12
โครงการ พระราชด้าริการบ้าบัดน้าเสียตามพระราชด้าริ “ กังหันน้าชัย พัฒนา “ จัดท้าโดย นางสาว กาญจนาภรณ์ ยอดชมญาณ ชันมัธยมศึกษาปีท่ 4/10 เลขที่11 เสนอ อาจารย์ อารีย์ บุญรักษา โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์

กาญจนาภรณ์ 4.10 เลขที่ 11

Embed Size (px)

Citation preview

โครงการ

พระราชด้าริการบ้าบัดน ้าเสียตามพระราชด้าริ “ กังหันน ้าชัยพัฒนา “

จัดท้าโดย

นางสาว กาญจนาภรณ์ ยอดชมญาณ ชั นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 เลขที่11

เสนอ อาจารย์ อารีย์ บุญรักษา

โรงเรียนจอมสุรางค์อปุถัมภ์

จากการที่สภาพแวดล้อมได้เปลี่ยนแปลงเกิดเป็นภาวะมลพิษอันเกิดจากน้้าเน่าเสียที่มี อัตรา และปริมาณสูงขึ้นจนยากแก่การแก้ไขให้บรรเทาเบาบาง และกลับมีแนวโน้มรุนแรงมากยิ่งขึ้นนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงพระราชทานพระราชด้าริให้ประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศแบบ ประหยัดค่าใช้จ่าย สามารถผลิตขึ้นได้เองในประเทศ โดยทรงมุ่งหวังที่จะช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐบาลในการบรรเทาน้้าเน่าเสียอีกทางหนึ่งด้วย โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาสนับสนุนงบประมาณ เพื่อศึกษาวิจัยสิ่งประดิษฐ์ใหม่นี้ร่วม กับกรมชลประทาน ซึ่งต่อมาเครื่องมือบ้าบัดน้้าเสียนี้เป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย และเรียกกันว่า"กังหันน้้าชัยพัฒนา

การทดลองวิจัยเพื่อประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศในขณะนี้มี 9 รูปแบบ คือ 1. เครื่องกลเติมอากาศระบบเป่าอากาศลงไปใต้น้้าและกระจายฟอง Chaipattana Aerator, Model RX-1

2. เครื่องกลเติมอากาศระบบเป่าอากาศหมุนใต้น้้า หรือ "ชัยพัฒนาซุปเปอร์ฟองแอร์“ Chaipattana Aerator, Model RX-3

3. เครื่องกลเติมอากาศแรงดันน้้า หรือ "ชัยพัฒนาเวนจูรี"่ Chaipattana Aerator,

Model RX-4 4. เครื่องกลเติมอากาศระบบอัดและดูดอากาศลงใต้น้้า หรือ "ชัยพัฒนาแอร์เจท” Chaipattana Aerator, Model RX-

5. เครื่องกลเติมอากาศแบบตีน้้าสัมผัสอากาศ หรือ "เครื่องตีน้้าชัยพัฒนา" Chaipattana Aerator, Model RX-6

6. เครื่องกลเติมอากาศแบบดูดและอัดน้้าลงไปที่ใต้ผิวน้้า หรือ "ชัยพัฒนาไฮโดรแอร์" Chaipattana Aerator, Model RX-7

7. เครื่องมือจับเกาะจุลินทรีย์ หรือ "ชัยพัฒนาไบโอ" Chaipattana Bio-Filter,

Model RX-8 8. เครื่องกลเติมอากาศแบบกระจายน้้าสัมผัสอากาศ หรือ "น้้าพุชัยพัฒนา" Chaipattana Aerator, Model RX-9

9. เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้้าแบบหมุนช้า หรือ "กังหันน้้าชัยพัฒนา“ Chaipattana Aerator, Model RX-

เครื่องกลเติมอากาศต่าง ๆ นี้ ได้น้ามาติดตั้งใช้งานกับระบบบ้าบัดน้้าเสียตามสถานที่ต่าง ๆ ต้ังแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2532 และได้มีการปรับปรุงตลอดเวลา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่จะให้มีการบ้าบัดน้้าเสียอย่างมีประสิทธิภาพ สะดวกในการใช้งาน ประหยัดค่าใช้จ่าย และบ้ารุงรักษาได้ง่าย ตลอดจนมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน การด้าเนินงานในขณะนี้ได้ผลดีเป็นที่น่าพอใจ ท้าให้น้้าใสสะอาดขึ้น ลดกลิ่นเหม็นลงได้มากและมีปริมาณออกซิเจนในน้้าเพิ่มขึ้น บรรดาสัตว์น้้า อาทิเต่า ตะพาบน้้า และปลา สามารถอยู่อาศัยได้อย่างปลอดภัย ตลอดจนสามารถบ้าบัดความสกปรกในรูปของมลสารต่าง ๆ ให้ลดต่้าลง ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่ก้าหนด ปัจจุบันมีหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ร้องขอให้มูลนิธิชัยพัฒนาเข้าไปช่วยเหลือในการบ้าบัดน้้าเสียอย่างเร่งด่วนเป็นจ้านวนมากเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 เครื่องกลเติมอากาศ

"กังหันน้้าชัยพัฒนา" ได้รับการพิจารณาและทูลเกล้า ฯ ถวายสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย นับเป็นสิ่งประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศเครื่องที่ 9 ของโลกที่ได้รับสิทธิบัตร และเป็นครั้งแรกที่ได้มีการรับจดทะเบียนและออกสิทธิบัตรให้แก่พระบรมราชวงศ์ด้วย จึงนับได้ว่าเป็น "สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในประวัติศาสตร์ชาติไทยและเป็นครั้งแรกของโลก" นอกจากนี้ ส้านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติได้ประกาศให้กังหันน้้าชัยพัฒนาได้รับรางวัลที่ 1 ประเภทรางวัลผลงานคิดค้นหรือสิ่งประดิษฐ์ซึ่งเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติ ประจ้าปี 2536 และทูลเกล้า ฯ ถวายรางวัลนี้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอีกวาระหนึ่ง

หลักการและวิธีการท้างานของกังหันน้้าชัยพัฒนา กังหันน้้าชัยพัฒนาเป็นเครื่องกลเติมอากาศแบบทุ่นลอย สามารถปรับตัวขึ้นลงได้ ตามระดับขึ้นลงของผิวน้้า ในแหล่งน้้าเสีย มีส่วนประกอบส้าคัญคือ โครงกังหันน้้ารูป 12 เหลี่ยม ซองบรรจุน้้าติดต้ังโดยรอบ จ้านวน 6 ซอง รูซองน้้าพรุนเพื่อให้น้้าไหลกระจายเป็นฝอย ซองน้้าจะถูกขับเคลื่อนให้หมุนโดยรอบด้วยเกียร์มอเตอร์ ซึ่งท้าให้การหมุนเคลื่อนที่ของซองน้้า วิดตักน้้าด้วย ความเร็ว สามารถวิดน้้าลึกลงไปจากใต้ผิวน้้าประมาณ 0.50 เมตร ยกน้้าสาดขึ้นไปกระจายเป็นฝอยเหนือผิวน้้า ได้สูงถึง 1 เมตร ท้าให้มีพื้นที่ผิวสัมผัสระหว่างน้้ากับอากาศมากและส่งผลให้ออกซิเจนสามารถละลายเข้าไปในน้้า ได้อย่างรวดเร็ว ในขณะที่น้้าเสียถูกยกขึ้นไปสาดกระจายสัมผัสกับอากาศแล้วตกลงไปยังผิวน้้านั้น จะก่อให้เกิดฟองอากาศ จมตามลงไปใต้ผิวน้้าด้วย ในขณะที่ซองน้้าก้าลังเคลื่อนที่ลงสู่ผิวน้้าแล้วกดลงไปใต้ผิวน้้านั้น จะเกิดการอัดอากาศภายในซองน้้า ภายใต้ผิวน้้า

จนกระทั่งซองน้้าจมน้้าเต็มที่ท้าให้เพิ่มประสิทธิภาพในการถ่ายเทออกซิเจนได้สูงขึ้น หลังจากน้ันน้้าที่ได้รับการเติมอากาศแล้วจะเกิดการถ่ายเทของน้้าเคลื่อนที่ออกไปด้วยการผลักดันของซองน้้า รวมทั้งการโยกตัวของทุ่นลอยในขณะท้างานสามารถผลักดันน้้าให้เคลื่อนที่ผสมผสานออกซิเจนเข้ากับน้้าในระดับความลึกใต้ผิวน้้าได้เป็นอย่างดีอีกด้วย จึงก่อให้เกิดกระบวนการทั้งการเติมอากาศการกวนแบบผสมผสาน และการท้าให้เกิดการไหลของน้้าเสียไปตามทิศทางที่ก้าหนดโดยพร้อมกัน เครื่องกลนี้สามารถที่จะบ้าบัดน้้าเสียที่มีความสกปรก (BOD) 250 มิลลิกรัมต่อลิตร ได้วันละ 600 ลูกบาศก์เมตร ท้าให้มีประสิทธิภาพในการลดค่า BOD ได้สูงกว่า 90 เปอร์เซนต ์และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อยมาก โดยเสียค่าใช้จ่ายเพียงลูกบาศก์เมตรละ 96 สตางค์คิดเป็นจ้านวนความสกปรกในหน่วยกิโลกรัม BOD เสียค่าใช้จ่าย 3.84 บาทเท่านั้น

โครงการบ้าบัดน้้าเสีย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยในการแก้ไขและบ้าบัดน้้าเสียในชุมชนเขตกรุงเทพมหานครและเมืองใหญ่ โดยพระราชทานพระราชด้าริแก่หน่วยงานที่เก่ียวข้องให้ร่วมมือกันทดลองหาวิธีแก้ไขและบ้าบัดน้้าเสียด้วยวิธีการที่ง่าย ๆ และเหมาะสม ขณะน้ีการบ้าบัดน้้าเสียตามแนวพระราชด้าริด้วยวิธีการต่าง ๆ ได้ส่งผลเป็นที่น่าพอใจและก้าลังเผยแพร่ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศมากขึ้น การบ้าบัดน้้าเสียตามแนวพระราชด้ารัสที่พระราชทานให้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานนั้น จะเป็นประโยค ง่าย ๆ และได้ผ่านการกลั่นกรองมาแล้วเป็นอย่างดีเป็นข้อความง่าย ๆ ที่มีความหมายลึกซึ้ง และบางครั้งบอกถึงวิธีการด้าเนินการไว้ด้วย ดังพระราชด้าริในเรื่องต่อไปนี้

1. "น้้าดีไล่น้้าเสีย" ทรงแนะน้าให้ใช้หลักการแก้ไขโดยใช้น้้าที่มีคุณภาพดีจากแม่น้้าเจ้าพระยาช่วยผลักดันและเจือจางน้้าเน่าเสียให้ออกจากแหล่งน้้าของชุมชนในเขตเมือง ตามคลองต่าง ๆ เช่น คลองบางเขน คลองบางซื่อ คลองแสนแสบ คลองเทเวศร์ และคลองบางล้าภ ูเป็นต้น วิธีนี้จะกระท้าได้ด้วยการเปิด-ปิดประตูอาคารควบคุมน้้า รับน้้าจากแม่น้้าเจ้าพระยาในช่วงจังหวะน้้าขึ้นและระบายน้้าสู่แม่น้้าเจ้าพระยาในจังหวะน้้าลง ผลก็คือตามล้าคลองต่าง ๆ มีโอกาสไหลถ่ายเทหมุนเวียนกันมากขึ้น น้้าก็จะกลับกลายเป็นน้้าที่มีคุณภาพดีขึ้นด้วยวิธีธรรมชาติง่าย ๆ

2. "ไตธรรมชาต"ิ พระราชด้าริในการบ้าบัดน้้าเสียของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยทรงเปรียบเทียบว่า "บึงมักกะสัน" เป็นเสมือน "ไตธรรมชาต"ิ ของกรุงเทพมหานครที่เก็บกักและฟอกน้้าเสียตลอดจนเป็นแหล่งเก็บกักและระบายน้้าในฤดูฝน และโปรดเกล้าฯ ให้มีการทดลองใช้ ผักตบชวา ซึ่งเป็นวัชพิชที่ต้องการก้าจัดอยู่แล้วมาช่วยดูดซับความสกปรกปนเปื้อนรวมตลอดทั้งสารพิษต่าง ๆ จากน้้าเน่าเสีย ประกอบเข้ากับเครื่องกลบ้าบัดน้้าเสียแบบต่าง ๆ ที่ได้ทรงประดิษฐ์คิดค้นขึ้นเอง โดยเน้นวิธีการที่เรียบง่าย ประหยัด บึงมักกะสันในปัจจุบันได้ท้าหน้าที่ "ไตธรรมชาติ" ของกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพได้มีส่วนช่วยบรรเทามลพิษทางน้้า และเป็นแหล่งศึกษาทดลองด้านการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ดังพระราชกระแสที่พระราชทานแก่เจ้าหน้าที่ความตอนหนึ่งว่า "…ในกรุงเทพมหานครต้องมีพื้นที่หายใจ แต่ที่นี่เราถือว่าเป็นไตก้าจัดสิ่งสกปรกและโรค สวนสาธารณะถือว่าเป็นปอด แต่นี่เหมือนไตที่ฟอกเลือด ถ้าไตท้างานไม่ดีเราตาย อยากให้เข้าใจหลักการของความคิดนี้…."

3. การบ้าบัดน้้าเสียโดยวิธีการเติมอากาศ ในปัจจุบันสภาพความเน่าเสียของน้้าบริเวณต่าง ๆ มีความรุนแรงมากขึ้น น้้าในคลองและแหล่งน้้าสาธารณะต่าง ๆ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวนและมีผลเสียต่อสุขภาพอนามัย จึงจ้าเป็นต้องใช้เครื่องกลเติมอากาศเพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัย ได้พระราชทานรูปแบบและพระราชด้าริในการสร้างและพัฒนาเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวหน้าหมุนช้าแบบทุ่นลอย หรือ "กังหันน้้าชัยพัฒนา" ซึ่งมีใบพัดขับเคลื่อนน้้าและซองวิดน้้าไปสาดกระจายเป็นฝอย เพื่อให้สัมผัสกับอากาศได้อย่างทั่วถึง เป็นผลให้ออกซิเจนในอากาศสามารถละลายเข้าไปในน้้าได้อย่างรวดเร็ว และในช่วงที่น้้าเสียถูกยกขึ้นมากระจายสัมผัสกับอากาศตกลงไปยังผิวน้้า จะท้าให้เกิดฟองอากาศจมตามลงไป ก่อให้เกิดการถ่ายเทออกซิเจนอีกส่วนหนึ่ง

เครื่องกลเติมอากาศ "กังหันน้้าชัยพัฒนา" นี้สามารถน้าไปผลิตในเชิงอุตสาหกรรมได้โดยตรง และยังสามารถใช้ในการบ้าบัดน้้าเสียจากแหล่งชุมชน แหล่งอุตสาหกรรม และแหล่งเกษตรกรรม กล่าวคือ ใช้เพิ่มปริมาณออกซิเจนลงในน้้า เพื่อเป็นการปรับปรุงคุณภาพน้้าให้ดีขึ้น รวมทั้งการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรและก่อให้เกิดความปลอดภัยในการด้ารงชีวิตอย่างมีคุณภาพของพสกนิกรทุกกลุ่มอาชีพอีกทางด้วย