดับทองถิ่นหรือระดับชาติตางเลนการเมืองเพ่ือปกปองผลประโยชนของตนเองและพวกพองแตไมไดทําเพื่อผลประโยชนของประชาชนอยางแทจริง หรือกลาวงาย ๆ ไดวาระบบการเลือกตั้งไมมีทางทําใหมีนักการเมืองหรือพรรคการเมืองที่ดีที่จะบริหารบานเมืองใหเกิดผลดีตอประชาชน20 มนตรี จันทวงศ ประธาน กป.อพช. เหนือ อธิบายวาการทํางานของเอ็นจีโอที่ผานมาทําใหเอ็นจีโอตกผลึกวา “การเมืองในระบบ” ตลอดจนโครงสรางทางการเมืองและกฎหมายที่เปนอยูไมสามารถแกไขปญหาของชาวบานได นอกเสียจากชาวบานซึ่งเปนผูไดรับผลกระทบโดยตรงจากการดําเนินงานของรัฐจะตองสรางเง่ือนไขใหฝายการเมืองและฝายราชการมาแกไขปญหาใหพวกเขา (คลิปวีดีโอโดย TSM Watch, 8 ส.ค. 53)

ในทัศนะของเอ็นจีโอเหลานี้ “การเมืองในระบบ” เปนขั้วตรงขามของ “การเมืองภาคประชาชน” ไมวาจะเปนในเชิงความหมาย กระบวนการ และผลดีผลเสียของทั้งสองกระบวนการตอผลประโยชนของประชาชน หากวาการเมืองในอยางหลังประกอบขึ้นมาดวย พลังบริสุทธิ์ การตอสูจากปญหาที่แทจริง และการทําเพื่อ “ประชาชน” และ “สวนรวม” การเมืองในอยางแรกก็ถูกอธิบายดวยชุดคําที่ตรงกันขามอยางสิ้นเชิง เชน สกปรก การตกเปนเครื่องมือ และการทําเพื่อผลประโยชนของตนและพวกพอง สําหรับเอ็นจีโอที่มีแนวคิดดังกลาว พวกเขาเห็นวาจําเปนอยางยิ่งที่จะตองรักษาระยะหางระหวาง “การเมืองในระบบ” กับ “การเมืองภาคประชาชน” เพราะการทําใหสองขบวนการนี้มีความใกลชิดกันหรือเปนสวนหน่ึงของกันและกันเปนเรื่องที่อันตรายอยางยิ่ง (มนตรี จันทวงศ, คลิปวีดีโอโดย TSM Watch, 8 ส.ค. 53)21

ขอจํากัดของคุณภาพของประชาธิปไตยแบบตัวแทนเปนเรื่องที่เขาใจกันโดยทั่วไป ประภาส ปนตบแตง ชี้วา กลไกการเมืองทําใหการมีสวนรวมทางการเมืองถูกจํากัดอยูเพียงแคการหยอนบัตรเลือกตั้ง “ความไมเพียงพอของประชาธิปไตยแบบตัวแทน” ทําใหเอ็นจีโอและนักเคลื่อนไหวทางสังคมใหความสําคัญตอการพัฒนา “การเมืองภาคประชาชน” หรือ “การเมืองภาคพลเมือง” ที่เห็นวามันคือการ

20 จากการแลกเปลี่ยนสวนตัวกับผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอหลายทาน 21 รวมท้ังทัศนะของเอ็นจีโอรุนกลางหลายคนที่โพสในเฟสบุค

Page 21: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

21

สราง “ประชาธิปไตยทางตรง” หรือ “ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม” (ประภาส 2552) อยางไรก็ตาม การที่เอ็นจีโอสงวนทาทีที่จะไมวิพากษการใชอํานาจและความรุนแรงของรัฐบาลโดยอางวาไมตองการเปนสวนหนึ่งของการแยงชิงอํานาจทางการเมืองของนัก/พรรคการเมืองนั้น เปนคําอธิบายที่ไมเปนเหตุเปนผลมากพอ เพราะการมีสวนรวมในกระบวนการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐและการตัดสินใจใชอํานาจทางการเมืองยังคงเปนหัวใจสําคัญของการเมืองภาคพลเมือง (ณรงค 2552:51) ยิ่งไปกวานั้น ขณะที่เอ็นจีโอปฏิเสธประชาธิปไตยแบบตัวแทน พวกเขากลับสถาปนาตนเองขึ้นมาเปน “ตัวแทน” ในการจัดการความขัดแยงทางสังคมและการเมืองเสียเอง ทั้งยังปรามาสกลุมประชาชนเสื้อแดงที่พยายามตรวจสอบความไมชอบมาพากลของการเมืองในระบบรัฐสภา

ขอจํากัดในการทําความเขาใจระบบการเมืองเกิดจากการยึดติดอยูกับวิธีคิดเชิงอุดมคติที่เอ็นจีโอมีตอระบบการเมือง สังคม และตนเอง ซ่ึงเอ็นจีโอกําหนดตัวตนวาจะเปนผูแกไขปญหาดวยการแสวงหาตัวแบบทางเลือกเพ่ือสรางสังคมสันติสุขที่มีแตความสมานฉันทปราศจากความขัดแยงและเทาเทียม มากกวาจะทําความเขาใจวาความแตกตางและขัดแยงเปนสิ่งปกติของสังคมประชาธิปไตย และการสรางเวทีตอรองทางการเมืองใหแกประชาชนโดยปราศจากความรุนแรงตางหากคือทางออกของปญหา มิใชการระงับ หรือปกปด เก็บซอนความแตกตางขัดแยงเพ่ือสรางจินตภาพของสังคมมีสุข

นักกิจกรรมทางสังคมคนหนึ่งตั้งขอสังเกตวาแกนนําเอ็นจีโอทางภาคเหนือที่เธอมีโอกาสพูดคุยแลกเปลี่ยนไมคอยมีความรูเกี่ยวกับอุดมการณทางการเมืองรวมสมัย ไมเขาใจและไมมีกรอบคิดที่ชัดเจนในเร่ืองสําคัญตาง ๆ เชน อุดมการณเสรีนิยม อนุรักษนิยม สังคมนิยม ฟาสซิสม สตรีนิยม นิเวศนิยม ประชาธิปไตย ฯลฯ เพราะคัมภีรหรือทฤษฎีที่พวกเขาใชในการทํางานเปนผลจากการสรุปบทเรียนของตัวเองในเครือขายและทฤษฎีทางสังคมศาสตรพ้ืน ๆ เทานั้น แตไมไดอานทฤษฎีทางรัฐศาสตรและประวัติศาสตรมากพอที่จะทําใหเขาใจโครงสรางการเมืองการปกครองในภาพกวาง22 ทัศนะของเธอสอดคลองกับสิ่งที่ กฤษฎา บุญชัย (2549) เคยเขียนวิเคราะหไววากระบวนการเรียนรูของเอ็นจีโอไมลุมลึก กรอบแนวคิดไมแนน ไมลึกซึ้ง หรือไมหลากหลายเพียงพอ แมวาจะมีการจัดกระบวนการเรียนรูแตก็มักเปนการจัดเวทีคุยทางยุทธศาสตรหรือรณรงคเผยแพรที่ยืนยันความคิดของตนเอง มากกวาจะเปนเวทีเพ่ือมุงตรวจสอบวิพากษความรูของเอ็นจีโอโดยตรง ที่สําคัญเอ็นจีโอมักเรียนรูจากประสบการณของรุนพ่ีตามวัฒนธรรมอํานาจแบบลําดับชั้น ผานการสืบทอดความทรงจํา อาศัยการเสวนาพูดคุย การปรึกษาหารือ การสรุปบทเรียนองคกรและเครือขาย ซ่ึงเม่ือเอ็นจีโอพัฒนาความเปนสถาบันที่ชัดเจน การแสวงหาวิธีคิดใหม ๆ ก็ลดนอยลง

นักวิชาการหลายแขนงอธิบายวาระบบโครงสรางการเมืองที่มีอยูโดยเฉพาะระบบการเลือกตั้ง หาใชเวทีประกวดประขันเพ่ือจะทําใหไดมาซึ่ง “คนดี” แตมันเปนเพียงเวทีตอรองของกลุมผลประโยชนตาง ๆ และอาจเปนเวทีเดียวที่ทําใหประชาชนเดินดินที่ดอยอํานาจไดมีโอกาสตอรองในทางการเมือง ดังน้ันสิ่งที่เอ็นจีโอควรทําคือการผลักดันใหมีกลไกและเวทีตอรองซึ่งจะทําใหผูคนที่ดอยอํานาจนั้นไดมีโอกาสเขามาตอรองกับผูมีอํานาจเพื่อปกปองผลประโยชนของตนเอง ไมใชการสรรหา“คนดี” หรือสราง ระบบสรรหา “คนดี” ใหมาบริหารบานเมือง

22 การแลกเปลี่ยนสวนตัวกับนักกิจกรรมทางสังคมทานหนึ่ง

Page 22: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

22

ประชาธิปไตยคือวิถีทางที่ย่ังยืนเพ่ือใหประชาชนปะทะขัดแยงกันอยางสันติ...ประชาธิปไตยมิใชหมายถึง การยกยองเชิดชูอยางเพอฝนวา ประชาชนถูกตองเสมอ ฉลาด มีภูมิปญญาเปนเลิศ แตเราตองมั่นคงกับหนทางที่ใหประชาชนมีอํานาจตัดสินทางเลือกของตนไมวาจะฉลาดหรือดอยปญญาก็ตามที (ธงชัย วินิจจะกูล จากปกหลังหนังสือปาฐกถา 14 ตุลา ประจําป 48)

แมวา "การเมืองภาคประชาชน" จะมีความสําคัญ แตการใหความสําคัญตอ “การเมืองภาค

ประชาชน” เหนือกวาการเมืองในระบบรัฐสภา โดยเฉพาะอยางยิ่ง การปฏิเสธระบบการเลือกตั้งน้ันเปนวิธีคิดที่มีปญหา เพราะเทากับวาทําใหการเคลื่อนไหวตอรองของกลุม/องคกร/เครือขายมีอํานาจเหนือกวาการใชสิทธิเสียงของประชาชนธรรมดาที่อาจไมไดสังกัดกลุมองคกรใด ๆ และการกระทําดังกลาวอาจเปนอุปสรรคตอการพัฒนาประชาธิปไตยเพราะเทากับทําใหสิทธิและเสียงของพลเมืองแตละคนไรความหมาย อานันท กาญจนพันธุ (2548: 69) ชี้วาสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่ไดมาจากการเลือกตั้งอาจไมใชตัวแทนที่สมบูรณแบบของภาคประชาชน แตอยางนอยที่สุดกระบวนการนิติบัญญัติก็เปนพ้ืนที่ที่เปดใหประชาชนทั่วไปเขาไปตอรองได

ดังน้ัน แมวาเอ็นจีโอจะเนนการเสริมสรางความเขมแข็งของ “การเมืองภาคประชาชน” แตก็ไมสามารถปฏิเสธระบบการเลือกตั้งแลวแสวงหาระบบกลไกอื่น ๆ มาแทนที่ หรือสถาปนาตนเองขึ้นมาเปน “ตัวแทนที่ดีกวา” เพราะ “การเมืองภาคประชาชน” จะมีความหมายก็ตอเม่ือมันทําหนาที่ในการตรวจสอบถวงดุลและผลักดันใหการเมืองในระบบรัฐสภาเปนไปเพื่อตอบสนองตอผลประโยชนของประชาชนสวนใหญมิใชระบบที่จะมาแทนที่หรือไมยุงเกี่ยวกับการเมืองในระบบรัฐสภา

อยางไรก็ตาม เอ็นจีโอจํานวนหนึ่งที่สงเสริม “การเมืองภาคประชาชน” ไมไดปฏิเสธการเมืองในระบบรัฐสภาเสียทีเดียว เพียงแตพวกเขาพยายามเสนอการเมืองทางเลือกอ่ืน ๆ เพ่ือถวงดุล “การเมืองในระบบ” ตัวอยางเชน มีการเสนอ “ทองถิ่นจัดการตนเอง” ที่จะทําใหการตอสูทางการเมืองยอสวนลงมาจากเวทีระดับชาติกลับมาสูเวทีระดับจังหวัด “ใหคนทองถิ่นเลือกผูนํา เลือกนโยบายดวยตัวของเขาเอง ไมใชการสงผูปกครองมาจากสวนกลาง” (สวิง 2553:26) ขณะเดียวกันก็มีการเสนอกลไกทางเลือกอ่ืน ๆ ที่ไมใช “การเมือง” ซ่ึงจะทําใหมีกระบวนการการบริหารจัดการในดานตาง ๆ ที่ดีและเปนประโยชนตอประชาชนสวนใหญมากกวาการใชกลไกทางการเมืองการปกครองที่มีอยูโดยมองวาระบบกลไกที่มีอยูเดิมไมสามารถแกไขปญหาที่มีอยูได เชน การมีสภาผูนํา สภาองคกรชุมชน ขึ้นมาถวงดุลการทํางานของ องคการบริหารสวนตําบล กํานัน ผูใหญบาน เปนตน

...การมี “สภาประชาชน” “สภาประชาสังคม” หรือ “สภาองคกรชุมชน” ที่มีตัวแทนจากคนในจังหวัดทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมอยางแทจริง เปนเวทีมาพูดคุยวิเคราะหปญหาของเชียงใหม วิเคราะหตนทุนทางสังคม วัฒนธรรม รวมทั้งกําหนดทิศทางและแผนงานที่จะจัดการทุกเรื่องอยางบูรณาการ... (ชัชวาลย ทองดีเลิศ2553:52)

Page 23: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

23

มีขอสังเกตวาตลอดเวลาที่ผานมาเอ็นจีโอมักสรางทางเลือกใหแกสังคมโดยการแสวงหาและสรางตัวแบบอุดมคติใหม ๆ ขึ้นมา มากกวาจะพยายามผลักดันเพ่ือพัฒนากลไกโครงสรางที่มีอยูแลวใหทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและตอบสนองความตองการของประชาชนอยางแทจริง คณะกรรมการหรือสภาชุดตาง ๆ ที่เอ็นจีโอพยายามสรางขึ้นมานั้นมักทําหนาที่ตามแบบในอุดมคติเพียงชวงระยะเวลาสั้น ๆ จากนั้นหากไมยุติบทบาทลงเสียกอนก็จะถูกจัดเขาไปอยูในกลไกโครงสรางตามระบบปกติตามกรอบตายตัว และในที่สุดเอ็นจีโอก็จะสรางตัวแบบในอุดมคติแบบใหม ๆ ขึ้นมาอีก ดังตัวเชนที่เอ็นจีโอเคยสนับสนุนการยกระดับสภาตําบลใหเปนนิติบุคคล แตเม่ือเห็นวา องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) กลายไปเปนสวนหนึ่งของอํานาจรัฐและระบบราชการ จึงผลักดันใหเกิดสภาองคกรชุมชนขึ้นมาถวงดุล เปนตน

การตั้งกลุม/เครือขาย หรือองคกรใหม ๆ ขึ้นมาถวงดุลในลักษณะดังกลาวถูกอธิบายวาเปนการสรางความเขมแข็งของ “ประชาสังคม” ซ่ึงเปนประชาธิปไตยทางตรงรูปแบบหนึ่ง เพราะเปนการสงเสริมใหพลเมืองตื่นตัวและมีสวนรวมในสังคมการเมือง และเปนเกราะกําบังใหกับการดําเนินการของกลุมอิสระทางสังคมตาง ๆ ที่มุงประโยชนสวนรวม และทําหนาที่ทัดทาน ตรวจสอบ ถวงดุลอํานาจของประชาธิปไตยระบอบรัฐสภาแบบตัวแทน เชษฐา ทรัพยเย็น อธิบายวาประชาสังคมไทยแบงไดเปน 2 ระดับ ไดแก กลุมประชาสังคมโดยชนชั้นนํา และกลุมประชาสังคมที่มุงเสริมสรางอํานาจใหกับประชาชนธรรมดา ซ่ึงทั้งสองกลุมมีความแตกตางกันทั้งในเรื่องสถานภาพ จุดมุงหมาย รวมถึงแนวทางปฏิบัติของกลุม (เชษฐา 2547:355) อยางไรก็ตาม ประชาสังคมไทยทั้งสองระดับไมไดเกิดขึ้นตามวิถีทางประชาธิปไตยที่เนนการจัดความสัมพันธในแนวราบที่มีมิติความเทาเทียมและเสรีภาพ แตเปนการสรางเครือขายการตอรองที่ตัดขามการเมืองในระบบเลือกตั้ง และไปลดทอนความสําคัญของการที่พลเมืองจะใชสิทธิทางการเมืองของตนเองผานการเลือกตั้ง กลาวคือ การเลือกผูปกครองไมวาจะเปนผูใหญบาน กํานัน สมาชิกสภาผูแทนราษฎร หรือแมแตนายกรัฐมนตรีจะกลายเปนเรื่องที่ไรความหมายไปโดยปริยาย เพราะที่สุดแลวผูนําที่มาจากการเลือกตั้งจะถูกกํากับควบคุมโดยกลุมคนที่อางวาเปน “ประชาสังคม” ซ่ึงแทที่จริงเปนกลุมคนที่มีบารมีที่มาจากการแตงตั้งหรือจากวิถีทางอื่นที่ไมใชการใชสิทธิเลือกตั้งของพลเมือง

ดังน้ัน การที่เอ็นจีโอพยายามสรางกลไกตาง ๆ ขึ้นมาใหมใหเปนทางเลือกจากกลไกการบริหารจัดการสังคมการเมืองตามระบบปกติน้ัน จึงไมไดชวยเสริมสรางระบอบประชาธิปไตยใหแข็งแกรงขึ้น ขณะที่การแบงแยกประชาสังคมออกเปนสองระดับ และการสถาปนา “ตัวแทน” นอกระบบการเลือกตั้งขึ้นมาบริหารจัดการสังคมยังสะทอนใหเห็นวาประชาสังคมไทยยังตกอยูภายใตอิทธิพลของคานิยมและวัฒนธรรมแบบเกาที่สั่งสมกันมา ไมวาจะเปนคานิยมในเรื่องการแบงชนชั้นทางสังคม หรือคานิยมในคุณงามความดีของผูมีบารมี ซ่ึงเปนอุปสรรคตอการพัฒนาประชาธิปไตยที่สงเสริมความเสมอภาคและเทาเทียมของพลเมือง ซ่ึงจะเปดพื้นที่ทางการเมืองใหกับคนทุกกลุมและทุกลําดับชั้นของสังคมอยางเทาเทียมกันโดยไมมีขีดจํากัดใดขวางกั้น (เชษฐา 2547:355)

Page 24: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

24

มรดกจินตนาการของนักสรางทางเลือก ผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอมักไดรับการหลอหลอมและฝกฝนใหคิดเชิงบวกและคิดไปขางหนาอยางมี

จินตนาการ เพราะการคิดคนทางเลือกหรือทางออกที่สรางสรรคไมอาจจะหมกมุนอยูกับสถานการณเฉพาะหนาไดเทานั้น ดังนั้นเราจึงมักไดยินขอเสนอทางเลือกใหม ๆ จากเอ็นจีโออยูเสมอ เชน การพัฒนาทางเลือก เกษตรกรรมทางเลือก วิถีชีวิตทางเลือก ฯลฯ

เปนที่นาสังเกตวาทางเลือกที่สรางสรรคโดยเอ็นจีโอมักถูกนําเสนอสูสังคมในชวงเวลาที่บานเมืองกําลังเกิดวิกฤติ แมดูราวกับวามันเปนทางเลือกที่ไมคอยจะเกี่ยวของกับขอถกเถียงของสังคมในขณะน้ันสักเทาไร ดังตัวอยางเชน ในชวงเวลากอนวันที่ 10 เมษายน 2553 ในชวงที่สถานการณบานเมืองกําลังตึงเครียด มีการจัดวงพูดคุยวิเคราะหการเมืองในหองประชุมติดแอรแหงหน่ึงในจังหวัดเชียงใหม ผูรวมเสวนาซึ่งเปนนักกิจกรรมทางสังคมหลายคนแสดงความหวงกังวลวาจะมีการลอมปราบและเขนฆาประชาชนภายในอีกไมกี่วันขางหนา เอ็นจีโอรุนใหญทานหนึ่งกลับแสดงวิสัยทัศนวาจะตองมีการปฏิรูปโครงสรางสังคมไทย จนทําใหมีผูโตแยงขึ้นมาวาเรากําลังตองการทางออกสําหรับการนองเลือดที่กําลังจะเกิดขึ้น มิใชการพูดถึงเรื่องที่สมควรทําในระยะยาว เดือนกรกฎาคม 2553 ขณะที่ขอถกเถียงในสังคมยังไมบรรเทาเบาบางลง พ.ร.ก. ฉุกเฉินยังกุมชะตากรรมของผูคนในหลายจังหวัด การขมขู คุกคาม ไลลา และลิดรอนสิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองยังเกิดขึ้นทั่วทุกหัวระแหง สถาบันจัดการทางสังคมไดจัดพิมพหนังสือเลมกะทัดรัดชื่อ หลักคิด หลักปฏิบัติ ‘ขอคืนพ้ืนที่’ จังหวัดจัดการตนเอง โดยมีสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน) สนับสนุนการจัดพิมพ การใชคํา “ขอคืนพ้ืนที่” ดูคลายเปนวาทกรรมโตกลับ (counter-discourse) ตอการที่รัฐใชคําเดียวกันสรางภาพและสรางความชอบธรรมในการใชความรุนแรงเขาปราบปรามประชาชนเสื้อแดง อยางไรก็ตาม เน้ือหาในหนังสือกลับมิไดวิพากษวิจารณการกระทําตาง ๆ ของรัฐที่กลาวมาขางตน ไมไดกลาวถึงแมแตการใชกําลังทหารเขาสลายการชุมนุม หรือการพิสูจนหามือสังหารประชาชน ซ่ึงเปนขอถกเถียงที่สําคัญของสังคมไทยในขณะนั้น การเลือกใชคํา “ขอคืนพ้ืนที่” เปนชื่อหนังสือจึงเปนเพียงการอาศัยสถานการณเพ่ือดึงดูดความสนใจของผูอานใหมารับรูแนวความคิดของเอ็นจีโอ สําหรับผูเขียนการเลือกใชคําดังกลาวกลายเปนตลกรายที่ขําไมออก ที่สําคัญมันสะทอนถึงความไมละเอียดออนของเอ็นจีโอที่มุงแตจะฉกฉวยสถานการณเพ่ือนําเสนอแนวความคิดของตนเองโดยไมคํานึงวามันจะสรางความกระทบกระเทือนจิตใจตอประชาชนเสื้อแดงและประชาชนทั่วไปที่ยังคงตั้งคําถามตอวาทกรรมสรางภาพของรัฐและความไมชอบธรรมในการใชอํานาจรัฐ

ขอเสนอหลักของหนังสือเลมน้ีคือแนวความคิด “ทองถิ่นจัดการตนเอง” ในฐานะที่เปนทางออกของสถานการณความขัดแยงในสังคมไทยปจจุบัน โดยอธิบายวาสาเหตุสําคัญของปญหาคือการรวมศูนยอํานาจการปกครอง

ปรากฏการณทุกวันนี้เกิดขึ้นดวยเหตุแหงการรวมศูนย ดังนั้นการจัดการอํานาจใหม ตองให “จังหวัดจัดการตัวเอง” หรือ “ทองถ่ินจัดการตัวเอง”...เมื่อสวนกลางมีอํานาจนอยลง การจัดการในทุก ๆ เรื่องจะกลับมาอยูที่

Page 25: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

25

จังหวัด ความขัดแยงทั้งหลาย สถานการณความเปนเหลือง-แดง ก็จะยุติลงในระดับชาติ แตอาจจะสูกันในระดับทองถ่ิน... (สวิง ตันอุด 2553:25-26)

แทที่จริงแนวคิด “ทองถิ่นจัดการตนเอง” น้ันมีการพูดถึงมาระยะเวลาหนึ่งแลวกอนเกิด

เหตุการณความรุนแรงทางการเมืองที่ผานมา23 แตวิกฤติทางการเมืองไดทําใหเอ็นจีโอสบชองที่จะเสนอแนวคิดดังกลาวสูสังคมในฐานะทางออกของความขัดแยงที่ขามพนการแบงสีแบงขั้ว และเม่ือเอ็นจีโอสวนหนึ่งไดถูกผนวกเขาไปรวมอยูในแผนปฏิรูปประเทศไทย คณะกรรมการประสานงานองคกรพัฒนาเอกชนก็เสนอแนวคิด “ทองถิ่นจัดการตนเอง” ใหบรรจุอยูในแผนดังกลาวดวยเชนกัน โดยมีรูปธรรมของการ “จัดการตนเอง” คือการเลือกตั้งผูวาราชการจังหวัดทั่วประเทศ เอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่ง24แสดงทัศนะวาเนื้อหาเรื่องการเลือกตั้งผูวาราชการจังหวัดนับวาเปนเรื่องใหมที่สุดในบรรดาขอเสนอตาง ๆ ที่เอ็นจีโอชวยกันยกรางฯเพื่อนําไปบรรจุไวในแผนปฏิรูปประเทศไทย สวนขอเสนออ่ืนนอกเหนือจากนี้เปนเรื่องที่เอ็นจีโอไดรณรงคผลักดันกันมาโดยตลอดอยูแลว เพียงแตไมมีความคืบหนาในการทําใหมันถูกนําไปปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม และแมแตแผนปฏิรูปประเทศไทยครั้งน้ีก็ยังเปนเพียงขอเสนอที่ไมมีอะไรรับประกันไดวารัฐบาลจะรับนําไปปฏิบัติใหเกิดผล25

นอกเหนือจากเชียงใหมและสวนกลางแลว ก็ยังปรากฏวาแนวคิด “ทองถิ่นจัดการตนเอง” แพรหลายและมีการรณรงคไปในแวดวงเอ็นจีโอทั่วทุกภูมิภาคในชวงเวลาที่สังคมยังเรียกรองใหมีการรับผิดชอบตอการสลายการชุมนุม ดังมีรายงานวาในภาคใตเองเอ็นจีโอก็มีการเปดวงเสวนาเรื่องการปฏิรูประเทศไทย โดยมีขอเสนอวาการปฏิรูปประเทศไทยควรบรรจุเร่ืองการปกครองตนเองในระดับจังหวัด ใหชุมชนจัดการตนเองในทุกดานเปนการสรางความเปนประชาธิปไตยจากฐานรากซึ่งจะทําใหสังคมมีความเขมแข็งและยั่งยืน26

การสราง “ทางเลือก” ที่ปราศจาก หรือสะอาดกวา “การเมือง” ไมใชยุทธศาสตรใหมในการทํางานของ “เอ็นจีโอ” หากแตมีมานานพอ ๆ กับการดํารงอยูของแนวคิดวัฒนธรรมชุมชนที่เอ็นจีโอจํานวนมากสมาทานมายึดถือปฏิบัติ ทวา แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนตามที่ ฉัตรทิพย นาถสุภา นักวิชาการดานเศรษฐศาสตรการเมืองเสนอยังมีรากฐานจากแนวคิดอนาธิปตยที่มีมิติทางการเมืองซ่ึงวิพากษและตอสูด้ินรนกับการตกอยูภายใตการบงการของรัฐ แตการสรางทางเลือกของเอ็นจีโอเม่ือเร็ว ๆ น้ีกลับสะทอนถึงการติดอยูในกรอบแนวคิดทองถิ่นนิยมแบบโรแมนติก ซ่ึงมีความไรเดียงสาทางการเมือง และความลักลั่นเอาแนเอานอนไมไดของเอ็นจีโอในการกําหนดตัวตนหรือจุดยืนทางการเมืองของตนเอง

23 ตัวอยางเชน ในจังหวัดเชียงใหมมีการพูดถึงแนวคิดนี้อยางนอยตั้งแตป พ.ศ. 2550 ในบรรดาภาคีองคกรตาง ๆ ที่เริ่มรวมกลุมกันมาตั้งแตป พ.ศ.2550 และจัดตั้งเปน “เครือขายประชาสังคมเพ่ือการจัดการตนเอง จังหวัดเชียงใหม” 24 จากการสนทนาเปนการสวนตัวกับเอ็นจีโอรุนกลางทานหนึ่ง กรกฎาคม 2553 25 ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ ใหสัมภาษณในรายการเจาะใจ ชอง 5 คืนวันที่ 2 กันยายน 2553 วาคณะกรรมการ ปฏิรูปประเทศไทยมีความเห็นไปในแนวทางเดียวกันวาไมไดคิดจะเสนอแผนปฏิรูปตอรัฐบาล แตเสนอตอสังคม เพราะไมเชื่อวารัฐบาลจะทําอะไรได ถาสังคมไมเรียกรองผลักดัน 26 จากขอความในเฟสบุค 21 ก.ค. 2553

Page 26: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

26

“คําตอบอยูที่หมูบาน” อาจกลายเปนสโลแกนที่ฟงดูเชยสําหรับเอ็นจีโอในยุคสมัยน้ีแมวาจะมีไมนอยที่ยังสมาทานแนวทางดังกลาวในการทํางานอยูก็ตาม แนวทาง “ทองถิ่นจัดการตนเอง” กลายเปนสโลแกนสมัยนิยมที่พูดถึงกันมาขึ้นเรื่อย ๆ ดวยการอธิบายวา “ทองถิ่น” น้ันมีขอบเขตมากกวาหมูบาน หรือชาวบาน ซ่ึงเปนเปาหมายในการปฏิบัติงานของเอ็นจีโอในยุคกอน แตยังหมายรวมถึงภาคประชาชนระดับทองถิ่นที่หลากหลายทั้งปจเจกบุคคล เชน ปราชญชาวบาน ปญญาชน ผูนําทางจิตวิญญาณหรือตามประเพณี ผูนําทางการ ฯลฯ ทั้งกลุม/องคกรแบบเปนทางการและไมเปนทางการ เชน สภาผูอาวุโส สภากาแฟ สภาองคกรชุมชน กลุมเยาวชน กลุมหนุมสาว คณะกรรมการหมูบาน คณะกรรมการปาชุมชน ฯลฯ และทั้งหนวยงานภาครัฐ เชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานราชการตาง ๆ

“ทองถิ่น” ดังกลาวกลายเปนหนวยเปาหมายในการทํางานพัฒนาโดยการสรางเวทีการพูดคุยแลกเปลี่ยนแบบเปนประชาธิปไตย และสรางระบบกลไกในการดําเนินการดานตาง ๆ รวมกัน ซ่ึงสามารถคลี่คลายความขัดแยงที่เกิดขึ้นอยางเบ็ดเสร็จโดยไมจําเปนตองขึ้นอยูกับโครงสรางระบบกลไกระดับนโยบายที่แข็งตัวไมยืดหยุน กรอบคิดวาดวยทองถิ่นดังกลาวเปนการขยายกรอบคิดและพื้นที่การทํางานจากการพยายามสรางชุมชนอุดมคติที่ชุมชนมีอํานาจเบ็ดเสร็จในการควบคุมวิถีการผลิตและตลาดดวยตนเอง ไปสูการพูดถึงการสรางความรวมมือกับรัฐและภาคสวนตาง ๆ ในการพัฒนาทองถิ่นตามหลักการกระจายอํานาจการปกครอง27

กระนั้นก็ตาม แนวคิด “ทองถิ่นจัดการตนเอง” ดังกลาวก็ยังติดอยูในกรอบการมองทองถิ่นคลาย “กลองบรรจุ” (local as container) (ฐิรวุฒิ 2547: 105) ดังเชนที่เคยมองชุมชนหรือหมูบานดวยกรอบแบบเดียวกัน ซ่ึง Breman อธิบายวากรอบคิดดังกลาวจะทําใหมองวาสิ่งที่บรรจุอยูในกลองนั้นมีความบริสุทธิ์ และไมเห็นความเชื่อมโยงวา การเมือง วัฒนธรรม และภูมิปญญาของทองถิ่นที่บรรจุอยูในกลองน้ันไดรับผลกระทบจากสิ่งที่อยูนอกกลองอยางไร ซ่ึงแนวคิดนี้เปนที่มาของสํานักทองถิ่นนิยมที่อันตราย (Breman 1988 อางใน ฐิรวุฒิ 2547: 105-106) ภายใตกรอบคิดดังกลาว จึงทําใหในสถานการณความขัดแยงทางการเมืองที่ผานมา เอ็นจีโอจํานวนไมนอยไมเห็นหรือไมสนใจที่จะวิเคราะหความเชื่อมโยงระหวางสถานการณทางการเมืองในระดับชาติกับปรากฏการณใน “ทองถิ่น” ที่เปนขอบเขตการทํางานของตน เชน ไมเห็นวาชาวบานเสื้อแดงเกี่ยวของกับกลุมคนในทองถิ่นที่ตนเองกําลังรวมงาน ไมเห็นวาปญหาของคนเสื้อแดงหรือ “ประชาธิปไตย” ที่คนเสื้อแดงกําลังเรียกรองเกี่ยวโยงกับประเด็นงานของตน28 และไมเห็นวาการกระชับพ้ืนที่ของรัฐบาลมีความไมชอบธรรม สงผลกระทบตอบรรทัดฐานเรื่องสิทธิเสรีภาพและความเปนธรรมในสังคมไทย และที่สําคัญยอมสงผลกระทบตอสิทธิเสรีภาพและการไมไดรับความเปนธรรมของกลุมคนใน “ทองถิ่น” ซ่ึงเปนกลุมเปาหมายในการทํางานของตนเองดวยเชนกัน

27 เรียบเรียงจากการเสวนาในเวทีเสวนาเอ็นจีโอรุนกลาง 1 มี.ค.53 ณ อุทยานแหงชาติลานนาเชียงใหม 28

ในหนาเฟสบุค มีเอ็นจีโอและอดีตเอ็นจีโอผูโพสกระทูต้ังคําถามตอเอ็นจีโอที่ทํางานดานสิทธิ ดานเยาวชน และดานการศึกษาทางเลือกวาเหตุใดจึงเพิกเฉยเมื่อรัฐคุกคามเยาวชนนักเรียนนักศึกษาที่จังหวัดเชียงรายที่มีการแสดงความคิดเห็นและเคล่ือนไหวเชิงสัญลักษณในประเด็นทางการเมืองอยางสนัติ

Page 27: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

27

ดังนั้น จึงแทนที่เอ็นจีโอจํานวนมากจะพาตัวเองเขามาเกี่ยวพันกับสถานการณทางการเมืองในฐานะพลเมืองหรือสถาบันทางสังคมที่เปนสวนหนึ่งของสังคมใหญ พวกเขากลับวางตนลอยอยูเหนือการเมืองและความขัดแยงที่เกิดขึ้น และไพลไปเสนอทางเลือกอ่ืน ๆ ที่นอกเหนือไปจากขอถกเถียงของสังคม อยางไรก็ตาม มีคําถามวาทางเลือกที่เอ็นจีโอนําเสนอในครั้งนี้รวมถึงทางเลือกอ่ืน ๆ ที่เคยมีการนําเสนอตลอดมาถูกตั้งขอสังเกตวาเปนทางเลือกที่มีความเปนจริงมากนอยเพียงใด หรือเปนเพียงทางเลือกที่ดีในอุดมคติที่ไมอาจนํามาใชกับโลกความเปนจริงที่มีเง่ือนไขอ่ืน ๆ ผูกพันซับซอนมากกวาเพียงเร่ือง “ดี” หรือ “เลว” ขณะที่ในความเปนจริง “การเมือง” เปนเรื่องของการจัดความสัมพันธทางอํานาจและการตอรอง ที่มากไปกวาแคเรื่อง “สะอาด” หรือ “สกปรก”

ทางเลือกนี้อาจประสบความสําเร็จในบางชุมชน แตมันสามารถจัดการระบบที่ใหญกวานี้ไดหรือไม เชน เกษตรกรบางกลุมอาจประสบความสําเร็จ แตไมไดหมายความวาทุกคนจะสามารถประสบความสําเร็จไดเหมือนกันภายใตโครงสรางเศรษฐกิจที่ผูกพันกับระบบทุนนิยมอยางแนบแนนในปจจุบัน...หากไมไปปะทะกับรัฐ คนที่เสนอทางเลือกจะแกไขปญหาอยางไร อยางเรื่องจัดการตนเอง...มันก็เขาไปเกี่ยวของกับอํานาจทางการเมืองอยูดี

ภัควดี ไมมีนามสกุล (บทสัมภาษณ ใน ประชาธรรม 25 ส.ค.53)

การลดทอนความเปนการเมือง แมวาจะมีการพูดถึง “การเมืองภาคประชาชน” แต “การเมือง” ในความหมายของเอ็นจีโอบาง

กลุมก็ยังจํากัดอยูแตเพียงเร่ืองของ “ระบบ” ไมวาจะเปนในหรือนอกรัฐสภา และเกี่ยวพันกับกลุมคนเพียงบางกลุม แตในทางวิชาการ “การเมือง” มีความหมายกวางกวา “ระบบ” มากนัก อยางนอยที่สุด “การเมือง” เปนเรื่องของความสัมพันธทางอํานาจในทุก ๆ มิติและเกี่ยวของกับคนทุกกลุมในสังคม

การนิยาม “การเมือง” ที่คับแคบเปนสาเหตุใหเอ็นจีโอจํานวนมากมองขามความเปน “การเมือง” อันเกิดจากการกระทําของตนเอง กําหนดจุดยืนและทาทีตอ “การเมือง” อยางลักลั่น และเขาไปเปนสวนหน่ึงของกระบวนการทางการเมืองหรือแมแตเปนเคร่ืองมือของพรรคการเมือง ทั้ง ๆ ที่เอ็นจีโอพยายามอธิบายวาตนเองจะไมยุงเกี่ยวกับ “การเมือง”

ผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอระดับผูบริหารองคกรหลายคนอธิบายวาพวกเขาใหความสําคัญตอการมุงหนาทํางานของตนเองตอไป เพ่ือแกไขปญหาของชาวบานในระดับพ้ืนที่ สรางรูปธรรมตัวอยาง ตรวจสอบการใชอํานาจของ รัฐ นายทุน กลุมผลประโยชน ผูมีอิทธิพล ไปจนถึงองคกรโลกบาล และบรรษัทขามชาติ ฯลฯ โดยเนนการทํางานเชิงประเด็นมากกวาจะสนใจความขัดแยงทางการเมือง “ระดับบน” ซ่ึงไมเกี่ยวของกับผลประโยชนของประชาชนโดยตรง29 สวนกรณีที่เอ็นจีโอจํานวนมากโผเขาสวมกอดกระบวนการปฏิรูปประเทศไทยนั้น ถูกอธิบายวาเปน “ทางเลือก” ในการผลักดันการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางใหเกิดผลเปนรูปธรรมดวยกระบวนการสันติวิธี อันจะนําไปสูการปกปอง

29 ขอมูลจาก TSMW ที่แลกเปล่ียนสวนตัวกับผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอรุนพ่ี

Page 28: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

28

คุมครองสิทธิของประชาชนรากหญา ซ่ึงเปนกระบวนการดังกลาวก็ไมเกี่ยวของกับความขัดแยงทาง “การเมือง” ดวยเชนกัน

การยืนยันที่จะขับเคลื่อนงานพัฒนาและตรวจสอบถวงดุลกลุมผลประโยชนที่มีอิทธิพลและทรงอํานาจภายใตโครงสรางการเมืองที่ไมเปนประชาธิปไตย เปนแนวความคิดที่จําเปนตองมีการทบทวนวามันจะทําใหการทํางานบรรลุเปาหมายที่วางไวไดจริงหรือไม สวนกระบวนการปฏิรูปประเทศไทยเปนกระบวนการลดทอนความเปนการเมือง (De-politicization) อยางไมตองสงสัย เพราะมันเกิดขึ้นบนฐานความคิดที่วาปญหาความขัดแยงทางสังคมใด ๆ ก็ตามสามารถแกไขใหคลี่คลายลงไดดวยเทคนิควิธีการแบบใดแบบหนึ่ง (ซ่ึงเนนการสรางเวทีเพ่ือสะทอนปญหาของกลุมคนที่ดอยอํานาจ) โดยไมจําเปนตองจัดความสัมพันธทางอํานาจระหวางภาครัฐกับภาคประชาชนเสียใหม ขณะที่ในอีกดานหนึ่ง ก็ไมอาจปฏิเสธวากระบวนการเดียวกันนี้ถูกใชเปนเครื่องมือทางการเมือง เพราะทุกคนรวมทั้งผูปฏิบัติการเอ็นจีโอที่เขารวมกระบวนการดังกลาวตางตระหนักดีวาแผนปฏิรูปประเทศไทยถูกประกาศขึ้นมาเพื่อสรางความชอบธรรมใหรัฐบาลคงไวซ่ึงอํานาจของตนเองและกลบเสียงกนดาของสังคมหลังจากดําเนินการ “กระชับพ้ืนที่” จนทําใหมีผูเสียชีวิตและบาดเจ็บอยางนากังขาเปนจํานวนมาก

ความลักลั่นที่นาสังเกตของเรื่องน้ีอยูตรงที่วาเม่ือเอ็นจีโอจะเขาไปฉวยใชกระบวนการปฏิรูปประเทศไทย พวกเขาอางวาไดพิจารณาเนื้อหาของแผนที่จะเกิดขึ้นซึ่งจะสงผลดีตอประชาชนโดยรวม และไมวาจะเจตนาหรือไมก็ตามพวกเขาเขาไปรวมกระบวนการดังกลาวในฐานะ “เอ็นจีโอ” ซ่ึงมีบทบาทเปนตัวแทน” “ภาคประชาชน” ซ่ึงเปนสถานภาพเชิงสถาบันไมใชเขาไปในนามของตัวบุคคล แตเม่ือมีการตั้งคําถามถึงที่มาและโครงสรางกลไกของคณะกรรมการฯ ตลอดจนความเปนไปไดที่แผนฯจะบรรลุผล เอ็นจีโอกลับลดทอนใหประเด็นดังกลาวเปนเพียงเร่ืองสวนบุคคล

ผมมองวาการปฏิรูปไมไดอยูที่ตัวโครงสรางคณะกรรมการอยางเดียว แตโครงสรางนี้จะทํางานไปถึงหรือไม อันนี้เปนเรื่องบุคคล ไมวาจะเปนคุณอานันทหรือคุณหมอประเวศ หรือองคประกอบทั้งหลายที่อยูในคณะกรรมการชุดนี้ แตขบวนการปฏิรูปประเทศไทยมันเกิดขึ้นมากอนหนานี้แลว...พยายามจะบอกวาอยาไปยึดติดกับแคคําวา "ปฏิรูป" รวมถึงคณะกรรมการปฏิรูปจะไปทําใหทุกอยางเปล่ียนแปลง มันไมใช แตมันอยูที่เนื้อหา แตองคประกอบของคณะกรรมการอาจจะถูกวิพากษ วิจารณ วารัฐต้ังมา รัฐบาลพยายามใชเปนเครื่องมือสรางอํานาจใหตัวเอง อันนี้ก็วากันไปในเชิงวิพากษตัวบุคคล แตอยาไปทําใหทิศทางของการเปล่ียนแปลงประเทศมันบิดเบือน

สุมิตรชัย หัตถสาร เลขาธิการ กป.อพช.เหนือ (บทสัมภาษณในประชาธรรม, 1 ก.ย.53)

นักวิเคราะหหลายทานชี้วาการเขารวมการปฏิรูปประเทศไทยสะทอนวาเอ็นจีโอใหความสําคัญตอประชาธิปไตยเชิงเนื้อหา (Substantive Democracy) เหนือกวาประชาธิปไตยเชิงกระบวน (Procedural Democracy) โดยเชื่อม่ันวามันจะนําไปสูการบรรลุเปาหมายสูงสุดซึ่งไดแกการปกปองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในระยะยาว ทวากระบวนการที่พวกเขากําลังทําใหเกิดประชาธิปไตยเชิงเน้ือหากลับเปนกระบวนการจากบนลงลาง (Top-Down) ที่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของประชาชน30 หา

30 จากการแลกเปลี่ยนแบบไมเปนทางการกับนักกิจกรรมทางสังคมคนหนึ่ง

Page 29: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

29

ไดเปนกระบวนการประชาธิปไตยไม นอกจากนั้น การมองขามความสูญเสียของคนเสื้อแดงแลวมาเดินหนาแผนปฏิรูปฯ สะทอนอยูแลววาคณะกรรมการปฏิรูปฯไมไดใสใจหรือใหความสําคัญตอเสียงเรียกรองของคนเสื้อแดง ดังน้ัน ประชาชนที่จะไดรับประโยชนจากการปฏิรูปจึงอาจไมนับรวมประชาชนแบบคนเสื้อแดง แตเปนประชาชนตามอุดมคติของเอ็นจีโอและชนชั้นนําที่เขารวมกระบวนการปฏิรูปเทานั้น

การปฏิรูปฯก็เหมือนการตบหัวแลวลูบหลัง คือคุณฆาเขาไปแลวยังมาบอกอีกวาเขาควรตองการอะไร...รัฐบาลบอกอยูฝายเดียววาจะทําอะไร ไมรูวาฟงปญหาของคนที่เขามาเรียกรองหรือเปลา และไมรูวารัฐบาลจะมองปญหาอยางเดียวกับคนที่มาเรียกรองหรือไม...ลงทายแลวชนชั้นน้ําก็เปนคนกําหนดวาระตลอด

ภัควดี ไมมีนามสกุล, นักแปลอิสระ (บทสัมภาษณใน ประชาธรรม 25 ต.ค.53)

มีคนจํานวนไมนอยที่เห็นวาไหน ๆ เหตุการณเลวรายมันก็เกิดขึ้นไปแลว และไมสามารถฟน

ชีวิตคนตายใหกลับคืนขึ้นมาได จึงควรคิดถึงการกาวเดินไปขางหนา ผลักดันและสรางกลไกทางสังคมตาง ๆ ใหดีขึ้น วิธีคิดในทํานองเดียวกันนี้เปนเหตุผลที่เอ็นจีโอจํานวนหนึ่งใชอธิบายการเขารวมการปฏิรูปประเทศไทยหรือการเดินหนางานของตนเองตอไป โดยไมพยายามออกแรงผลักดันใด ๆ ที่จะใหมีการชําระสะสางหาผูกระทําผิดมาลงโทษ ซ่ึงสงผลใหผูมีอํานาจสามารถดวนสรุปเพ่ือสรางความทรงจําที่ลงตัวเกี่ยวกับเหตุการณดังกลาวไปโดยปริยาย (ธงชัย วินิจกูล ใน โลคัลทอลค, 29 ก.ค.53) ซ่ึงแนนอนวามันเปนความทรงจําสวนทางกับความทรงจําของประชาชนผูเจ็บปวดจากความสูญเสีย

บอยครั้งที่สังคมไทยพูดถึงการพลิกวิกฤติใหเปนโอกาส แตการแสวงหาโอกาสจากความสูญเสียเชนนี้เปนเรื่องที่ตองตั้งคําถาม31 การปฏิรูปประเทศไทยที่เกิดขึ้นจากความสูญเสียไมเพียงเปนโอกาสที่ถูกเอ็นจีโอ และกลุมอํานาจอื่น ๆ ในสังคมฉกฉวยเพื่อขับเคลื่อนผลักดันงานของตนเองเทานั้น แตการกระทําดังกลาวยังเทากับปลอยใหการใชความรุนแรงอันเกิดจากความสัมพันธทางอํานาจที่มีปญหาเชนน้ีกลายเปนความปกติ (normalization) ของสังคม ซ่ึงหมายความวาเหตุการณในแบบเดียวกันอาจเกิดขึ้นไดอีก และหากเปนเชนนั้นมันก็สามารถผานพนไปไดดวยการที่คณะบุคคลหนึ่งไดรับการแตงตั้งหรือสถาปนาตนเองขึ้นมาแกไขปญหาดวยการเสนอแผนสําเร็จรูปบางอยางที่ดีงามตอบานเมือง

6.เอ็นจีโอ = “สะอาด” ปราศจาก “การเมือง”?

ใครเปนประชาชน ถึงที่สุดแลวทุกคนเปนประชาชนแตใครจะมีสิทธิใชคํานี้ที่จะใชแทน พูดแทนในนามคนอื่น...ถาเราไมระมัดระวังในเรื่องนี้เราก็จะกลายเปนตัวแทนที่ไมไดรับการเลือกตั้ง ไมไดรับฉันทานุมัติ...ถาเราบอกวาเราเปนภาคประชาชน แลวถาคนอื่นคิดไมเหมือนเราเขาเปนประชาชนกับเราดวยหรือเปลา...

กิตติชัย งามพิสิษฐ นักกิจกรรมทางสังคม, คลิปวีดีโอโดย TSM Watch 2 ส.ค.53

31 ผูเขียนไดแนวคิดนี้มาจากการฟงอภิปรายโดยรศ.ดร. ไชยันต รัชกูล ในเวที “แผนดินเดียวกันแตอยูคนละโลก” ที่คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 28 สิงหาคม 2553 “...ไมอยากจะพูดวานี่เปนโอกาสดี ไมอยากจะเรียกรองโอกาสดีจากคนตายเกาสิบเอ็ดคน...”

Page 30: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

30

หลายคนอาจจะบอกวา...เอ็นจีโอมาเคลมตัวเองวาเปนภาคประชาชนทั้ง ๆ ที่ไมไดรับฉันทานุมัติ บางทีก็มีคําถามวาประชาชนคนไหนเลือกคุณมาเปนตัวแทนเรา แตเรารูสึกวามันไมใชอยางนั้น...คําวาภาคประชาชนหมายถึงไมใชคนทั่วไป 63 ลานคน...แตคือคนท่ีเขาใจและตระหนักในเรื่องสิทธิของตัว เขาใจวาตัวเองตองมามีสวนกําหนดทิศทางพัฒนาประเทศ มาตรวจสอบควบคุมรัฐ...เอ็นจีโอก็เปนสวนหนึ่งของภาคประชาชน...สมมติวาเรามองจากคนชั้นกลางที่อาจเรียนหนังสือเยอะหนอย มีประสบการณการเคลื่อนไหวทางสังคมมากหนอย เอ็นจีโอก็นาจะมีบทบาทในฐานะพี่เล้ียง ชวยสนับสนุนการเคลื่อนไหวของประชาชนกลุมอ่ืน ๆ

สุนทรีย หัตถี เซงกิ่ง กป.อพช.อีสาน, คลิปวีดีโอโดย TSM Watch, 21 ส.ค.53

ตลอดระยะเวลาที่ผานมา เอ็นจีโอเคลื่อนไหวทางสังคมในประเด็นตาง ๆ มากมาย และสนับสนนุ

หรือเอ้ืออํานวยใหเกิดกิจกรรมรณรงคที่ทายทายอํานาจหลายรูปแบบ เชน การชุมนุม คัดคาน เดินขบวน ประทวง ฯลฯ โดยที่ผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอเองไมไดเปนผูประสบปญหาโดยตรง

ความชอบธรรมที่เอ็นจีโออางเสมอในการปฏิบัติการตาง ๆ ก็คือการกระทําในนาม “ภาคประชาชน” หรือการเปน “ตัวแทนภาคประชาชน” ผูทุกขยาก เดือดรอน ประสบปญหา ถูกละเมิด ฯลฯ และการเปนองคกร “ไมแสวงกําไร” ความนาสนใจอยูที่วาในดานหนึ่ง เอ็นจีโอก็อาง “ประชาชน” เพ่ือทําใหตนเองมีอํานาจในการตอรองกับรัฐและกลุมผลประโยชนตาง ๆ แตในอีกดานหนึ่งเอ็นจีโอกลับไมตระหนักวาพวกเขาเปนสวนหนึ่งในความสัมพันธทางอํานาจเหลานี้ และไมตระหนักวาพวกเขาเองก็ไดใชอํานาจเก็บกด ปดกั้น กีดกัน หรือควบคุม “ประชาชน” ดวยเชนกัน

วิธีปฏิบัติและวิธีคิดของเอ็นจีโอตอ “ประชาชน” และ “การเมือง” ที่กลาวถึงในสองหัวขอที่ผานมา เกี่ยวของอยางมีนัยสําคัญตอวิธีคิดที่เอ็นจีโอมีตอตนเองทั้งในเชิงบุคคลและในฐานะสถาบันหน่ึงทางสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่ง การสวมกอดกระบวนการปฏิรูปประเทศไทยนอกจากจะเปนเพราะเหตุผลที่วาการปฏิรูปโครงสรางเปนแนวคิดและแนวทางที่เอ็นจีโอผลักดันมาโดยตลอดแลว ยังเปนเพราะวาแนวทางการปฏิรูปสอดคลองกับจินตนาการบางอยางที่เอ็นจีโอมีตอตนเอง และตอความสัมพันธระหวางตนเองกับประชาชน

“เอ็นจีโอ”: “คนดี” ที่อยูเหนือการเมือง ผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอจํานวนมากอธิบายตนเองวาเอ็นจีโอทั้งในฐานะสถาบันและตัวบุคคลเปน

พลังทางสังคมที่ “โปรงใส” และ“บริสุทธิ์” ปราศจากการแทรกแซง หรือชี้นํา หรือเปนเครื่องมือของนักการเมืองและพรรคการเมืองและกลุมผลประโยชนใด ๆ ผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่ง32แสดงความคิดเห็นวาการไมเลือกขางทางการเมืองทําใหเอ็นจีโอมีสถานภาพที่ปลอดภัยมาโดยตลอด ซ่ึงเอ็นจีโอมักพูดวาตนเอง “เลือกขางประชาชน” อัตลักษณเอ็นจีโอเชนนั้นมีความสมเหตุสมผลอยูไมนอย เพราะมันจะชวยทําใหเอ็นจีโอมีความชอบธรรมที่จะเคลื่อนไหวตอรองและวิพากษวิจารณนโยบายของกลุมผลประโยชน หนวยงานภาครัฐ หรือรัฐบาลชุดใดก็ตามที่ไมชอบมาพากล สรางผลกระทบตอประชาชน หรือไมตอบสนองตอความตองการของประชาชน ซ่ึงหมายความวาพวกเขาจะเลือกสนับสนุนหรือตอรอง

32 จากขอความในเฟสบุคของผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่ง 22 มิถุนายน 2553

Page 31: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

31

กับรัฐบาล รวมไปถึงหนวยงานรัฐตาง ๆ โดยพิจารณาจากนโยบายและแนวการปฏิบัติงานมากกวาจะใหความสําคัญตอความสัมพันธสวนตัวที่มีตอบุคคลหรือหนวยงานรัฐ ขณะที่เอ็นจีโอเองก็พยายามกําหนดทาทีตอเจาหนาที่รัฐ หนวยงานภาครัฐ และรัฐบาลอยางระมัดระวัง

“การเขาไปเกี่ยวพันกับการเมืองเปนเรื่องที่ตองระวังในการเปนเอ็นจีโอ เพราะวามันจะนํามาซึ่งผลของการแกไขปญหาชาวบานซึ่งทําเราทํางานอยูดวย...เวลาที่มีความเคล่ือนไหวทางการเมือง การไปในนามสวนตัวเปนส่ิงสมควรอยูแลว...(สมมติวา) ถาพรุงนี้มีการรัฐประหาร ลมลางพรรคประชาธิปตย แลวพรรคประชาธิปตยก็ต้ังมวลชนสีฟาขึ้นมา...จุดยืนเราชัดเจนวาเราไมเอารัฐประหาร แตเราจําเปนหรือไมที่จะตองไปเปดเวที หรือเอามวลชนไปรวมกับเวที ทําไมเราไมเปดเวทีประชาธิปไตยที่เขียนปายชัดเจนวาเวทีนี้ปลอดพรรคการเมือง เวทีประชาชนตอตานเผด็จการปลอดพรรคการเมือง แตวาไมไดหมายความวาจะไมรับเงินจากพรรคการเมืองนะ แตคุณอยามาขึ้นเวทีของเรา คุณมีเวทีของคุณ คุณไปอยูในสภาฯ อยูในพรรคของคุณ”

ประยงค ดอกลําไย (การอภิปรายในเวที 23 ก.ค.53)

อยางไรก็ตาม ในสถานการณความขัดแยงทางการเมืองที่ผานมาการไมเลือกขางของเอ็นจีโอ

กลับกลายเปนปญหาเนื่องจากปรากฏวา “ประชาชน” มีหลายฝาย แตมีประชาชนฝายหนึ่งที่ถูกผูมีอํานาจคุกคามทํารายขณะที่เอ็นจีโอจํานวนมากกลับก็ยังคงอยูน่ิงเฉยดูดายอยางเลือดเย็น33 การสงวนทาทีไมแสดงออกทางการเมืองและการเพิกเฉยตอการที่รัฐใชอํานาจกดขี่และทํารายประชาชนผูออกมาแสดงสิทธิและเสียงของตนเอง จึงทําใหเกิดคําถามตอบทบาทที่เหมาะสมของเอ็นจีโอในภาคประชาสังคม ในเมื่อผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอโดยสวนใหญไมวาในเครือขายใด ๆ มักอางตนและอางความเปนเอ็นจีโอวามีอุดมการณในทํางานเพื่อสงเสริมสิทธิเสรีภาพของประชาชนและความเปนธรรมทางสังคม

ดังที่กลาวไปแลววาเอ็นจีโอจํานวนมากเห็นวาการชุมนุมดังกลาวเกี่ยวของกับผลประโยชนของพรรคการเมืองและนักการเมือง มากกวาจะเปนไปเพื่อการแกไขปญหาของประชาชนอยางแทจริง พวกเขาจึงน่ิงเฉย ไมสนับสนุน หรือแมแตตอตานการชุมนุมดังกลาว ทั้งยังมีเอ็นจีโอบางสวนที่แสดงความไมพอใจที่มีนักกิจกรรมทางสังคมออกมาเรียกรองใหเอ็นจีโอแสดงทาทีตอสถานการณดังกลาว และเห็นวาเอ็นจีโอไมควรสนับสนุนใหกลุม/องคกรภาคประชาชนที่ตนรวมงานอยูดวยไปเขารวมเคลื่อนไหวหรือแสดงทาทีใด ๆ เกี่ยวกับเหตุการณดังกลาว เพราะจะทําใหกลุม/องคกรภาคประชาชนไป “แอบอิง” กลุมการเมือง ซ่ึงในที่สุดก็จะทําใหการเมืองภาคประชาชนกลายไปเปนสวนหน่ึงหรือใกลชิดกับ “การเมืองในระบบ” มากเกินไป ซ่ึงจะทําใหการเมืองภาคประชาชนเดินทางไปสู “หายนะ” 34 การไมแสดงจุดยืนหรือทาทีตอความขัดแยงทางการเมืองที่ผานมาจึงถูกอธิบายวาเปนการจัดระยะหางระหวาง “การเมืองในระบบ” กับ “การเมืองภาคประชาชน” เพ่ือรักษาสถานภาพที่เหมาะสมของเอ็นจีโอนั่นเอง

การไมแสดงทาทีในเร่ืองการเมืองยังมีนัยวาเอ็นจีโอพยายามลอยตัวอยูเหนือการเมืองที่เขาใจกันวามีแตความสกปรก ฉอฉล มีแตกลุมบุคคลหรือกลุมการเมืองที่เขามาตักตวงผลประโยชนใสตัวเอง

33 จากขอความในเฟสบุคของผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่ง 22 มิถุนายน 2553 34 จากการถกเถียงของเอ็นจีโอจํานวนหนึ่งในเฟสบุค 23-24 ก.ค.53

Page 32: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

32

น่ันหมายความวาภาพลักษณของเอ็นจีโอในอุดมคติคือผูตั้งม่ันอยูในความดีงาม ทํางานดวยความบริสุทธิ์ เสียสละ มีคุณธรรม ความซื่อสัตย ฯลฯ ซ่ึงเปนดานตรงกันขามกับนัก/พรรคการเมือง อยางไรก็ตาม การกําหนดตัวตนและทาทีทางการเมืองของเอ็นจีโอมีความลักลั่นอยูตลอดเวลา เม่ือผลักดันแนวนโยบายบางอยางตอรัฐหรือตอตานนโยบายหรือโครงการตาง ๆ ของรัฐเอ็นจีโอมักอางความเปนสถาบันวาเอ็นจีโอเปนพลังบริสุทธิ์และเปนตัวแทนอันชอบธรรมของภาคประชาชน ทวาเม่ือแสดงทาทีตอความขัดแยงทางการเมือง เชน การลงมติรับรางรัฐธรรมนูญป 2550 และการชุมนุมของประชาชนเสื้อแดง เอ็นจีโอกลับระแวดระวังที่จะแสดงจุดยืนและความคิดเห็นในฐานะสถาบันหรือองคกร แตลดทอนใหการใชสิทธิออกเสียงดังกลาวเปนเพียงเร่ืองการใชสิทธิสวนบุคคลของผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอ ซ่ึงปรากฏวามีผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอเพียงสวนนอยที่แสดงทาทีทางการเมืองในทางสาธารณะอยางเปดเผย เชน การพูดในที่สาธารณะ การลงนามในจดหมายเปดผนึก การมีกิจกรรมเชิงสัญลักษณ ฯลฯ ซ่ึงมีสวนนอยที่ระบุชื่อองคกรหรือเครือขายที่ตนปฏิบัติงาน

อัตลักษณของเอ็นจีโอทั้งในเชิงสถาบันและในเชิงตัวบุคคลที่วา “บริสุทธิ์” ปราศจากการแทรกแซงจากกลุมผลประโยชนใด ๆ น้ันเปนอัตลักษณที่ดํารงอยูเพียงในจินตนาการของเอ็นจีโอเพียงบางคนหรือบางกลุมเทานั้น ตลอดเวลากวาสามทศวรรษที่ผานมา ภาพลักษณของเอ็นจีโอไทยอยูทามกลางขอสงสัยของประชาชนในสังคมมาโดยตลอด หากไมถูกถามวา “ถูกใครจางมา” ก็ถูกมองวาเปนพวก “รับเงินจากตางชาติเพ่ือบอนทําลายรัฐบาล” มาจนถึงปจจุบันเม่ือองคกรพัฒนาเอกชนจํานวนมากหันมาอาศัยแหลงทุนภายในประเทศมากขึ้นก็ยังมีขอกังขาจากแวดวงเอ็นจีโอดวยกันวา ถูกแหลงทุนซึ่งเปนรัฐหรือในกํากับของรัฐ "แทรกแซง” กระบวนการทํางาน “ครอบงํา”แนวคิด หรือ “กําหนด” ทิศทางการทํางาน ฯลฯ ดังน้ัน ความระแวดระวังที่จะรักษาภาพลักษณของเอ็นจีโอโดยไมแสดงจุดยืนและทาทีทางการเมืองที่ชัดเจนอาจเปนความระแวดระวังที่เกินความจําเปน

ผูปฏิบัติการเอ็นจีโอก็เปนพลเมืองเฉกเชนประชาชนคนอื่นที่มีสิทธิเสรีภาพและพึงใชสิทธิเสรีภาพนั้นในการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองและความเปนไปของสังคม ในความเปนจริงเราพบวาผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอจํานวนมากมีนักการเมืองหรือพรรคการเมืองที่ตนนิยมชมชอบเปนพิเศษซึ่งไมใชเรื่องผิดปกติในสังคมประชาธิปไตย แตความผิดปกติอยูตรงที่ผูปฏิบัติการเอ็นจีโอพยายามแสดงตนใหแตกตางจากประชาชนทั่วไปโดยการสงวนทาทีไมแสดงทัศนะทางการเมืองเพียงเพ่ือระวังระไวที่จะรักษาภาพลักษณของตนใหตั้งอยูใน “ความเปนกลาง” ตลอดเวลา ซ่ึงหากเปนเชนน้ันเสียแลวการรณรงคเร่ือง “การมีสวนรวม” ซ่ึงเปนคาถาหลักของเอ็นจีโอในสังคมยุคนี้ และโดยเฉพาะอยางยิ่ง การมีสวนรวมทางการเมืองเพ่ือพัฒนาประชาธิปไตยก็จะกลายเปนเรื่องที่ไรความหมาย

การพัฒนาประชาธิปไตย กับการตั้งม่ันอยูในความเปนกลาง ความดี และความบริสุทธิ์ของผูทําหนาที่เปน “ตัวแทน” เปนคนละเรื่องกันอยางสิ้นเชิง แตเอ็นจีโอจํานวนมากไมเขาใจถึงความไมสัมพันธกันของประเด็นเหลานี้ เม่ือมีการคัดคานการเขารวมกระบวนการปฏิรูปประเทศไทยดวยเหตุผลวามันเกิดขึ้นบนกระบวนการที่ไมชอบธรรมและไมเปนประชาธิปไตย เอ็นจีโออาวุโสบางทานกลับอรรถาธิบายถึงคุณความดีของทานผูอาวุโสซึ่งเปนประธานคณะกรรมการปฏิรูปประเทศไทย ซ่ึงมีนัยวาเกียรติประวัติคุณความดีของทานเปนสิ่งที่จะรับประกันวาการปฏิรูปประเทศไทยจะนําสังคมไทยไปสูการเปลี่ยนแปลง

Page 33: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

33

ที่ดีขึ้น35 แตในความเปนจริงคุณงามความดีน้ันก็ไมอาจรับประกันวาการปฏิรูปฯจะประสบผลสําเร็จตามที่คาดหมายไว โดยเฉพาะอยางยิ่ง เม่ือไมไดมีหลักประกันอะไรวาจะมีการบังคับใชแผนปฏิรูประเทศไทยที่จัดทําโดยคณะกรรมการปฏิรูปฯ36

นักกิจกรรมทางสังคมคนหนึ่งเห็นวาจุดยืนและทาทีตอการเมืองที่ผานมาทําใหเธอเห็นวาเอ็นจีโอโดยสวนใหญมีลักษณะอนุรักษนิยม (Conservative)37 ซ่ึงมีลักษณะ 2 ประการที่นาสนใจในที่น้ีคือ Hierarchy การไมเชื่อเรื่องความเสมอภาคและมักมองตนเองสูงสงและมีภารกิจยิ่งใหญในการเสียสละตนเพ่ือคนยากไร และการเชื่อใน Authority ของผูมีบุญบารมี คลายดังระบบพอปกครองลูก ซ่ึงพอจะรูดีกวาลูกเสมอวาอะไรเหมาะควรแกผูเปนลูก38

หมดพลังในการวิพากษวิจารณ การจัดความสัมพันธกับ “ประชาชน” กลายเปนโจทยใหญที่เอ็นจีโอที่สังคมไทยจับตามองตลอด

มา ทาทีและปฏิบัติการของเอ็นจีโอที่ที่ผานมาเม่ือเร็ว ๆ น้ี ทําใหเห็นไดวาเอ็นจีโอไมเพียงพยายามวางตนไมฝกใฝฝายการเมืองใด ๆ แตพยายามที่จะ “อยูเหนือ” การเมือง โดยการนําเสนอกลไกทางสังคมแบบใหมเพ่ือเปนทางออกจากความขัดแยงทางสังคมที่มีอยู แตคําถามที่นาสนใจอยูที่วาจะแนใจไดอยางไรวาปฏิบัติการของเอ็นจีโอดังกลาว “อยูเหนือ” การเมืองจริง ๆ

การจัดความสัมพันธของเอ็นจีโอกับรัฐและแหลงทุนกลายเปนเรื่องที่มีการถกเถียงกันอยางมากในชวงครึ่งทศวรรษที่ผานมา โดยเฉพาะอยางยิ่ง เม่ือหนวยงานภาครัฐและหนวยงานในกํากับของรัฐกลายมาเปนแหลงทุนสําคัญของเอ็นจีโอหลายองคกรเพราะเอ็นจีโอมีขอจํากัดในการแสวงหาเงินลงทุนจากตางประเทศมากขึ้น ผูปฏิบัติการเอ็นจีโอหลายคนเปดเผยวาแหลงทุนที่เปนหนวยงานรัฐหรือหนวยงานในกํากับของรัฐ (ในนามภาคประชาสังคม) เปนอุปสรรคทําใหเอ็นจีโอไมสามารถเคลื่อนไหวไดอยางอิสระเหมือนที่ผานมา39 เม่ือเร็ว ๆ น้ีเอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่งเลาวาแหลงทุนในกํากับของรัฐเสนอสนับสนุนทุนนับสิบลานแกหนวยงานของเธอ แตตั้งเง่ือนไขขอแรกวาผูรับทุนจะตองไมวิพากษวิจารณรัฐบาล เพราะเงินทุนที่ใหเปนเงินจากรัฐบาล40

คํา ผกา นักวิจารณสังคมตั้งขอสังเกตวาการที่เอ็นจีโอรับทุนจากรัฐทําใหพลังตรวจสอบถวงดุลนโยบายรัฐของภาคประชาชนออนแอลง (คลิปวีดีโอโดย TSM Watch, 5 ส.ค.53) แตเอ็นจีโอคนหลาย

35 ขอมูลจากการเลาสูกันฟงโดยผูที่อยู “วงใน” เอ็นจีโอ 36 ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ ใหสัมภาษณในรายการเจาะใจ ชอง 5 คืนวันที่ 2 กันยายน 2553 วาคณะกรรมการ ปฏิรูปประเทศไทยมีความเห็นไปในแนวทางเดียวกันวาไมไดคิดจะเสนอแผนปฏิรูปตอรัฐบาล แตเสนอตอสังคม เพราะไมเชื่อวารัฐบาลจะทําอะไรได ถาสังคมไมเรียกรองผลักดนั 37 ลักษณะอนุรักษนิยมมีส่ิงบงชี้อยู 7 ประการ 1) Tradition 2) Pragmatism 3) Human Imperfection 4) Organicism 5) Hierarchy 6) Authority 7) Property 38 บันทึกในเฟสบุคของนักกิจกรรมทางสังคมทานหนึ่ง โพสตวันที่ 2 ก.ค.2553 39 พูดคุยอยางไมเปนทางการกับเอ็นจีโอหลายคนในชวงหลายปที่ผานมา 40 พูดคุยอยางไมเปนทางการกับเอ็นจีโอรุนกลางคนหนึ่ง ก.ค.53

Page 34: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

34

คนกลับเห็นวาการจัดความสัมพันธกับรัฐและแหลงทุนเปนเพียงเรื่องทางเทคนิคที่บริหารจัดการไดดวยการล็อบบี้ แตไมใชเรื่อง “การเมือง” อันเกี่ยวพันกับการจัดความสัมพันธทางอํานาจกับรัฐ การสยบยอมตอรัฐ หรือการถูกรัฐครอบงําแทรกแซง กระนั้นก็ตาม การรับทุนจากรัฐและองคกรในกํากับของรัฐก็ทําใหเกิดขอกังขาวาเอ็นจีโอจะแยก “การเมืองภาคประชาชน” ออกจาก “การเมืองในระบบ”41 ไดอยางไร ในเม่ือแหลงเงินทุนที่เอ็นจีโอรับมาเสริมสราง “การเมืองภาคประชาชน” น้ันผูกพันอยูกับ “การเมืองในระบบ” อยางแนบแนนจนแทบจะเปนเนื้อเดียวกัน42

นอกเหนือจากความจําเปนในเรื่องแหลงทุนในการทํางานแลว สาเหตุที่เอ็นจีโอจํานวนไมนอยเปลี่ยนยุทธวิธีการทํางานที่วิพากษวิจารณรัฐและเคลื่อนไหวตอรองเพื่อปรับเปลี่ยนความสัมพันธเชิงอํานาจระหวางภาคประชาชนกับรัฐไปสูการสานสัมพันธอันแนบแนนกับหนวยงานภาครัฐ และหนวยงานในกํากับของรัฐ ถูกอธิบายวาเปนยุทธวิธีในการสรางพื้นที่ทางสังคมแบบใหม ที่นําไปสูเปาหมายเดิมคือเพ่ือใหรัฐมีแนวนโยบายและปฏิบัติการที่เปนประโยชนตอภาคประชาชนมากยิ่งขึ้นหรือเปนภัยตอภาคประชาชนนอยลง (ดู Atchara and Chalita 2010)

การจัดความสัมพันธดังกลาวสอดรับกับแนวทางการพัฒนาประชาสังคมตามแนวทางของ นายแพทย ประเวศ วะสี ซ่ึงมีแนวคิดประชาสังคมที่ตั้งอยูบนหลักคิดทางพุทธปรัชญา “ธรรมมิกสังคมนิยม” ที่มองสรรพสิ่งเชื่อมโยงสัมพันธกันอยางเปนบูรณาการ และสังคมจะยั่งยืนไดก็เม่ือสามารถรักษาดุลอํานาจของภาคสวนตาง ๆ ในสังคม แนวคิดในลักษณะดังกลาวใหความสําคัญกับการสรางเครือขายความรวมมือที่ดมสรรพกําลังของทุกสวนเขามารวมดําเนินการ อาทิ รูปแบบประชาคมตําบล สมัชชาจังหวัด เครือขายระหวางชุมชน ฯลฯ เพ่ือรวมมือกับรัฐอยางสรางสรรค ทั้งที่มองวารัฐกอปญหาแตก็เนนความรวมมือที่เทาเทียมกัน ไมไดมองวารัฐเปนศัตรูตัวฉกาจ มองเพียงวาความผิดพลาดเปนสิ่งที่เกิดขึ้นได (เชษฐา 2547: 343)

ธงชัย วินิจจะกูล อธิบายวาการมองวาทั้งรัฐและประชาชนตางมีตําแหนงแหงที่ของตนเอง และแตละสวนตองทําหนาที่ของตนเองใหดีที่สุดและประสานกลมกลืนกัน อยูภายใตกรอบความเขาใจวารัฐกับสังคม/ประชาชนมีความสัมพันธแบบองครวมราวกับเปนองครวมชีวภาพ (organic) (ธงชัย 2551: 62-63) ผูที่เชื่อในบทบาทของรัฐเชนนี้ จึงไปเสริมสรางความชอบธรรมใหรัฐแสดงบทบาทเปนผูแกไขความขัดแยงในหมูประชาชน โดยมองขามขอเท็จจริงวารัฐเปนตัวแทนผลประโยชนหน่ึงของความขัดแยง ที่รายไปกวานั้นคือประชาชนบางกลุมยังทําตัวเปนตัวแทนของรัฐเสียเองดวยการรวมใชอํานาจบังคับประชาชนคนอื่น ๆ ในการรักษาระเบียบสังคม ไมไดเห็นวาตนเองเปนประชาชนผูถูกกดขี่ควบคุม “ประชาชนไทยจึงยินดีทําตัวเปนสวนหนึ่งของอํานาจรัฐ ประชาชนจึงยินดีทําตัวเปนทูตของรัฐโดยไมจําใจหรือถูกบีบบังคับ” (ธงชัย 2551:63)

การที่เอ็นจีโอแสดงบทบาทเปนตัวแทนของรัฐ สวนหนึ่งเกิดจากการขาดการทําความเขาใจแนวคิดเกี่ยวกับรัฐในสังคมสมัยใหม ซ่ึงรัฐไมไดเปนแครัฐบาลหรือกลไกรัฐที่เปนคูตรงขามกับประชา

41 เมื่อเพิกเฉยตอการชุมนุมและการตายคนเสื้อแดง เอ็นจีโอบางสวนอางวาพวกเขาทําเชนนั้นเพราะตองรักษาระยะ เพ่ือไมให “การเมืองภาคประชาชน” ใกลชิดหรือเปนสวนหนึ่งของ “การเมืองในระบบ” 42 บารมี ชัยรัตน จากเฟสบุค 24 ก.ค.53

Page 35: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

35

สังคมในความหมายเดิมอีกตอไป แตรัฐเปนอํานาจนําที่ควบคุมบงการความเปนไปในสังคมโดยไมไดเปนองคกร หรือสถาบันทางสังคมที่เห็นไดชัดเจน แตเปน “อํานาจนําในความสัมพันธทางอํานาจ (การเมือง) ระหวางผูคนจํานวนมากในสังคม” (ธงชัย 2551:53) ประชาชนจํานวนมากที่ชวยทําใหอุดมการณของรัฐหลาย ๆ อยางกลายเปนมาตรฐานของสังคมโดยไมตองลงมือควบคุม หรือกลาวอีกอยางไดวาประชาชนทําตัวเปนกลไกรัฐเสียเองโดยไมรูตัว

การจัดความสัมพันธระหวางเอ็นจีโอกับรัฐที่กลาวขางตน สัมพันธอยางมีนัยยะสําคัญตอการกําหนดอัตลักษณและบทบาทของเอ็นจีโอไทย ตลอดจนการจัดความสัมพันธระหวางเอ็นจีโอกับประชาชน การที่เอ็นจีโอกลุมหน่ึงโผเขาสวมกอดแผนปฏิรูปประเทศไทยที่ผานมาเปนตัวอยางที่ชัดเจนวาเอ็นจีโอกลุมน้ันกําลังแสดงบทบาทเปนผูชวยเสริมสรางความชอบธรรมใหรัฐและรวมแสดงบทบาทเปนผูแกไขความขัดแยงในหมูประชาชน แตการเปลี่ยนบทบาทจากการตรวจสอบและวิพากษวิจารณรัฐอยางถอนรากถอนโคนมาสูการสานสัมพันธกับรัฐ ชวยรัฐทํางาน หรือแมแตทํางานแทนรัฐ ทําใหมีการตั้งคําถามถึงความสําคัญหรือความจําเปนที่จะตองมีสถาบันเอ็นจีโอในสังคมไทยตอไป

คิดวาเอ็นจีโอ หรือขบวนการภาคประชาชน ตําแหนงแหงที่ในสังคมคือเปนปญญาชนที่ใหวิธีในการมอง หรือเพ่ิมอํานาจในการคิดวิเคราะห...เอ็นจีโอในยุคเริ่มแรกในการกอต้ังเคยเปนพลังบริสุทธิ์ ซึ่งทําหนาที่ในการวิพากษวิจารณอํานาจที่ไมชอบธรรม ทําหนาที่ในการติดอาวุธทางความคิดใหกับสังคมไทย ทําหนาที่ในการชี้ใหเห็นขอบกพรอง หรือวาความสัมพันธทางอํานาจที่ไมเทาเทียม ส่ิงซึ่งซับซอนเกินกวาประชาชนทั่วไปจะเขาใจ ใหทางเลือกในการคิดวิเคราะหใหม ๆ ...ในชวงความขัดแยงทางการเมืองที่ผานมาเอ็นจีโอไทยไดยุติบทบาทอันนี้ไปแลวโดยสิ้นเชิง เปนเรื่องคอนขางนาผิดหวัง...ส่ิงที่เอ็นจีโอทํามันคลาย ๆ กับเปนภาคขยายของรัฐชาติ...การมีหรือการไมมีเอ็นจีโอจึงเปนคําถามใหญ...ถาลดความ radical ทางความคิดมันจําเปนตองมีเอ็นจีโอตอไปหรือเปลา...

ดร.ปนแกว เหลืองอรามศรี, นักวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม (คลิปวีดีโอโดย TSM Watch 5 ส.ค. 53)

บทสงทาย บทความนี้พยายามทําความเขาใจจินตนาการของเอ็นจีโอบางกลุมที่มีตอ “ประชาชน” “การเมือง” และ อัตลักษณของตนเอง ผานคําอธิบายของพวกเขาตอกรณีการเพิกเฉยไมวิพากษวิจารณรัฐที่ใชความรุนแรงปราบปรามการชุมชนของประชาชนเสื้อแดง คุกคาม และปดกั้นการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองของประชาชน บทความนําเสนอวาการกําหนดทาทีของเอ็นจีโอวางอยูบนคุณคาวาดวย “ความดี” ซ่ึงถูกทําใหเปนสวนหนึ่งของอัตลักษณเอ็นจีโอ สงผลใหพวกเขามีความคับแคบในการทําความเขาใจ “การเมือง” และนําไปสูการกีดกันเบียดขับไมนับประชาชนบางกลุมวาเปน “ประชาชน”

การที่ผูปฏิบัติงานเอ็นจีโออาสาตนเองมาเปนผูทํางาน “เพ่ือ” ชาวบาน ประชาชน หรือสังคมนั้น เปนเรื่องที่นายกยองสรรเสริญอยางยิ่ง แตการสถาปนาตนเปนตัวแทน คิดแทน พูดแทน และทําแทนผูอ่ืนตลอดเวลานั้นเปนสิ่งที่ควรทบทวน เพราะอันตรายของมันมิไดอยูเพียงแควาผูแทนนั้นมิใชผูที่รับ

Page 36: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

36

ผลเสียหายโดยตรงอันเกิดจากกระทําที่ผิดพลาดของตนเอง หากยังอยูที่วาสถานภาพตัวแทน “ภาคประชาชน” ที่เอ็นจีโอสถาปนาตนขึ้นมานั้นไดถูกนําไปใชสรางความชอบธรรมในการลดทอนคุณคาและความเปนมนุษยของ “ประชาชน” จํานวนมาก ผูปฏิบัติงานเอ็นจีโอจํานวนมากอธิบายตนเองวาเปน “นักปฏิบัติ” (Practitioner) ซ่ึงคลุกคลีอยูกับปญหาและสถานการณจริง และบอยคร้ังที่แสดงความไมพอใจที่ถูกวิพากษวิจารณ โดยเฉพาะอยางยิ่ง เม่ือผูวิจารณเปนหรือเคยเปนผูรวมขบวนการเดียวกัน ดวยเห็นวาการวิพากษวิจารณจะเปนการลดทอนความนาเชื่อถือที่สังคมมีตอสถานภาพและขบวนการเอ็นจีโอ ขณะที่มีผูปฏิบัติงานเอ็นจีโออีกเปนจํานวนไมนอยเชนกันที่ปรามาสขอวิพากษวิจารณ และนักวิจารณวาเปนพวกที่ดีแตพูดแตไมรูจัก “ทําอะไร” ขอกลาวหาดังกลาวนี้ก็เปนตัวอยางหนึ่งของวิธีคิดที่เปรียบเทียบและใหคุณคาใหกับสิ่งที่ตนทําวา “ดี” กวา สําคัญกวา หรืออยูเหนือกวาเพื่อลดทอนคุณคาของการเคลื่อนไหวทางสังคมในรูปแบบอ่ืน ๆ วาเปนสิ่งที่ไรคุณคาดวยเชนกัน

ผูเขียนไมมีขอโตแยงตอขอกลาวหานั้น ทั้งยังมิอาจกลาวอางวาบทความฉบับน้ีเปนสิ่งมีคุณคา และยิ่งไมอาจหวังวาบทความนี้จะสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงใดในแวดวงเอ็นจีโอ นอกเสียจากวามันอาจมีสวนชวยกระตุนใหเกิดการแลกเปลี่ยนถกเถียงในบรรดานักกิจกรรมทางสังคมเกี่ยวกับปฏิบัติการทางสังคมของตนเองที่ผานมาและที่จะมีตอไปขางหนา ดวยเชื่อวาปฏิบัติการที่วางอยูบนจินตนาการเพียงอยางเดียวนั้น มิอาจเปนปฏิบัติการที่รอบคอบ รอบดาน และเทาทัน ทั้งยังเปนอันตรายตอประชาชนและสังคม ขณะที่การวิพากษวิจารณอาจทําใหเรามองเห็นสิ่งที่เรายังมองไมเห็น และทําใหเรารูมากขึ้นวาเรายังไมรูอะไร

เอกสารอางอิง (ยังไมสมบูรณ) กฤษฎา บุญชัย

2549 “ปญหาเชิงแนวคิดและวิธีวิทยา: บทสะทอนจากคําวิจารณงานศึกษาความรูการจัดการทรัพยากรของชุมชน” เอกสารไมตีพิมพ

ชัชวาลย ทองดีเลิศ 2553 “มหานครเชียงใหม เหลียวมองประวัติศาสตร แลหนาสูการจัดการตนเอง” ใน สวิง ตันอุด และ

ชัชวาลย ทองดีเลิศ หลักคิดหลักปฏิบัติ “ขอคืนพื้นท่ี” จังหวัดจัดการตนเอง. เชียงใหม: สถาบันจัดการทางสังคม

เชษฐา ทรัพยเย็น 2547 “ประชาสังคมไทย: บทสังเคราะหแนวคิด, การกอรองสํานักคิดแบบไทย และนัยเชิงนิติ-พฤตินัยตอ

การเมืองไทย” ใน รัฐศาสตรสาร ปที่ 25 ฉบับที่ 1: 328-380 ฐิรวุฒิ เสนาคํา

2547 “อรชุน อัปปาดูรัย กับมโนทัศนทองถ่ินขามทองถ่ิน (Translocalities)”ใน รัฐศาสตรสาร ปที่ 25 ฉบับที่ 1: 103-149

Page 37: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

37

ณรงค บุญสวยขวัญ 2552 เศรษฐศาสตรการเมือง (เพื่อชุมชน) 33: การเมืองภาคพลเมือง: บทวิเคราะหแนวคิดและ

ปฏิบัติการทาทายอํานาจการเมืองในระบบตัวแทน. กรุงเทพฯ :ศูนยศึกษาเศรษฐศาสตรการเมือง

ธงชัย วินิจจะกูล 2548 ขามใหพนประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลา: ปาฐกถา 14 ตุลา ประจําป 2548.กรุงเทพฯ:มูลนิธิ 14

ตุลา 2551 “อนาคตการศึกษาเรื่องรัฐในสังคมไทย”. ใน ยศ สันตสมบัติ และคณะ. รัฐจากมุมมองของชีวิตประจําวัน

1: รวมบทความจากการประชุมประจําปทางมานุษยวิทยาคร้ังท่ี 6. กรุงเทพฯ:ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร

ประภาส ปนตบแตง 2552 “คํานิยม” ใน ณรงค บุญสวยขวัญ. เศรษฐศาสตรการเมือง (เพื่อชุมชน) 33: การเมืองภาค

พลเมือง: บทวิเคราะหแนวคิดและปฏิบัติการทาทายอํานาจการเมืองในระบบตัวแทน. กรุงเทพฯ: ศูนยศึกษาเศรษฐศาสตรการเมือง

สวิง ตันอุด 2553 “แนวคิด ยุทธศาสตรวาดวยจังหวัดจัดการตนเอง” ใน สวิง ตันอุด และชัชวาลย ทองดีเลิศ หลักคิด

หลักปฏิบัติ “ขอคืนพื้นท่ี” จังหวัดจัดการตนเอง. เชียงใหม: สถาบันจัดการทางสังคม สุรพงษ ชัยนาม

2525 “อันโตนิโย กรัมชี่ กับทฤษฎีวาดวยการครองความเปนใหญ” ในสมบัติ พิศสะอาด (แปล), Jarome Karabel เขียน ความขัดแยงของการปฏิวัติ อันโตนิโย กรัมชี่ กับปญหาของปญญาชน (Revolutionary Contradictions: Antonio Gramsci and the Problem of Intellectuals). กรุงเทพ: มูลนิธิโกมล คีมทอง

อัจฉรา รักยุติธรรม 2551 “เอ็นจีโอจะเปนอะไร นักเคล่ือนไหวทางสังคมหรือเจาหนาที่โครงการ?” เอกสารประกอบเวทีสมัชชา

องคกรพัฒนาเอกชน ภาคเหนือ 30-31 ต.ค.2551 ณ วังธารรีสอรท เชียงใหม จัดโดย กป.อพช. ภาคเหนือ

อานันท กาญจนพันธุ 2548 วัฒนธรรมทางเศรษฐกิจในเศรษฐกิจไรวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพคบไฟ

Agrawal, Arun 2005 Environmentality : technologies of government and the making of subjects. Durham :

Duke University Press Atchara Rakyutidharm and Chalita Bundhuwong

2010 “People Sector” or a New Technology of Power?” A Discussion Paper for Roundtable Session in the International Conference “Revisiting Agrarian Transformation in Southeast Asia: Theoretical, and Applied Perspectives 13-15 May 2010 Chiang Mai.

Ferguson, James 1900 The Anti-Politics Machine: "Development," Depoliticization, and Bureaucratic Power in

Lesotho.Cambridge: Cambridge University Press. Li Tania Murray

2007 The Will to Improve: Governmentality, Development, and the Practice of Politics. Durham: Duke University Press

Page 38: บทความ อ.อัจฉรา รักยุติธรรม

38

Mosse, David 2005 Cultivating Development: An Ethnography of Aid Policy and Practice. London: Pluto

Press Pasuk Phongpaichit

2002 “Recent Popular Movements in Thailand in Global Perspective” in Popular Movements: Asian Review 2002, Institute of Asian Studies Chulalongkorn University, 1-20.

ส่ือออนไลน ประชาธรรม

15 กรกฎาคม 2550 “กป.อพช.แถลงไมรับราง รธน.50” http://www.prachatham.com/detail.htm?dataid=4842&code=n6_15072007_03&mode=th

21 กรกฎาคม 2550 “กป.อพช.เหนือแถลงเปดกวางสมาชิก�ฟรีโหวต รธน.50” ออนไลน http://www.prachatham.com/detail.htm?dataid=4855&code=n6_21072007_01&mode =th

25 สิงหาคม 2550 “ภัควดี ไมมนีามสกุล มองการเมืองภาคประชาชนกับการปฏิรูปฯ ฝนหรือลวง” http://www.prachatham.com/detail.htm?code=i1_2508210_01

1 กันยายน 2553 “สุมิตรชัย หัตถสาร มองการเมืองภาคประชาชนกับการปฏิรูป ฝนหรือลวง? (2)” http://www.prachatham.com/detail.htm?code=i1_01092010_01 23 สิงหาคม 2553 “ความยากจนที่ซับซอนกับการเปลี่ยนแปลงมุมมองในการทําความเขาใจชนบท”

http://www.prachatham.com/detail.htm?code=n2_23082010_01 โลคัลทอลค

7 กันยายน 2551 “เหตุที่ไม อิน กับสถานการณบานเมือง” http://www.localtalk2004.com/V2005/detail.php?file=1&code=a1_07092008_01

29 กรกฎาคม 2553 “ธงชัย วินิจจะกูล สนทนากลางฝุนตลบหลังเดือนพฤษภา” http://www.localtalk2004.com/V2005/detail.php?file=1&code=f1_29072010_01

สถาบันอิศรา 23 มิถุนายน 2553 “เครือขายที่ดินเผย 4 ขอเสนอยื่นรัฐ ยุติคดีชาวบาน-เรงโฉนดชุมชน-ดัน กม.ภาษี-

ธนาคารที่ดิน” http://community.isranews.org/resource-the-environment/619-2010-06-23-21-37-23.html

Thai Social Movement Watch (กลุมจับตาขบวนการประชาสังคมไทย) 2553 ซี่รีสวีดีโอคลิป (32 ตอน) ความคิดเห็นของนักเคลื่อนไหวทางสังคมตอขบวนการประชาชนและเอ็นจี

โอเผยแพรทางเฟสบุค http://www.facebook.com/search/?q=%E0%B8%97%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%99&init=quick&sid=0.048677649833510306#!/pages/thbthwn-khbwnkar-kheluxnhiw-thang-sangkhm-ni-prathesthiy/140759815942325?v=wall&ref=ts

การอภิปราย/สัมมนา 23 กรกฎาคม 2553 การอภิปรายทางวิชาการ จัดโดยภาคสังคมศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัย

ศิลปากร