77
www.pea.co.th จัดทําโดย แผนกวิจัยระบบไฟฟา กองวิจัย รายงานโครงการวิจัยสภาพดินและหลัก ดินที่เหมาะสมในแตละพื้นที่ของ กฟภ.

โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เป็นงานวิจัยเรื่องสภาพดินทั่วประเทศจากการไฟฟ้า

Citation preview

Page 1: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

www.pea.co.th จัดทําโดย แผนกวิจัยระบบไฟฟา กองวิจัย

รายงานโครงการวิจัยสภาพดินและหลัก

ดินที่เหมาะสมในแตละพ้ืนที่ของ กฟภ.

Page 2: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

สารบัญ หนา บทนํา 1-2 บทที่ 1 การจําแนกชุดดินของประเทศไทย 3-8 บทที่ 2 ผลการทดลองคาความตานทานของรูปแบบการตอลงดนิ 17 รูปแบบ 9 2.1 ผลการทดลอง และผลการคํานวณหาคาความตานของรูปแบบการ

ตอลงดินแบบตางๆ 12-30

2.2 เปรียบเทียบความสามารถในการลดคาความตานทานของรูปแบบการตอ ลงดินแบบตางๆ 17 รูปแบบ

31-33

บทที่ 3 การพิจารณาเลือกรูปแบบการตอลงดินที่เหมาะสม 34-38 สรุปผลการเลือกรูปแบบการตอลงดินในระบบสายสงโดยมีคา

เปาหมาย 10 โอหม 39

สรุปผลการเลือกรูปแบบการตอลงดินในระบบจําหนายโดยมีคาเปาหมาย 25 โอหม

40

บทที่ 4 การวิเคราะหคาความนาจะเปนของการกระจายคาความตานทานหลักดิน ในระบบจําหนายและสายสงของ กฟภ.

41-47

ภาคผนวก ผลการสํารวจคาความตานทานจําเพาะของดินในระบบสายสงและระบบจําหนายของ กฟภ.

48-73

เอกสารอางอิง 74-75

Page 3: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

1

รายงานโครงการวิจัยสภาพดินและหลักดินที่เหมาะสม ในแตละพื้นที่ของ การไฟฟาสวนภูมภิาค

บทนํา

เนื่องจากขอมูลดินของประเทศไทยมักถูกสํารวจโดยนักปฐพีวิทยา และวิศวกร

มีการคนควาใน 2 ดานใหญๆดวยกัน คือ ทางดานวิศวกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งวิศวกรรมโยธา เนนหนักในเรื่องคุณสมบัติของดินในการตานทานน้ําหนัก ความคงทนตอการพังทลายเมื่อมีการสรางอาคารบานเรือน อีกดานหนึ่งก็คือการศึกษาดินทางดานการเกษตร ซึ่งเปนงานของนักปฐพีวิทยา หรือนักวิชาการเกษตร ศึกษาเพื่อใหรูลักษณะของดิน โดยเนนหนักไปทางดานกําเนิดของดิน (Soil Genesis) ปจจัยตางๆที่เกี่ยวของกับการเกิด การสรางตัวของดิน ความเหมาะสมในการปลูกพืช

แตยังไมมีขอมูลการศึกษาในเชิงวิศวกรรมไฟฟามากนัก งานวิจัยชิ้นนี้จึงไดทําการศึกษารวมขอมูลชุดดิน , แผนที่จําแนกชุดดินทั่วประเทศ , คาความตานทานจําเพาะของดิน (Soil Resistivity) , คาความตานทานหลักดิน , คาความเปนกรด-ดางของดิน , พรอมทั้งไดทําการทดลองรูปแบบการตอลงดิน 17 รูปแบบ ติดตั้งทั้ง 12 เขตการไฟฟา เพื่อประโยชนในเชิงวิศวกรรมไฟฟา นําขอมูลไปออกแบบรูปแบบของหลักดินในระบบจําหนาย สายสงที่เหมาะสม เพื่อใหเกิดความปลอดภัยตอชีวิต ทรัพยสิน และความมั่นคงในการสงจายกําลังไฟฟา ของ กฟภ. โดยเริ่มโครงการตั้งแตวันที่ 10 ต.ค. 2545 จนถึงถึงปจจุบัน รายงานโครงการวิจัยไดแบงออกเปน 4 บทดวยกันดังนี้ บทที่ 1 “ การจําแนกชุดดินของประเทศไทย ” ซึ่งจะทําใหทราบถึงดินชนิดตางๆ และคุณสมบัติของดิน การจําแนกดิน (Soil classification) :ซึ่งเปนการแบงดินออกเปนหมวดหมูในระดับตางๆ ไดแกอันดับ (Order) อันดับยอย (Suborder) กลุมดินใหญ (Great Group) กลุมดินยอย (Subgroup) วงศดิน (Family) และชุดดิน (Soil Series) ตามระบบอนุกรมวิธานดิน

Page 4: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

2

(Soil Taxonomy) ป 2541โดยใชลักษณะและคุณสมบัติตางๆ ของดินที่คลายคลึงกัน ลักษณะและ คุณสมบัติของดินที่ใชในการจําแนกดินจะตองเดนชัด สังเกตและตรวจสอบไดงายในภาคสนาม บทที่ 2 “ผลการทดลองคาความตานทานของรูปแบบการตอลงดิน 17 รูปแบบ ” ซึ่งจะเปนการทําสังเคราะหสมการ (Synthesis) และนําผลการทดลองคาความตานทานของรูปแบบการตอลงดิน 17 รูปแบบมาคํานวณหาคาสัมประสิทธิ์การลดลงของคาความตานทานของรูปแบบการตอลงดินแบบตางๆ บทที่ 3 “การพิจารณาเลือกรูปแบบการตอลงดินที่เหมาะสม” ซึ่งเปนวิธีการพิจารณาเลือกรูปแบบการตอลงดินที่เหมาะสม บทที่ 4 “การวิเคราะหคาความนาจะเปนของการกระจายคาความตานทานหลักดิน ในระบบจําหนายและสายสงของ กฟภ.” ซึ่งจะสามารถนําไปคํานวณคา Total Flash Over Rate (TFOR) เพื่อประมาณอัตราไฟฟาดับจากสาเหตุฟาผาได โดยมากแลวมักนํามาใชในการวางแผนการลงทุนเพื่อปรับปรุงแกไขคาความตานทานรากสายดินในระบบสายสง 115 kV เพื่อเพิ่มความเชื่อถือใหกับระบบสายสง ภาคผนวก ผลการสํารวจคาความตานทานจําเพาะของดินทั่วประเทศ

Page 5: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

3

บทที่ 1

การจําแนกชุดดินของประเทศไทย

กอนจะทําการออกแบบการตอลงดินจําเปนจะตองมาทําความรูจักกับดินชนิดตางๆ และคุณสมบัติของดิน การจําแนกดิน (Soil classification) เปนการแบงดินออกเปนหมวดหมูในระดับตางๆ ไดแกอันดับ (Order) อันดับยอย (Suborder) กลุมดินใหญ (Great Group) กลุมดินยอย (Subgroup) วงศดิน (Family) และชุดดิน (Soil Series) ตามระบบอนุกรมวิธานดิน (Soil Taxonomy) ป 2541โดยใชลักษณะและคุณสมบัติตางๆ ของดินที่คลายคลึงกัน ลักษณะและ คุณสมบัติของดินที่ใชในการจําแนกดินจะตองเดนชัด สังเกตและตรวจสอบไดงาย ในภาคสนาม โดยมีความสัมพันธอยางมีหลักการกับกระบวนการเกิดดิน และผลการวิเคราะหดิน ในหองปฏิบัติการ ตลอดจนมีความคงทน และยากตอการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้เพื่อใหการจําแนกดิน มีความถูกตองลักษณะและคุณสมบัติของดินที่นํามาใชในการจําแนกดิน ไดแกชนิดของวัตถุตนกําเนิดดิน สภาพพื้นที่ ที่เกิดดิน สีดิน เนื้อดิน โครงสรางของดิน การเกาะยึดตัวของดิน ปฏิกิริยาดิน คาความตานทานจําเพาะของดิน คาความนําจําเพาะของดิน ความจุในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน ความอิ่มตัวเบส การแชขังน้ําหรือการอิ่มตัวดวยน้ําของดิน การมีเศษหินกรวดในดิน ชั้นหินพื้น หรือชั้นเชื่อมแข็งชนิดตางๆ ชนิดของวัสดุประกอบดิน เชน สะสมปูน เกลือ สารประกอบ กํามะถัน ศิลาแลงออน รอยไถล ความแข็งและออนของชั้นดิน เปนตน

ลักษณะและคุณสมบัติตางๆ ของดินที่ใชในการจําแนกดินจนถึง ระดับวงศดิน (Soil family) และ ชุดดิน (Soil series) ไดจากการศึกษาดินจาก รูปหนาตัดดิน พรอมทําคําบรรยาย บันทึกรายละเอียดตางๆ ที่เกี่ยวกับดิน สภาพแวดลอม และเก็บตัวอยางดินเพื่อนําไปวิเคราะห ในหองปฏิบัติการ ชุดดินที่ไดจัดตั้งขึ้นเพื่อการสํารวจ จําแนก และทํา

Page 6: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

4

แผนที่ดินของกองสํารวจและจําแนกดิน กรมพัฒนาที่ดิน มีประมาณ 300 ชุดดิน และมีการกําหนดลักษณะ และคุณสมบัติตางๆ ทางกายภาพ และทางเคมีของดินอันเปนลักษณะประจําตัวของชุดดินไวอยางชัดเจน ผลการจําแนกดินสามารถนําไปใชถายทอดความรูหรือนําเทคโนโลยี ใหมๆ ในระบบเครือขายจากพื้นที่ หนึ่งไปสูอีกพื้นที่หนึ่ง หรือจากประเทศหนึ่ง ไปสูอีกประเทศหนึ่งที่ใช ระบบการจําแนกดินเดียวกันไดอยางเปนระบบ จึงเปนการประหยัดเวลาและคาใชจาย

ชุดดินจัดตั้ง จะตองมีคัดเลือกจากการศึกษาหนาตัด (โปรไฟล) ของดินหลายแหงจนแนใจวาไดลักษณะและ คุณสมบัติตาง ๆ ทางกายภาพและทางเคมีของดินอันเปนลักษณะประจําตัวของชุดดินเฉพาะในการจําแนกดิน ระดับชุดดิน การเรียกชื่อชุดดินจัดตั้งปกติใชชื่อสถานที่พบดินชนิดนั้นเปนครั้งแรก หรือบริเวณนั้นมีชุดดินประเภทนั้นเปนบริเวณกวางขวาง ชุดดินที่มีคุณสมบัติดังกลาวอาจพบจากการสํารวจดินในภายหลังที่สถานที่อ่ืน แตการเรียกชื่อดินชนิดนั้นยังคงใชชื่อเหมือนชุดดินจัดตั้ง ตัวอยางเชน ดินราชบุรี อาจพบที่จังหวัด พิษณุโลก หรือเชียงราย เปนตน ในทํานองเดียวกันดินหางดง อาจพบในอําเภออื่นในจังหวัดอื่นของประเทศไทย

รายละเอียดของคาความตานทานจําเพาะของดิน , คาความเปน กรด-ดางของดิน ภาพหนาตัด (โปรไฟล) ของดินชุดตางๆ ไดถูกรวบรวมไวในรายงานภาพหนาตัด (โปรไฟล) ของดินชุดตางๆ ของ กวจ.

Page 7: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

5

ภาพที่ 1.1 แผนที่แสดงตําแหนงของชุดดินจัดตั้งของภาคเหนือ

Page 8: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

6

ภาพที่ 1.2 แผนที่แสดงตําแหนงของชุดดินจัดตั้งของภาคกลาง

Page 9: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

7

ภาพที่ 1.3 แผนที่แสดงตําแหนงของชุดดินจัดตั้งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Page 10: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

8

ภาพที่ 1.4 แผนที่แสดงตําแหนงของชุดดินจัดตั้งของภาคใต

Page 11: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

9

บทที่ 2

ผลการทดลองคาความตานทานของรูปแบบการตอลงดิน 17 รูปแบบ

กวจ. รวมกับ กฟข. ไดทําการทดลองติดตั้งรูปแบบการตอลงดิน 17 รูปแบบ ตามรายละเอียดแบบการตอลงดินในภาคผนวก ข. เพื่อตองการทดลองหาคาความตานของรากสายดินแบบตางๆ เปรียบเทียบกัน ในการทดลองรูปแบบการตอลงดิน แตละรูปแบบมีความแตกตางกันออกไป โดยเนนใหมีความหลากหลายดังนี้ ออกแบบปกแทงหลักดินลึกมากกวา 2 เมตร ตามรูปแบบที่ 6 , 7 , 8 , 9 , 10 ออกแบบวางในแนวนอนตาม รูปแบบที่ 13 , 11 ออกแบบวางในแนว 45 ตามรูปแบบที่ 16 ออกแบบปกลึก 2 เมตร ขนานกันหลายแทงตามรูปแบบที่ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 และใชสารเคมีลดคาความตานทานตามรูปแบบที่ 12 , 14 , 15 จากนั้นนําเอาคาสัมประสิทธิ์การลดลงของคาความตานทาน คาใชจายในการติดตั้ง ระดับความยากงายของการติดตั้ง และเวลาที่ใชติดตั้งของแตละรูปแบบมาเปรียบเทียบกัน เพื่อนํามาหารูปแบบที่เหมาะสมที่สุดที่จะนํามาใชในแตและชวงของคาความตานทานจําเพาะของดิน

ภาพที่ 2.1 รูปแบบการตอลงดินแบบปกลึกมากกวา 2 เมตร

Page 12: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

10

ภาพที่ 2.2 รูปแบบการตอลงดินแบบวางในแนวนอน

ภาพที่ 2.3 รูปแบบการตอลงดินแบบปกในแนว 45 ลึก 2 เมตร

Page 13: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

11

ภาพที่ 2.4 รูปแบบการตอลงดินแบบปกลึก 2 เมตร ขนานกันหลายแทง

ภาพที่ 2.5 รูปแบบการตอลงดินแบบใชสารเคมีลดคาความตานทานดิน

Page 14: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

12

2.1 ผลการทดลอง และผลการคํานวณหาคาความตานของรูปแบบการตอลงดิน แบบตางๆ

ในการศึกษา กวจ. ไดรวมกับ กฟข. ไดทําการทดลองติดตั้งรูปแบบการตอลงดิน 17

รูปแบบ วัดคาความตานทานจําเพาะของดินภาคสนาม มาสรางแบบจําลองลงบนโปรแกรม Current Distribution , Electromagnetic Fields, Grounding and soil structure Analysis (CDEGS) แลวนําผลคาความตานของรูปแบบการตอลงดินแบบตางๆ ที่วัดไดจริงเปรียบเทียบกับผลการคํานวณจากแบบจําลอง ซึ่งหากผลการทดลองมีความสอดคลองกับแบบจําลองที่สรางขึ้น ก็สามารถนําผลที่ไดสรางเปนโมโนแกรมคํานวณคาความตานทานของหลักดินรูปแบบตางๆ โดยจํานวนขอมูลที่นํามาวิเคราะหมีทั้งสิ้น 98 จุด จากทั้งหมด (12x17=204) จุด คิดเปน 48.04 เปอรเซ็นต)

ภาพที่ 2.6 การทดลองติดตั้งรูปแบบการตอลงดิน 17 รูปแบบ

Page 15: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

13

ภาพที่ 2.7 การวัดคาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของหลักดิน ภาคสนาม

ภาพที่ 2.8 การสรางแบบจําลองลงบนโปรแกรม Current Distribution , Electromagnetic Fields, Grounding and soil structure Analysis (CDEGS)

Page 16: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

14

2.1.1 รูปแบบที่ 1 ปกแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟองยาว 2 เมตร 2 จุด

ภาพที่ 2.9 การปกหลักดนิรูปแบบที่ 1

100 101 102 103 10410-1

100

101

102

103

104

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type1

ภาพที่ 2.10 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 1 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 17: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

15

2.1.2 รูปแบบที ่2 ปกแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟองยาว 2 เมตร 3 จุด

ภาพที่ 2.11 การปกหลักดินรูปแบบที่ 2

100 101 102 103 10410-1

100

101

102

103

104

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type2

ภาพที่ 2.12 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 2 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 18: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

16

2.1.3 รูปแบบที ่3 ปกแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟองยาว 2 เมตร 4 จุด

ภาพที่ 2.13 รูปแบบการปกหลักดินรปูแบบที่ 3

100 101 102 103 10410-2

10-1

100

101

102

103

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type3

ภาพที่ 2.14 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 3 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 19: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

17

2.1.4 รูปแบบที ่4 ปกแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟอง ยาว 2 เมตร 4 จุด

ภาพที่ 2.15 การปกหลักดินรูปแบบที่ 4

100 101 102 103 10410-2

10-1

100

101

102

103

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type4

ภาพที่ 2.16 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 4 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 20: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

18

รูปแบบที ่5 ปกแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟอง ยาว 2 เมตร 5 จุด

ภาพที่ 2.17 การปกหลักดินรูปแบบที่ 5

100 101 102 103 10410-2

10-1

100

101

102

103

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type5

ภาพที่ 2.18 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 5 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 21: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

19

2.1.6 รูปแบบที่ 6 ปกแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟองยาว 4 เมตร 2 จุด

ภาพที่ 2.19 การปกหลักดินรูปแบบที่ 6

100 101 102 103 10410-2

10-1

100

101

102

103

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type6

ภาพที่ 2.20 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 6 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 22: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

20

2.1.7 รูปแบบที ่7 ปกแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟองยาว 4 เมตร 3 จุด

ภาพที่ 2.21 การปกหลักดินรูปแบบที่ 7

100 101 102 103 10410-2

10-1

100

101

102

103

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type7

ภาพที่ 2.22 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 7 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 23: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

21

2.1.8 รูปแบบที ่8 ปกแทงหลักดินชนิดกลบีมะเฟอง ยาว 6 เมตร 2 จุดหางกัน 12 เมตร

ภาพที่ 2.23 การปกหลักดินรูปแบบที่ 8

100 101 102 103 10410-2

10-1

100

101

102

103

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type8

ภาพที่ 2.24 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 8 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 24: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

22

2.1.9 รูปแบบที ่9 ปกแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟอง ยาว 6 เมตร 3 จุด

ภาพที่ 2.25 การปกหลักดินรูปแบบที่ 9

100 101 102 103 10410-2

10-1

100

101

102

103

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type9

ภาพที่ 2.26 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 9 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 25: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

23

2.1.10 รูปแบบที ่10 ปกแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟอง ยาว 8 เมตร 2 จุด

ภาพที่ 2.27 การปกหลักดินรูปแบบที่ 10

100 101 102 103 10410-2

10-1

100

101

102

103

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type10

ภาพที่ 2.28 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 10 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 26: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

24

2.1.11 รูปแบบที ่11 แผนตัวนํา Strip Ground ยาว 40 เมตร

ภาพที่ 2.28 การปกหล

100 101 1010-2

10-1

100

101

102

103

Soil Resistivi

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs S

ภาพที่ 2.29 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผล รูปแบบที่ 11 (* แทนผลการทดลอ

คอนเนคเตอรตอเชื่อมระหวางแผนเหล็กแบน กับ

ักดินรูปแบบที่ 11

2 103 104

ty (ohms-m)

oil Resisitivity

type11

การคํานวณคาความตานทานของหลักดิน ง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 27: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

25

2.1.12 รูปแบบที ่12 ใชผงเคมีลดคากราวดรวมกับสายตัวนํา

ภาพที่ 2.30 การปกหลักดินรูปแบบที่ 12

100 101 102 103 10410-1

100

101

102

103

104

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type12

ภาพที่ 2.31 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 12 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 28: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

26

2.1.13 รูปแบบที ่13 วางแทงหลกัดินชนิดกลีบมะเฟองยาว 4 เมตร 2 จุด ในแนวนอน

ภาพที่ 2.32 การปกหลักดินรูปแบบที่ 13

100 101 102 103 10410-1

100

101

102

103

104

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type13

ภาพที่ 2.33 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 13 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 29: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

27

2.1.14 รูปแบบที ่ 14 วางแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟองยาว 2 เมตร ในหลุมผงเคมีลดคากราวด

ภาพที่ 2.34 การปกหลักดินรูปแบบที่ 14

100

101

102

103

104

10-2

10-1

100

101

102

103

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type14

ภาพที่ 2.35 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 14 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 30: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

28

2.1.15 รูปแบบที่ 15 ใชผงเคมีลดคากราวดรวมกับการปกแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟองยาว 2 เมตร 3 จุด

ภาพที่ 2.36 การปกหลักดินรูปแบบที่ 15

100 101 102 103 10410-1

100

101

102

103

104

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type15

ภาพที่ 2.37 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 15 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 31: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

29

2.1.16 รูปแบบที ่16 ปกแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟองยาว 2 เมตร 2 จุด เอียง เปนมุม 45 องศา

ภาพที่ 2.38 การปกหลักดินรูปแบบที่ 16

100 101 102 103 10410-1

100

101

102

103

104

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type16

ภาพที่ 2.39 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 16 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 32: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

30

2.1.17 รูปแบบที ่17 ปกแทงหลักดินชนิดกลีบมะเฟองยาว 4 เมตร 1 จุด

ภาพที่ 2.38 การปกหลักดินรูปแบบที่ 17

100

101

102

103

104

10-1

100

101

102

103

104

Soil Resistivity (ohms-m)

Res

ista

nce(

Ohm

s)

Resistance vs Soil Resisitivity

type17

ภาพที่ 2.40 เปรียบเทียบผลการทดลอง และผลการคํานวณคาความตานทานของหลักดิน รูปแบบที่ 17 (* แทนผลการทดลอง , --แทนผลการคํานวณ)

Page 33: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

31

2.2 เปรียบเทียบความสามารถในการลดคาความตานทานของรูปแบบการตอ ลงดินแบบตางๆ 17 รูปแบบ จากการศึกษาโดยใชกระบวนการวิ เคราะหตามขั้นตอนในภาพที่ 2.41 กระบวนการขั้นตอนที่ 6 ซึ่งเปนการวิเคราะหเพื่อคํานวณหาคาสัมประสิทธิ์การลดลงของคาความตานทานจาก การทําสังเคราะหสมการ (Synthesis) พบวาสมการการคํานวณคาความตานทานของรูปแบบการตอลงดินแบบตางๆ ติดอยูในรูปตัวแปรตางๆ ตามสมการที่ 2.1

ภาพที่ 2.41 กระบวนการศึกษาเพื่อหารูปแบบการตอลงดินที่เหมาะสม

Page 34: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

32

ρ∗= ),,,( NsdLfR (2.1)

เมื่อ L คือ ความยาวของแทงหลักดิน หรือความยาวของรากสายดินแบบ แผนเหล็กแบน (เมตร)

d คือ ขนาดของเสนผานศูนยกลาง หรือความกวางของรากสายดินแบบแผนเหล็กแบน (เมตร)

คือระยะหางระหวางแทงหลักดิน (เมตร) s

คือจํานวนแทงหลักดินที่ปกขนานกัน (แทง) N

แตเมื่อทําการกําหนดรูปแบบที่แนนอนแลว จะสามารถอนุมาณใหความสัมพันธ

ของ เปนคาคงตัวได ซึ่งในงานวิจัยนี้เรียกวาคาสัมประสิทธิ์การลดลงของคาความตานทาน ซึ่งจะเปนคาเฉพาะของแตละรูปแบบการตอลงดิน

KNsdLf =),,,(

จากผลสรุปที่ไดจากการทดลองรูปแบบการตอดินแบบตางๆ ทั้ง 17 รูปแบบ พบวาสามารถหาคาสัมประสิทธิ์การลดลงของคาความตานทานตามตารางที่ 1 โดยคาสัมประสิทธิ์ ดังกลาวสามารถนํามาใชงานในการประมาณคาความตานทานของรากสายดินไดตามสมการที่ 2.2 ดังนี้

ρ∗= KR (2.2)

เมื่อ K คือ คาสัมประสิทธิ์การลดลงของคาความตานทาน (โอหม/โอหม-เมตร) ρ คือคาความตานทานจําเพาะของดิน (โอหม-เมตร) R คือคาความตานทานของรากสายดิน (โอหม)

ตัวอยางเชน ตรวจวัดคาความตานทานจําเพาะของดินได 100 โอหม-เมตร เมื่อ

ออกแบบรากสายดิน ตามรูปแบบการตอลงดินที่ 1 จะไดคาความตานทานของรากสายดินเทากับ 0.1694*100 = 16.94 โอหม เปนตน

Page 35: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

33

ตารางที ่2.1 คาสัมประสทิธิก์ารลดลงของคาความตานทานของรูปแบบการตอลงดนิแบบตาง ๆ

รูปแบบการตอลงดิน Type1 Type2 Type3 Type4 Type5 Type6 Type7 Type8 0.1694 0.1142 0.0880 0.0883 0.0746 0.0954 0.0636 0.0676

รูปแบบการตอลงดิน Type9 Type10 Type11 Type12 Type13 Type14 Type15 Type16 0.0450 0.0528 0.0496 0.1447 0.1572 0.0209 0.1447 0.1642

00.020.040.060.080.1

0.120.140.160.18

Type

1

Type

2

Type

3

Type

4

Type

5

Type

6

Type

7

Type

8

Type

9

Type

10

Type

11

Type

12

Type

13

Type

14

Type

15

Type

16

รูปแบบการตอลงดนิ

K ชดุขอมูล1

ภาพที่ 2.42 เปรียบเทียบคาสัมประสิทธิ์การลดลงของคาความตานทานของรูปแบบ

การตอลงดินแบบตางๆ (คา K มีหนวยเปน โอหม/โอหม-เมตร) หมายเหตุ : รูปแบบการตอลงดินแบบที่ 17 เปนรปูแบบที่ตองการศึกษาหาความสัมพันธ ระหวางคาความตานทานของหลักดิน กับคาความตานทานจําเพาะของชั้นดินที่หลักดินปกอยู ศึกษาเพื่อนําไปใชในงานออกแบบระบบกราวดเฉพาะพื้นที่พิเศษ จึงไมไดนํามาเปรียบเทียบรูปแบบอื่นๆ ซึ่งอยูระหวางการวิเคราะห

Page 36: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

34

บทที่ 3

การพิจารณาเลือกรูปแบบการตอลงดินที่เหมาะสม การพิจารณาเลือกรูปแบบการตอลงดินที่เหมาะสมที่สุดที่จะนํามาใชในแตและ

ชวงของคาความตานทานจําเพาะของดินมีหลักเกณฑ 3 อยางดังนี้ 1. พิจารณาจากคาสัมประสิทธิ์การลดลงของคาความตานทาน โดยแบงออกเปน

ระดับ 1 , 2 , 3 ,4 ( 1 คือมีคาต่ําสุด หรือมีความสามารถลดคาความตานทานไดดีที่สุด) 2. พิจารณาจากคาใชจายที่ใชในการติดตั้ง ซึ่งเปนคาวัสดุ คาแรงโดยแบง

ออกเปนระดับ 1 , 2 , 3 ,4 (1 คือมีคาใชจายต่ําสุด) 3. พิจารณาจากความยากงายในการติดตั้ง และเวลาที่ใชติดตั้ง โดยแบงออกเปน

ระดับ 1 , 2 , 3 ,4 (1 คืองายที่สุด) การพิจารณาเริ่มจากการนําเอาคาสัมประสิทธิ์การลดลงของคาความตานทานใน

ตารางที่ 3.1 มาทําการจัดลําดับ เพื่อแบงออกเปนกลุม 6 กลุม ตามกลุมสีในรูปที่ 3.1 โดยไมรวมรูปแบบที่ 17 เนื่องจากรูปแบบที่ 17 เปนรูปแบบที่ตองศึกษาความสัมพันธระหวางคาความตานทานของหลักดินกับชั้นดิน จากนั้นก็จะทําการพิจารณาถึงคาใชจายที่ใชในการติดตั้ง ซึ่งเปนคาวัสดุ คาแรง และทายสุดจะพิจารณาถึงความยากงายในการติดตั้ง และเวลาที่ใชติดตั้งตามรูปที่ 3.2 และ 3.3 ตามลําดับ ตารางที่ 3.1 คาสัมประสิทธิ์การลดลงของคาความตานทานของรูปแบบการตอลงดินแบบตาง ๆ

รูปแบบการตอลงดิน Type1 Type2 Type3 Type4 Type5 Type6 Type7 Type8 0.1694 0.1142 0.0880 0.0883 0.0746 0.0954 0.0636 0.0676

รูปแบบการตอลงดิน

Type9 Type10 Type11 Type12 Type13 Type14 Type15 Type16 0.0450 0.0528 0.0496 0.1447 0.1572 0.0209 0.1447 0.1642

Page 37: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

35

0.0000

0.0200

0.04000.0600

0.0800

0.1000

0.12000.1400

0.1600

0.1800

Type

1

Type

16

Type

13

Type

12

Type

15

Type

2

Type

6

Type

4

Type

3

Type

5

Type

8

Type

7

Type

10

Type

11

Type

9

Type

14

รูปแบบการตอลงดนิ

K

ภาพที่ 3.1 การจัดลําดับความสามารถในการลดคาความตานทานรากสายดินของ

รูปแบบการตอลงดินแบบตางๆ แบงออกเปน 6 ระดับดวยกัน (คา K ในแกน y มีหนวยเปน โอหม / โอหม- เมตร)

0.001,000.002,000.003,000.004,000.005,000.006,000.007,000.008,000.009,000.00

10,000.00

Type

1

Type

16

Type

13

Type

12

Type

15

Type

2

Type

6

Type

4

Type

3

Type

5

Type

8

Type

7

Type

10

Type

11

Type

9

Type

14

รูปแบบการตอลงดนิ

ภาพที่ 3.2 คาใชจายในการทดลองติดตั้งของรูปแบบการตอลงดินแบบตางๆ (คาในแกน y มีหนวยเปน บาท /รูปแบบการตอลงดิน)

Page 38: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

36

0.00

0.50

1.00

1.50

2.002.50

3.00

3.50

4.00

4.50

Type

1

Type

16

Type

13

Type

12

Type

15

Type

2

Type

6

Type

4

Type

3

Type

5

Type

8

Type

7

Type

10

Type

11

Type

9

Type

14

รูปแบบของการตอลงดนิ

ภาพที่ 3.3 ระดับความยากงายและเวลาที่ใชในการติดตั้งรูปแบบการตอลงดิน

แบบตางๆ ลําดับความยากงายตามลําดับภายในกลุม

ตารางที่ 3.2 ผลการพิจารณาเลือกรูปแบบการตอลงดินในกลุมที่ 1

เกณฑในการพิจารณา รูปแบบที ่1

รูปแบบที ่16

รูปแบบที ่13

คาสัมประสิทธการลดลงของคาความตานทาน 3 2 1 คาใชจายที่ใชในการติดตั้ง ซึ่งเปนคาวัสดุ คาแรง 1 1 2 ความยากงายในการติดตั้ง และเวลาที่ใชติดตั้ง 1 2 3 คะแนน 5 5 6 ในกลุมนี้เลือกรูปแบบการตอลงดินที่ 1

Page 39: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

37

ตารางที่ 3.3 ผลการพิจารณาเลือกรูปแบบการตอลงดินในกลุมที่ 2

เกณฑในการพิจารณา รูปแบบที ่12

รูปแบบที ่15

รูปแบบที ่2

คาสัมประสิทธการลดลงของคาความตานทาน 2 3 1 คาใชจายที่ใชในการติดตั้ง ซึ่งเปนคาวัสดุ คาแรง 2 3 1 ความยากงายในการติดตั้ง และเวลาที่ใชติดตั้ง 2 3 1 คะแนน 6 9 3 ในกลุมนี้เลือกรูปแบบการตอลงดินที่ 2

ตารางที่ 3.4 ผลการพิจารณาเลือกรูปแบบการตอลงดินในกลุมที่ 3

เกณฑในการพิจารณา รูปแบบที ่6

รูปแบบที ่4

รูปแบบที ่3

คาสัมประสิทธการลดลงของคาความตานทาน 3 2 1 คาใชจายที่ใชในการติดตั้ง ซึ่งเปนคาวัสดุ คาแรง 1 2 3 ความยากงายในการติดตั้ง และเวลาที่ใชติดตั้ง 3 2 1 คะแนน 7 6 5 ในกลุมนี้เลือกรูปแบบการตอลงดินที่ 3

Page 40: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

38

ตารางที่ 3.5 ผลการพิจารณาเลือกรูปแบบการตอลงดินในกลุมที่ 4

เกณฑในการพิจารณา รูป

แบบที ่5

รูป แบบที ่

8

รูป แบบที ่

7

รูป แบบที ่

10

คาสัมประสิทธการลดลงของคาความตานทาน 4 3 2 1 คาใชจายที่ใชในการติดตั้ง ซึ่งเปนคาวัสดุ คาแรง 1 2 3 4 ความยากงายในการติดตั้ง และเวลาที่ใชติดตั้ง 1 3 2 4 คะแนน 6 8 7 9 ในกลุมนี้เลือกรูปแบบการตอลงดินที่ 5

ตารางที่ 3.6 ผลการพิจารณาเลือกรูปแบบการตอลงดินในกลุมที่ 5

เกณฑในการพิจารณา รูป แบบที ่11

รูป แบบที ่9

คาสัมประสิทธการลดลงของคาความตานทาน 2 1 คาใชจายที่ใชในการติดตั้ง ซึ่งเปนคาวัสดุ คาแรง 1 2 ความยากงายในการติดตั้ง และเวลาที่ใชติดตั้ง 1 2 คะแนน 4 5 ในกลุมนี้เลือกรูปแบบการตอลงดินที่ 11 ในกลุมที่ 6 มีรูปแบบเดียวคือรูปแบบที่ 14 จึงเลือกรูปแบบ 14

Page 41: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

39

สรุป การพิจารณาเลือกรูปแบบการตอลงดินที่เหมาะสมที่สุดที่จะนํามาใชในแตละชวง

ของคาความตานทานจําเพาะของดิน เพื่อนําไปใชในระบบสายสง และระบบจําหนายของ กฟภ. สามารถสรุปไดตามตารางที่ 3.7 เมื่อกําหนดคาเปาหมายที่ 10 โอหม และ ตารางที่ 3.8 เมื่อกําหนดคาเปาหมายที่ 25 โอหม ตารางที่ 3.7 รูปแบบการตอลงดินที่เหมาะสม ที่จะนํามาใชในแตและชวงของคาความ ตานทานจําเพาะของดินเมื่อกําหนดคาเปาหมาย 10 โอหม

รูปแบบการตอลงดิน

คาสัมประสิทธิ์การลดลงของคาความตานทาน

ชวงของคาความตานทานจําเพาะของดิน เมื่อกําหนดคาเปาหมายที่ 10 โอหม

ปก 1 แทง 0.381 0-34 1 0.169 35-79 2 0.114 80-114 3 0.088 115-147 5 0.075 148-174

11 0.050 175-262 14 0.021 263-622

หมายเหตุ : คาความตานทานของรากสายดินจะแปรผันตามฤดูกาลในชวง (±30%)

Page 42: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

40

ตารางที่ 3.8 รูปแบบการตอลงดินที่เหมาะสม ที่จะนํามาใชในแตและชวงของคาความ ตานทานจําเพาะของดินเมื่อกําหนดคาเปาหมาย 25 โอหม

รูปแบบการตอลงดิน

คาสัมประสิทธิ์การลดลงของคาความตานทาน

ชวงของคาความตานทานจําเพาะของดิน เมื่อกําหนดคาเปาหมายที่ 25 โอหม

ปก 1 แทง 0.381 0-85 1 0.169 86-198 2 0.114 199-285 3 0.088 286-368 5 0.075 369-436

11 0.050 437-655 14 0.021 656-1555

หมายเหตุ : คาความตานทานของรากสายดินจะแปรผันตามฤดูกาลในชวง (±30%)

Page 43: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

41

บทที่ 4 การวิเคราะหคาความนาจะเปนของการกระจายคาความตานทาน

หลักดิน ในระบบจาํหนายและสายสงของ กฟภ. ความนาจะเปนของการกระจายคาความตานทานหลักดิน ในระบบจําหนายและสาย

สงของ กฟภ. ไดจากการสุมสํารวจของ กฟข. รวมกับ กวจ. จากนั้นจะนําขอมูลที่ไดนํามาผานกระบวนการวิเคราะหเชิงสถิติเพื่อคํานวณคาความนาจะเปนของการกระจายคาความตานทานหลักดิน ในระบบจําหนายและสายสงของ กฟภ. ซึ่งคาดังกลาวจะสามารถนําไปคํานวณคา Total Flash Over Rate (TFOR) เพื่อประมาณอัตราไฟฟาดับจากสาเหตุฟาผาได โดยมากแลวมักนํามาใชในการวางแผนการลงทุนเพื่อปรับปรุงแกไขคาความตานทานรากสายดินในระบบสายสง 115 kV เพื่อเพิ่มความเชื่อถือใหกับระบบสายสง สรุปไดตามตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 ความนาจะเปนของการกระจายคาความตานทานหลักดิน ในระบบจําหนายและสายสงของ กฟภ. ตอหลักดินชนิดกลีบมะเพือง ยาว 2 เมตร ตามมาตรฐาน กฟภ. 1 แทง

น1 น3 ฉ1 ฉ2 ฉ3 P(%) โอหม

100.00 5.46 2.46 7.66 13.31 0.81 90.00 13.18 4.46 14.36 25.57 5.08 80.00 17.16 5.45 18.31 36.14 10.81 70.00 21.00 6.93 20.57 51.31 17.59 60.00 26.32 8.66 26.46 57.44 19.60 50.00 47.83 9.00 57.68 61.31 41.75 40.00 82.55 11.55 58.33 73.01 70.67 30.00 116.31 13.76 75.75 126.82 119.24 20.00 178.62 16.60 165.14 202.65 195.80 10.00 205.52 19.25 1834.50 246.54 243.64

Page 44: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

42

ตารางที ่4.1 (ตอ) ความนาจะเปนของการกระจายคาความตานทานหลักดนิ ในระบบจําหนายและสายสงของ กฟภ. ตอหลักดินชนิดกลีบมะเพือง ยาว 2 เมตร ตามมาตรฐาน กฟภ. 1 แทง

ก1 ก2 ก3 ต1 ต2 ต3 P(%)

โอหม 100.00 0.40 0.40 4.44 16.94 15.73 2.02 90.00 2.62 2.02 15.57 44.37 17.75 4.01 80.00 10.08 2.82 35.26 70.27 66.96 5.08 70.00 19.77 3.23 71.80 74.30 79.06 8.35 60.00 39.53 4.44 81.64 99.15 81.88 11.78 50.00 72.20 6.86 94.79 115.77 128.68 15.93 40.00 99.63 12.10 142.15 161.75 172.24 31.87 30.00 139.97 26.62 221.53 207.98 237.99 53.73 20.00 187.97 42.76 363.76 349.00 296.48 102.54 10.00 340.44 77.45 832.96 818.04 503.81 217.58

รูปที่ 4.1 Distribution of Footing Resistances (Ohms) กฟน.1

Page 45: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

43

รูปที่ 4.2 Distribution of Footing Resistances (Ohms) กฟน.3

รูปที่ 4.3 Distribution of Footing Resistances (Ohms) กฟฉ.1

Page 46: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

44

รูปที่ 4.4 Distribution of Footing Resistances (Ohms) กฟฉ.2

รูปที่ 4.5 Distribution of Footing Resistances (Ohms) กฟฉ.3

Page 47: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

45

รูปที่ 4.6 Distribution of Footing Resistances (Ohms) กฟก.1

รูปที่ 4.7 Distribution of Footing Resistances (Ohms) กฟก.2

Page 48: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

46

รูปที่ 4.8 Distribution of Footing Resistances (Ohms) กฟก.3

รูปที่ 4.9 Distribution of Footing Resistances (Ohms) กฟต.1

Page 49: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

47

รูปที่ 4.10 Distribution of Footing Resistances (Ohms) กฟต.2

รูปที่ 4.11 Distribution of Footing Resistances (Ohms) กฟต.3

Page 50: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

48

ภาคผนวก ตารางที่ 1 คาความตานทานจําเพาะของดนิ และคาความตานทานของแทงหลักดนิภายในเขต กฟก.1

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สถานี ฯ อางทอง2 (ชั่วคราว) วิเศษชัยชาญ อางทอง ดินชื้น 14.85 -

ถ้ําศีวิไล พระพุทธบาท สระบุรี ดินเหนียวเพาะปลกู 45.26 -

สถานี ฯ พระพุทธบาท พระพุทธบาท สระบุรี ดินเหนียวเพาะปลกู 39.04 -สถานี ฯ อางทอง1 (สถานีแหงใหม) เมือง อางทอง ดินชื้น 8.34 -รร.วัดพุซาง ต.ธารเกษม พระพุทธบาท สระบุรี ดินเหนียวเพาะปลกู 82.36 -วัดราษฎรศรัทธาราม ต.พระพุทธบาท พระพุทธบาท สระบุรี ดินชื้น 5.76 -

ทางแยกสะพานมากเหล็ก มวกเหล็ก สระบุรี ดินเหนียวเพาะปลกู 131.19 -

ศูนยบริการลูกคาปูนซีเมนตนครหลวง แกงคอย สระบุรี ดินชื้น 21.06 -วัดโคกสะอาด ต.โคกสะอาด แกงคอย สระบุรี ดินชื้น 11.92 -วัดโพธิ์งาม ต.สาลิกา เมือง นครนายก ทรายชื้น 320.39 -

Page 51: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

49

ตารางที่ 1 (ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟก.1

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

ตรงขามสถานีฯพระพุทธบาท พระพุทธบาท สระบุรี ดินชื้น 25.57 -ศูนยราชการ จ.ปราจีนบุรี เมือง ปราจีนบุรี กรวดชื้น 579.27 -สถานีฯปราจีนบุรี 1 เมือง ปราจีนบุรี ทรายชื้น 163.36 -วัดสระมะเขือ ต.โคกปบ โคกปบ ปราจีนบุรี ดินเหนียวเพาะปลกู 121.18 -

ตรงขามสํานักงานศรีมหาโพธิ์ ศรีมหาโพธิ์ ปราจีนบุรี ทรายแหง กรวดแหง 947.78 -วัดนพคุณทอง ต.หนองโพรง ศรีมหาโพธิ์ ปราจีนบุรี กรวดชื้น 461.21 -วัดระเมาะไผ ต.หนองโพรง ศรีมหาโพธิ์ ปราจีนบุรี ทรายชื้น 179.40 50.40

โรงเรียนวัดใหมประชุมชน ศรีมหาโพธิ์ ปราจีนบุรี ทรายชื้น 152.66 85.80วัดเนินดินแดง ต.บานพระ เมือง ปราจีนบุรี ทรายแหง กรวดแหง 892.32 -วัดโคกอุดมดี ม.12 ต.หัวหวา ศรีมหาโพธิ์ ปราจีนบุรี กรวดชื้น 382.10 -

Page 52: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

50

ตารางที่ 1(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟก.1

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

โรงเรียนวัดหัวไผ ต.บางพลวง บานสราง ปราจีนบุรี ดินชื้น 6.55 -โรงเรียนบรรหารวิทยา ต.เมืองเกา กบินทรบุรี ปราจีนบุรี ทรายชื้น 280.41 -

หนานิคมอุตสาหกรรมกบินทรบุรี กบินทรบุรี ปราจีนบุรี ดินเหนียวเพาะปลกู 66.90 -โรงเรียนสุวรรณวิทยา ต.คําโตนด ประจันตคาม ปราจีนบุรี กรวดชื้น 573.18 -โรงเรียนบานแกง ต.บานแกง เมือง สระแกว ดินชื้น 20.89 13.07โรงเรียนสระแกวเทคโนโลย ีต.ศาลาลําดวน เมือง สระแกว ทรายชื้น 237.00 -ศูนยราชการจ.สระแกว เมือง สระแกว ดินชื้น 40.04 -

โรงเรียนเทศบาลกิโลสอง อรัญประเทศ สระแกว ดินชื้น 10.62 4.12วัดคลองยาว ต.ฝกขะ วัฒนานคร สระแกว ดินชื้น 11.10 -โรงเรียนหินกอง ต.ทรายทอง คลองหาด สระแกว ดินชื้น 22.76 -

Page 53: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

51

ตารางที่ 2 คาความตานทานจําเพาะของดนิ และคาความตานทานของแทงหลักดนิภายในเขต กฟก.2

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สถานนีระยอง2 ถนนสาย 36 ระยอง-แยกบานฉาง กม.ที่ 24 ระยอง ทรายชื้น 246.82 -สถานีระยอง2 ถนนสาย 36 ระยอง-แยกบานฉาง กม.ที ่29.5 ระยอง ทรายชื้น 256.33 131.70สถานีระยอง2 ถนนสาย 36 ระยอง-แยกบานฉาง กม.ที่ 33 ระยอง ทรายชื้น 239.02 141.00สถานีมาบขา ถนนสายมาบขา-ระยอง ระยอง ทรายชื้น 370.30 138.90สถานีมาบขา ถนนสายมาบขา-ระยอง ระยอง ดินเหนียวเพาะปลกู 88.21 -

สถานีมาบขา ระยอง กรวดชื้น 379.32 -สถานีบานคาย ถนน3138 กอนถึง กฟอ.บานคาย ระยอง ดินเหนียวเพาะปลกู 109.81 -

สถานีบานคาย ระยอง ดินเหนียวเพาะปลกู 118.71 -สถานีบานคาย ถนน3138 กอนถึง กฟอ.บคย. 2 กม. ระยอง ดินเหนียวเพาะปลกู 94.91 -

สถานีหนองละลอก นิคมอุตฯ ระยองที่ดิน ระยอง กรวดชื้น 384.52 -

Page 54: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

52

ตารางที่ 2(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟก.2

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สถานีหนองละลอก (นิคมอุตฯ ระยองที่ดิน) ระยอง กรวดชื้น 617.35 -สถานีหนองละลอก (ระยองที่ดิน) ระยอง ทรายชื้น 160.34 92.30สถานีปลวกแดง2 (นิคมอุตสาหกรรมอีสเทริน) ระยอง ทรายชื้น 218.62 -สถานีปลวกแดง2 (นิคมอุตสาหกรรมอีสเทริน) ระยอง ทรายชื้น 153.35 -สถานีปลวกแดง2 (นิคมอุตสาหกรรม จ.ีเค. แลนด) ระยอง กรวดชื้น 376.76 -สถาน ีกฟฟ.บางแสน (ทางเขาวิทยาลยัสารพัดชาง) ชลบุรี ดินชื้น 19.58 -สถานีบางแสน (หลัง ม.บูรพา) ชลบุรี ดินชื้น 9.27 -สถานี กกฟ.บางแสน (สวนสมเด็จยา) ชลบุรี ดินชื้น 3.57 -สถานีบางละมุง ถนนสาย 331 (ทางเขา B.O. อุตฯ) ชลบุรี ดินเหนียวเพาะปลกู 98.32 76.00สถานีบางละมุง (ทางเขาไรหมอสงา ถนนสาย 331) ชลบุรี ทรายชื้น 179.28 -

Page 55: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

53

ตารางที่ 2(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟก.2

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สถานีบางละมุง บริเวณถนนสาย 331 (อมตะ) ชลบุรี ทรายแหง 844.29 -สถานีแหลมฉบัง (นิคมแหลมฉบัง) ชลบุรี ดินชื้น 12.67 -สถานีแหลมฉบัง 1 นิคมแหลมฉบัง (บานพักพนักงาน) ชลบุรี ดินเหนียวเพาะปลกู 41.70 -สถานีแหลมฉบัง 1 (นิคมแหลมฉบัง ถ.นิคมแหลมฉบัง 3/1) ชลบุรี ดินชื้น 24.53 14.80สถานีศรีราชา (เขาอุตพงษ) ชลบุรี ดินเหนียวเพาะปลกู 49.25 29.00สถานีอาวไผ (เขาอุตพงษ) ชลบุรี ดินชื้น 33.87 -สถานีอาวไผ (อาวอุดม) ชลบุรี ทรายชื้น 182.64 74.00สถานีบอวิน 2 (นิคมอุตฯ บอวิน) ชลบุรี ทรายชื้น 343.42 -สถานีบอวิน 2 (นิคมอุตฯ บอวิน) ชลบุรี ทรายชื้น 149.12 -สถานีบอวิน 2 (นิคมอุตฯ บอวิน) ชลบุรี ทรายชื้น 291.65 -

Page 56: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

54

ตารางที่ 2(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟก.2

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สถานีบางสมัคร (ทอปไทยคันทรีคลบั) ฉะเชิงเทรา ดินชื้น 1.10 -สถานีบางสมัคร (ถ.เทพาราช-วัดพิมฯ) ฉะเชิงเทรา ดินชื้น 3.44 -สถานีบางสมัคร (นิคมเวลโกรว ซ.เวลโกรว 12) ฉะเชิงเทรา ดินชื้น 2.01 -สถานีคลองขวาง (หางจาก หมูบานกรุงไทย 500 ม.) ฉะเชิงเทรา ดินชื้น 2.12 -สถานีคลองขวาง (ถ.ฉะเชิงเทรา-บางน้ําเปรี้ยว) ฉะเชิงเทรา ดินชื้น 2.66 -สถานีคลองขวาง (ใกลบริษัทไอทีบี จํากัด) ฉะเชิงเทรา ดินชื้น 4.19 -สถานีหัวสําโรง (ทางเขานิคมเกรดเวย) ฉะเชิงเทรา ทรายชื้น 198.19 -สถานีหัวสําโรง (ภายในนิคมอุตสาหกรรมเกรดเวย) ฉะเชิงเทรา ดินชื้น 24.28 -สถานีหัวสําโรง (ภายในนิคมอุตสาหกรรมเกรดเวย) ฉะเชิงเทรา ดินชื้น 47.60 30.90สถานีพนมสารคาม (แยกหวยลึก) ฉะเชิงเทรา ทรายชื้น 346.02 153.80

Page 57: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

55

ตารางที่ 2(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟก.2

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สถานีพนมสารคาม (แยกบานนาพยอม) ฉะเชิงเทรา ทรายชื้น 299.27 149.90สถานีพนมสารคาม (ใกล หจก.พนมพืชผล) ฉะเชิงเทรา ทรายชื้น 242.22 -สถานีพนมสารคาม (ใกล บริษัทเรไรพลาสติก ถนนสาย 304) ฉะเชิงเทรา ทรายแหง กรวดแหง 1319.52 -สถานีพนมสารคาม (วัดสุวรรณคีรี ถนนนสาย 304) ฉะเชิงเทรา ทรายแหง กรวดแหง 1523.94 705.00สถานีพนมสารคาม (ถนนสาย 304 กม.14) ฉะเชิงเทรา ทรายแหง กรวดแหง 876.14 580.00สถานีสนามชัยเขต (บานกรอกแสก ใกลบานนายอําเภอ) ฉะเชิงเทรา ทรายชื้น 44.01 13.60สถานีสนามชัยเขต (บานกรอกแสก (ตลาดหนองคอก)) ฉะเชิงเทรา ทรายชื้น 52.07 25.60สถานีสนามชัยเขต (ตรงขาม ธกส. ตลาดหนองคอก) ฉะเชิงเทรา ดินชื้น 22.05 15.20สถานีนายาอาม (หมู 1 ) จันทบุรี ทรายแหง กรวดแหง 993.89 454.00สถานีนายายอาม (บานชากใหญ หมู 10) จันทบุรี กรวดชื้น 590.62 -

Page 58: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

56

ตารางที่ 2(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟก.2

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สถานีนายายอาม (หมู 1 บ.หนองแสน) จันทบุรี กรวดชื้น 466.03 201.00สถานีโปงน้ํารอน (ตรงขามวัดบานใหญ) จันทบุรี ดินเหนียว ดินเพาะปลูก 92.11 -สถานีโปงน้ํารอน (หมู 4 ) จันทบุรี ดินชื้น 27.32 -สถานีโปงน้ํารอน (สวนยาง หางจากวัดบานใหม 6.3 กม.) จันทบุรี ดินเหนียว ดินเพาะปลูก 49.15 -สถานีคลองใหญ (บานไมขูด ชวง กม.52-53) ตราด ทรายแหง กรวดแหง 1199.59 -สถานีคลองใหญ (สนามฟุตบอล ชุดควบคุมทหารนาวิกโยธินที่ 3) ตราด กรวดชื้น 421.31 -สถานีคลองใหญ (คลองใหญ-ตราด) ตราด กรวดชื้น 640.49 -สถานีแหลมงอบ (รร.แหลมงอบวิทยา) ตราด กรวดชื้น 555.00 -สถานีแหลมงอบ (ระหวาง กม.4-5 แหลมงอบ-บางกะดาน) ตราด ทรายชื้น 346.77 102.60สถานีแหลมงอบ (รร.วัดทองธรรมชาติ) ตราด ทรายชื้น 483.73 -

Page 59: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

57

ตารางที่ 3 คาความตานทานจําเพาะของดนิ และคาความตานทานของแทงหลักดนิภายในเขต กฟก.3

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สถานีบานโปง 1 (หนาโรงเรียนโพรงมะเดื่อ) บานโปง ดินชื้น 11.02 -สถานีบานโปง 2 (ไลนแยกโคกหมอ) บานโปง ดินชื้น 16.74 -สถานีกําแพงแสน (หนาโรงเรียนทุงกระพังโหม) กําแพงแสน ดินชื้น 15.50 -สถานีนครชัยศรี1 (ไลนนครชัยศรี-หวยพล)ู นครชัยศรี ดินชื้น 6.59 -สถานีออมใหญ 1 (หนาโรงเรียนยอเซบอุปถัมภ) สามพราน ดินชื้น 4.61 -สถานีศาลายา (ฝงตรงขามตลาดมาลีสายสี)่ ออมนอย ดินชื้น 4.02 -สถานีกระทุมแบน (ไลนกระทุมแบน-สมุทรสาคร) กระทุมแบน ดินชื้น 5.02 -สถานีสมุทรสาคร 2 (ไลนสมุทรสาคร-แมกลอง) สมุทรสาคร ดินชื้น 0.67 -สถานีอูทอง (ฝงตรงขามสถานีอูทอง) อูทอง ดินเหนียวเพาะปลกู 65.95 24.5สถานีบางเลน (ไลนสองพี่นอง-วัดไผโรงวัว) สองพี่นอง ดินชื้น 6.86 -

Page 60: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

58

ตารางที่ 3(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟก.3

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สถานีสุพรรณบุรี (หนาเรือนจําสุพรรณบุรี) เมือง ดินชื้น 8.75 2.6สถานีสุพรรณบุรี (บานเสาธงไลนเกาหอง-มะขามสม) บางปลามา ดินชื้น 7.99 2.84สถานีสุพรรณบุรี (ไลนดอนเจดีย-สระกระโจม) ดอนเจดีย ทรายชื้น 106.04 46.7สถานีเดิมบางนางบวช (ขางรีโคลสเซอรไลนเดิมบางฯ-ดานชาง) ดานชาง ดินชื้น 29.51 14.93สถานีดานชาง (ไลนดานชาง-อูทอง) ดานชาง ดินเหนียวเพาะปลกู 49.09 16.44สถานีกาญจนบุรี (ไลนพนมทวน-เลาขวัญ) เลาขวัญ ดินชื้น 19.58 8.83สถานีกาญจนบุรี ( ไลนกาญจนบุรี-บอพลอย) บอพลอย ดินเหนียวเพาะปลกู 83.53 13.09สถานีกาญจนบุรี (แยกไฟแดงเยื้องปอมตํารวจวังสาระด)ี เมือง ดินเหนียวเพาะปลกู 110.83 -สถานีกาญจนบุรี (ไลนกาญจนบุรี-ไทรโยค) ไทรโยค ทรายชื้น 192.09 87.9สถานีวชิราลงกรณ(เขาแหลม) (ไลนทองผาภูมิ-เขื่อน) ทองผาภูมิ ทรายชื้น 193.57 77.6

Page 61: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

59

ตารางที่ 4 คาความตานทานจําเพาะของดนิ และคาความตานทานของแทงหลักดนิภายในเขต กฟฉ.1

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สฟ.ศรีธาตุ กฟอ.กระบวนเสาหมายเลข 771 กระบวน ขอนแกน ดินเหนียวเพาะปลกู 436.15 -สฟ.บริษัทฟนิกซา กฟอ.น้ําพอง เสาหมายเลข 058 น้ําพอง ขอนแกน ดินเหนียวเพาะปลกู 314.77 -สฟ.โนนสูง กฟอ.อุดรธาน ี เมือง อุดรธาน ี ดินชื้น 34.53 20.3สฟ.บานไผ กฟอ.บานไผ บานไผ ขอนแกน ดินเหนียวเพาะปลกู 35.68 11.15สฟ.ชุมแพ กฟอ.ภูเวียง ภูเวียง ขอนแกน ทรายชื้น 432.80 -สฟ.กระบวน กฟอ.กระบวน เสาหมายเลข 21(R) กระบวน ขอนแกน กรวดชื้น 56.34 -สฟ.เซกา เสาตนตดิกับประตู ร.ร.ประถมศึกษาคําตากลา เซกา หนองคาย ดินเหนียวเพาะปลกู 79.64 -สฟ.ศรีสงคราม กฟอ.อากาศอํานวย เสาหมายเลข 620 อากาศอํานวย สกลนคร ดินเหนียวเพาะปลกู 51.52 -สฟ.บานผือ กฟอ.บานผือ เสาหมายเลข 507 บานผือ อุดรธาน ี ดินเหนียวเพาะปลกู 45.37 -สฟ.หนองบัวลําภ ู กฟอ.หนองบัวลําภ ู เมือง หนองบัวลําภ ู กรวดชื้น 144.67 -

Page 62: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

60

ตารางที่ 4(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟฉ.1

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สฟ.เลย กฟอ.เลย เมือง เลย กรวดชื้น 143.50 -สฟ.เชียงคาน กฟอ.เชียงคาน เชียงคาน เลย ดินเหนียวเพาะปลกู 142.93 -สฟ.เชียงคาน กฟอ.ปากชม ปากชม เลย ดินเหนียว เพาะปลกู 46.64 -สฟ.หนองหาน กฟอ.บานดุง บานดุง อุดรธาน ี ทรายชื้น 19.42 -สฟ.บึงกาฬ กฟอ.บึงกาฬ บึงกาฬ หนองคาย กรวดชื้น 155.55 -

Page 63: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

61

ตารางที่ 5 คาความตานทานจําเพาะของดนิ และคาความตานทานของแทงหลักดนิภายในเขต กฟฉ.2

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

กฟจ.ศรีสะเกษ ถ.ศรีสะเกษ-กันทรารมย เมือง ศรีสะเกษ ดินเหนียวเพาะปลูก 135.91 -กฟจ.อุบลราชธาน ีหนา ร.หนองไฮวิทยา เมือง อุบลราชธาน ี กรวดแหง 479.59 -กฟจ.อุบลราชธานี 5674 บานหนองไผ มวงสามสิบ อุบลราชธาน ี ดินเหนียวเพาะปลกู 152.32 -กฟอ.พิบูลมังสาหาร หนา สปอ.สิรินธร พิบูลมังสาหาร อุบลราชธาน ี ดินเหนียวเพาะปลกู 507.74 -กฟอ.พิบูลมังสาหาร พิบูลมังสาหาร อุบลราชธาน ี ดินเหนียวเพาะปลกู 678.57 -กฟอ.ตระการพืชผล ตระการพืชผล อุบลราชธาน ี ดินเหนียวเพาะปลกู 92.39 - กฟอ.กันทรลักษ กันทรลักษ ศรีสะเกษ ดินเหนียวเพาะปลกู 273.18 -กฟอ.กันทรลักษ โรงเรียนบานนา-ไทรงาม กันทรลักษ ศรีสะเกษ ดินเหนียวเพาะปลกู 140.24 -กฟอ.มุกดาหาร หนา หจก.เลิศมุกดา มุกดาหาร ยโสธร ดินเหนียวเพาะปลกู 146.12 -กฟอ.เดชอุดม บานปาหวาย เดชอุดม อุบลราชธาน ี ดินเหนียวเพาะปลกู 81.17 -

Page 64: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

62

ตารางที่ 5(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟฉ.2

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

ถ.เสลาภูม-ิโพนทอง เสลาภูม ิ รอยเอ็ด กรวดชื้น 565.60 285.50กฟอ.โพนทอง โพนทอง รอยเอ็ด ดินเหนียวเพาะปลกู 165.92 88.00กฟจ.กาฬสินธุ ต.ในเมือง เมือง กาฬสินธุ ดินชื้น 33.01 16.50หนา รร.ฟาแดดสูงยาง ฟาแดดสูงยาง กาฬสินธุ ดินเหนียวเพาะปลกู 37.28 18.60

โรงเรียนพลาญชัย ศรีสมเด็จ รอยเอ็ด ทรายชื้น 89.24 50.20

ที่วาการอําเภอเสลาภูมิ เสลาภูม ิ รอยเอ็ด ดินเหนียวเพาะปลกู 191.16 94.80

Page 65: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

63

ตารางที่ 6 คาความตานทานจําเพาะของดนิ และคาความตานทานของแทงหลักดนิภายในเขต กฟฉ.3

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

ปากชอง (ที่ดินอําเภอปากชอง) ปากชอง นครราชสีมา ดินเหนียวเพาะปลกู 78.32 52.50สีคิ้ว (เรือนจํากลางคลองไผ) สีคิ้ว นครราชสีมา กรวดชื้น 559.25 337.00บําเหน็จณรงค (บานกุดมวง) บําเหน็จณรงค ชัยภูม ิ ทรายชื้น 177.80 97.00บําเหน็จณรงค (โรงเรียนโคกสวาง) บําเหน็จณรงค ชัยภูม ิ ดินชื้น 42.58 -บําเหน็จณรงค (โรงเรียนวังมน) บําเหน็จณรงค ชัยภูม ิ กรวดชื้น 608.68 382.00สีคิ้ว (ทางแยกเขาอาํเภอสูงเนิน) สีคิ้ว นครราชสีมา ดินชื้น 12.24 7.82โชคชัย (โรงเรียนบานแหลมลวก) โชคชัย นครราชสีมา ดินชื้น 22.81 8.10นครราชสีมา 3 (ขางสถานีไฟฟาโชคชยั) โชคชัย นครราชสีมา ดินชื้น 18.43 9.20โชคชัย(หมอแปลงบานดะแลง) โชคชัย นครราชสีมา กรวดชื้น 489.76 -โชคชัย (หมอแปลงบานสระหลวง) โชคชัย นครราชสีมา ทรายแหง 767.89 564.00

Page 66: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

64

ตารางที่ 6(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟฉ.3

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

บุรีรัมย (หมอแปลงบานหัวถนน) เมือง บุรีรัมย ดินชื้น 50.63 25.52กฟอ.คูเมือง (วิทยาลัยเทคนคิคูเมอืง) คูเมือง บุรีรัมย กรวดชื้น 467.49 205.00กฟอ.รัตนบุรี (หมอแปลงบานน้ําเขียว) รัตนบุรี สุรินทร ทรายชื้น 170.85 -กฟอ.ทาตูม (AVR กฟอ.ทาตูม) ทาตูม สุรินทร ดินชื้น 42.51 -กฟอ.ประโคนชัย (โรงเรียนบานภาช)ี ประโคนชัย บุรีรัมย ดินเหนียวเพาะปลกู 129.42 82.70กฟอ.นางรอง (SF6 3R-19) นางรอง บุรีรัมย ทรายชื้น 328.20 -สฟ.หวยแถลง (บานหินดาด) จักราช นครราชสีมา ดินชื้น 47.24 -สฟ.บัวใหญ (กม.63) บัวใหญ นครราชสีมา ดินชื้น 5.78 -สฟ.แกงครอ (โรงเรียนกวางโจนวิทยา) แกงครอ ชัยภูม ิ ทรายชื้น 220.08 118.00สฟ.ชัยภูมิ (โรงเรียนหนองลังกา) แกงครอ ชัยภูม ิ ดินชื้น 2.29 -

Page 67: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

65

ตารางที่ 7 คาความตานทานจําเพาะของดนิ และคาความตานทานของแทงหลักดนิภายในเขต กฟต.1

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สฟ.บางสะพาน1-บ.สหวิริยา(จุดที2่)เสาหมายเลข 319 ทรายชื้น 446.00 -สฟ.บางสะพาน1-บ.สหวิริยา(จุดที1่)เสาหมายเลข 409 ทรายชื้น 2808.90 -สฟ.บางสะพาน1-บ.สหวิริยา(จุดที3่)เสาหมายเลข 231 ทรายชื้น 21.39 -สฟ.บางสะพาน1-บ.สหวิริยา(จุดที4่)เสาหมายเลข 226 ทรายชื้น 65.10 -สฟ.บางสะพาน1-บ.สหวิริยา(จุดที5่)เสาหมายเลข 299 กรวดชื้น 92.65 -สฟ.บางสะพาน1-บ.สหวิริยา(จุดที6่)เสาหมายเลข 399 ทรายชื้น 234.51 -สฟ.ระนอง1-2 กฟอ. เสาหมายเลข 107 ทรายชื้น 948.91 -สฟ.ระนอง1-2 กฟอ. เสาหมายเลข 95 ทรายชื้น 574.81 -สฟ.ระนอง1-2 กฟอ. เสาหมายเลข 59 ทรายชื้น 889.80 -สฟ.ระนอง1-2 กฟอ. เสาหมายเลข 162 ทรายชื้น 289.69 -

Page 68: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

66

ตารางที่ 7(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟต.1

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สฟ.ราชบุรี-จอมบึงจุดที่1 ทรายชื้น 193.76 -สฟ.ราชบุรี-จอมบึงจุดที่2 ทรายชื้น 207.52 -สฟ.ราชบุรี-จอมบึงจุดที่3 ดินเหนียวเพาะปลกู 10.86 -สฟ.ราชบุรี-จอมบึงจุดที่4 ทรายชื้น 173.97 -

Page 69: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

67

ตารางที่ 8 คาความตานทานจําเพาะของดนิ และคาความตานทานของแทงหลักดนิภายในเขต กฟต.2

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สฟ.กระบี1่ (รร.อนุบาลคลองทอม) กระบี่ ดินชื้น 287.22 -สฟ.กระบี2่ (บ.ชองไมแกว) กระบี่ ดินชื้น 803.75 -สฟ.กระบี1่ (วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัด) กระบี่ กรวดชื้น 186.47 -สฟ.ลําภูรา (รร.หวยยอดกลึงวิทยาคม) ตรัง ทรายชื้น 425.10 -สฟ.ตรัง (ศูนยราชการอําเภอยานตาขาว) ตรัง ทรายชื้น 957.32 -รร.หาดปากเมง ตรัง ทรายชื้น 1,804.27 -สฟ.พังงา (รร.เมืองพังงา) พังงา ดินชื้น 182.92 -สฟ.ตะกั่วปา (รร.ตะกั่วปาเสนานุกูล) พังงา กรวดชื้น 276.71 -สฟ.พังงา (รร.ประชุมศึกษา) พังงา กรวดชื้น 238.40 -สฟ.ภูเกต1 ภูเก็ต ดินเหนียวเพาะปลกู 529.93 -

Page 70: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

68

ตารางที่ 8(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟต.2

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สฟ.ภูเกต 2(บ.หาดราไวย) ภูเก็ต ทรายชื้น 170.15 -สฟ.ระโนด(บ.ชายทะเล) นครศรีธรรมราช ทรายชื้น 41.79 -สฟ.บานดอน(ศูนยถายทอดเทคโนโลย)ี สุราษฎรธานี ดินเหนียวเพาะปลกู 305.40 -สฟ.ขนอม(บ.บางน้ําจืด) สุราษฎรธานี ดินเหนียวเพาะปลกู 176.74 -สฟ.เวียงสระ(รร.เขานิพันธ) สุราษฎรธานี กรวดชื้น 62.20 38.60สฟ.นครศรีธรรมราช1(รร.วัดคีรีกัณทร) นครศรีธรรมราช กรวดชื้น 493.64 -สฟ.นครศรีธรรมราช1(บานศาลาบางป)ู นครศรีธรรมราช ทรายชื้น 2,924.48 -สฟ.ทุงสง1(วัดคงคาเจริญ) นครศรีธรรมราช ดินเหนียวเพาะปลกู 122.10 -

Page 71: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

69

ตารางที่ 9 คาความตานทานจําเพาะของดนิ และคาความตานทานของแทงหลักดนิภายในเขต กฟต.3

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สฟ.สงขลา เมือง สงขลา ทรายชื้น 1248.56 620.00สฟ.สงขลา 1(บ.โคกสูง) เมือง สงขลา ทรายชื้น 263.79 130.70สฟ.หาดใหญ9 นาหมอม สงขลา ดินชื้น 629.22 301.00สายสง115kV หาดใหญ สงขลา ดินเหนียวเพาะปลกู 735.11 352.00สฟ.หาดใหญ5(สนามบินหาดใหญ) คลองหอยโขง สงขลา กรวดชื้น 342.05 162.00BRP2สายสง 115 kV หาดใหญ สงขลา ดินชื้น 426.94 231.00สฟ.พัทลุง4(บ.โคกมวง) เมือง พัทลุง ทรายชื้น 44.48 24.00สฟ.พัทลุง3(บ.ทาแค) เมือง พัทลุง ดินเหนียวเพาะปลกู 45.33 25.00สฟ.สุไหงโกโกลก4 สุไหงโกโหลก นราธิวาส ดินเหนียวเพาะปลกู 590.00 295.00สฟ.สุไหงโกโกลก10 สุไหงปาดี นราธิวาส ดินเหนียวเพาะปลกู 832.88 420.00

Page 72: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

70

ตารางที่ 9(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟต.3

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ อําเภอ จังหวัด ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

สฟ.ปตตานี2 หนองจิก ปตตานี ทรายชื้น 167.28 83.00สฟ.ปตตานี3 ยะรัง ปตตานี ดินเหนียวเพาะปลกู 498.41 243.00สฟ.ยะลา3 เมือง ยะลา กรวดแหง 196.22 85.00สฟ.นราธิวาส7 ยิ่งงอ นราธิวาส ทรายชื้น 318.84 117.00สฟ.นราธิวาส4(คายจุฬาพรณ-สนามบินนราธิวาส) เมือง นราธิวาส ดินเพาะปลูก 166.36 77.00สฟ.นราธิวาส6 ตากใบ นราธิวาส ทรายชื้น 2647.72 1353.00สฟ.สตูล4(เจะบิลัง) เมือง สตูล ดินเพาะปลูก 203.29 120.00สฟ.สตูล7(บ.ทาจีน) เมือง สตูล กรวดชื้น 201.23 105.00สฟ.สะเดา6 สะเดา สงขลา กรวดชื้น 38.59 20.00สฟ.สะเดา2(บ.คลองตองะ) สะเดา สงขลา ดินเหนียวเพาะปลกู 42.45 23.00

Page 73: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

71

ตารางที่ 10 คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดนิภายในเขต กฟน.1

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

บานรองปอ กฟจ.พระเยา ดินเหนียวเพาะปลกู 183.56 -บานรองปอ กฟจ.พระเยา กรวดแหง 486.15 124.2หนาโรงเรียนบานหัวขัว กฟอ.ปง ดินเหนียวเพาะปลกู 19.18 -บานแวน หนาวัดศรีมงคล กฟอ.เชียงคํา กรวดแหง 444.97 -บานใหมสุขเกษม กฟอ.เทิง ดินเหนียว เพาะปลกู 61.95 -บานกูเตา ซอย 2 กฟอ.เชียงแสน ดินเหนียว เพาะปลกู 153.36 -ถนน เชียงแสน-แมจัน(ใตไลน 115 kV) ดินเหนียว เพาะปลกู 434.27 -ถนน แมจัน -เชียงแสน(ใตไลน 115 kV)กฟอ.เชียงแสน ดินเหนียว เพาะปลกู 64.11 -ถนน แมสาย-แมจันหนาบริษัทกมลศิริ จํากัด ดินเหนียว เพาะปลกู 66.98 -บานหัวดอย หนาอบต. ตําบลทาสาย กฟจ.ชร. กรวดชื้น 448.44 -

Page 74: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

72

ตารางที่ 10(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟน.1

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

บานหัวดอย ถนนหัวดอย -เวียงชยั ดินเหนียวเพาะปลกู 118.58 -หนาสวนสมเด็จพระนเรศวร กฟอ.แมสรวย ทรายชื้น 305.55 -บานสันปาปอ(หนาคริสจักรปกปองกิตติคุณ) กรวดชื้น 544.55 -ถนน วงแหวนใตไลน 115 กฟอ..หางดง ดินเหนียวเพาะปลกู 45.74 -บานกลางดอย ถนน หางดง - สะเมิง ดินชื้น 51.9 29.7หนาเทคโนโลยีการเกษตรสถาบันราชภัฏเชียงใหม กฟอ..แมริม ดินชื้น 35.2 -

หนาศาลจง ลําปางแผนกคดีเยาวชน ดินชื้น 17.99 -ถนนสาย แจหม-ลําปาง (ทางไปโรงปูน) ดินชื้น 13.54 -หนาสํานักสงฆถ้ําดอยเจาหมู 6 บานทุง ต.แมปะ ถนน เถิน-วังขึ้น ดินเหนียวเพาะปลกู 67.36 -บานแมพริก กฟอ.เถิน ดินเหนียวเพาะปลกู 72.03 46.9

Page 75: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

73

ตารางที่ 10(ตอ) คาความตานทานจําเพาะของดิน และคาความตานทานของแทงหลักดินภายในเขต กฟน.1

คาความตานทานจาํเพาะ คาความตานทาน หลักดิน 1 แทง สถานที่ ชนิดของดิน

(โอหม-เมตร) (โอหม)

บริเวณหนาสวน ทางเขามอนเคียงดาวรีสอรท ทรายชื้น 218.69 116.5หนาสํานักสงฆศรีรัฐวนาราม บานแมจา อ.เชียงดาว กฟอ.เชียงดาว ทรายชื้น 284.05 50.3หนาบริเวณทาทรายไพลิน ถนน ทาตอน-แมจัน กรวดแหง 1041.59 709โรงเรียนบานเหมืองแร ถนนแมสรวย-ฝาง ดินชื้น 38.84 14.53ปากทางบานสหกรณ 5 กฟฟ.กิ่งแมออน กรวดชื้น 31.5 25.2สี่แยกวงแหวนถนนสายสันกําแพง (แยกไลน 115 kV) ทรายแหง 55.4 13.94แยกปอมตํารวจแมทา กฟจ.ลําพูน หิน 888.19 444หนานิคมอุตสาหรรมลําพูน กฟจ.ลําพูน ดินเหนียวเพาะปลกู 33.47 11.43บริเวณศูนยบําบัดยาเสพติด กฟอ.แมฮองสอน ดินชื้น 267.4 59.2

Page 76: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

68

เอกสารอางอิง [1] He Jinliang, Zeng Rong, Chen Shuiming, Li Siyun and Wu

Weihan “Impulse Characteristics of Grounding Systems of Transmission- Line Towers in the Regions with High Soil Resistivity”. IEEE Trans. on Power Delivery, Vol.13, No.1. Jan.1998, pp.156-162.

[2] IEEE Std 1243-1997 “IEEE Guide for Improving the Lightning Performance of Transmission Line”

[3] Martin D.Conroy and Paul G.Richard “Deep Earth Grounding vs Shallow Earth Grounding” Power Quality ’93 Conference

[4] Baldev Thapar, Victor Gerez, Harsh Kejriwal, Thomas J.Kendrew “Two Efficent Cofigurations of Grounding Electrodes for Electric Distribution System” IEEE Transaction on Power Delivery, Vol.9 No.2,April 1994

[5] J.Ma,N.Mitskevitch,F.P.Dawalbi “Performance Evaluation of Grounding Systems in Soils with Finite Volumes of Different Resistivity”

[6] He Jin-Liang,Chen Xian-lu,Huang Yong ,Zhang Jin-Yu “Impulse Characteristice of Grounding Systems of Transmission Line Tower” IEEE TENCON’93

[7] VDE Standard for Earthing Systems in a.c. Installation for rate Voltages above 1kV

[8] Std 80-1986 “IEEE Guide for Safety in A.C. Substation Grounding” [9] San-Earth Technical Review [10] “IEEE Recommended practice for grounding of industrial and

commercial power systems” ANSI/IEEE Std 142-1991.

Page 77: โครงการวิจัยสภาพพื้นดินของ กฟภ

69

[11] M.M. Elsherbiny, M.M.A. salamma and Y.L. Chow, “Rodbed Grounding Resistance From the Single Driven Rod Resistance the “F” Multiplication Factor”, Industry Applications, Conference, 1995, Thirtieth IAS Annual Meeting IAS 95, pp. 1749-1753.

[12] J. Ma and F. P. Dawalibi, “Study of Influence of Buried. Metallic Structures on Soil Resistivity Measurements”, IEEE Trans. on Power Delivery, Vol. 13, No.2, Apr. 1998, pp. 356-365.

[13] C.J. Blattner, “Study of Driven Ground Rods and Four Point Soil Resistivity Tests”, IEEE Trans. on Power Apparatus and systems, Vol. PAS-101, No.8 Aug. 1982, pp. 2837-22850.

[14] C.J. Blattner, “Analysis of Soil Resistivity Test Methods in Two-Layer Earth”, IEEE Trans. on power Apparatus and systems Vol. PAS-104, No.12, Dec. 1985, pp.3603-3608.